You are on page 1of 19

เกรดสารเคมี คำจำกัดความ คุณลักษณะและการเลือกใช้งาน

- สารเคมีเกรดที่มีความบริสุทธิ์ต่ำ
- ไม่บอกรายละเอียดของสารเจือปน (impurity) ไม่มี
A good quality chemical grade used for
เกรดอุตสหกรรม การรับรองปริมาณสารปนเปื้อน
commercial and industrial purposes. Not
(Technical - ราคาถูก
pure enough to be offered for food, drug,
grade หรือ - สามารถใช้กับงานทดลองบางอย่างที่สารเจือปนไม่มี
or medicinal use of any kind
Commercial ผลต่อการทดลอง แต่ไม่ควรใช้เป็นสารทำปฏิกิริยาเพื่อ
grade) การวิเคราะห์เชิงปริมาณ

Also called pure or practical grade, and


- มีความบริสุทธิ์สูงกว่าเกรดอุตสาหกรรม (Technical
indicates good quality chemicals meeting
grade) แต่ระดับความบริสุทธิ์เท่าใดนั้นขึ้นอยู่กับ
เกรด Purified no official standard; can be used in most
บริษัทที่ทำการผลิต
(Practical grade) cases for educational applications. Not
- เหมาะสำหรับใช้ในงานวิเคราะห์ทั่วไป แต่ส่วนใหญ่
pure enough to be offered for food, drug,
มักใช้ทำ Blank Detection
or medicinal use of any kind

- มีความบริสุทธิ์สูงประมาณ 95%*(*แตกต่างตาม
A chemical grade of relatively high quality
เกรดห้องปฏิบัติ แต่ละแบรนด์ผู้ผลิต)
with exact levels of impurities unknown;
การ - ผู้ผลิตรับรองความบริสุทธิ์และปริมาณสูงสุดของสาร
usually pure enough for educational
ปนเปื้อน
applications. Not pure enough to be
(Laboratory - มีคุณภาพเทียบเท่าหรือสูงกว่าสารเคมีเกรดยา
offered for food, drug, or medicinal use of
reagent grade) - ชื่อเรียกเกรดห้องปฏิบัติการแตกต่างกันตามแต่ละผู้
any kind
ผลิต (ตารางด้านล่าง)

- สารเคมีที่มีความบริสุทธิ์ได้มาตรฐานตามที่ national
A grade of sufficient purity to meet or
formulary (NF) กำหนด
เกรด NF exceed requirements of the United States
- เหมือนกับเกรดทางยา
(National National Formulary. (Since bought out
- เหมาะสำหรับใช้ในงานที่ไม่ต้องคำนึงถึงความ
formulary grade) and merged with the United States
บริสุทธิ์ของสารเคมีจะมีสารเคมีอื่นเจือปน
Pharmacopeia, USP-NF)
(impurities) อยู่ในปริมาณปานกลาง

- มีความบริสุทธิ์สูง แต่ไม่ทราบความบริสุทธิ์ที่แน่นอน
A chemical grade of sufficient purity to แต่ข้อสำคัญยิ่งคือ จะต้องไม่มีสารที่เป็นพิษต่อ
meet or exceed requirements of the ร่างกายเจือปนอยู่
เกรดทางยา
United States Pharmacopeia (USP); - สารเคมีที่ผลิตตามเภสัชตำรับมาตรฐานของแต่ละ
(Pharmacopoeia
acceptable for food, drug, or medicinal ประเทศหรือทวีป ชื่อเรียกต่างกัน เช่น USP ของ
grade)
use; may be used for most laboratory สหรัฐอเมริกา (United State Pharmacopoeia), BP
purposes ของประเทศอังกฤษ (British Pharmacopoeia), EP
ของ European Zone (European Pharmacopoeia)

เกรดวิเคราะห์ High purity is generally equal to ACS - สารเคมีที่มีคุณภาพตามมาตรฐานของ ACS


(Analytical grade and suitable for use in many - สารนี้มีความบริสุทธิ์สูงมาก (ประมาณ 99%) มีสิ่ง
reagent grade) laboratory and analytical applications เจือปน(impurities) ค่อนข้างน้อย
- มีข้อมูลแสดงปริมาณสารสูงสุด และสารปนเปื้อน
สูงสุด (maximum limits of impurity) บนฉลากข้าง
ภาชนะบรรจุชัดเจน
- มีมาตรฐานที่กำหนดไว้ตามแต่ละบริษัทผู้ผลิต
- ใช้ในงานด้านเคมีวิเคราะห์ทางคุณภาพและปริมาณ
ในห้องปฏิบัติการ เหมาะสำหรับใช้ในงานวิเคราะห์ที่
ต้องการความแม่นสูง และใช้ในการเตรียมสารละลาย
มาตรฐาน

มีความบริสุทธิ์สูง มีคุณลักษณะเหมือนกันเกรด
เกรด ACS A chemical grade of the highest purity
วิเคราะห์แต่ที่เพิ่มเติมคือการได้รับการรับรอง ความ
(American and meets or exceeds purity standards
บริสุทธิ์ตรงตามมาตรฐานที่ระบุไว้โดย Reagent
chemical society set by the American Chemical Society
Chemicals Committee of the American Chemical
grade) (ACS)
Society

สารเคมีที่ใช้กับเฉพาะงาน หรือมีวัตถุประสงค์เฉพาะที่
เกี่ยวข้องกับเทคนิค เครื่องมือวิเคราะห์ เช่น
Primary standard grade: มีความบริสุทธิ์สูงมาก มี
คุณสมบัติเป็นสารมาตรฐานปฐมภูมิ มีใบรับรองแสดง
ผลการวิเคราะห์ (Certificated of Analysis: COA) ที่
แสดงรายละเอียดของสารปนเปื้อนอย่างชัดเจน
Spectroscopic grade: งานด้านสเปกโทรสโกปี มี
เกรดสารเฉพาะ ความบริสุทธิ์สูง ราคาแพง
งาน Research grade: งานวิจัยทั่วไป
(Specific Scintillation grade: งานด้านกัมมันตรังสี
reagent grade) Pesticide grade & Nano grade: งานวิเคราะห์สาร
กำจัดศัตรูพืช
Chromatographic grade: งานด้านเทคนิคโครมาโท
กราฟี (GC grade) มีความบริสุทธิ์สูงมาก ราคาแพง
Ultra-pure grade: งานด้านเทคนิคโครมาโทกราฟี
(HPLC grade, LCMS grade) มีความบริสุทธิ์สูงมาก
มีสารเจือปนต่ำ ระดับ ppb (ส่วนในพันล้านส่วน)
ราคาแพง

ชั้นคุณภาพของวัสดุอ้างอิง (Classification of Reference Materials) ชั้นคุณภาพของวัสดุอ้างอิงสามารถแบ่งออกเป็น


3 ชั้น คุณภาพ ได้แก่ วัสดุอ้างอิงชั้นปฐมภูมิ(Primary reference material) วัสดุอ้างอิงทุติยภูมิ (Secondary
reference materials) และวัสดุอ้างอิงภายใน หรือวัสดุอ้างอิงระดับใช้งาน (In-house or working reference
materials) ซึ่งจะมีค่าความ ไม่แน่นอนของการวัดเพิ่มขึ้นตามลำดับ

ความสอบกลับได้ของวัสดุอ้างอิง (Traceability of Reference Materials) วัสดุอ้างอิงเป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับการ


ถ่ายทอด ค ่าความถูกต้องของการวัดระหว่างห้องปฏิบัติการและ ค่าคุณสมบัติถ้าเป็นไปได้ควรสอบกลับไปสู่หน่วยวัด SI
หรือ ใช้วิธีทดสอบที่ให้ค่าความถูกต้องสูง (A hierarchy of method) ความสอบกลับได้ของวัสดุอ้างอิง และวัสดุอ้างอิง
รับรองตาม ข้อกำหนดของ ILAC P10:01/2013 ILAC Policy for traceability covered by the ILAC
arrangement in calibration ได้กล่าวไว้ดังนี้

1. ค่า Assigned values ของวัสดุอ้างอิงต้องได้จาก สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติที่มีขีดความสามารถแสดงในฐาน ข้อมูล


ของ The BIPM KCDB หรือผลิตโดยผู้ผลิตวัสดุอ้างอิง ที่ได้รับการรับรองความสามารถผู้ผลิตวัสดุอ้างอิง ตาม ISO Guide
34: 2009
2. วัสดุอ้างอิง และวัสดุอ้างอิงรับรองที่ผลิตโดย ผู้ผลิตอื่น ให้เป็นวัสดุสิ้นเปลืองที่มีผลกระทบต่อการทดสอบ ห้องปฏิบัติ
การต้องตรวจสอบวัสดุอ้างอิงและวัสดุอ้างอิง รับรอง ก่อนนำมาใช้งานว่าเหมาะสมหรือไม่ ตามข้อกำหนด ISO/IEC
17025: 2005 ข้อ 4.6.2 หรือ ISO 15189: 2012

หลักเกณฑ์ในการเลือกใช้วัสดุอ้างอิงให้เหมาะสม กับการใช้งาน ควรพิจารณาถึงประเภท ชั้นคุณภาพ และ


วัตถุประสงค์ของการใช้งาน และที่สำคัญความสอบกลับได้ ของวัสดุอ้างอิง ซึ่งต้องพิจารณาจากเอกสารหลักฐานประกอบ
เช่น เอกสารข้อมูลของวัสดุอ้างอิงและวัสดุอ้างอิงรับรอง ต้องมีรายละเอียดเป็นไปตาม ISO Guide 31: 2015 Reference
materials -- Contents of certificates, labels and accompanying documentation ซึ่ง ISO Guide 31: 2015
เป็นมาตรฐานที่ช่วยผู้ผลิตวัสดุอ้างอิงในการเตรียมเอกสาร ที่ใช้ประกอบกับวัสดุอ้างอิง อธิบายข้อบังคับ ข้อแนะนำและ
ประเภทของข้อมูลที่ใช้ในการพิจารณาเตรียมข้อมูลของ ผลิตภัณฑ์ และใบรับรองวัสดุอ้างอิง (RM certificates) ซึ่งข้อมูล
เหล่านี้จำเป็นสำหรับผู้ใช้วัสดุอ้างอิงและผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อตรวจสอบและยืนยันความเหมาะสมในการใช้งานของวัสดุ
อ้างอิงหรือวัสดุอ้างอิงรับรองนั้น และเอกสารนี้ยังกำหนด รายละเอียดที่ต้องมีประกอบกับวัสดุอ้างอิงคือ ชื่อวัสดุอ้างอิง ผู้
ผลิตและรหัสของผู้ผลิตสำหรับวัสดุ คำอธิบายรายละเอียด ของวัสดุ เหมาะสมกับใช้งานอะไร ข้อแนะนำสำหรับการ ใช้
งาน ข้อแนะนำสภาวะในการเก็บรักษาที่เหมาะสม การให้ ค่ารับรองคุณสมบัติ(Certified property values) และค่าความ
ไม่แน่นอนของการวัด วิธีทดสอบที่ใช้ในการหาค่ารับรอง ในกรณีที่ค่าการทดสอบนั้นขึ้นอยู่กับวิธีทดสอบ ผู้ผลิตต้อง
แสดงรายละเอียดให้ครบถ้วน และระยะเวลาที่สามารถใช้งานได้ หรือวันหมดอาย
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

Reference standard เป็นมาตรฐานสูงสุดที่มีอยู่ในห้องปฎิบัติการคับ ใช้เพื่อสอบเทียบ Working Standard อีกที ส่วน


ใหญ่จะอยู่ในรูปของ Reference Material คับ และในห้องปฎิบัติการ(โรงงานหรือบริษัท)ก็มักจะมีไว้แค่เพียงชิ้นเดียว ใช้
งานยังไงเดี๋ยวจะยกตัวอย่างให้ฟัง

Working Standard เป็นมาตรฐานในระดับรองลงมาจาก Ref. Standard อีกที เป็ นมาตรฐานที่เอาไปใช้ในการให้


บริการสอบเทียบโดยตรงเลย ในห้องปฎิบัติการมักจะมีไว้หลายชิ้นคับ

Primary Standard เป็นมาตรฐานสูงสุดของปริมาณคับ ได้มาจากการ Realization ในระดับห้องปฎิบัติการปฐมภูมิ


ส่วนใหญ่จะพบได้ที่ห้องปฎิบัติการของหน่วยงานมาตรวิทยาระดับชาติและนานาชาติ เนื่องจากต้องใช้เครื่องมือที่มีราคา
แพง(โครตๆ) Primary Standard ส่วนใหญ่จะเป็ นของ BIPM หรือองค์การชั่งวัดตวงระหว่างประเทศคับ และก็พวกห้อง
แล็บวิจัยชั้นนำต่างๆ เพราะพวกนี้ต้ องใช้เทคโนโลยีขั้นสูงสุดของวงการวิทยาศาสตร์ในการทำ Realization เชียวละ

Metrological Traceability หรือสายโซ่ของการสืบมาตรฐาน คุณจะไม่มีทางเข้าใจระบบมาตรฐานได้ถ้าไม่รู้จักตัวนี้คับ


ทำไมถึงต้องมีมาตรฐานหลายแบบหลายชนิด ก็เพราะว่าระดับของมาตรฐานนั้นไม่เท่ากัน เนื่องจากเหตุผลด้านงบ
ประมาณและการกระจายมาตรฐานให้ทั่วถึงจึงจำเป็ นต้องมีการถ่ายมาตรฐานออกไป มาตรฐานสูงสุดของโลกนั้นได้มา
จากกระบวนการ Realization ที่ BIPM เป็นผู้กำหนด ซึ่งไอ้การ Realization นั้นมันทำได้ยากมากๆ(ผมขอข้ามไป) การ
จะให้คนอื่นทำด้วยนั้นคงเป็ นไปไม่ได้ BIPM จึงใช้วิธีถ่ายมาตรฐานไปยังวัสดุอ้างอิงระดับต่างๆแล้วแจกไปยังนานๆ
ประเทศสมาชิก ซึ่งแต่ละประเทศเองก็จะมีการถ่ายมาตรฐานออกไปอีกเป็นทอดๆ
ตัวอย่าง การถ่ายทอดปริมาณด้านน้ำหนัก
Primary Standard

ที่ BIPM จะมีแท่ง Platinum-Iridium อยู่แท่งหนึ่งที่ถูกกำหนดให้เป็นมาตรฐานของมวล 1 กิโลกรัม สมมุติว่ามี


ความคลาดเคลื่อนที่ระดับนาโนกรัม

Secondary Standard

ทาง BIPM ก็จะทำการหาวัสดุอ้างอิงชั้นรองลงมา นำมาสอบเทียบกับแท่ง Platinum-Iridium อีกที เพื่อที่จะ


แจก(ขาย)เจ้าวัสดุอ้างอิงนั้นไปให้นานาประเทศนำไปอ้างอิงต่อไป ในชั้นนี้ความละเอียดของวัสดุอ้างอิงก็อาจลดลงมา
เหลือเพียงระดับ ไมโครกรัม บางบริษัทที่มีความจำเป็ นต้องใช้มาตรฐานระดับสูงก็สามารถเป็ นสมาชิกกับ BIPM และ
ขอรับวัสดุอ้างอิงระดับนี้ไปใช้ได้เช่นกัน สมมุติว่าบริษัท A รับ Standard Material ระดับนี้ไปใช้

บริษัท A ดำเนินการเกี่ยวกับการเทียบมาตรฐานมวลทั่วประเทศไทย
โดยบริษัท A มี Standard Material ในระดับสูงสุดที่ความละเอียดระดับไมโครกรัม เค้าก็จะใช้มันเป็ น Reference
Standard โดยถ่ายมาตรฐานไปยังมาตรฐานระดับรองลงไปอีกขั้น อาจทำให้ความละเอียดลดลงเป็ น มิลลิกรัม แต่
สามารถมีได้หลายอัน ก็คือ W1 W2 W3 W4 W5 ซึ่งล้วนได้รับการถ่ายมาตรฐานมาจาก Reference Standard อีกที
แล้วจึงเอาพวกๆ W1-5 นี่แหละไปใช้ในการเทียบมาตรฐานให้ลูกค้า เรียกว่า Working Standard เพราะว่าถ้าเอา Ref.
Standard ไปใช้เลยมันจะมีโอกาสเสื่อมมาตรฐานได้เพราะใช้งานบ่อยๆ และไม่มีความจำเป็ นที่ลูกค้าจะใช้มาตรฐานสูง
ขนาดนั้น

Metrological Traceability จึงเป็ น Working Standard (A company) --> Reference Standard(A Company)
--> Primary Standard(BIPM)

ซึ่งในความเป็ นจริงสายโซ่การสือบมาตรฐานอาจยาวกว่านี้มาก แต่คุณสมบัติสำคัญของสายโซ่นี้คือมันต้องไม่ขาดตอน


และความละเอียดของมาตรฐานจะลดหลั่นกันไปเรื่อยๆ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

การพิจารณาเลือกเกรดของสารเคมีเพื่อเตรียมสารละลายใช้ในห้องปฏิบัติการ
การพิจารณาเลือกเกรดของสารเคมีที่จะใช้ในห้องปฏิบัติการ ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการใช้งาน และประเภทของ
สารละลายที่จะเตรียม โดยทั่วไปประเภทของสารละลายที่ใช้ในห้องปฏิบัติการ จะมี 4 ประเภท ได้แก่
1) สารละลายมาตรฐาน คือ สารละลายที่ทราบความเข้มข้นที่แน่นอน และสามารถคำนวณความเข้มข้นจากการเตรี
ยม หรือการเทียบมาตรฐาน สารละลายมาตรฐาน แบ่งเป็ น 3 ระดับ ได้แก่ สารละลายมาตรฐานปฐมภูมิ (primary
standard) สารละลายมาตรฐานทุติยภูมิ (secondary standard) และสารละลายมาตรฐานตติยภูมิ (tertiary
standard) ส่วนสารละลายมาตรฐานสำหรับการปรับตั้งเครื่องมือแบ่งเป็ น 2 ระดับ คือ สารละลายมาตรฐานเข้มข้น และ
สารละลายมาตรฐานสำหรับใช้งาน (working standard)
1.1 สารละลายมาตรฐานปฐมภูมิ (primary standard) หมายถึงสารละลายที่ทราบความเข้มข้นที่แน่นอน
โดยการคำนวณจากน้ำหนักของสารมาตรฐานและปริมาตรของสารละลายที่เตรียม การเตรียมสารละลายมาตรฐานปฐม
ภูมิ ต้องเตรียมจากสารมาตรฐานปฐมภูมิ หากสารมาตรฐานเป็ นของแข็ง เตรียมโดยวิธีชั่งน้ำหนักที่ถูกต้องโดยใช้เครื่องชั่ง
ที่สอบเทียบแล้วค่าความไม่แน่นอนของการชั่งอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับ เครื่องแก้วที่ใช้ต้องเป็นเครื่องแก้ว class A ที่ผ่านการ
สอบเทียบ ถ้าสารมาตรฐานเป็ นของเหลว ต้องเจือจางโดยใช้เครื่องแก้ว class A ที่ผ่านการสอบเทียบ และคำนวณหาค่า
ความเข้มข้น โดยไม่ต้องเทียบมาตรฐานกับสารละลายหรือวิธีการใด สารละลายมาตรฐานปฐมภูมินี้ต้ องมีค่าที่เชื่อถือได้
เพราะต้องถ่ายทอดไปยังสารละลายมาตรฐานทุติยภูมิและผลการวัด ดังนั้นเจ้าหน้าที่ที่เตรียมสารละลายต้องมีทักษะและ
ความสามารถในการเตรียม
1.2 สารละลายมาตรฐานทุติยภูมิ (secondary standard) และสารละลายมาตรฐานตติยภูมิ (tertiary
standard) เป็นสารละลายที่ไม่ทราบความเข้มข้นที่แน่นอนจากการเตรียมโดยตรง เนื่องจากสารเคมีที่ใช้ในการเตรียม
สารละลายไม่มีสมบัติเป็ นสารมาตรฐานปฐมภูมิจึงไม่ทราบค่าที่ถูกต้อง การหาความเข้มข้นที่ถูกต้องทำโดยการเทียบ
มาตรฐานกับสารละลายมาตรฐานปฐมภูมิ
2) สารละลายรีเอเจนต์และอินดิเคเตอร์ เป็ นสารละลายที่มีความเข้มข้นโดยประมาณ ส่วนมากเป็ นหน่วยร้อยละ
การเตรียมสารละลายไม่จำเป็ นต้องใช้เครื่องมืออุปกรณ์ที่มีความแม่นสูง
3) สารละลายบัฟเฟอร์ เป็ นสารละลายที่มีค่าพีเอชคงที่ หรือเปลี่ยนแปลงน้อยเมื่อเติมน้ำกลั่น หรือกรด หรือเบสลงไป
เล็กน้อย สารละลายบัฟเฟอร์เตรียมจากกรดอ่อนกับเกลือของกรดอ่อน การเตรียมสารละลายบัฟเฟอร์ต้องทราบ
วัตถุประสงค์ของการนำไปใช้งาน เช่นสารละลายบัฟเฟอร์ที่ใช้สำหรับปรับพีเอช จะเตรียมเหมือนกับการเตรียมรีเอเจนต์
แต่ถ้าใช้สำหรับปรับตั้งเครื่องวัดพีเอช ต้องเตรียมเหมือนกับการเตรียมสารละลายมาตรฐาน
4) สารละลายที่ใช้งานทั่วไป เช่น สารละลายสำหรับล้างทำความสะอาดเครื่องมือ เครื่องแก้ว สารละลายเหล่านี้
เตรียมโดยใช้เครื่องชั่งที่มีความสามารถในการอ่านเป็ นกรัม และเติมตัวทำละลายโดยใช้กระบอกตวง หรือปรับปริมาตรใน
ภาชนะบรรจุ เช่น flask หรือ beaker
เกรดของสารเคมี
สามารถแบ่งได้หลายระดับ เช่น
- ACS certified grade มีคุณภาพตามมาตรฐานตาม American Chemical Society ใช้ในห้องปฏิบัติการโดย
ทั่วไป
- Primary standard grade มีคุณภาพสูงใช้ในการเตรียมสารละลายมาตรฐาน

- Reagent grade มีคุณภาพสูง มีมาตรฐานเทียบเท่า ACS certified grade

- Practical or Purified grade มีสิ่งเจือปนบ้าง มักใช้เฉพาะงานทาง การศึกษาและงานทางอนินทรีย์เคมี


(Inorganic chemical)

- Commercial orTechnical grade นิยมใช้ในงานทางอุตสาหกรรม

สารเคมีที่ใช้ ในห้องปฏิบัติการ มี คุณภาพ แตกต่างกันขึ้นอยู่ จุดมุ่งหมาย การใช้งาน ว่าจำเป้ นต้องใช้ความบริสุทธิ์


ของสารนั้นๆ ระดับใด การเลือกใช้สารเคมีที่ถูกต้องทำให้ห้องปฏิบัติการสามารถประหยัดค่าใช้จ่าย โดยที่ผลการทดสอบ
ยังมีความถูกต้อง สารเคมีที่ใช้มีเกรดต่างๆ ดังต่อไปนี้
1) Technical or Commercial grade สารเคมีชนิดนี้มีความบริสุทธิ์ไม่สูง ใช้สำหรับงานที่สารมลทินไม่มีผลก
ระทบต่องาน เช่น สารละลายที่ใช้สำหรับทำความสะอาดเครื่องแก้ว/อุปกรณ์ สารดูดความชื้น สารละลายดักจับไอสาร
กัดกร่อน เป็ นต้น
2) USP grade สารเคมีชนิดนี้เป็ นสารเคมีที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน United States Pharmacopia มีความ
บริสุทธิ์สูง ใช้สำหรับการวิเคราะห์ทดสอบด้านอาหาร ยา เครื่องสำอาง และการทดสอบที่ระบุเกรดสารเป็ น USP grade
3) Reagent grade เป็นสารเคมีที่มีคุณภาพตามมาตรฐานของ Reagent Chemical Committee of the
American Chemical Society (ACS) มีข้อมูลแสดงปริมาณสารสูงสุด และสารปนเปื้อนสูงสุด (maximum limits of
impurity) บนฉลากข้างภาชนะบรรจุชัดเจน
4) Primary standard grade เป็นสารเคมีที่มีความบริสุทธิ์สูง มีสมบัติเป็ นสารมาตรฐานปฐมภูมิ มีใบรับรอง
แสดงผลการวิเคราะห์ (Certificated of Analysis : COA) ที่แสดงรายละเอียดของสารปนเปื้อนอย่างชัดเจน ใช้เป็ นสาร
มาตรฐานสำหรับการวิเคราะห์ทดสอบทางเคมี และสารมาตรฐานสำหรับการวิเคราะห์โดยใช้เครื่องมือ (working
standard)

Chemical Grade

สารเคมี คือ สารอินทรีย์หรืออนินทรีย์ที่ทราบน้ำหนักสูตรโมเลกุลที่แน่นอนและมีความบริสุทธิ์เพียงพอที่ใช้กับงานวิเคราะห์


ทางวิทยาศาสตร์เพื่อทำการทดสอบการวัดและการตรวจสอบค่าต่าง ๆ ได้ โดยเราสามารถแบ่งเกรดสารเคมี (Chemical
grade) แบ่งเป็ นประเภทต่าง ๆ ตามสมบัติเฉพาะ เช่น ความบริสุทธ์ ปริมาณสารปนเปื้อน มาตรฐานที่ผลิตหรือรับรอง ซึ่ง
นักเคมีหรือผู้ทดลองต้องเคยใช้และรู้จักกับชื่อเรียกเกรดสารเคมี เช่น เกรดวิเคราะห์ (AR grade) เกรดปฏิบัติการ (lab
grade) เกรด USP เกรด ACS หรืออาจเคยเห็นตัวย่ออื่น ๆ อีกมากมาย สารเคมีที่ใช้ในห้องปฏิบัติการสามารถแบ่งเป็ น
เกรดตามระดับความบริสุทธิ์และการนำไปใช้งาน
ในวันนี้เราจะพูดถึงการแบ่งเกรดสารเคมีที่ผลิตจำหน่าย สามารถจำแนกตามความบริสุทธิ์ได้หลักหลายเกรดโดยเราจะ
แบ่งออกเป็ น 6 ประเภทดังนี้ ประเภทนี้เราจะสามารถแยกได้อีกสองกลุ่มตามความบริสุทธิ์ได้แก่
1.สารเคมีสำหรับอุตสาหกรรม (Technical grade / Commercial grade )

สารประเภทนี้มักมีสารปนเปื้อนจำนวนมาก ค่าความบริสุทธิ์จะต่ำกว่า 90% (purity < 90 %) นิยมใช้ในงานทาง


อุตสาหกรรมทางการเกษตร การทดลองหรือใช้งานในโรงเรียน มักมีการจำหน่ายในขนาดบรรจุที่ใหญ่ เช่น 15 ลิตรหรือ
200 ลิตรเป็ นต้น อาจจะไม่มีฉลากข้อมูลที่ชัดเจน หรือรายละเอียดแสดงมากนัก อาจแสดงเพียงแค่ชื่อสารหรือชื่อทางการ
ค้า
2.สารเคมีเกรดห้องปฏิบัติการ (Laboratory grade / Extra Pure Grade) สารเคมีประเภทนี้ มีความบริสุทธิ์สูง
มากกว่า 95% (purity ≥ 95 %)มากพอที่จะใช้เป็ นสารทำปฏิกิริยาโดยทั่วไป แต่ไม่เหมาะจะใช้เป็ นสารมาตรฐานปฐมภูมิ
3.สารเคมีเกรดวิเคราะห์ (Analytical grade (AR) / ACS grade / Guaranteed Reagent (GR) ) สารเคมีในกลุ่มนี้
ส่วนใหญ่จะมีมีความบริสุทธิ์สูงมากกว่า 99 % (Purity ≥ 99 %)ใช้เพื่อการสังเคราะห์สาร ใช้ในงานเคมีวิเคราะห์หรือหา
สารที่ใช้ในงานวิจัย
4.สารเคมีเกรดมาตรฐาน (Standard grade) สารมาตรฐานใช้เพื่อเปรียบเทียบทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ โดยในการ
วิเคราะห์ตัวอย่างหรือสารใดๆ ด้วยเครื่องมือวิเคราะห์ เช่น HPLC, LC-MS, GC, IC, ICP, AAS, Titration, Photometer
เป็นต้น จำเป็ นต้องมีสารมาตรฐานที่มี Purity ระบุชัดเจน มาเพื่อเป็ นตัวเปรียบเทียบ
5.Certified Reference material (CRM) สารมาตรฐาน (Standard grade) ที่ระบุค่า Purity และ Uncertainty ซึ่งได้รับ
การรับรองและสามารถสอบเทียบกลับไปยังสารมาตรฐานปฐมภูมิ (Primary Standard) ได้ เช่น เคมีวิเคราะห์ทั่วไปจะ
สอบเทียบไปยังสารมาตรฐาน NIST หรือ วิเคราะห์ทางด้านยาจะสอบเทียบกลับไปยังสารมาตรฐาน USP , EP , BP
เป็นต้น
6.เกรดอื่นๆ คือ สารเคมีเกรดที่สามารถนำไปใช้เป็ นวัตถุดิบ (Raw Material) หรือ สารเติมแต่ง (Additive) เช่น Food
Grade (FG) / Food Chemical Codex (FCC) คือ เกรดที่สามารถผสมไปในอาหาร หรือเครื่องดื่ม หรือ Personal care ที่
สัมผัสหรือเข้าสู่ร่างกาย ซึ่งมีเอกสารรับรอง เช่น CoA , Halal , Kosher , Allergen , GMO เป็นต้น Pharma grade (USP,
EP, etc.) คือ เกรดสำหรับงานด้านยา ซึ่งมีเอกสารรับรอง เช่น CoA , ISO , GMP เป็นต้น
ารางแสดงชื่อเรียกของเกรดสารเคมีของแต่ละผู้ผลิต
เกรด
บริษัทผู้ผลิต ประเทศ เกรดห้องปฏิบัติการ
อุตสาหกรรม

Alfa Aesar England - LAB

Fisher Chemical England Technical Extra pure, Analysis

Acros Organic Belgium Technical Extra pure

MERCK Germany Technical Pure, Lab

Sigma USA Techn. Purum

Daejung Chemical Australia Technical Extra pure (EP)

AJAX Finechem Australia Technical UNILAB


LGC Standard Germany Technical Extra pure

FLUKA Switzerland Techn. Purum

BDH England Technical LR Purified

Carlo Erba Italy RE ERBApharm

HiMedia India Technical/Purified Extra pure/ L.R.

KemAus Australia Technical Laboratory reagent

Chemsupply Australia Technical Laboratory reagent

QReC New Zealand - Extra pure

Loba Chemie India - Extra pure

You might also like