You are on page 1of 24

ดนตรีนาฏศิลป์อาเซียน

ประเทศมาเลเซีย
สมาชิกในกลุ ่ม
1. นายศุ ภณัฐ ศิลปภักดี
เลขที่ 4 ม.6/7
2. นางสาวจุ ฑามาศ พลับแก้ว
เลขที่ 25 ม.6/7
3. นางสาวสุ ภลักษณ์ เกิดกัน
เลขที่ 27 ม.6/7
4. นางสาวสุ วภัทร พัฒนสิงห์
เลขที่ 34 ม.6/7
วัฒนธรรม 4
ด้าน
1.1 การแต่งกาย

ชุ ดประจำชาติมาเลเซียของผู้ ชาย เรียกวา่ บาจู มลายู (Baju Melayu)


ประกอบด้วยเสื้อแขนยาวและกางเกงขายาวที่ ทำจากผ้าไหม ผ้าฝ้าย หรือ
โพลี เอสเตอร์ท่ี มีสว ่ นชุ ดของผู้ หญิงเรี ยกวา่ บาจู กุรุง
่ นผสมของผ้าฝ้าย สว
(Baju Kurung) ประกอบด้วยเสื้อคลุ มแขนยาว และกระโปรงยาว
1.2 อาหารประจำ
ชาติ

นาซิ เลอมัก (Nasi Lemak) อาหารยอดนิ ยมของมาเลเซีย คื อข้าว


หุ งกับกะทิ และใบเตย
ทานพร้อมเคร่ื องเคี ยง 4 อย่างได้แก่ ปลากะตักทอดกรอบ แตงกวา
หั่น ไข่ต้มสุ ก และถั่วอบ นาซิ เลอมักแบบดั้งเดิ มจะห่อด้วยใบตองและ
มักทานเป็ นอาหารเช้า แต่ในปัจจุ บัน กลายเป็ นอาหารยอดนิ ยมที่
ทานไดทุ กมื อ และแพรหลายในประเทศเพื่ อนบานอี กหลายแหง เชน
1.3 ภาษา

ภาษามาเลย ์ หรื อ ภาษามลายู (มาเลย:์  Bahasa Melayu) เป็ นภาษา


กลุ ่มออสโตรนี เชียน ที่ พูดโดยชนชาติ มลายู ซ่ึ งเป็ นชนพื้ นเมื องของ
คาบสมุ ทรมลายู ทางใต้ของประเทศไทย ประเทศสิงคโปร์ และบางสว ่ นของ
เกาะสุ มาตราเป็ นภาษาทางการของประเทศมาเลเซียและประเทศบรู ไนและ
เป็ น 1 ใน 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์เมื่ ออยู ่ในพื้ นที่ ต่างกัน การ
ใช้ภาษา รสนิ ยมทางภาษา จึ งแตกต่างกันไป แต่ไม่มากนักมาตรฐานอย่าง
เป็ นทางการของภาษามลายู นั้น มี การตกลงร่วมกันระหวา่ งอิ นโดนี เซีย
มาเลเซีย และบรู ไน 
วา่ ใช้บาฮาซารีเยา (Bahasa Riau) เป็ นมาตรฐาน อันเป็ นภาษาของหมู ่
ตัวอย่าง
คำศัพท์  คำอ่าน 
สวัสดี ซาลามัด ดาตัง 

อากาศดี จัง บาอิ ค คอค่า 

คุ ณสบายดี ไหม อาปา กาบา 

พบกันใหม่ เบอจัมปา ลากิ

ขอบคุ ณ  เตริ มา กะชิ 


1.4 ประติมากรรมและ
สถาปัตยกรรม
-
ประติมาก
รรม

์ ห่งชาติ หรื อ ตู กู เนการา (Tugu Negara)ในภาษามาเลย์ ตั้งอยู ่ท่ี กรุ ง


 อนุ สาวรี ยแ
กัวลาลัมเปอร์ สร้างขึ้ นเพื่ ออุ ทิศและเป็ นเกียรติแก่ผู้ ท่ี สละชีวิตเพื่ ออิ สรภาพและ
สั นติสุขของประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความเสียสละที่ มีต่อการต่อสู้ กับทหารญี่ ป่ ุ นที่
เข้ายึ ดครองมาเลเซียในช่วงสงครามโลกครั ้ งที่ 2 และการต่อสู้ กับภัยคุ กคามจาก
คอมมิวนิ สต์
-
สถาปัตยก
รรม

อาคารหอคอยคู ่เปโตรนาส (อังกฤษ:Petronas Towers, มลายู : Menara


Petronas หรือ Menara Berkembar Petronas) เป็ นสถาปัตยกรรมที่ โดด
เด่นของเมื องกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ออกแบบโดย เซซาร์ ปาลี
 ตั้งอยู ่บริเวณใจกลางย่านธุ รกิจของเมื อง ที่ แวดล้อมด้วยสวนสาธารณะ
และอาคารคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ (KLCC-Kuala Lumpur Convention
Center)
่ ่
ประเพณี
2.1 เทศกาลทาเดา คาอามา
ตัม

  เทศกาลทาเดา คาอามาตัน (Tadau Kaamatan)   เป็ น


เทศกาลประจำปี ในรั ฐซาบาห์ จัดในช่วงส้ินเดื อน
พฤษภาคม ซ่ึ งเป็ นช่วงส้ินสุ ดของฤดู การเก็บเก่ี ยวข้าว
และเริ่มต้นฤดู กาลใหม่ โดยจะมี พิธีกรรมตามความเช่ื อ
ในการ ทำเกษตร และมี การแสดงระบำพื้ นเมื อง และขับ
2.1 เทศกาลฮารีรายออิ ดิล
ฟิตรี

จัดขึ้ นหลังเดื อนเราะมะฎอน (เดื อนแห่งการถื อศีลลอดมุ สลิ มทั่ว


โลก)  โดยเริ่ มตั้งแต่สิบวันสุ ดท้ายของเดื อนเราะมะฎอน   ในตอนเช้า
มุ สลิ มในประเทศมาเลเซียจะเดิ นทางไปละหมาดร่วมกันที่ มัสยิ ด  จาก
นั้นจะเดิ นทางไปเยี่ ยมกุ โบร์หรือสุ ลานของบรรพบุ รุษ  นอกจากนี้ ยังมี
การทำความสะอาดบ้านและสวมใสเ่ สื้อผ้าชุ ดใหม่  และถื อเป็ น
่ ่ ่
ดนตรีและดนตรีท่ี
โดดเด่น
- วงดนตรีท่ี โดด
เด่น

ประเทศมาเลเซียมี วงดนตรีพื้นเมื องสองชนิ ด ได้แก่ วงกาเม


ลันและวงโนบัต วงกาเมลันมี ต้นกำเนิ ดมาจากมาเลเซียเป็ นวง
ดนตรี ดั้งเดิ มมี จังหวะเบาๆ เครื่ องดนตรี ท่ี ใช้ ฆ้องแลเครื่ องสาย
สว ่ นโนบัตคื อวงดนตรีในราชสำนักซ่ึ งเล่นเพลงทางศาสนาที่
เคร่งขรึ มมากกวา่ โดยเล่นให้แก่ราชสำนักเป็ นหลัก เครื่ องดนตรี
่ ่ ่
- ตัวอย่างเคร่ื องดนตรี 4
ชนิ ด

เรบานา อู บิ ในสมัยอาณาจักรมาเลเซียโบราณ ชาวมาเลเซียใช้


เสียงดังก้องของกลองเรบานา อู บิขนาดใหญ่เป็ นสั ญญาณต่างๆ ไม่
วา่ จะเป็ นสั ญญาณเตื อนอันตราย ไปจนถึ งการประกาศให้ทราบวา่ มี
งานแต่งงาน ต่อมาจึ งกลายมาเป็ นเคร่ื องดนตรีสำหรั บใช้ในงาน
แสดงต่างๆ
คอมปัง คื อเคร่ื องดนตรีดั้งเดิ มของมาเลเซียที่ ได้รับความนิ ยมมาก
ที่ สุด มักใช้กันอย่างแพร่หลายในงานรื่ นเริ งต่างๆ เช่น ในขบวน
พาเหรดงานวันชาติ งานเลี้ ยงที่ เป็ นทางการ และงานแต่งงาน คอมปังมี
ลักษณะคล้ายกับกลองแทมโบรีน แต่ไม่มีแผ่นโลหะสำหรั บให้เสียง
โลหะกระทบ พบได้บ่อยที่ สุดในการแสดงของวงดนตรี ขนาดใหญ่ ซ่ึ ง
จำเป็ นต้องมี สร้างจังหวะที่ แตกต่างกันเป็ นจำนวนมาก เพื่ อสร้างเสียง
พิ ณกัมบัส ผู้ ท่ี นำพิ ณกัมบัสเข้ามาในประเทศมาเลเซียคื อ
ชาวเปอร์เซียและพ่อค้าจากตะวันออกกลาง พิ ณกัมบัสหรือ
พิ ณอารเบี ยนี้ สามารถเล่นเพลงพื้ นเมื องของมาเลเซียได้
หลายแบบ สว ่ นใหญ่จะใช้เป็ นเครื่ องดนตรี ท่ี ให้เสียงนำใน
วงกาซัล การผลิ ตพิ ณกัมบัสนั้นต้องอาศัยความละเอี ยด
ปราณี ตเนื่ องจากเคร่ื องดนตรีชนิ ดนี้ ทำจากไม้หลายชนิ ด
ใหเสียงที่ นุมนวลคลายกับเสียงจากฮารปซิคอรด
ปี่ เซรู ไน เคร่ื องดนตรีท่ี มีนานและเล่นโดยชุ มชนชาวมาเลยใ์ นรั ฐ
กลันตันชายฝั่งทะเลตะวันออกของมาเลเซีย เป็ นปี่ ที่ มีความ
คล้ายคลึ งกับปี่ ชวาของไทย มี รูทั้งหมด8รู ข้างหน้า7 ข้างหลัง1 โดย
จะสร้างเสียงผ่านรู ต่างๆ นิ ยมเป่าไปพร้อมๆกับการแสดง วายัง กุ
ลิ ด หรือ การเล่นหนังตะลุ ง
นาฏศิลป์ของประเทศ
มาเลเซีย
4.1 ระบำโยเก็ต

ระบำโยเก็ต   (Joget Dance) เป็ นระบำมาเลยแ ์ บบดั้งเดิ ม มี


ถิ่ นกำเนิ ดที่ มะละกา ได้รับอิ ทธิพลมาจากระบำโปรตุ เกสที่ แพร่
เข้ามายังมะละกาในยุ คของการค้าขายเคร่ื องเทศ เป็ นหนึ่ งใน
ระบำพื้ นเมื องที่ ได้รับความนิ ยมมากที่ สุดของมาเลเชีย โดย
ปกติจะแสดงโดยคู ่นักเต้นระบำชาย-หญิง ในช่วงเทศกาล
ต่างๆ หรือในงานแต่งงาน และงานพิ ธีต่างๆ ทางสั งคมดนตรี
4.1 ระบำซาปิ น

เป็ นการแสดงฟ้อนรำหมู ่  ซ่ึ งเป็ นศิลปะพื้ นเมื องของชาวมาเลเซียโบราณ ตาม


ประวัติเกิดขึ้ นก่อนในดิ นแดนอาระเบี ย  และต่อมาได้มีคนนำมาเผยแพร่ในมาเลเซียใน
์ ตวรรษที่  15 เป็ นต้นมา ชาวบ้านทางภาคเหนื อและตะวันตกของแหลมมลายู
คริ สตศ
นิ ยมชมชอบการฟ้อนรำแบบนี้ มาก  การแสดงระบำซาปิ นมี ผู้ แสดง 12 คน แบ่งเป็ นหญิง
ชายจำนวนเท่ากัน ฝ่ายละ  6 จับคู ่เต้นกันเป็ นกลุ่ม ใช้การยกเท้ายกขาพร้อมกันเป็ น
จังหวะ เครื่ องแต่งกายเป็ นแบบเรี ยบๆ  ชายใสห ่ มวกอิ สลามหรื อหมวกแขก ใสเส้ื อกัก๊  นุ ่ ง
โสร่ง หญิงนุ ่ งกระโปรง  เส้ื อรั ดรู ป มี ผ้าแพรคลุ มศีรษะ เต้นรำตามจังหวะดนตรี  ซ่ึ ง
บรรเลงจากช้าไปหาเร็ ว  เครื่ องดนตรี ท่ี ใช้บรรเลงในการแสดงระบำซาปิ นนี้  คื อ กีตาร์
่ ่
คำถา

1. การแต่งกายประจำชาติมาเลเซียของ
ผู้ ชายเรียกวาอะไร
- บาจู มลายู
2. อาหารประจำชาติมาเลเซียคื ออะไร
- นาซิ เลอมัก
3. เทศกาลทาเดา คาอามาตัน จะมี พิธีกรรมจาม
ความเช่ื อในเร่ื องใด
- ความเช่ื อในการทำเกษตร
4. เทศกาลฮารีรายออิ ดิลิตรี จัดขึ้ นในช่วงใด
- หลังเดื อนเราะมะฎอน (เดื อนแห่งการถื อศีล
ลอดมุ สลิ มทั่วโลก)
5.

เครื่ องดนตรี ชนิ ดนี้


มี ช่ื อวา่ อะไร
- ปี่ เซรู ไน
6.

เครื่ องดนตรี ชนิ ดนี้


มี ช่ื อวา่ อะไร
- เรบานา อู บิ
7. ประเทศมาเลเซียมี วงดนตรีพื้นเมื องก่ี
ชนิ ด อะไรบ้าง
- 2 ชนิ ด วงกาเมลันและวงโนบัต
8. ระบำโยเก็ต ได้รับอิ ทธิพลมาจาก
ประเทศอะไร
- ประเทศโปรตุ เกส
9. เครื่ องดนตรี ท่ี ใช้บรรเลงในการแสดง
ระบำซาปิ นคื ออะไร
- กีตาร์แบบอาระเบี ยน หรือ GMBUS
10.
ภาพนี้ เป็ นนาฏศิลป์ประเทศ
มาเลเซียที่ มีช่ื อวา่ อะไร
- ระบำโยเก็ต

You might also like