You are on page 1of 16

รายงานผลการดำเนินโครงการ

โครงการเสริมสร้างความคิดที่ดีในการทำงาน
คณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชาเลขานุการทางการแพทย์
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
พ.ศ. 2566
คำนำ

โครงการเสริมสร้างความคิดที่ดีในการทำงาน นี้สามารถสำเร็จลุล่วงได้
ด้วยความร่วมมือกันของสมาชิกภายในกลุ่ม โดยมี อาจารย์มนสินี สุข
มาก คอยให้คำแนะนำในการให้คำปรึกษาเกี่ยวกับแนวทางในการ
ดำเนินโครงการ ตั้งแต่ริเริ่มโครงการ จนโครงการดำเนินมาแล้วเสร็จ
โดยโครงการนี้เป็ นพัฒนาทัศนคติเชิงบวกต่อการทำงาน พัฒนาความ
สัมพันธ์ที่ดีในองค์กร เพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน พัฒนาองค์กรโดย
รวมโครงการเสริมสร้างความคิดที่ดีในการทำงานนั้นเอง

ในโอกาสนี้โครงการเสริมสร้างความคิดที่ดีในการทำงานสำเร็จลุล่วงไป
ได้ด้วยดี โดยมีสมาชิก บริหารจัดการโครงการ คอยร่วมมือ และใส่ใจ
รายละเอียดต่างๆ ขอขอบคุณผู้รับผิดชอบดำเนินงานโครงการทุกท่าน
ที่ช่วยให้การดำเนินงานบรรลุตามเป้ าหมายที่กำหนดได้เป็ นอย่างดี

คณะกรรมการดำเนินโครงการ

นางสาว สิริรัตน์ มีกุล ประธานคณะกรรมการ


นาย ภัทรพล จันทา รองประธานคณะ
ม่วง กรรมการ
นาย ธนวัฒน์ ฟอง คณะกรรมการ
ทอง
นางสาว ณิชาพัชร คณะกรรมการ
คำสมหมาย
นางสาว ชื่นนภา สุด คณะกรรมการ
พังยาง
นางสาว ปทุมพร คณะกรรมการ
เหล่าทอง
นางสาว นุชจนาจ เลขานุการประธาน
ขุนทอง คณะกรรมการ
นางสาว สุดธิดา ขัน ผู้ช่วยเลขานุการ
ธนิธิ
สารบัญ

คำนำ

สารบัญ

บทที่ 1
1
บทนำ
หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์
ลักษณะโครงการ
กลุ่มเป้ าหมาย
วิธีดำเนินการ
ผู้รับผิดชอบ
ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ
สถานที่ในการดำเนินโครงการ
งบประมาณในการดำเนินโครงการ
การติดตามและประเมินผล
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เป้ าหมายผลการดำเนินโครงการ
บทที่ 2
วิธีดำเนินโครงการ
แผนการดำเนินโครงการ
การประชาสัมพันธ์
วิทยากร
เอกสารประกอบการบรรยาย
กำหนดการ
ผลการสำรวจความต้องการรับบริการวิชาการ
บทที่ 3
ผลการดำเนินโครงการ
ภาพกิจกรรม
ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ผลการติดตามการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
บทที่ 4
สรุปผลและข้อเสนอแนะ (ถ้ามี)
สรุปผล
ข้อเสนอแนะ (ถ้ามี)
องค์ความรู้ที่ได้จากการดำเนินโครงการ

ภาคผนวก
บทที่ 1
บทนำ

หลักการและเหตุผล
ในปั จจุบันสภาพการทำงานมีการแข่งขันสูง พนักงานต้องเผชิญ
กับความเครียดและความกดดัน พนักงานบางคนมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อ
การทำงาน ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงาน ความสัมพันธ์ระหว่าง
พนักงานไม่ดี มีความขัดแย้งและความตึงเครียด องค์กรจะมี
ประสิทธิภาพในการทำงานต่ำ องค์กรจะประสบปั ญหาในการบรรลุเป้ า
หมาย สาเหตุก็อาจจะมาจากการที่พนักงานขาดทักษะการคิดบวก
พนักงานไม่ได้รับแรงจูงใจในการทำงาน องค์กรไม่มีระบบส่งเสริมความ
คิดดีในการทำงาน องค์ไม่มีบรรยากาศการทำงานที่ดี องค์ควรจัดการ
ปั ญหานี้โดยการจัดโครงการเสริมสร้างความคิดที่ดีในการทำงาน
พัฒนาทักษะการคิดบวกของพนักงาน สร้างแรงจูงใจในการทำงาน
พัฒนาระบบส่งเสริมความคิดในการทำงาน สร้างบรรยากาศการ
ทำงานที่ดี ผลลัพธ์ที่ออกมาคือ พนักงานมีทัศนคติที่ดีต่อการทำงาน
ความสัมพันธ์ที่ในองค์กร ประสิทธิภาพการทำงานที่สูงขึ้น องค์กร
พัฒนาโดยรวม ประโยชน์ที่จะได้รับพนักงานมีความสุขในการทำงาน
องค์กรมีประสิทธิภาพ องค์กรบรรลุเป้ าหมาย องค์กรประสบความ
สำเร็จ
โครงการเสริมสร้างความคิดที่ดีในการทำงาน เป็ นโครงการที่มี
ความสำคัญ มีประโยชน์และคุ้มค่า องค์กรควรจัดโครงการนี้ เพื่อ
พัฒนาทัศนคติของพนักงาน พัฒนาความสัมพันธ์ในองค์กร เพิ่ม
ประสิทธิภาพการทำงาน และพัฒนาองค์กรโดยรวม
วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาทัศนคติเชิงบวกต่อการทำงานของพนักงาน ให้มีความ
กระตือรือร้น มุ่งมั่น ตั้งใจทำงานมีความรับผิดชอบ ลด
ความเครียด ความเบื่อหน่ายในการทำงานและเสริมสร้างแรง
จูงใจในการทำงาน
2. เพื่อพัฒนาความสัมพันธ์ที่ดีในองค์กรเพื่อให้พนักงานทำงานเป็ น
ทีม พัฒนาการสื่อสาร ความร่วมมือระหว่างกัน สร้างบรรยากาศ
ในการทำงาน ลดความขัดแย้งและความตึงเครียด
3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน พนักงานที่มีความคิดที่ดี จะ
มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง เกิดงานใหม่ๆ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ
องค์กรบรรลุเป้ าหมายเร็วขึ้น ต้นทุนการทำงานลดลง

กลุ่มเป้ าหมาย
นักศึกษาเลขานุการทางการแพทย์ปี 2

วิธีดำเนินการ
มีการจัดอบรมโครงการเสริมสร้างความคิดที่ดีในการทำงานโดย
จะมีวิทยากรมาให้ความรู้ในวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๖๗ และจะมีการ
เขียนคำถามในโพสอิทเพื่อจะทำการสุ่มคำถามให้วิทยากรตอบคำถาม
ที่สุ่มขึ้นมาได้ หลังจบกิจกรรมจะมีการทำแบบประเมิน
ผู้รับผิดชอบ
นางสาว สิริรัตน์ มีกุล ประธานคณะกรรมการ
นาย ภัทรพล จันทาม่วง รองประธานคณะกรรมการ
นาย ธนวัฒน์ ฟองทอง คณะกรรมการ
นางสาว ณิชาพัชร คำ คณะกรรมการ
สมหมาย
นางสาว ชื่นนภา สุดพัง คณะกรรมการ
ยาง
นางสาว ปทุมพร เหล่า คณะกรรมการ
ทอง
น า ง ส า ว นุ ช จ น า จ เลขานุการประธานคณะกรรมการ
ขุนทอง
นางสาว สุดธิดา ขันธนิธิ ผู้ช่วยเลขานุการ

ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ
วันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๖๗ ถึง วันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๖๗

สถานที่ในการดำเนินโครงการ
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

งบประมาณในการดำเนินโครงการ
งบประมาณ 500 บาท

การติดตามและประเมินผล
มีการทำแบบประเมินความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรมอบรม
โครงการเสริมสร้างความคิดที่ดีในการทำงานและเขียนข้อเสนอแนะ
ของกิจกรรม

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
 นักศึกษาเลขานุการทางการแพทย์ปี 2 มีทักษะในการปรับตัวใน
ที่ทำงานที่ดี
 นักศึกษาเลขานุการทางการแพทย์ปี 2 มีความอดทนและ
สามารถควบคุมอารมณ์ตนเองในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี

เป้ าหมายผลการดำเนินโครงการ

ตัวชี้วัด หน่วย แผน ผล


นับ
เชิงปริมาณ :
- จำนวนคนเข้าร่วมโครงการ คน 25 รอ
กิจกรร 3 3
- จำนวนกิจกรรมในโครงการ

เชิงคุณภาพ :
- ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมอบรม ร้อย 100 รอ
ในกระบวนการอบรม ละ
ร้อย 100 รอ
- ร้อยละการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ละ
สรุปผลการดำเนินงาน

สรุปผลสำเร็จของโครงการ ผลสำเร็จของโครงการโดยรวม คิด


เป็ นร้อยละ ๑๐๐ ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการโดยรวม
มีจำนวน คน มีค่าเฉลี่ย ....รอดำเนิน.... อยู่ในระดับ ...รอดำเนิน.....

เกณฑ์การวัดระดับความพึงพอใจ
๘๐-๑๐๐ ดีมาก
๖๐-๗๙ ดี
๔๐-๕๙ ปานกลาง
๒๐-๓๙ แย่
๐-๑๙ แย่ที่สุด
บทที่ 2
วิธีดำเนินโครงการ

แผนการดำเนินโครงการ

การประชาสัมพันธ์

วิทยากร
นาย รัฐขจร ขวัญตา
กำหนดการ

ผลการสำรวจความต้องการในการเข้าร่วมอบรม
บทที่ 3
ผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ

ภาพกิจกรรม

ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลการติดตามการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
บทที่ 4
สรุปผลและข้อเสนอแนะ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

1.กิจกรรมที่1 จัดอบรมโครงการเสริมสร้างความคิดที่ดีในการ
ทำงาน โดยมีวิทยากรเป็ น
นาย รัฐขจร ขวัญตา บรรลุเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยมีผู้เข้า
ร่วมจำนวน.....คน
2.กิจกรรมที่2 มีการเขียนคำถามในโพสอิทเพื่อจะทำการสุ่ม
คำถามให้วิทยากรตอบคำถามที่สุ่มขึ้นมาได้ โดยมีคำถามทั้งหมด
จำนวน.....คำถาม บรรลุเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ และได้สุ่มขึ้น
มา 3 คำถาม เพื่อให้วิทยากรได้แลกเปลี่ยนพูดคุยกับผู้เข้าร่วมฟั ง
บรรยาย
3.กิจกรรมที่3 ประเมินความพึงพอใจหลังเข้าร่วมกิจกรรมและ
เขียนข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดอบรมครั้งนี้ บรรลุเป็ นไปตาม
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยความพึงพอใจอยู่ที่ร้อยละ........

ตารางที่ 4.1 แสดงผลการดำเนินโครงการ


ตัวชี้วัด หน่วย แผน ผล
นับ
เชิงปริมาณ :
- จำนวนคนเข้าร่วมโครงการ คน 25 รอ
- จำนวนกิจกรรมภายในโครงการ กิจกรร 3 รอ

เชิงคุณภาพ :
- ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมอบรม ร้อย 100 รอ
ในกระบวนการอบรม ละ
ร้อย 100 รอ
- ร้อยละการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ละ

ข้อเสนอแนะ
ไม่มี

องค์ความรู้ที่ได้จากการดำเนินโครงการ
1. ได้รับทักษะการปรับตัวในที่ทำงาน การวางตัวที่เหมาะสม การ
ควบคุมอารมณ์และมีความอดทนในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
2. ได้เรียนรู้วิธีจัดการเวลาในการจัดการลำดับการทำงาน เพื่อลด
ความตึงเครียดและสร้างบรรยากาศที่ดีในที่ทำงาน
ภาคผนวก

You might also like