You are on page 1of 43

ขอสอบชีววิทยา A-level ป 2566

คําชี้แจง
ขอสอบมีจํานวน 40 ขอ แบงเปน 2 ตอน
ตอนที่ 1 ปรนัย 5 ตัวเลือก 35 ขอ (ขอละ 2.4 คะแนน)
ตอนที่ 2 เลือกตอบเชิงซอน 5 ขอ (ขอละ 3.2 คะแนน)
รวม 40 ขอ (100 คะแนน)

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 1


ตอนที่ 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คําตอบที่ถูกทีส
่ ุด
1. สารชนิดหนึ่งมีโครงสรางเคมี ดังภาพ

apeptidebondimio
3Amino acid

08

i
1 ะ จ นวน peptidebond,
แ0
Aminoacid

l
Amino peptidebond
ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับสารนี้ group

AM
1. เปนสารจําพวกแอลกอฮอล ×
2. ประกอบดวยกรดแอมิโน 2 ชนิด 13
3. ประกอบดวยพันธะเพปไทด 2 พันธะ
4. การสลายสารนี้จะตองใชนํ้า 3 โมเลกุล12
wk
5. เปนพอลิเมอรที่เชื่อมกันดวยพันธะไกลโคซิดิก
Carbohydrate

- สารชีวโมเลกุล (Biomolecule) คือ สารอินทรียประเภทหนึ่งที่ประกอบดวยหมูฟงกชัน


- เกิดจาก monomer ตอสายยาว ๆ โดยพันธะโคเวเลนต ไดเปน polymer

Biological molecule Monomer Functional group Covalent bond


Carbohydrate Monosaccharide Rm
Carbonyl , rHydroxyl Glycosidic bond

Protein Amino acid Amino ,Carboxyl Peptide bond


(Sulfhydryl*)
Nucleic acid Nucleotide Aldehyde , Phosphate Phosphodiester bond
Lipid glycerol + fatty acid Hydroxyl , Carboxyl Ester bond
(non-polymer)

rbond
ว°
_| 1

า งหวง ไก
boxyl

🙂 ,
แนµ

ใเก
รท
|โมเล ล 3โมเล ล

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 2


mitosis

f meiosisแ ดcrossing over


2. เมื่อคึกษาการแบงเซลลของสัตวชนิดหนึ่งภายใตกลองจุลทรรศน และวาดภาพเพื่อบันทึกการแบงเซลล
ในระยะตางๆ เปนดังภาพ

nuclear membrane

9crossing
over
เไข nm
sister
J
chromatid

prophase Meta
PhatCI Ana I telo
จากขอมูล ขอใดถูกตอง
1. เซลลสัตวที่นํามาศึกษามาจากเซลลรางกายเ น
8 บน ง
4Hll
2. เมื่อสิ้นสุดกระบวนการแบงเซลล จะไดเซลลจํานวน 2 เซลล
X
ส สโครโมโซมทั้งหมด 2 ครัแ้ง ตลอดชวงที่มีการแบงเซลลนี้
Anaphase
3. มีการแยกฮอมอโลกั
ๆ y
4. เมื่อสิ้นสุดกระบวนการแบงเซลล จะไดเซลลที่มีจํานวนโครโมโซมเปน 2n = 2Xlh 2

05. ระยะการแบงเซลลในภาพที่ 1 เริ่มมีการแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรมระหวางโครโมโซม


๐แ
การอมแซม


Anaphasecmitosin แยกSister
chromatid

- Meiosis = เปนการแบงเซลลเพื่อการสืบพันธุแบบอาศัยเพศของสัตว , การสรางspore ของพืช


- เกิด cell cycle 2 รอบ ไดเซลลลูก 4 เซลล และจํานวนโครโมโซมลดลงครึ่งนึง 2mn

vs chromosome
iแยกhomolog

มา ดcrossingover

ะแยกsister chromatid

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 3


3. จากการแยกออรแกเนลลเซลลสัตวชนิดหนึ่ง และนําออรแกเนลลที่แยกได 3 ชนิด (A - C) มาตรวจสอบ
เยื่อหุม โปรตีน และกรดนิวคลิอิกที่พบในออรแกเนลล ไดผลดังตาราง

ผลการศึกษา
ออรแกเนลล DNA→Rขก.→protein
เยื่อหุม โปรตีน กรดนิวคลิอิก
A
ทาน
2 ชั้น
✓ พบ
ไหน
พบ
B ไมมี พบ ไมพบ
C ไมมี พบ พบ

จากขอมูล ขอใดคาดคะเนชนิดของออรแกเนลลไดถูกตอง

ขอ ออรแกเนลล A ออรแกเนลล B ออรแกเนลล C

0
1.
2.
ไมโทคอนเดรีย
ไมโทคอนเดรีย
เซนทริโอล
เซนทริโอล
ไรโบโซม
ไซโทสเกเลตอน
3. ไมโทคอนเดรีย ไรโบโซม ไซโทสเกเลตอน
4. คลอโรพลาสต ไลโซโซม ไรโบโซม
5.

คลอโรพลาสต ไรโบโซม เซนทริโอล
เอาแะciliatlagell
microtubule

Cell wall
CMM]
สวนที่หอหุมเซลล

iii.
Cell membrane 0]
Cells ←เอา
rprotein.LI,
Protoplasm จากrแก
เ ด iii. l ii.triole
1. ไมมีเยื่อหุม
วย นส
เกลอ
ในการ

Nucleus Cytoplasm - Ribosome , Centriole , Cytoskeleton


2. มีเยื่อหุม 1 ชั้น
ไ พบ
- ER , Golgi body ,?
ในานเ ครา
Lysosome
Cytosol Organelle
Vacuole , Peroxisome
3. มีเยื่อหุม 2 ชั้น lEndosymbiosis]
0
- Mitochondria , Chloroplast

① CircularDNA

③ Ribosome tos

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 4


Me
4. นักเรียนวัดขนาดเซลล A - D โดยใชกลองจุลทรรศนที่มีกําลังขยายของเลนสใกลตา 10X จากนั้น
คํานวณหาขนาดความยาวจริงของเซลลแลวบันทึกขอมูล แตพบวาขอมูลบางสวนสูญหายไป ดังตาราง

± °
กําลังขยายของ ขนาดของเซลลที่เห็นภายใต ขนาดจริงของเซลล
เซลล My
เลนสใกลวัต ถุ กลองจุลทรรศน (mm) MM (µm)
O
A 10X 4.5 ? 145
B ? 110N 2.3 23
C 4X 3.6 ? 1901
D ? 2.4 60
HH
หมายเหตุ : เครื่องหมาย ? แทนขอมูลที่สูญหาย

จากผลการศึกษา ขอใดถูกตอง
1. เซลล A มีขนาดจริงยาวที่สุด

02.3. เซลล B มีขนาดจริงสั้นที่สุด


ก า
เซลล C มีขนาดจริงสัยาว
้นกวาเซลล D
y
4. เลนสใกลวัตถุที่ใชศึกษาเซลล B มีกําลังขยาย 40Xแขก
y
5. เลนสใกลวัตถุที่ใชศึกษาเซลล D มีกําลังขยาย 10X
8
=Me×My ะ T.IO H M, ④ งาน
M,ะ40 = 3

ใ Meะ 108
ไทย
A
😐
อ เ
µ µ ๆ µµµmmµ µm
µ,
= ง.เ×แ
แ0 แ า
m,..เออ 4
g C = 90
A ะ Cell⑧ะMe ะ | ๓ D I.ะ2.4mm,0=60am
4.5😐

2.4×163
=49 M,ะ108D =
60×แ เ
lell⑧ะ Me|0xjMgg.es
ะ B = 2,3mm,0ะ23
µm
3
D ะ อ.ง4×แ
M,=10dB =
3😐เ 10
D ะ ×
B = 0.1😐 03

B s |0×

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 5


5. ในการศึกษาการลําเลียงสารของเซลล โดยบรรจุสาร A ซึ่งมีสีแดงในเซลลเทียม 3 ชนิด (ชนิดที่ 1 - 3)
ซึ่งมีองคประกอบของเยื่อหุมเซลลแตกตางกัน แลวนําไปแชในบีกเกอรในภาวะตาง ๆ เปนเวลา 30 นาที
สังเกตความเขมของสีแดงในเซลลเทียม ไดผลดังตาราง

องคประกอบของ ความเขมของสีแดง
เยื่อหุมเซลลเทียม ภาวะของบีกเกอรที่แชเซลลเทียม ในเซลลเทียมเทียบกับ
นอกcell] กอนการทดลอง ในcell]
ชนิดที่ 1 ฟอสโฟลิพิด สาร A ความเขมขน 1% เทาเดิม
simple

ชนิดที่ 2 ฟอสโฟลิพิด
diffusion
สาร A ความเขมขน 1% และใส ATP
สาร A ความเขมขน 10%
สาร A ความเขมขน 1%
เทาเดิม
เทาเดิม
เทาเดิม
|
ไ แบ

0 และโปรตีน X สาร A ความเขมขน 1% และใส ATP เทาเดิม


มาก1
facilitated diffusion สาร A ความเขมขน 110% ง เขมขึ้น
ชนิดที่ 3 ฟอสโฟลิพิด สาร A ความเขมขน 1% เทาเดิม
และโปรตีน Y สาร A ความเขมขน 1% และใส ATP ง เขมขึ้น
ww
Active transport. สาร A ความเขมขน 10% เทาเดิม

จากผลการทดลอง ถาเยื่อหุมเซลลเทียมมีสมบัติเปนเยื่อเลือกผาน ขอใดถูกตอง


1. สาร A มีการแพรแบบธรรมดาในเซลลเทียมชนิดที่ 1
×
2. สาร A มีการแพรแบบฟาซิลิเทตในเซลลเทียมชนิดที่ 2
03. สาร A มีการแพรแบบฟาซิลิเทตและแอคทีฟทรานสปอรตในเซลลเทียมชนิดที่ 3
X
4. โปรตีน Y ทําหนาที่ชวยพาสาร A เขาและออกผานเยื่อหุมเซลล

5. ถาแชเซลลเทียมชนิดที่ 2 ในสารละลาย A 10% และใส ATP ความเขมของสีแดง
ในเซลลเทียมจะเทาเดิม น⑧
เ เมืม่อเที ยบกับกอนการทดลอง
yyy
Pkdiffusion: านphospholipid
f
i
Facilitated diffusion

อย→มาก

าน ลอม
ง สาร ใชรา
แวะ านprotein
f
๓รขนาดให

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 6


6. ในการศึกษาการสรางพลังงานของแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่ใชในการผลิตโยเกิรตและมีกระบวนการหมัก
ไดแบบเดียว โดยเลี้ยงแบคทีเรียเปนเวลา 10 ชั่วโมงในภาวะที่มีกลูโคสเพียงพอ ทั้งนี้ ระหวางทดลอง

มีการปรับภาวะใหมป
ี ริมาณแกสออกซิเจนที่แตกตางกันในแตละชวงเวลา ไดผลการทดลองเปน ดังกราฟ

o ×iive phosphorylationเราเอง
0,มา
อย←lacticacid
1จากเ]
② ③

จากขอมูล ขอใดถูกตอง lacticacid fermentation แนว


สาม ปาง
โครง
1ชว
โมง
1. ชั่วโมงที่ 1 - 4 เซลล 5 ตแอลกอฮอล
มีการผลิ
การ 2AIP,
2. ชั่วโมงที่ 6 - 10 เปนชวงที่เซลลผลิตกรดแลกติกไดมากที่สุด
I
2lactate lacticacid ช
RBC,bacteriaบาง ด

y
3. หลังชั่วโมงที่ 6 เซลลมีการผลิตแกสคารบอนไดออกไซดนอยลง
t ⑥
4. ชั่วโมงที่ 4 ภายในหลอดทดลองมีปริมาณแกสออกซิเจนสูงกวาชั่วโมงที่ 6
×
5. ชั่วโมงที่ 2 เซลลมีการผลิต ATP และมี NAD+ จากกระบวนการหมักมารับอิเล็กตรอน
0 w
เ ด
จากGlycolysis

- พบที่ : เซลลพืช , ยีสต , แบคทีเรียบางชนิด


- ตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดทาย : Acetaldehyde
- ผลิตภัณฑที่ได : 2 ATP , 2 CO2 , 2 Ethanol

ในสภาวะ
พบ ไเ ยงพอ

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 7


7. ศึกษาอัตราการคายนํ้าของพืชชนิดหนึ่ง จํานวน 4 ชุดทดลอง โดยแตละชุดมีจํานวนใบและพื้นที่รวม
ไง
ของผิวใบเทากัน ไดผลดังกราฟ µ
ชบก

lipid
wai
epidermis


lowerepidermis

จากขอมูล พืชชนิดนี้มีจํานวนปากใบที่ผิวใบดานบนและดานลางแตกตางกันอยางไร
และพืชนี้ควรเปนพืชประเภทใด

ขอ จํานวนปากใบที่ผิวใบ ประเภทของพืช


1. ดานลาง เทากับ ดานบน พืชบก

02.3. ดานลาง มากกวา ดานบน
๛ ✓
ดานลาง มากกวา ดานบน
พืชบก

พืชนํ้าที่ใบปริ่มนํ้า
X
4. ดานลาง นอยกวา ดานบน พืชบก

5. ดานลาง นอยกวา ดานบน พืชนํ้าที่ใบปริ่มนํ้า
X

Mesophyte
- Typical stomata
Xerophyte
- Sunken stomata
mmmm

upper lowerepidermis]

Hydrophyte
- Raised stomata
- ปากใบอยูในระดับเดียวกับผิวใบ - ปากใบจมตํ่าเขาไปในเนื้อใบ - ปากใบยกสูง เหนือผิวใบ
- พบในพืชทั่วไป เชน ลีลาวดี - มักมีขนปองกันการระเหยของนํ้า - พบในพืชนํ้าที่มีใบปริ่มนํ้า เชน

lower
นบาง
epidermis>upperepidermis
- พบในพืชทนแลง เชน สับปะรดสี บัวสาย ใบยา ง
ปาก
wr =


¢ ใบ
ปาก
จน

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 8


านphloem
8. ศึกษาการลําเลียงอาหารในพืชใบเลี้ยงคูชนิดหนึ่ง ซึ่งมีการเจริญเติบโตปกติ ทําการทดลองโดยควั่นและ
wm
ลอกเนื้อเยื่อของลําตน 2 ตําแหนงที่ความลึกแตกตางกัน จากนั้น ใหคารบอนไดออกไซดในรูป 14CO2
กับใบพืชระหวางตําแหนงที่ 1 และ 2 ดังภาพ

t apicalmeristem,
° ใกขลาย
ยอด
i. ออนโดนV9
แบ19rcambium
lP emห ดออกไ การล เ
ศทาง
การล เ ยง า๓น. ยง ตาล

0 แ แ เป
โดน อกไ
periderm]

นางะ
การล เ ยง
ง ออ
แห ง บ
💔

หลังจากใหพืชสังเคราะหดวยแสงเปนเวลา 1 ชั่วโมง แลวนําเนื้อเยื่อบริเวณ ก. ข. และ ค.


มาตรวจสอบ 14C ในนํ้าตาล พบวาชุดควบคุมที่ไมมีการควั่นและลอกเนื้อเยื่อของลําตนพืช
จะตรวจพบนํ้าตาลที่มี 14C ในเนื้อเยื่อบริเวณ ก. ข. และ ค.

จากขอมูล ขอใดระบุความลึกของการควั่นเนื้อเยื่อชั้นที่ถูกลอกออกไปและตําแหนงที่พบนํ้าตาลที่มี 14C


ไดสัมพันธกัน

ขอ รอยควั่นตําแหนงที่ 1 รอยควั่นตําแหนงที่ 2 เนื้อเยื่อที่พบนํ้าตาลที่มี 14C


ลอกรวมถึงเนื้อเยื่อ ลอกรวมถึงเนื้อเยื่อ
1. วาสคิวลารแคมเบียม เพริเดิรม ข. และ ค. เทานั้น
0
2.
r
วาสคิวลารแคมเบียม
r
เพริเดิรม
✓ ✓
ก. และ ข. เทานั้น

3. วาสคิวลารแคมเบี
✓ ยม เพริ✓
เดิรม ก. เทานั้น
4. เพริเดิรม วาสคิวลารแคมเบียม
t ก. ข. และ ค.
X เµ
5. เพริเดิรม วาสคิวลารแคมเบียม ก. และ ข. เทานั้น
X i

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 9


9. พืชชนิดหนึ่งมีลักษณะลําตนตั้งตรง มีเนื้อไม มีใบรูปหัวใจ เสนใบแตกแขนงเปนรางแหกลีบดอกสีขาว
หนทาง
เมื่อเก็บเมล็ดพืชดังกลาวไปเพาะ พบวาตนออนมีใบเลี้ยงจํานวน 2 ใบ
นใบเ ยง lDicot]
ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับพืชชนิดนี้

แ ในา
1. ชั้นคอรเทกซและพิ ธของลําตนไมชัดเจน
y
2. ไมพบวาสคิวลารแคมเบียมและคอรกแคมเบียม
×
3. วาสคิวลารบันเดิลเรียงตัวกระจายอยูทั่วในเนื้อเยื่อพื้นของลําตน

มง 4แฉก
4. รากแกวมีจํานวนแฉกของไซเลม 102แฉก และพบพิธอยูบริเวณตรงกลางรากในชั้นสตีล
5. โครงสรางภายในของใบประกอบดวยเซลลมีโซฟลล 2 แบบ คือ แพลิเซดมีโซฟลลและ
0สปองจีมีโซฟลล

Root=7?Xylem อมรอบ 1 อก ในง


|1cm

1 แเงา
แ เว น
ระเ ยบ วไ เ นระเ ยบ

ท ? ด อและงแa,µarbunµ
24แฉกอ ตรงกลาง

nmesopny ไ แยก
leat mesophyll

rmesophyllแยก

f Palisademesophyll

0 spongymesophyll

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 10


MOmot
10. พืชชนิดหนึ่งมีเสนใบแบบขนาน เมื่อตัดใบตามขวางและสองดูใตกลองจุลทรรศนแบบใชแสงเชิงประกอบ
ww
พบคลอโรพลาสตในเซลลมีโซฟลลและเซลลบันเดิลชีทชัดเจน โดยพบวาพืชชนิดนี้ มีการตรึงคารบอน
บาง
ทั้งในเซลลมีโซฟลลและเซลลบันเดิลชีท = ช
① ① lg
จากขอมูล พืชนี้ควรเปนพืชกลุมใดและเปนพืชชนิดใด

ขอ กลุมของพืช ชนิดของพืช

01. C4
✓ ขาวโพด
mylmomot
2. C4 บานไมรูโรย
3. C3 อ ขาว
4. C3 ถั่วเหลือง
5. CAM วานหางจระเข

เ น าวมะ วง
เขตอนเ น อย าง างแแด ไ ะเ น

แ ใบเ ด
ปาก
1ค ง ๛

กาง
๛วง ①

ใบ ด
D:ปาก

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 11


11. ขอมูลโครงสรางภายในรังไขของพืช 2 ชนิด แสดงออวุลภายในรังไข เปนดังตาราง

÷ o
°
1200

o o
o ง
อ ง
อ ง
อ 0° embryosac:7Cell 8nucleus
2400งล
😉 Antipodalเงา

จากขอมูล ขอสรุปใดเปนไปไดมากที่สุด
แ central
แ11แวะpolarnucleiu
1. พืช ก. มีออวุลจํานวน ×
6 ออวุล

2. พืช ข. มีถุงเอ็มบริโอจํานวน 24 ถุง
oggi
๐ 🙂 gysmrgidm
03. พืช ข. มีเซลลไข 24 เซลล ในถุงเอ็มบริโอ 1 ถุง = µµµ,
f เซลไ าแ leggldl
แ1
4. เมกะสปอรของพืช ข. มีจํานวน 12 เซลลตอรังไข
X 24 งไ 1
5. โพลารนิวคลีไอของพืช ก. มีจํานวน 12 นิวเคลียสตอรังไข i เovule= เcentralcallpolarnuclei ะ 2nucleus]
ฬบก ะ120UUK82 = 24nucleus
- การปฏิสนธิคู (Double fertilization)ะบ น บคอกเ านน. tubecell
- หลังจากที่มีการสรางเซลลสืบพันธและถายละอองเรณู
generativecell
- เรณู (pollen) มาตกบนยอดเกสรตัวเมีย (stigma)
1. tube cell : มี tube nucleus ควบคุมการสรางหลอดเรณูดวยการงอกโดยผานรู micropyle
2. generative cell แบงเซลล mitosis ได 2 sperm cell
- เกิดการปฏิสนธิคู
- sperm (n) + egg (n) -> zygote (2n)
- sperm (n) + polar nuclei (n + n) -> endosperm (3n)

แคลน
๙ภาพ

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 12


12. ศึกษาการเจริญของตาขางในพืชชนิดหนึ่ง จํานวน 4 ตน (ก. – ง.) ซึ่งแตละตนมีอายุเทากัน
และมีลักษณะเหมือนกันทุกประการ โดยแตละตนทําการทดลอง ดังนี้
พืชตน ก. : ไมตัดปลายยอด Avtinปก
พืชตน ข. : ตัดปลายยอด
พืชตน ค. : ตัดปลายยอด และทาบริเวณที่ตัดดวยขี้ผึ้ง
พืชตน ง. : ตัดปลายยอด และทาบริเวณที่ตัดดวยขี้ผึ้งผสมสารที่มีสมบัติคลายออกซิน

จากนั้น นําพืชทุกตนไปวางในภาวะเดียวกันซึ่งเหมาะสมตอการเจริญของพืชเปนเวลา 2 สัปดาห
แลวสังเกตการเจริญของตาขางในพืชแตละตน

จากขอมูล พืชตน ก. ควรมีผลการทดลองเปนอยางไร และพืชตนใดควรมีผลการทดลอง


เหมือนกับพืชตน ก.

ขอ ผลการทดลองของพืชตน ก. ตนพืชที่มีผลการทดลองเหมือนกับพืชตน ก.


1. ไมพบการยับยั้งการเจริญของตาขาง ง. เทานั้น
2. ไมพบการยับยั้งการเจริญของตาขาง
×
ข. และ ค.
X
3. พบการยับยั้งการเจริญของตาขาง ค. เทานั้น
4. พบการยับยั้งการเจริญของตาขาง ง. เทานั้น
0
5.

พบการยับยั้งการเจริญของตาขาง

ค. และ ง.

ธรรมชา

f
Auxin (IAA)
- แหลงสราง : บริเวณยอดออน , ใบออน
บาง
- สรางจากยอดลําเลียงลงดานลาง , หนีแสง
หน
- หนาที่
- ชะลอการหลุดรวงของใบ ดอก และผล
- ชวยเรงการแตกของรากในการปกชํา
- ควบคุมการออกดอกของพืช
- ทําใหผลไมมีเมล็ด parthenocarpy fruit
- ใชเปนยาปรับวัชพืช (2,4-D)
- ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจะชักนําใหเกิดราก
- ยับยั้งการเจริญของตาขาง

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 13


13. กราฟแสดงปริมาณปรอทสะสมเฉลี่ยที่พบในเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต เมื่อเทียบตอนํ้าหนักแหง 1 กิโลกรัม
โดยศึกษาในสิ่งมีชีวิต 5 ชนิด (A - E) ที่อาศัยในระบบนิเวศเดียวกันซึ่งประกอบดวยผูผลิตและผูบริโภค
ลําดับตาง ๆ โดยกําหนดใหสิ่งมีชีวิตทั้ง 5 ชนิด มีความสัมพันธกันในโซอาหารหนึ่งซึ่งแตละชนิดอยูใน
ลําดับขั้นการกินอาหารที่ตางกันและเกิดไบโอแมกนิฟเคชันขึ้นในโซอาหารนี้

i วงโ
🙂 A Dac→B E

กฎ10
10,000
แ 100 10 1 kcalImol
มา อง

ย๓ บ โภค ง บ โภค

จากขอมูล ขอใดถูกตอง
ล บ
③ ② ① ล บด าย

1. สิ่งมีชีวิต E คือ ผูผลิต


X
2. สิ่งมีชีวิต C คือ ผูบ๗
ริโภคลําดับที่ 3
บ ③
มีปลริมาณปรอทสะสมเฉลี
3. สิ่งมีชีวิต B ล
Xl ก า
่ยในเนื้อเยื่อนอยกวาผูบริโภคลําดับที่ 2

4. ถาโซอาหารนี้เปนของระบบนิเวศทุงหญา สิ่งมีชีวิต D เปนสิ่งมีชีวิตกินพืช
y
o5. โซอาหารที่แสดงความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตกลุมนี้ คือ E àrB à C à D à A

- การสะสมสารพิษในโซอาหาร (Biomagnification)
- การสะสมปริมาณสารพิษในลําดับโซอาหาร เชน DDT ตะกั่ว หรือปรอท
- สิ่งมีชีวิตที่อยูทายหวงโซอาหารจะไดรับปริมาณสารพิษมากที่สุด

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 14


ปฐม
14. หลังการระเบิดของภูเขาไฟบนเกาะใกลฝงแหงหนึ่งทําใหลาวาปกคลุมทั่วทั้งเกาะ นักวิจัยไดสํารวจ
พืช 4 ชนิด (A - D) ซึ่งเปนพืชเดนของสังคมพืชที่เกิดการเปลี่ยนแปลงแทนที่บนเกาะนั้นจนเปน
สังคมสมบูรณ โดยนักวิจัยบันทึกรอยละการปกคลุมของพืชเดนแตละชนิดในแตละชวงเวลาเปนเวลานาน
45 ป ซึ่งพืชที่พบในชวงสุดทายสวนใหญจะเปนยางกลองและตะเคียนผลการศึกษาปรากฏดังตาราง

รอยละการปกคลุมของพืชเดนแตละชนิด
ปที่สํารวจ
พืชชนิด A พืชชนิด B พืชชนิด C พืชชนิด D
1 0 0 0 0
5 10 5 0 0
10 20 10 0 0
15 30 15 0 0
20 10 5 20 0
25 0 0 40 10
30 0 0 73 53
35
40
0
0
0
0
874
75
8 53
55
45 0 0 75 55

หมายเหตุ : ผลรวมของรอยละการปกคลุมของพืชเดนในแตละปที่สํารวจอาจมีคาเกิน 100


เนื่องจากพืชบางชนิดมีสวนที่ปกคลุมพื้นที่ซอนทับกัน

จากขอมูล ขอใดถูกตอง
1. พืชชนิด A เปนพืชในกลุมไมตนมอส
คน กเ ก]
X
X ไ น
2. พืชชนิด C เปนพืชในกลุมมอส
3. การเปลี่ยนแปลงแทนที่ที่เกิดขึ้นในบริเวณนี้เปนแบบทุติยภูมิ

o4.5. ตัปท้งแต ปที่ 30 ของการสํารวจ สังคมพืชในบริเวณนี้เปนสังคมสมบูรณ


r
ี่ 1 ของการสํารวจ มีชั้นผิวดินและเมล็ดของไมตนตาง ๆ สะสมอยูปริมาณมาก

↳การเป ยนแปลงแทน แบบ
การเป ยนแปลง แทน ยา .
①ป มา
µµµ

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 15


15. ขอใดถูกตอง N
×① เปน⑦
1. พืชจะนําไนโตรเจนไปใชในรูปของไนไตรท
แj
สวนใหญ
2. กระบวนการทางธรณีไมใชปจจัยหลักที่ทําใหเกิดการหมุนเวียนฟอสฟอรัส
× N ไง
3. กระบวนการไนตริฟเคชันเปนการเปลี่ยนแอมโมเนียมกลับเปนแกสไนโตรเจน
ywyy µ
4. เมื่อสิ่งมีชีวิตตายและถูกยอยสลายในดินจะไดไฮโดรเจนซัลไฟดซึ่งพืชสามารถนําไปใชไดทันที
Xmm so,
0อยูพื้นดิน เรียกวา ฝนกรด
5. กํามะกันในรูปแกสซัลเฟอรไดออกไซดในชั้นบรรยากาศเมื่อทําปฏิกิริยากับนํ้าและตกลง

1หา


จะด มNitrogenในปNn,
d. j
| ฎ กรไนโตรเจน
กนตอนอา ยbacteria
หมด
1icatimJ.my
⑨ ⑧ฎ กร กพอ แ]

°.

3L

😐 ญ
๑คน ←
imm.fi
③ท
HriticatimJ เ ม
ขแ ข →ของ

ฎ กรฟอสฟอ ส

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 16


Hetorogpore
อาณา กร ช
f
16. พืชชนิดหนึ่งมีระยะสปอโรไฟตเดน สรางสปอรสองแบบซึ่งจะเจริญไปเปนแกมีโทไฟตเพศผูและเพศเมีย
W Ml
แกมีโทไฟตเพศผูจะเจริญอยูบนตนสปอโรไฟตในระยะแรก หลังจากนั้นจะถูกปลอยออกอยูสิ่งแวดลอมใน
ขณะที่แกมีโทไฟตเพศเมียจะเจริญอยูบนตันลปอโรไฟตตลอดชีวิต ซึ่งการปฏิสนธินั้นจะเกิดจากการที่สเปรม
เขาผสมกับเซลลไโดยไมอาศัยนํ้าเปนตัวกลาง
]
จากขอมูล พืชชนิดนี้ควรจัดอยูในกลุมใด
1. ไบรโอไฟต ไช อล เ ]:Gametophyteเ น
\
2. สเปอรมาโทไฟต
ยง

03. โมนิโลไฟตกลุมเฟรน
4. ไลโคไฟตกลุมซีแลกจิเนลลา
5. โมนิโลไฟตกลุมหวายทะนอย

A ✓ Hetmp ง①micro
spore

mmmm ②megaspore

I
ะ ovarywall

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 17


๙๓
อาณา กร
17. พิจารณาไดโคโทมัสคียที่ใชระบุกลุมของสัตว A B C D และ E

011 ก.ข. ระบบหมุ


ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปด
นเวียนเลือดแบบปด
ดูขอ 2
ดูขอ 3

?
° 2 ก. ไมมีรยางคที่เปนขอตอ ๆ กัน (no jointed appendage) (A) imotlvsca:
หอย นทะเลเห กะ
2 ข. มีรยางคที่เปนขอตอ ๆ กัน (jointed appendage) (B) แมล Arthropod
งะ a:แมวแมลง
3 ก. ไมมีโนโทคอรด ①แtocord (C)
อ อ งญ
3 ข. มีโนโทคอรด hordata ⑧ องเห อก ดูขอ 4
แตงแกน
GO =
wm
4 ก. ไมมีถุงนํ้าครํ่า
③ dorsalnervecord
(D)
4 ข. มีถุงนํ้าครํ่า (E)
h ก ต เ อยคลาน ต เ ยง ก วย
①หาง
นม
ขอใดระบุสิ่งมีชีวิตไดถูกตอง

ขอ A B C D E
1. หมึก ปลิงนํ้าจืด แลมเพรย ปลากะพง เตา
2.
3.
§
หมึก
ลิ่นทะเล
ด แมงดาทะเล
ปลิงนํ้าจืด
ไสเดือนดิน
ไสเดือนดิน
ปลากะพง
ปลากะพง
ซาลามานเดอร
ซาลามานเดอร
✓ \
4. ลิ่นทะเล แมงดาทะเล แลมเพรย กบ เปด
✓ ป X 1ปกปากกลม1
5. ลิ่นทะเล แมงดาทะเล ไสเดือนดิน กบ เตา
0 เ ✓ ✓

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 18


ละ
18. ขอมูลชนิดเบสของดีเอ็นเอเกลียวคูขนาด 250 คูเบส จํานวน 5 โมเลกุล (ดีเอ็นเอ M - Q) เปนดังนี้
นาง
M ประกอบดวยเบสอะดีนีน (A) 150 เบส และเบสกวานีน (G) 100 เบส 1Aะ150,1ะ150 6ะ100,Cs100

N ประกอบดวยเบสไซโทซีน (C) 75 เบส
ตง บา
Cะ75,0ะtsl As7 →175
O ประกอบดวยเบสไทมีน (T) 125 เบส
A =115,9ะ125 C±G→120
P ประกอบดวยเบสอะดีนีน (A) 200 เบส
IA=200,1 ะ2001 C6ะ0→50
Q ประกอบดวยเบสไทมีน (T) 225 เบส และเบสไซโทซีน (C) 25 เบส
A=225 6=25
ขอใดเปรียบเทียบระหวางดีเอ็นเอแตละโมเลกุลไดถูกตอง
1. แเอา มา
M ใชพลังงานในการแยกเกลียวคูนอ ท า P1501
ยกว
µ
มีจํานวนเบสคูสมที่จับกันดวยพันธะไฮโดรเจน 2 พันธะมากกวแเรา
2. Nแ5 าQ อง
03.4. OP มีมีจจําํานวนพั
นวนเบสคูสมที่จับกันดวยพันธะไฮโดรเจน 3 พันธะมากกวาโมเลกุลอื่น

นธะฟอสโฟไดเอสเตอรมากที่สุด
X น1
t h5 ญ
5. Q มีจํานวนไพริมิดีนมากที่สุด

ไน

119เทยา2AMแ → เexpression]
19. ลักษณะสีขนกระตายเปนมัลติเพิลแอลลีล โดยสีขนแตละแบบถูกควบคุมดวยแอลลีล ดังนี้
ลักษณะขนสีนํ้าตาลควบคุมดวย C ลักษณะขนแบบชินชิลลาควบคุมดวย cch
ลักษณะขนแบบหิมาลายันควบคุมดวย ch ลักษณะขนเผือกควบคุมดวย c
เมื่อนํากระตายพันธุแทแตละลักษณะผสมกันไดลูกผสมดังตาราง

เพศผู สีขนกระตาย
เพศเมีย นํ้าตาล ชินชิลลา หิมาลายัน เผือก
นํ้าตาล นํ้าตาล นํ้าตาล นํ้าตาล นํ้าตาล
สีขน ชินชิลลา นํ้าตาล ชินชิลลา ชินชิลลา ชินชิลลา
กระตาย หิมาลายัน นํ้าตาล ชินชิลลา หิมาลายัน หิมาลายัน
เผือก นํ้าตาล ชินชิลลา หิมาลายัน เผือก

ขอใดกลาวถึงการขมของแอลลีลควบคุมลักษณะสีขนกระตายไดถูกตอง
1. c สามารถขม ch ได
wu
c cch>ch>c
2. c สามารถขม cch ได
3. cch สามารถขม ch ได
04. c สามารถขม c ch
และ ch ได
5. ch สามารถขม c และ cch ได

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 19


→①gene

→②chromosome
f. น แบบเขาแ
= <ลดลงเขาแ
20. นักวิจัยเพาะเลี้ยงเซลลเพื่อเพิ่มจํานวน แลวฉายรังสีเอ็กซใหเกิดมิวเทชัน พบวา บางเซลลมีลําดับ
นิวคลีโอไทดของยีน X แตกตางไปจากเซลลกอนไดรับรังสี ซึ่งสามารถจําแนกเซลลที่เกิดมิวเทชัน
ที่แตกตางกันได 5 แบบ (เซลล A - E) จึงศึกษาโปรตีน X จากเซลลดังกลาว ไดผลดังตาราง

เซลล ลําดับกรดแอมิโนของโปรตีน X ปริมาณโปรตีน X (เทา)


เซลลกอนไดรับรังสี Met-Arg-Ala-Cys-Ile-Gly-Thr 1
A Met-Arg-Ala-Cys-Ile-Gly-Thr 1
B Met-Arg-Ala-Cys-Ile-Asp-Thr 1
C mutation
Met-Arg-Ala
ทาน 1

นสง
D Met-Arg-Val-Val 1
E Met-Arg-Ala-Cys-Ile-Gly-Thr 3

จากขอมูล ขอใดถูกตอง

×
1. เซลล A : เกิดมิวเทชันระดับโครโมโซม
2. เซลล B : เกิดมิวเทชันจากการเพิ่มขึ้นหรือหายไปของ 3 นิวคลีโอไทด
X
3. เซลล C : เกิดมิวเทชันแบบนอนดิสจังชันlmmisivnction]
04. เซลล D : เกิดมิวเทชันจากการเพิ่มขึ้นหรือหายไปของ 1-2 นิวคลีโอไทด
y
5. เซลล E : เกิดมิวเทชันแบบเฟรมชิฟท
X
Silent mutation
ลําดับกรดอะมิโน ไมเปลี่ยนแปลง

Base pair substitution


(การแทนทีข
่ องคูเบส) missense mutation
เกิดขึ้นบางตําแหนงของยีน ชนิดกรดอะมิโนเปลี่ยนแปลง

nonsense mutation
ลําดับกรดอะมิโนเจอรหัสหยุด ทําใหสายสั้นลง

Frameshift mutation
Insertion : เพิ่มเบสขึ้นมา
(เปลี่ยนจํานวนเบส)

Deletion : เบสหายไป

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 20


21. กําหนดใหตารางรหัสพันธุกรรม เปนดังนี้

p เอ็นเอแมgi
ศทาง →
ถาลําดับนิวคลีโอไทดของดี แบบสายหนึ่งแสดงดังดานลาง โดยกําหนดให I II และ III
แสดงตําแหนงที่จะเกิดมิวเทชัน เปนดังนี้
③เ มะAIT ง AAI ⑧เ ม ล④
b
งง
s
UAA ขอA A
stop lev
= l I I | = stop stop

เมื่อเกิดกระบวนการถอดรหัส จะได mRNA ที่จะเขาสูกระบวนการแปลรหัสซึ่งมีลําดับนิวคลีโอไทด ดังนี้

⑨เ ม หา → 170

จากขอมูล ขอใดถูกตอง I, 121,1, | si ตอน


stop codon

1. หากไมเกิดมิวเทชัน จะไดพอลิเพปไทดที่ประกอบดวยกรดแอมิโนจํานวน 8 หนวยแห วย HI Asn
X
2. หากเบสในตําแหนง III ถูกแทนที่ดวยเบส C จะมีผลใหลักษณะฟโนไทปเปลี่ยนแปลง
\ ไ เบา เขลง
3. หากเบสในตําแหนง III ถูกแทนที่ดวยเบส A จะทําใหไดสายพอลิเพปไทดที่มีขนาดสั้นลง เยาวชน
X 1
4. หากเบสในตําแหนง I ถูกแทนที่ดวยเบส G จะไมสงผลใหชนิดของกรดแอมิโนเปลี่ยนแปลง
×
5. หากเพิ่ม 1 นิวคลีโอไทดในตําแหนง II จะทําใหเกิดเฟรมชิฟทมิวเทชัน และไดพอลิเพปไทด
o
ที่ประกอบดวยกรดแอมิโน 5 หนวย

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 21


22. การศึกษาโรคทางพันธุกรรมชนิดหนึ่งในกลุมประชากรหนึ่ง ซึ่งโรคนี้เปนลักษณะที่ควบคุมดวย
แอลลีลดอยบนโครโมโซม X (X-linked recessive) โดยแอลลีลเดนจะมีขนาด 700 bp แตแอลลีลดอย
มีขนาดเพียง 200 bp เนื่องจากมีนิวคลีโอไทดบางตําแหนงขาดหายไป XA
xa
เมื่อใชเทคนิค PCR เพิม
่ ปริมาณดีเอ็นเอแลวตรวจสอบดวยเทคนิคเจลอิเล็กโทรฟอรีซิส
เพื่อวิเคราะหยีนดังกลาวในกลุมประชากรนี้จะพบแถบดีเอ็นเอ 3 รูปแบบ (รูปแบบ A – C) ดังภาพ
XA µµ ya

y
A xa
px
ออ
จากขอมูล หากหญิงที่นําพาหะของโรคนี้มีลูกกับชายปกติ
รูปแบบของแถบดีเอ็นเอที่เปนไปไดในรุนลูกตรงกับขอใด
ง p px µ tt
Y 8 Ycc
ขอ รูปแบบที่เปนไปได
ลูกชาย ลูกสาว
แก
01.2. A และ C เทานั้น
A และ C เทานั้น
A และ B เทานั้น
r
B และ C เทานั้น
3. A เทานั้น A B และ C
4. C เทานั้น A B และ C
5. A B และ C A B และ C

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 22


ง เ นห น ไ เ นห น
บ นแ ว อง
p๙
23. เหตุการณในขอใดไมสามารถทําใหเกิดสิ่งมีชีวิตสปชีสใหมที่วิวัฒนาการตอไปได
กอ่งมีชีวิต 2 สปซีส ซึ่งทําใหไดลมอง
1. การผสมพันธุของสิ
บอ ก
ู ที่มีโครโมโซมเพิ่มขึ้นและสามารถสืบพันธุได
2. การแยกพื้นที่ทางภูมิศาสตร ซึ่งทําใหสิ่งมีชีวิตมีวิวัฒนาการใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอม
ในแตละบริเวณ
3. การผสมพันธุสัตวสปซีส A ที่มี 64 โครโมโซม และสัตวสปซีส B ที่มี 62 โครโมโซม ทําใหได
0 ลูกที่มี 63 โครโมโซม และเปนหมัไบน นอ อ ไไ
=

4. การเกิดมิวเทชันทําใหพฤติกรรมของสิ่งมีชีวต
ิ เปลี่ยนแปลงไป สงผลใหเกิดการแยกเหตุ
การสืบพันธุ (reproductive isolation) จากสิ่งมีชีวิตเดิม

5. การเกิดความผิดปกติของการแบงเซลลแบบไมโอซิสในสิ่งมีชีวิต ซึ่งทําใหไดเซลลใหมที่มี
ชุดโครโมโซมตางไปจากเดิม และยังสามารถสืบพันธุได

24. นักวิทยาศาสตรสกัดเอนไซมจากระบบยอยอาหารของมนุษย โดยนํามาทดสอบอัตราการเกิดปฏิกิริยา


ที่ pH ตางๆ ไดผลดังกราฟ และทดสอบการทําปฏิกิริยากับพอลิเพปไทดขนาดใหญและพอลิแซคคาไรด
ไดผลดังตาราง ① ⑦

il
pepsin
o อน

dme
0
hydrate
protein
เอนไซม สารกอนทําปฏิกิริยา สารที่ตรวจพบหลังการปฏิกิริยา
พอลิเพปไทด พอลิแซค- พอลิเพปไทด พอลิเพปไทด กรด พอลิแซค- ไดแซค-
ขนาดใหญ คาไรด ขนาดใหญ ขนาดเล็ก แอมิโน คาไรด คาไรด
A
B
++++
++++
++++
++++
+
++++
ทาง
+++
ไมพบ
ไมพบ
ไมพบ
++++
++
ไมพบ
++
ตน

C ++++ ++++ + + ++ ++++ ไมพบ

กําหนดให เครื่องหมาย + แทน ปริมาณของสารประเภทตาง ๆ

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 23


จากขอมูล ขอใดระบุชนิดของเอนไซมและอวัยวะที่พบเอนไซมแตละชนิดไดถูกตอง

ขอ เอนไซม A เอนไซม B เอนไซม C



O1. เพปซินcacti
หา อะไมเลส คารบอกซิเพปทิเดส ดปลาย c

2.

พบที่กระเพาะอาหาร

เพปซิโนเจน linactive
พบที่ชองปาก
คารบอกซิเพปทิเดส
พบที่ลําไสเล็ก
✓อะไมเลส
พบที่กระเพาะอาหาร พบที่ชองปาก พบที่ลําไสเล็ก
X
3. อะไมเลส เพปซิน เอนเทอโรไคเนส
พบที่ลําไสเล็ก พบที่ชองปาก พบที่กระเพาะอาหาร
4. คารบอกซิเพปทิเดส อะไมเลส เพปซิน
พบที่ลําไสเล็ก พบที่กระเพาะอาหาร พบที่ลําไสเล็ก
5.
X
เพปซิน อะไมเลส เอนเทอโรไคเนส
พบที่กระเพาะอาหาร
1
พบที่ลําไสเล็ก
น1 พบที่ลําไสเล็ก
× Trypsinogenhth
บอน 1 Trypsin
Ogen Trypsin: อยprotein
protein สนะ เอ ออ
3 procarboxypeptidase 😐 °
carboxypeptidase1 ดปลาย C]
อง
ปาก

นลาย]
อม → pepsin
บน
|epsinogen
Oligosaccharide

dextrin

บอ
m ฐ sg _ ๛

W
ดปลาย C

เ?คชม
ไาเ า
f ไไไ | อเาห อ]

หลอดเ อดฝอย

Lg
ดปลาย
N
t
หน

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 24


25. ชายคนหนึ่งมีสุขภาพแข็งแรง ประสบอุบัติเหตุซึ่งทําใหเกิดการฉีกขาดของผนังหลอดเลือด
อารเทอรีที่ดันขาขางขวา สงผลใหรางกายเสียเลือดในปริมาณมาก และวัดคาความดันเลือดไดที่
90/50 มิลลิเมตรปรอท ะhypotension BP⑥

บาดแผล
บน prothrombin thrombin
จากขอมูล ขอใดถูกตอง จาก บ b①
ง Fibrinogen งfibrin1 ด
แผล]
01. นการฉี
อยลง
กขาดของหลอดเลือดอารเทอรี ทําใหเนื้อเยื่อบริเวณปลายขาขวาไดรับแกสออกซิเจน
am
fibrin
2. รางกายมีการกระตุนใหโพรทรอมบินเปลี่ยนเปนทรอมบินที่มาสานกันเปนรางแหโปรตีน
บริเวณรอยฉีกขาด
การแ ง ว
ของ เ อด7 ไนลอน อง ไน ใ อด ไหลอนก บ
3. การฉีกขาดของหลอดเลือดอารเทอรีทําใหมีการทํางานของลิ้นที่อยูภายในหลอดเลือดมากขึ้น
เพื่อลดการไหลของเลือด uei
วแ มาPR→BP①
หา
4. เนื่องจากมีการเสียเลือดในปริมาณมาก หลอดเลือดอารเทอรีจะขยายตัวเพื่อใหเลือดไปเลี้ยง
เนื้อเยื่อตาง ๆ เพิ่มมากขึ้น
5. เมื่อความดันเลือดลดลง ระบบประสาทพาราชิมพาเทติกจะกระตุนใหหัวใจเตนเร็วขึ้นเพื่อให
X
มีการสูบฉีดเลือดเพิ่มขึ้น sym HR①

ใน
IA④

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 25


BP drop Baroreceptor
(Hypotension) (Aortic arch)
irta

สนบน
(+) HR , BP

26. นักวิทยาศาสตรศึกษาผลของสาร A ซึ่งเปนสารที่ออกฤทธิ์ตอระบบประสาท โดยทดลองเลี้ยง


เซลลประสาทของสัตวชนิดหนึ่งในภาวะที ① ②A จากนั้นกระตุนเซลลประสาทดังกลาว
่มีและไมมีสาร
๛ งง
ดวยสิ่งเรา แลววัดคาศักยไฟฟาเยื่อเซลล ไดผลดังกราฟ

จากกราฟ ขอใดกลาวถึงบทบาทของสาร A ไดถูกตอง


1. เพิ่มการเกิดระยะไฮเพอรโพลาไรเซชันของเซลลประสาท 1กราฟ อง
X ก า1
ตกลง
2. เพิ่มความสามารถในการตอบสนองตอสิ่งเราของเซลลประสาท
×
3. ขัดขวางการถูกกระตุนของเซลลประสาทไดโดยสมบูรณในชวง 10 ms แรก ะเ ด
Xปก
4. ขัดขวางกระบวนการดีโพลาไรเซชันในเซลลประสาทเมื่อเวลาผานไป 20 ms
05. เพิม่ การเปดของชองโซเดียมที่มีประตู (voltage-gated Na
y
+
channel) ของเซลลประสาท

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 26


แกะ1เ ด

Depolarization 1 วง
ห ง คน channel อ
epolariati
ไ พ อมน

name
nonelaw

① ⑤ 1 วง
แรก

เ ด1


ชด บอม
แบบ ็แ
channel

อไ งาน y
per
polarization

เ ดะบ อมไ งานา


RMPIระยะ ก1 }0mV ะ กษาRMP=7Noilkpump.

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 27


27.ชายคนหนึ่งรับประทานอาหารที่มีหนวยยอยของสารอาหาร ซึ่งมีโครงสรางทางเคมีดังนี้

0M group


ไง Aminogroup

0งaceharide Aminoacid
และภาพโครงสรางของหนวยไตเปนดังนี้

proximaltubule โ
รร
Distal tubule i อ

|

ขดวน ]=7 ดก
ปลาย บHaN

งµ⑦
กรอง
BPXGFR
Ibvc meetingµ ①
กก.น.
ให ④ Renalartery อรวม] = ?ดก บµ,ของ

100potHenle
แวะ①
เขานาก ดก บไป 1วp
ง otHenle
ล]ง
เขา ดก บทวง

ถาชายคนนี้มีการทํางานของหนวยไตเปนปกติ ขอใดถูกตอง
1. สารอาหาร ก. และ ข. จะยังมีการดูดกลับที่บริเวณ ×
E


2. ของเหลวที่ผานการกรองบริเวณ B จะมีความเขมขนของยูเรียมากกวาบริเวณ F
µ
3. ภายหลังจากการกรองที่หนวยไต จะมีโอกาสพบสารอาหาร ก. ที่บริเวณ D ได
04. สารอาหาร ก. และ ข. ถูกลําเลียงจากรางกายไปกรองที่บริเวณ C และดู ดกลับที่บริเวณ B
XIA
5. สารอาหาร ก. จะมีการดูดกลับที่บริเวณ A แตสารอาหาร ข. จะไมมีการดูดกลับที่บริเวณ A

① ⑧=7 ดก บ เวณA

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 28


①มและวัค⑦
28. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับเซรุ ซีนปองกันโรคพิษสุนัขบา เ ด alilatim เ ยก phagocyteมา
ท ลาย
ตง บา ก
1. แอนติบอดีจากเซรุมจะจับกับไวรัสพิษสุนัขบาอยางจําเพาะแลวปลอยเอนไซมเพื่อทําลาย
ไวรัสพิษสุนัขบา
✓ ๆ
① memorycell
เ 2. หลังจากไดรับวัคซีน เซลล
0 = ⑤
บีและเซลลทีสวนหนึ่งจะพัฒนาไปเปนเซลลความจําที่จําเพาะตอ
ไวรัสพิษสุนัขบา 11→①HelperHell cytotoxic Tiell

i. 3. หลังจากไดรับเซรุม แอนติ๛บอดีจะจับกับไวรัสพิษสุนัขบาIเพื่อใหเXซลล CD8 เขามาทําลาย
ไวรัสที่ถูกจับโดยแอนดิบอดี
CD9
t
4. หลังจากไดรับวัคซีน ไซโทไคนจากเซลล CD8 กระตุนใหเซลลบีพัฒนาไปเปนเซลลพลาสมา
เพื่อหลั่งแอนติบอดีที่จําเพาะตอไวรัสพิษสุนัขบา
5. ในกรณีที่แพทยวินิจฉัยวามีความเสี่ยงตอการเปนโรค แพทยอาจเลือกฉีดวัคซีนเพื่อให
แอนติบอดีสามารถจับกับไวรัสพิษสุนัขบาไดทันที

- การเสริมสรางภูมิคุมกัน (immunization)
- เปนภูมิคุมกันแบบจําเพาะเจาะจง
เอง immunization
0 มาบ
เปรียบเทียบ fActive fPassive immunization
ความหมาย รางกายรับ Antigen เขามา รางกายรับ Antibody เขามา

ตัวอยาง - ธรรมชาติ : ติดโรค - ธรรมชาติ : นํ้านมแม


- สังเคราะหขึ้น : วัคซีน - สังเคราะหขึ้น : ซีรัมพิษงู , พิษสุนัขบา
ขอดี อยูไดนาน , มีความจําเพาะ ใชไดทันที , ตอบสนองไว
รางกายมีการสราง antibody
ขอจํากัด ตองใชเวลาในการตอบสนอง lbt น1 อยูไดไมนาน , อาจจะมีการแพ
วัคซีนบางชนิดตอง booster ซํ้า
wmr

แกแ
rophage_
าcell
cytotoxic

ทาง
¥ ⑦ ¥๚ ②
cinactiei

wm
นาน

Active
active

c เ ดneutralization
lAg
wm

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 29


29. กราฟแสดงความดันยอยของออกซิเจนเมื่อวัดในบรรยากาศและวัดบริเวณตาง ๆ ของรางกายของ
ชายคนหนึ่งที่เดินทางไปเที่ยวสถานที่ A และ B โดยเปนแบบไปเชาเย็นกลับ เปนดังนี้
กําหนดให ความดันยอยของ 02 ที่ระดับนํ้าทะเล เทากับ 150 mmHg

P02

O ขก
ะ ง hypoxiaเขาคง

จากขอมูล ขอใดถูกตอง
A
Bf
1. ที่สถานที่ A และ B ชายคนนี้จะมีอัตราการหายใจเทากันเมื่อเดินดวยความเร็วเทากัน

๐2.3. ทีที่ส่สถานที ่ B ชายคนนี้ควรพกแกสออกซิเจนกระปอง เพื่อใชเมื่อรูสึกวิงเวียน


✓ อยก า
ถานที่ B รางกายของชายคนนี้จะมีการลําเลียงออกซิเจนในเลือดไดดีกวาที่สถานที่ A
4. ที่สถานที่ B รางกายของชายคนนี้จะมีการแลกเปลี่ยนแกสบริเวณถุงลมปอดไดดีกวาออก า ่A
เ ดนใน 0าไ เ ยงพอ
สภาวะ
5. ที่สถานที่ B ชายคนนี้จะมีโอกาสเกิดการสะสมของกรดแลกติ
บน
ที่ สถานที
1
กในกลามเนื้อนอยกวาเมื่อวิ่ง
ดวยความเร็วเทากันกับที่สถานที่ A

ก า

- Altitude sickness
ง ง ⑥ เ ดhypoxia เพราะ ]
กระ อง

P,

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 30


ใ ?Ag 1 บ ก.เ

j

ขา AgD
30. ชายคนหนึ่ง มีหมูเลือด B Rh- ประสบอุบัติเหตุ จําเปนตองไดรับเซลลเม็ดเลือดแดงและพลาสมา
ซึ่งจากประวัติพบวา เขาเคยไดรับเลือดที่มีหมูเลือด B Rh+ มากอน
ตน

ง1 AgD
จากขอมูลชายคนนี้สามารถรับเซลลเม็ดเลือดแดงและพลาสมาไดอยางปลอดภัยตามขอใด

Antigen ใ ใ
ขอ หมูเลือดของผูใหเซลลเม็ดเลือดแดง หมูเลือดของผูใหพAntibwyody
ลาสมา

O Rh- +
01.2. O Rh
✓+ fAB Rh
AB Rh -

3. B Rh- ← O Rh
+

4. B Rh+
AbA.฿ 0
AB Rh -

+
5. AB
× Rh B Rh-

บAb§ บ AgB
① ②
31.การเคลื่อนที่ของไสเดือนดินตองอาศัยกลามเนื้อวง กลามเนื้อตามยาว และเดือย ดังภาพ
Antagonism
ยาว ตาม
ด เ วอน
คลาย ตรง าม น
งาน
หด ว

0hrหด ว ยาวหด ว
ตาม
T
Y Qaim
ไอทะคลาย ว

f แก
ตาม
ยาวๆหด ว
คลาย ว
วง ะหด ว

จากขอมูล ขอใดถูกตอง
งง เค อน
1. เดือยเปนสวนที่ชวยทําใหเกิดการคลายและหดของกลามเนื้อ
y
2. ภาพที่ 1 กลามเนื้อวงบริเวณ A และกลามเนื้อวงบริเวณ B คลายตัว
คลาย ว
3. ภาพที่ 2 กลามเนื้อวงบริเวณ A และกล ามเนื้อตามยาวบริเวณ B คลายตัว
๐4. ภาพที① 0_
่ 2 เมื่อไสเดือนดินเคลื่อนที่ตออีกหนึ่งจังหวะ กลามเนื้อวงบริเวณ B จะหดตัว

5. การยืดยาวออกของลําตัวเกิดจากการคลายตัวของกลามเนื้อวงและกลามเนื้อตามยาว
\ wu sw

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 31


รองทรง

ก าม อาม
ต าะองง
ยาว ม
_
2
คลาย ว งว กลามเนื้อวง กลามเนื้อตามยาว
ยึดยาว หดตัว คลายตัว
=
ดาว→
t ย หด ว→
หดตัว คลายตัว หดตัว

ง กใ
ผ มด นน ง วembryo
32. กราฟแสดงความหนาของชั้นเอนโดมีเทรียมของผูหญิงคนหนึ่งเปนเวลาทั้งหมด 100 วัน

จากกราฟ ขอสรุปใดถูกตอง
ก⑧ใน เ อน2


1. ในวันที่ 25 จะสามารถตรวจพบฮอรโมน hCG จากปสสาวะ
2. ในชวงวันที่ 30 - 35 ฮอรโมนอีสโทรเจนเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว
×
3. หลังวันที่ 55 จะมีการหลั่ง LH และ FSH เพิ่มขึ้นเพื่อกระตุนใหเกิดการเจริญของฟอลลิเคิลในรอบใหม
×
05. ในชวงวันที่ 10 - 25 เอนโดมีเทรียมจะแบงเซลดและหนาขึ้น ซึ่งเปนผลมาจากการกระตุน_②

4. ในวันที่ 65 คอรปสลูเทียมจะยังไมสลายไปและยังมีการสรางฮอรโมนโพรเจสเทอโรนและอี สโทรเจน
โดย LH
progesterone

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 32



primaryoocyte luteum ชวงที่ 1 : Day 1- Day 13
หนาว cppu - มีการพัฒนาของ follicle ดวย FSH (สูง)
- มีการสราง estrogen เพื่อ positive feedback
⑦ secondary
oocyte
①M ไปกระตุนการหลั่ง LH
ชวงที่ 2 : Day 14
C0แห ①
แ O😐 hCG
- เกิดการตกไข (LH สูงมาก)
ชวงที่ 3 : Day 15 – Day 28
- เกิด corpus luteum
- Progesterone สูงมาก , estrogen สูง
ทําใหเกิดความหนาของ endometrium รองรับการฝงตัว
- ถาไมมี hCG : corpus luteum เปลี่ยนเปน corpus albicans

ตกไ

33. นักวิทยาศาสตรศึกษาพฤติกรรมของหนอนแมลงชนิดหนึ่ง โดยทดลองนําหนอนแมลงที่เพิง


่ ฟกออก
จากไขจํานวน 100 ตัว มาวางไวที่กึ่งกลางของกลอง โดยที่ปลายแตละดานมีสิ่งเราที่แตกตางกัน ดังภาพ

เมื่อผานไป 20 นาที นับจํานวนหนอนแมลงที่เคลื่อนที่ไปยังแตละดานของกลองและทําการทดลองซํ้า


จํานวน 3 ครั้ง โดยแตละครั้งไมใชหนอนแมลงตัวเดิมซํ้า ไดผลการทดลองดังตาราง

การทดลอง จํานวนหนอนแมลงที่พบในแตละดานของกลอง (ตัว)


ครั้งที่
1
0 42
มีแสงและชื้น มีแสงและแหง
0
0 58
ไมมีแสงและชื้น ไมมีแสงและแหง
0
2 59 0 41 0
3 49 0 51 0

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 33


จากขอมูล ขอใดถูกตอง

ขอ พฤติกรรมที่หนอนแมลงแสดง สิ่งเราที่มีผลตอพฤติกรรมนี้


1. ฟกซแอกชันแพทเทิรน ความชื้น
พล
2. โอเรียนเทชัน แสง

o3.4. โอเรียนเทชัน
แฮบิชูเอชัน
ความชื้น
O
แสง
5. แฮบิชูเอชัน ความชื้น

① พฤติกรรมทีม่ แี ตกําเนิด
Fixed action pattern - พฤติกรรมที่สัตวทุกตัวในสปชีสเดียวกันแสดงออกเหมือนกัน เปนแบบแผน
ww
เดียวกัน
- มีการแสดงพฤติกรรมอยางตายตัว โดยไมตองอาศัยประสบการณ
- พันธุกรรมมีบทบาทสําคัญในการตอบสนองตอสิ่งเรา
- เชน แมหานกลิ้งไขกลับเขารัง
โอเรียนเทชัน - สิ่งมีชีวิตจะตอบสนองตอปจจัยทางกายภาพ เชน แสง แรงโนมถวง
(orientation) ของโลก กระแสลม กระแสนํ้า
รีเฟล็กซ - รีเฟล็กซ (reflex) เปนการตอบสนองตอสิ่งเราที่มากระตุนโดย
รีเฟล็กซตอเนื่อง ไมจําเปนตองผานการประมวลผลจากสมอง เชน
- การกระตุกขาเมื่อเคาะที่เอ็นใตหัวเขาของมนุษย
- การกระตุกขาหนีเข็ม
- รีเฟล็กซตอเนื่อง (chain of reflexes)เ นการ๙างขงองนก
- เมื่อพฤติกรรมแบบรีเฟล็กซแรกเริ่มขึ้น จะสงผลตอรีเฟล็กซอื่น ๆ ไปเรื่อย ๆ
จนกวาจะไดรับสิ่งที่ตองการครบถวน จึงหยุดแสดงพฤติกรรม

② พฤติกรรมการเรียนรู
การฝงใจ. - สวนใหญเปนพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในชวงแรกเกิดของชีวิต
(Imprinting) - โดยที่สัตวจะสามารถจดจําสิ่งเราที่พบเจอเมื่อตอนแรกเกิดได
- แตพฤติกรรมแบบนี้จะเกิดขึ้นในชวงเวลาที่กําจัดชวงหนึ่งของชีวิตเทานั้น เรียกวา
ระยะเวลาวิกฤติ (Critical period)
แฮบิชูเอชัน - สัตวจะลดการตอบสนองตอสิ่งเราที่พบเจอบอยๆ
(Habituation) - แตไมไดมีผลกระทบตอการดํารงชีวิตของมัน
- เชน
- หมาเลิกเหาเมื่อเครื่องบินบินผาน
- นกเลิกกลัวหุนไลกา
- การฝาฝนกฎระเบียบตางๆ

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 34


การเชื่อมโยง - สัตวจะเรียนรูทจ
ี่ ะเชื่อมโยงระหวางสิ่งเรา 2 อยางที่ไดรับมาพรอมกัน
••
แบบการมีเงื่อนไข - ใชเปนแนวคิดในการฝกสัตวได
(Conditioning)

เ าวาง

แน.
การเชื่อมโยง - จํานวนครั้งที่ทําผิด มีความสัมพันธกับระบบประสามของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ
แบบลองผิดลองถูก - ทําขั้นอยางมั่วๆ ไปสัมพันธกับผลลัพธ
- ถาเกิดทําแลวดี! -> ก็ทําตอ
- ถาเกิดทําแลวไมด!ี -> ก็ไมทํา
- ตัวอยาง
- สอนใหโลมาจุบปากเราแลวใหปลาเปนรางวัล
- เด็กลองชิมขนมมั่วๆอันไหนไมอรอยก็จะไมกินอีก
- ไสเดือนดินในกลองตัว T ดานไหนมีไฟฟาซอตมัน รอบตอไปมันก็ไมไปดานนั้น
การใชเหตุผล - ตองใชความสัมพันธของขอมูลตาง ๆ มาแกไขปญหาเฉพาะหนา
ด - เปนรูปแบบพฤติกรรมที่มีความสัมพันธกับวิวัฒนาการของสมองสวนหนา
- ตัวอยาง
- คนแกปญหาในชีวิตประจําวัน
- ลิงชิมแพนชีเอากลองซอนกันเพื่อหยิบกลวยที่แขวนไว

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 35


34. ภาวะผิดปกติรูปแบบหนึ่งในสัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้านมบางชนิด เกิดจากการเจริญของผิวหนังที่ไมแยก
บท
ออกจากระบบประสาทในชวงการเจริญของเอ็มบริโอ ทําใหเกิดการอักเสบและสงผลตอการทํ างานของ
เครน
ระบบประสาทได

ภาวะดังกลาวเกิดจากความผิดปกติของสวนใดในระยะเอ็มบริโอ
1. เมโซเดิรม
2. โนโทคอรด
3. เอนโดเดิรม
4. เอ็กโทเดิรม

5. บลาสโทพอร

Ectoderm Mesoderm Endoderm


- ประ ระบบประสาท - กระดูก - ทางเดิน
- ปก ปกค มepidermis] - เลือด - ตับ หายใจ

- จกตา กระจกตา - _______
6ยง , _______ - ตอม

- Ena enamel สาร - ไต tonsil
|3thy
เค อบ น
]
- Med Adrenalmedulla - หัวใจ thymus
- Ecto ectoderm - กลามเนื้อ Hparathyroid
thyroid
- 2 Pi - Notochord
µµ
pitu - นอก , dermis , เนื้อฟน

t
µµµ
35. กราฟแสดงผลการทดสอบความทนตอนํ้าตาล (glucose tolerance test) ของผูทดสอบเพศหญิง
อายุ 40 ป จํานวน 2 คน คือ ผูทดสอบ A และผูทดตอบ B โดยรับประทานอาหารเปนเวลา 12 ชั่วโมง
กอนการทดสอบ การทดสอบทําโดยใหผูทดสอบแตละคนรับประทานสารละลายนํ้าตาลกลูโคสที่มีนํ้าตาล
กลูโคส 1 กรัมตอนํ้าหนักตัว 1 กิโลกรัม แลววัดระดับนํ้าตาลในเลือดทุก ๆ 30 นาที

1เบาหวาน1
°
1ปก 1

หมายเหตุ : ในคนปกติรางจะรักษาระดับนํ้าตาลในเลือดใหอยูที่ระดับ 70-100 mg/dL

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 36


A ะปก
จากแผนภาพขอใดถูกตอง B เบาหวาน transportmaxium แm แ80mgวาง

soe ytt
1. ผูทดสอบ B จะตรวจพบกลูโคสในปสสาวะ
2. ผูทดสอบ B มีการสรางกลูคากอนและอินซูลินผิดปกติ
×
3. ผูทดสอบ B มีความผิดปกดิของตัวรับอินซูลินที่เซลลตาง ๆ
= X
4. ชวงที่มีการอดอาหารจนถึงนาทีที่ 0 ผูทดสอบ A และ B มีการหลั่งอินซูลน
ิ เพื่อรักษา
×
ระดับนํ้าตาลในเลือด

05. การทํ
ภายหลังจากนาทีที่ 30 ผูทดสอบ A และ B มีระดับนํ้าตาลในเลือดลดลงเปนผลจาก
างานของฮอรโมนที่หลั่งจากเซลลบีตาของตับออน

linui
ฮอรโมนที่ควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือด
- บริเวณที่สรางคือ Islets of Langerhans 1 อมไ อ1

α-cell Islets of Langerhans



- สราง Glucagon
- อวัยวะเปาหมาย คือ ตับ เนื้อเยื่อไขมัน
- หนาที่
- เพิ่มระดับนํ้าตาลในเลือด
- สลายไกลโคเจนใหเปนกลูโคส
β-cell Islets of Langerhans
sm
- สราง Insulin
- อวัยวะเปาหมาย คือ สวนตาง ๆ ของรางกาย
- หนาที่
- ลดระดับนํ้าตาลในเลือด
- เปลี่ยนกลูโคสเปนไกลโคเจน

psnsuim?
- เบาหวาน (diabetes mellitus)
- สาเหตุ
- Type I : ตับออนไมสามารถสราง insulin ไดเพียงพอ
- ผูปวยตองฉีด insulin
- Type II : Receptor ไมทํางาน
- ผูปวยตองควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือด
- การตรวจโรคเบาหวาน
- Fasting Blood Sugar (FBS) > 126 mg/dl
- Glucose tolerance test
- งดรับประทานอาหารอยางนอย 12 ชั่วโมงแลวตรวจวัดระดับนํ้าตาลในเลือด
- ติดตามระดับนํ้าตาลในเลือดที่เวลาตาง ๆ จนครบ 180 นาที

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 37


ตอนที่ 2 แบบเลือกตอบเชิงซอน เลือกคําตอบที่ถูกตองในแตละคําถามยอย
จํานวน 5 ขอ ( ขอที่ 36 - 40 ) ขอละ 3.2 คะแนน รวม 16 คะแนน

N ะ5,000 p YYMy
36. การสํารวจถั่วลันเตาบนเกาะแหงหนึ่ง พบตนถั่วลันเตา 5,000 ตน ซึ่งเปนตนที่มีเมล็ดกลม 4,400 ตน

และมีเมล็ดขรุขระ 600 ตน โดยประชากรนี้มีความถี่จีโนไทปที่ควบคุมลักษณะเมล็ดแบบเฮเทอโรไซกัส
0
=hyy
เทากับ 0.36 2Pql4แ

กําหนดให แอลลีล Y ควบคุมลักษณะเมล็ดกลม สวนแอลลีล y ควบคุมลักษณะเมล็ดขรุขระ


= =
โดยเปนลักษณะทางพันธุกรรมแบบเดนสมบูรณ และประชากรถั่วลันเตานี้อยูในสมดุลของฮารด-ี ไวนเบิรก

จากขอมูล ขอความตอไปนี้ถูกตองใชหรือไม
s 2,60042t1800 10,000 = 0.70HI
Y
ขอความ
p
36.1 ความถี่ของแอลลีล Y เทากับ 0.52
\ F.52 ะ0.72 600
ใช หรือ ไมใช

วาง
ใช / ไมใช
µ|
36.2 ตนถั่วลันเตาความถี่จีโนไทปแบบฮอมอไซกัสโดมิแนนทมีจํานวน 800 ตน
°
ใช / ไมใช

พาด
36.3 ถาตอมา ตนที่มีลักษณะเมล็ดขรุขระมีการติดโรคระบาดและมีจํานวน
ใช / ไมใช
ลดลงมาก ความถี่จีโนไทป YY จะมากกวา 0.52
แน
Hardy Weinberg Equilibrium (HWE)
- กําหนดให
- ความถี่ของอัลลีล A ในประชากร = p , ความถี่ของอัลลีล a ในประชากร = 1

(p + q) 2 = 1 p2 + 2pq+q2 = 1

ะ60015,000
YY Yy yy =1
=
สง
15,แ แแก แµ
16001 ะ
5,0แ p0.36115,000
0.12X5,000 600 YY ะ44001800๐ะ2,600 → 26
q= 5,000f
กลม=4,400 ฐ sg.gg
โจทใ มา
ข ขระ=เองเyyy Yy=1 18น
001
ใ มา115,000→1,800
2600
2pq=0.36 lไทย
p2 10.360.12 Y ะ0.30
p2 =0.52X8,000→ 600
i.pt 2pq E
1MW

IO.tt 210A10.3 tIO.3

งาน
49,
4า ะ 0.09

😐
9 µ
=0.53

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 38


P บนUnipolar neuron

ft
37. นักวิจัยศึกษาโปรตีน P ที่เดนไดรตของเซลลประสาทรับความรูสึกจากหนวยรับความรูสึกที่
ผิวหนังโดยเซลลประสาทนี้มีแอกซอนออกจากตัวเซลล 1 เสนใย แลวแตกออกเปน 2 เสนใย
① ]
นักวิจัยไดทําการทดลองในเซลลประสาทรับความรูสึก 2 ชนิด ไดแก เซลลประสาทรับการสัมผัส
และเซลลประสาทรั②
บความเจ็บปวดในหนูทดลองปกติและหนูทดลองที่ไมมีโปรตีน P โดย
ทําการกระตุนเซลลประสาทรับความรูสึกโดยใชแทงโลหะปลายเรียบกดบนบริเวณที่รับความรูสึก
บนผิวหนังของหนูทดลองดวยขนาดแรงกดตั้งแต 0 - 200 มิลลินิวตัน (mN) แลววัดกระแสประสาท
ที่เกิดขึ้นในแอกซอนของเซลลประสาทรับความรูสึกโดยการใชไมโครอิเล็กโทรด จากนั้นบันทึก
คาเทรสโฮลดของการกระตุนดวยแรงกด ไดผลการทดลองดังกราฟ

0 •

จากขอมูล ขอความตอไปนี้ถูกตองใชหรือไม
ขอความ ใช หรือ ไมใช
37.1 เซลลประสาทที่นักวิจัยศึกษานี้ เปนเซลลประสาทสองขั้ว
37.2 หนูทดลองที่ไมมีโปรตีน P จะมีความผิดปกติเกี่ยวกับการรับ
0
ใช / ไมใช
ใช / ไมใช
0
กอง
ความรูสึกซึ่งทําใหมีความไวตอการรับรูการสัมผัสนอยกวาหนูปกติ

37.3 แรงกดขนาด 50 mN สามารถชักนําใหเกิดแอกชันโพเทนเชียลในแอกซอน
ของเซลลประสาทรับความเจ็บปวดของหนูที่มีและไมมีโปรตีน P 0
ใช / ไมใช

wm

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 39


38. กราฟแสดงการเจริญเติบโตของประชากรเมนทะเลในบริเวณหนึ่งเปนดังภาพที่ 1 และโซอาหาร
ที่แสดงลําดับขั้นการกินอาหารของเมนทะเลในบริเวณดังกลาวเปนดังภาพที่ 2

ภาพที่ 1 ภาพที่ 2

นากทะเล
x
G carrying capacity
Nsk rate0
เมนทะเล

สาหรายทะเล

จากขอมูล ขอความตอไปนี้ถูกตองใชหรือไม ป วs
กราบd
ขอความ flygistic growth
ใช หรือ ไมใช
38.1 กราฟแสดงการเจริญเติบโตของประชากรเมนทะเลในแบบเอกซ โพเนนเชียล

ใช / ไมใช
เนื่องจากไมมีปจจัยใด ๆ ในสภาพแวดลอมมาจํากัดการเจริญเติบโตของประชากร

38.2 ที่ตําแหนง A เมนทะเลมีขนาดของประชากรสูงที่สุดและประชากร
มีอัตราการเกิดเทากับอัตราการตายทําใหอัตราการเติบโตของประชากรเทากับศูนย
0ใช / ไมใช
wn
38.3 ถานากทะเลสูญพันธุไปจากบริเวณนี้ จะสงผลใหสาหรายทะเลมีจํานวนเพิ่มขึ้น
0
ใช / ไมใช

เ นทะเล

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 40


3. Stationary phase
- อัตราการเกิดใกลเคียงกับอัตราการตาย
imkl capacity
- มีปจจัยมาจํากัด คือ carrying ะอาหาร อ

2. Exponential phase ①
- ชวงหลังประชากรเพิ่มขึ้น
- มีการเพิ่มขึ้นของประชากร ⑧ เ ดตาย

อยางรวดเร็วแบบทวีคูณ
lrNI ②
- ไมมีปจจัยมาจํากัด ะ าk
(อุดมคติ)
ไง

2. Log phase
- เริ่มมีประชากรเพิ่มมากขึ้น ->
1. Lag phase ประชากรเพิ่มอยางรวดเร็ว
- ชวงแรกยังมีประชากรนอยอยู - มีอัตราการเกิดสูงกวาอัตรา
- มีอัตราการเกิดสูงกวาอัตราการ 1. Lag phase การตาย
ตาย - ชวงแรกยังมีประชากรนอยอยู
- มีการเพิ่มขึ้นของประชากรชา ๆ - มีอัตราการเกิดสูงกวาอัตราการตาย
- มีการเพิ่มขึ้นของประชากรชา ๆ

39. ศึกษาเกี่ยวกับการสังเคราะหดวยแสง โดยใสสาหรายสีเขียวในขวดทดลองแบบปด


①้าและแกสคารบอนไดออกไซด
ซึ่งแตละชุดการทดลองใชไอโซโทปของนํ ② ดังตาราง
จากนั้นใหแสงอยางเพียงพอจนอัตราการสังเคราะหดวยแสงคงที่ แลววิเคราะหไอโซโทป
W
ของสารผลิตภัณฑที่เกิดขึ้น

ภาวะในขวดทดลอง
ชุดการทดลองที่
นํ้า แกสคารบอนไดออกไซด
1
2
⑤H218O
H2O
CO2
C18O2
o
14
3 H2O CO2

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 41


จากขอมูล ขอความตอไปนี้ถูกตองใชหรือไม
ขอความ ใช หรือ ไมใช
39.1 จะตรวจพบ 18O2 เฉพาะในชุดการทดลองที่ 1 เทานั้น ใช / ไมใช
39.2 ผลจากการทดลองนี้ จะสามารถสรุปไดวา O2 ที่เกิดขึ้นในกระบวนการ ใช / ไมใช
สังเคราะห ดวยแสงมาจากแกสคารบอนไดออกไซดเขา
X มอง
39.3 ชุดการทดลองที่ 3 จะตรวจพบ 14C ในสารประกอบที่มีคารบอน 5 อะตอม
0 ใช / ไมใช
mm..?
เอ ahin cycle Ru
BP

แซม รูเบน (Sam Ruben) และ มารติน คาเมน (Martin Kamen)


ไ มาจาก
- การทดลองใชไอโซโทปของออกซิเจน (18O และ 16O) ในการระบุที่มาของ O2
0 2
การทดลองที่ 1 การทดลองที่ 2 แวว แเอ

° 0
ะ ✓
คลอเรลลา

- สรุปผลการทดลอง : O2 ที่เกิดขึ้นในกระบวนการสังเคราะหดวยแสงมาจากนํ้า

40. ศึกษาการทํางานของเอนไซมที่ไดจากเซลลสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งที่มีอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส


เปนเวลา 30 นาที ไดผลการศึกษาดังตาราง

r10factor. วบ ง
หลอด เอนไซม MgCI2 โปรตีน X โปรตีน Y pH ผลการทดลอง
ทดลอง (mL) (mL) (mL) (mL) อุณหภูมิของ ปริมาณสาร
หลอดทดลอง ผลิตภัณฑที่ได (mL)
A 10 1 5 5 7 คงที่ 0
B 10 1 0 5 7 คงที่ 0
C 10 0 10 0 7 คงที่ 0
D 10 1 10 0 7 สูงขึ้น 8
E
F
10
10
1
1
10
15
0
0
065 สูงขึ้น
สูงขึ้น
10
6

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 42


จากขอมูล ขอความตอไปนี้ถูกตองใชหรือไม

ขอความ ใช หรือ ไมใช


40.1 โปรตีน X เปนสารตั้งตน ใช / ไมใช
40.2 โปรตีน Y เปนโคเอนไซม
40.3 เอนไซมนี้ทํางานไดดีที่สุดที่ pH7 และปฏิกิริยานี้เปนปฏิกิริยาคายความรอน
oenr
00
0
ใช / ไมใช
ใช / ไมใช

@popbiology Ajpopbio Ajpopbio @popzzbiology Page 43

You might also like