You are on page 1of 84

โครงการนำร่องขยายผลการเพิ่มประสิทธิภาพหม้อน้ำโดย

วิศวกรด้านหม้อน้ำหรือวิศวกรพลังงาน

ภายใต้เงินกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
ปี งบประมาณ ๒๕๖๑

ระบบผลิตไอน้ำ
การตรวจวัดและวิเคราะห์ประสิทธิภาพหม้อน้ำ
หัวข้อการนำเสนอ
 มาตรฐานการตรวจประเมินประสิทธิภาพหม้อน้ำ
 การตรวจประเมินประสิทธิภาพหม้อน้ำ (เชื้อเพลิงแข็ง เหลว และ ก๊าซ)
 วิธีทางตรง
 วิธีทางอ้อม
• Stack loss
• CO loss
• Unburnt loss
• Shell loss
• Blowdown loss
• Etc. loss
2
ระบบผลิตไอน้ำ
 หม้อน้ำ (Boiler)

3
ส่วนการผลิตไอน้ำ
ประสิทธิภาพหม้อน้ำ (Boiler
Efficiency)
Direct Efficiency Indirect Efficiency

4
ส่วนการผลิตไอน้ำ
JIS B8222:1993 Land boiler-heat
balance
เงื่อนไขและการเตรียมความพร้อมระบบก่อนการเก็บตัวอย่าง
ข้อมูล
การตรวจสอบหม้อน้ำ
- ตรวจการรั่วไหลของเชื้อเพลิง
- ตรวจการการรั่วไหลของไอน้ำที่อุปกรณ์เป่ าเขม่า
(Soot blow) วาล์วนิรภัย (Safety valve) จุดต่อท่อไอน้ำ และ
อื่นๆ
- ตรวจการการรั่วไหลระบบน้ำของหม้อน้ำโดยเฉพาะ
การรั่วที่วาล์วโบล์วดาวน์ (Blow down)
- ตรวจสภาพผนังหม้อน้ำ ฉนวนผนังหม้อน้ำ
- หากหม้อน้ำมีความสกปรกให้ทำการทำความสะอาด
พร้อมกับให้การบันทึกวันและวิธีการทำความสะอาดก่อนการ
ทดสอบ
5 - กรณีที่หม้อน้ำมีการซ่อมบำรุง ให้ทำการเก็บประวัติ
ก่อนและซ่อมบำรุงหม้อน้ำ
ส่วนการผลิตไอน้ำ
JIS B8222:1993 Land boiler-heat
balance
ปรับการทำงานของหม้อน้ำให้เข้าสู่สภาวะการทดสอบ และให้คง
ไว้อย่างน้อย 1 ชั่วโมง
เตรียม ทดสอบ
หม้อน้ำ จริง
1 อย่างน้อย 2 ชั่วโมง หม้อน้ำ
ชั่วโมง ขนาดเล็กเชื้อเพลิงเหลวหรือ
เชื้อเพลิงก๊าซ ระยะเวลาใน
การทดสอบอย่างน้อยที่สุด 1
ชั่วโมง หรือตามการตกลง
6
ส่วนการผลิตไอน้ำ ความร้อนที่
สะสมในไอน้ำที่
JIS B8222:1993 Land boiler-heat นำไปใช้งาน

balance
การคำนวณประสิทธิภาพหม้อน้ำ

ความร้อนสูญ
ความร้อนที่สู่
เสียออกจากหม้อ
หม้อน้ำ
น้ำ

Heat input-output method Heat loss method


output
1   100 % 2  ( 1   Heat loss )  100 %
input

7
การตรวจประเมินประสิทธิภาพหม้อน้ำ [JIS B8222]
 การตรวจวัดประสิทธิภาพหม้อน้ำ มี 2 วิธี
1. การตรวจวัดด้วยวิธีทางตรง (Direct method)
2. การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม (Indirect method)

8
การตรวจประเมินด้วยวิธีทางตรง (Direct method)
1. การตรวจวัดด้วยวิธีทางตรง (Direct method)
𝑜𝑢𝑡𝑝𝑢𝑡
𝜂 𝑑𝑖𝑟𝑒𝑐𝑡= ×100 %
𝑖𝑛𝑝𝑢𝑡

ตัวแปร เชื้อเพลิงก๊าซ เชื้อเพลิงเหลวและแข็ง


HV คือ ค่า HHV หรือ LHV kJ/m3fuel kJ/kgfuel
HG คือ ความร้อนอื่นๆ ที่ป้ อนเข้าระบบ kJ/m3fuel kJ/kgfuel
คือ อัตราการการป้ อนเชื้อเพลิง m3fuel/h kgfuel/h
คือ อัตราการไหลของไอน้ำ kgs/h
hs คือ เอนทาลปี ของไอน้ำ kJ/kgs
9
การตรวจประเมินด้วยวิธีทางตรง (Direct method)
𝐻𝐺=𝑄1 +𝑄 2+𝑄 3 +𝑄 4

Air preheater
Q1= ความร้อนจากภายนอกที่ใช้ในการ Q2= ความร้อนจากภายนอกที่ใช้ใน
อุ่นเชื้อเพลิง การอุ่นอากาศ

Q3= ความร้อนจากไอน้ำหรือน้ำร้อน Q4= ความร้อนเทียบเท่าของพลังงานกลที่ใช้ใน


ที่ใช้ในห้องเผาไหม้ การขับเครื่องจักรกล 10
การตรวจประเมินด้วยวิธีทางตรง (Direct method)
Steam Feedwater
Steam flow Steam Pressure Temperature Temperature

HHV
LHV
Power meter Fuel temperature
Fuel flow meter 11
การตรวจประเมินด้วยวิธีทางตรง (ค่าความร้อนเชื้อเพลิง)
ไอน้ำในก๊าซไอเสีย
ควบแน่นเป็ นหยดน้ำ
เชื้อ ความร้อน

เพลิง
แห้ง
LHV แฝงของไอ HHV
น้ำในไอเสีย

เชื้อ ความร้อน

เพลิง
แห้ง
HHV แฝงของไอ
น้ำในไอเสีย
LHV
ไอน้ำในก๊าซไอเสียยังคงเป็ น
ไอและปล่อยทิ้ง
• หาค่าความร้อนแบบ dry basis ด้วย Dulong’s Equation
C = ปริมาณคาร์บอนในเชื้อเพลิง [% mass]

[ ( )]
HHV 𝑑 .𝑏. = ( 339 .5 C) + 1442 H−
O
8
+ ( 94 S )
H = ปริมาณไฮโดรเจนในเชื้อเพลิง [% mass]
O = ปริมาณออกซิเจนในเชื้อเพลิง [% mass]
S = ปริมาณกำมะถันในเชื้อเพลิง [% mass]
H2O = ปริมาณน้ำที่เกิดจากการเผาไหม้
LHV 𝑑 .𝑏. =HHV 𝑑.𝑏 . − [ 2441.7 ( H 2O ) ] [%kgH2O/kgfuel]
12
การตรวจประเมินด้วยวิธีทางตรง (ค่าความร้อนเชื้อเพลิง)
ไอน้ำในก๊าซไอเสีย
เชื้อ ควบแน่นเป็
ความร้อนนหยดน้ำ ความร้อน
HHV
เพลิง
LHV แฝงของไอ แฝงของน้ำ
เปี ยก น้ำในไอเสีย ในเชื้อเพลิง
(GCV)
เชื้อ ความร้อน ความร้อน

เพลิง
HH แฝงของไอ แฝงของน้ำ LHV
เปี ยก น้ำในไอเสีย ในเชื้อเพลิง
(NCV)
V ไอน้ำในก๊าซไอเสียยังคงเป็ น
ไอและปล่อยทิ้ง
• หาค่าความร้อนแบบ wet basis
%M = ความชื้นทั้งหมดในเชื้อเพลิง [%mass]
𝐻𝐻𝑉 𝑤. 𝑏. = 𝐻𝐻𝑉 𝑑. 𝑏. ×(100 −% 𝑀)
Gross Calorific Value = GCV = HHV
𝐿𝐻𝑉 𝑤 . 𝑏. = 𝐿𝐻𝑉 𝑑. 𝑏. ×(100 − % 𝑀) Net Calorific Value = NCV = LHV
 ถ้าใช้เชื้อเพลิงแข็ง ต้องระมัดระวังเรื่องความชื้น
 เชื้อเพลิงก๊าซ และ เชื้อเพลิงเหลว สามารถตัดเรื่อง 13
การตรวจประเมินด้วยวิธีทางตรง (Direct method)
แอปฯ ที่สามารถ
ดาวน์โหลดได้ในมือ
ถือ

Pressure
superheated

เปลี่ยนหน่วย
รู้ P และ T 14
การตรวจประเมินด้วยวิธีทางตรง (Direct method)
 กำลังการผลิตไอน้ำ 15 ton/h, 10  อุณหภูมิน้ำมันเตาก่อนอุ่น 30C  อัตราการป้ อนเชื้อเพลิง = 710 l/h
barg  อุณหภูมิน้ำมันเตาหลังอุ่น 110C  ความหนาแน่นน้ำมัน = 0.9435 kg/l
 อัตราการไหลของน้ำป้ อน = 10 m3/h  Tfeedwater = 45C (ref. temp 30C)
 ผลิตไอน้ำ ใช้งาน = 9 ton/h  HHV = 46,218 kJ/kg (น้ำมันเตา A)  cp,oil = 2.05 kJ/kg-K (JIS B8222)
 ความดันไอน้ำใช้งาน = 8 barg  LHV = 43,581 kJ/kg (น้ำมันเตา A)
 อุณหภูมิไอน้ำใช้งาน = 180 C

0 0 0
TLV hfeedwater@45C =188.437 kJ/kg hsteam@8 barg, 180C =2785.05 kJ/kg

15
การตรวจประเมินด้วยวิธีทางตรง (Direct method)
 กำลังการผลิตไอน้ำ 15 ton/h, 10  อุณหภูมิน้ำมันเตาก่อนอุ่น 30C  อัตราการป้ อนเชื้อเพลิง = 710 l/h
barg  อุณหภูมิน้ำมันเตาหลังอุ่น 110C  ความหนาแน่นน้ำมัน = 0.9435 kg/l
 อัตราการไหลของน้ำป้ อน = 10 m3/h  Tfeedwater = 45C (ref. temp 30C)
 ผลิตไอน้ำ ใช้งาน = 9 ton/h  HHV = 46,218 kJ/kg (น้ำมันเตา A)  cp,oil = 2.05 kJ/kg-K (JIS B8222)
 ความดันไอน้ำใช้งาน = 8 barg  LHV = 43,581 kJ/kg (น้ำมันเตา A)
 อุณหภูมิไอน้ำใช้งาน = 180 C
hfeedwater@45C hsteam@8 barg, 180C
188.437 kJ/kg 2785.05 kJ/kg

16
การตรวจประเมินด้วยวิธีทางตรง (เชื้อเพลิงเหลว)

17
ตรง (เชื้อเพลิงเหลว)
ตรง (เชื้อเพลิงเหลว)

19
การตรวจประเมินด้วยวิธีทางตรง (เชื้อเพลิงเหลว)

20
ตรง (เชื้อเพลิงเหลว)

21
ตรง (เชื้อเพลิงเหลว)

22
(Indirect method)
2. การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม (Indirect method)
𝑖𝑛𝑝𝑢𝑡 −𝑙𝑜𝑠𝑠
𝜂𝑖𝑛𝑑𝑖𝑟𝑒𝑐𝑡 = ×100 %
𝑖𝑛𝑝𝑢𝑡

(
𝜂𝑖𝑛𝑑𝑖𝑟𝑒𝑐𝑡 = 1 −
𝐿𝑠𝑡𝑎𝑐𝑘 + 𝐿𝐶𝑂 + 𝐿𝑢𝑛𝑏𝑢𝑟𝑛𝑒𝑑 + 𝐿𝑟𝑎𝑑 + 𝐿𝑒𝑡𝑐 .
𝐻𝑉 + 𝐻𝐺
× 100 % )
HV คือ ค่า HHV หรือ LHV (kJ/m3fuel สำหรับเชื้อเพลิงก๊าซ)(kJ/kgfuel สำหรับเชื้อเพลิงเหลวและแข็ง)
HG คือ ความร้อนอื่นๆ ที่ป้ อนเข้าระบบ (kJ/m3fuel สำหรับเชื้อเพลิงก๊าซ)(kJ/kgfuel สำหรับเชื้อเพลิงเหลวและแข็ง)
Lstack คือ การสูญเสียทางปล่อง
𝐻𝐺=𝑄1 +𝑄 2+𝑄 3 +𝑄 4
LCO คือ การสูญเสียจากการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์
Q1= ความร้อนจากภายนอกที่ใช้ในการอุ่นเชื้อเพลิง
Lunbured คือ การสูญเสียจากเชื้อเพลิงที่ไม่ได้เผาไหม้
Q2= ความร้อนจากภายนอกที่ใช้ในการอุ่นอากาศ
Lrad คือ การสูญเสียผ่านผนังหม้อน้ำ Q3= ความร้อนจากไอน้ำหรือน้ำร้อนที่ใช้ในห้องเผาไหม้
Lect.คือ การสูญเสียอื่นๆ เช่น การสูญเสียจากการ Q4= ความร้อนเทียบเท่าของพลังงานกลที่ใช้ในการขับ
โบล์วดาวน์ (L ) เครื่องจักรกล 23
Loss: Lstack]
การสูญเสียทางปล่อง (Stack loss: Lstack)

 การสูญเสียที่ปล่อง เป็นการสูญเสียของหม้อน้ำที่มีค่ามากที่สุด
 การสูญเสียที่ปล่อง ประกอบด้วยสองปัจจัยหลัก
1. อุณหภูมิไอเสีย
2. อากาศส่วนเกิน (ออกซิเจนส่วนเกิน)

 อุณหภูมิไอเสียมีค่าเพิ่มขึ้น
เมื่อมีการผลิตไอน้ำสูงขึ้น

24
[Stack Loss: Lstack]
232
Net stack temperature, C

227

Boiler efficiency, %
221
215
210
204

Excess air, %
Boiler efficiency, %
25
[Stack Loss: Lstack]
รื่องวิเคราะห์ก๊าซไอเสีย (Exhaust Gas Analyzer)
เปรียบเสมือนตาที่ใช้มองการเผาไหม้
ใช้วิเคราะห์ประสิทธิภาพการเผาไหม้ (ต้องรู้คุณ
สมบัติเชื้อเพลิง)
ระวังอุณหภูมิของไอเสียที่ทำการวัด มีค่าสูงเกิน
กว่าความสามารถของเครื่องวัดไอเสีย
ไม่ควรทำการวัดไอเสียตอนที่เริ่มจุดเตาใหม่ๆ
ควรรอให้คงที่หรือนิ่งก่อน (Steady)
ตำแหน่งการวัดมีผลต่อค่าที่วัดได้
ไม่ควรใช้ค่าการตรวจวัดเฉพาะจุด เป็นตัวแทน
ของค่าทั้งหมด
ไม่ควรให้น้ำหลุดเข้าไปเครื่องวัด (หมั่นตรวจสอบ
ตัวดักน้ำในเครื่องวัด) 26
[Stack Loss: Lstack]
รื่องวิเคราะห์ก๊าซไอเสีย (Exhaust Gas Analyzer)
เครื่องวัดไอเสียจะมี O2 sensor อยู่ในเครื่อง ซึ่งจะ
เสื่อมสภาพไม่ว่าจะใช้เครื่องหรือไม่ใช้ ดังนั้น ควร
ใช้เครื่องวัดไอเสียเป็นประจำ
เครื่องวัดไอเสียแบบ portable ส่วนมากจะเป็นการ
ตรวจวัดแบบแห้ง (dry basis) นั่นคือ มีการดักไอน้ำ
ในไอเสียทิ้งก่อนเข้าไปที่ sensor
O2 sensor ที่ติดตั้งอยู่ในหม้อน้ำ ส่วนมากจะเป็นการ
วัดแบบเปี ยก (wet basis) ซึ่งค่าที่อ่านได้จะต่ำกว่า
การวัดไอเสียแบบแห้ง

27
[Stack Loss: Lstack]
จุด 1 วัด combustion 1
efficiency และ boiler จุด 1 ไม่มี A/H และ Eco
eff ที่ไม่มี ECO และ จุด 5 วัดสิ่งแวดล้อม
A/H Economizer
จุด 2 วัด boiler 5
2
efficiency ที่มี Eco
Boiler

Chimney
A/H
จุด 3 วัด boiler efficiency
3 ที่มี Eco และ A/H
 จุด 1 ต้องระวังเรื่องอุณหภูมิของไอเสียที่สูงเกิน
ความสามารถของเครื่องวัดไอเสีย
 จุด 2 และ 3 ต้องระวังเรื่องการรั่วของ eco และ A/H
เพราะทำให้ %O2 ไม่ถูกต้อง กำจัดฝุ่ น
 จุด 4 ใช้วัดประสิทธิภาพการดักฝุ่ นของระบบดักฝุ่ น
4
 จุด 5 ใช้วัดไอเสียที่ปล่อยออกสู่สิ่งแวดล้อม เพื่อใช้
ต่อใบอนุญาตโรงงาน จุด 4 วัดประสิทธิภาพการดักฝุ่ น 28
[Stack Loss: Lstack]
• การประเมินหาค่า Lstack
𝐿𝑠𝑡𝑎𝑐𝑘=𝐺 ×𝑐 𝑝 × ( 𝑇 𝑒𝑥 − 𝑇 𝑎)
ตัวแปร เชื้อเพลิงก๊าซ เชื้อเพลิงเหลวและแข็ง
Lstack การสูญเสียทางปล่อง kJ/m3fuel kJ/kgfuel
G = อัตราการไหลของไอเสีย m3flue/m3fuel m3flue/kgfuel
cp = ความจุความร้อนของไอเสีย (JIS B8222)
Tex = อุณหภูมิก๊าซไอเสีย ของตำแหน่งสุดท้ายในการแลก C
เปลี่ยนความร้อน
Ta = อุณหภูมิอากาศก่อนเข้า F.D. fan หรือ อุณหภูมิ C
บรรยากาศ
วิธีหาค่า G จะเปลี่ยนแปลงไปตามประเภทเชื้อเพลิง 29
[Stack Loss: Lstack]
𝐿𝑠𝑡𝑎𝑐𝑘=𝐺 ×𝑐 𝑝 × ( 𝑇 𝑒𝑥 − 𝑇 𝑎)
ชนิดเชื้อเพลิง สูตรอย่างง่าย (LHV based) สูตรตามทฤษฎี (LHV based)
เชื้อเพลิงก๊าซ
เชื้อเพลิงเหลว
เชื้อเพลิงแข็ง

ชนิดเชื้อเพลิง Stack loss (HHV based)


เชื้อเพลิงก๊าซ
เชื้อเพลิงเหลว
เชื้อเพลิงแข็ง

30
[Stack Loss: Lstack]
𝐿𝑠𝑡𝑎𝑐𝑘=𝐺 ×𝑐 𝑝 × ( 𝑇 𝑒𝑥 − 𝑇 𝑎) 𝐺=𝐺0 +𝐺𝑤 + ( 𝑚 −1 ) 𝐴0 +𝐺𝑤 1
ชนิดเชื้อเพลิงก๊าซ Formula (LHV based)
G0
Gw
m
A0
Gw1

 การคำนวณหาค่า (CO2) ในก๊าซไอเสีย (กรณีเครื่องวัดไอเสียไม่มี CO2 sensor

31
[Stack Loss: Lstack]
𝐿𝑠𝑡𝑎𝑐𝑘=𝐺 ×𝑐 𝑝 × ( 𝑇 𝑒𝑥 − 𝑇 𝑎) 𝐺=𝐺0 +𝐺𝑤 + ( 𝑚 −1 ) 𝐴0 +𝐺𝑤 1

ชนิดเชื้อเพลิงเหลว
Formula (LHV based)
และเชื้อเพลิงแข็ง
G0
Gw
m
A0
Gw1

32
[Stack Loss: Lstack]
• การประเมินหาค่า Lstack ของเชื้อเพลิงก๊าซ ต้องรู้องค์ประกอบของ
G0 = ปริมาณก๊าซไอเสียแห้งตามทฤษฎี [m3/m3-fuel] เชื้อเพลิงก๊าซ
Gw = ปริมาณไอน้ำในไอเสียที่เกิดจากไฮโดรเจนและความชื้นในเชื้อเพลิง [m3/m3-fuel]
Gw1 = ปริมาณไอน้ำในไอเสียที่เกิดจากความชื้นในอากาศ [m3/m3-fuel]
A0 = ปริมาณอากาศที่ใช้ตามทฤษฎี [m3/m3-fuel] cxhy = เชื้อเพลิงไฮโดรคาร์บอน เช่น CH4, C3H8
x = จำนวนอะตอมคาร์บอนในเชื้อเพลิงก๊าซ
z = ความชื้นสัมบูรณ์ในอากาศ [kgไอน้ำ/kgอากาศแห้ง] y = จำนวนอะตอมไฮโดรเจนในเชื้อเพลิงก๊าซ
h2 = ก๊าซไฮโดรเจนในเชื้อเพลิง [%vol.]
(O2) = ก๊าซออกซิเจนในไอเสีย [%vol.]
n2 = ก๊าซไนโตรเจนในเชื้อเพลิง [%vol.]
(CO) = ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ในเชื้อเพลิง[%vol.]
co = ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ในเชื้อเพลิง [%vol.]
(N2) = ก๊าซไนโตรเจนในไอเสีย [%vol.]
o2 = ก๊าซออกซิเจนในเชื้อเพลิง [%vol.]
= 100-[(CO2) + (CO) + (O2) ]
wv = ความชื้นในเชื้อเพลิง [%vol.]

33
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Stack Loss: Lstack]
• การประเมินหาค่า Lstack ของเชื้อเพลิงเหลวและแข็ง สูตรตาม
c = ปริมาณคาร์บอนในเชื้อเพลิง [% mass] ทฤษฎี
c1 = ปริมาณคาร์บอนที่เผาไหม้ [% mass] ต้องรู้องค์ประกอบ
c2 = c-c1 = ปริมาณคาร์บอนที่ไม่ถูกเผาไหม้ [% mass] ของเชื้อเพลิง
ในกรณีเชื้อเพลิงเหลว c1 = c เพราะว่า c2 = 0
h = ปริมาณไฮโดรเจนในเชื้อเพลิง [% mass]
n = ปริมาณไนโตรเจนในเชื้อเพลิง [% mass]
o = ปริมาณออกซิเจนในเชื้อเพลิง [% mass] (O2) = ก๊าซออกซิเจนในไอเสีย [%vol.]
s = ปริมาณกำมะถันในเชื้อเพลิง [% mass] (CO) = ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ในเชื้อเพลิง[%vol.]
w = ความชื้นในเชื้อเพลิง [% mass] (N2) = ก๊าซไนโตรเจนในไอเสีย [%vol.]
= 100-[(CO2) + (CO) + (O2) ]
34
[Stack Loss: Lstack]
• ตัวอย่างการประเมินหาค่า Lstack ของเชื้อเพลิงเหลว
 กำลังการผลิตไอน้ำ 15 ton/h, 10 องค์ประกอบเชื้อเพลิง %mass
barg Carbon (C) 85.90
 อัตราการไหลของน้ำป้ อน = 10 m3/h Hydrogen (H) 12.00
 ผลิตไอน้ำ ใช้งาน = 9 ton/h
Nitrogen (N) 0.50
 ความดันไอน้ำใช้งาน = 8 barg
 อุณหภูมิไอน้ำใช้งาน = 180 C Sulfur (S) 0.11
 อุณหภูมิน้ำมันเตาก่อนอุ่น 30C Ash 0.05
 อุณหภูมิน้ำมันเตาหลังอุ่น 110C
 Tfeedwater = 45C
 HHV = 46,218 kJ/kg (น้ำมันเตา A)
 LHV = 43,581 kJ/kg (น้ำมันเตา A)
 อัตราการป้ อนเชื้อเพลิง = 710 l/h
 ความหนาแน่นน้ำมัน = 0.9435 kg/l
(ref. temp 30C)
 cp,oil = 2.05 kJ/kg-K (JIS B8222)
35
[Stack Loss: Lstack]
• ตัวอย่างการประเมินหาค่า Lstack ของเชื้อเพลิงเหลว (สูตรอย่างง่าย)
21 21
𝑚= = =3 .28
21− % 𝑂 2 21− 14 . 6

𝐿𝑠𝑡𝑎𝑐𝑘=𝐺 ×𝑐 𝑝 × ( 𝑇 𝑒𝑥 − 𝑇 𝑎)
= 10,056 kJ/kgfuel
36
ตรง (เชื้อเพลิงเหลว)

37
ตรง (เชื้อเพลิงเหลว)

38
การตรวจประเมินด้วยวิธีทาง
ตรง (เชื้อเพลิงเหลว)

39
[Stack Loss: Lstack]
• ตัวอย่างการประเมินหาค่า Lstack ของเชื้อเพลิงเหลว (สูตรอย่างง่าย)

40
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Stack Loss: Lstack]
• ตัวอย่างการประเมินหาค่า Lstack ของเชื้อเพลิงเหลว (สูตรตามทฤษฎี)

21
m=
21 − 79
[ ( O 2 − 0 . 5 (CO ) )
( N 2) ]
G0 =
1
100 [ (o
)
8 . 89 c 1+ 21. 1 h − +3 . 3 s +0 .8 n
8 ]
1
G w=
100
[ 1 . 24 ( 9 h+ w ) ]
G w1 =1. 61 zm A 0
A 0=
1
100 [ o
(
8 . 89 c 1 +26 . 7 h − +3 . 3 s
8 ) ]
G=G0 +G w + ( m −1 ) A 0 +G w1

41
[Stack Loss: Lstack]
• ตัวอย่างการประเมินหาค่า Lstack ของเชื้อเพลิงเหลว (สูตรอย่างง่าย)

42
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Stack Loss: Lstack]
• ตัวอย่างการประเมินหาค่า Lstack ของเชื้อเพลิงแข็ง

43
[Stack Loss: Lstack]
• ตัวอย่างการประเมินหาค่า Lstack ของเชื้อเพลิงแข็ง

44
Loss: LCO]
• การประเมินหาค่า CO loss
เป็นการสูญเสียที่เกิดจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์
 การผสมกันระหว่างเชื้อเพลิงกับอากาศไม่ดี
 เกิดปรากฎการณ์ quenching effect

𝐿𝐶𝑂 =126 . 1 [ 𝐺0 + ( 𝑚 −1 ) 𝐴 0 ] ( 𝐶𝑂 )

G0 = ปริมาณไอเสียแห้งตามทฤษฎี [m3/kgfuel] 21
𝑚=
A0 = ปริมาณอากาศแห้งตามทฤษฎี [m3/kgfuel] 21− % 𝑂 2
m = อัตราส่วนอากาศส่วนเกิน
(CO) = %vol ของก๊าซ CO ในไอเสีย (ได้จากเครื่องวิเคราะห์ก๊าซไอเสีย)

วิธีหาค่า G0 และ A0 จะเปลี่ยนแปลงไปตามประเภทเชื้อเพลิง


45
Loss: LCO]
• การประเมินหาค่า CO loss ของเชื้อเพลิงก๊าซ ต้องรู้องค์ประกอบ
ของเชื้อเพลิง
𝐿𝐶𝑂 =126 . 1 [ 𝐺0 + ( 𝑚 −1 ) 𝐴 0 ] ( 𝐶𝑂 )
1
G0 =
100
[ 2. 88 co + 1 .88 h2 +Σ ( 4 .76 𝑥 +0 . 94 𝑦 ) 𝑐 𝑥 h 𝑦 +𝑛2 +𝑐𝑜2 − ( 3 .76 𝑜2 ) ]

A0 =
1 1
21 2 [
( co + h 2) + Σ 𝑥+
1
4 (
𝑦 𝑐 𝑥 h 𝑦 − 𝑜2 ) ] 𝑚=
21
21− % 𝑂 2
𝐿𝐻𝑉
A0 = 2 . 68
10 ,000
G0 = ปริมาณไอเสียแห้งตามทฤษฎี [m3/kg-fuel] co = %vol ของก๊าซ CO ในเชื้อเพลิง
A0 = ปริมาณอากาศแห้งตามทฤษฎี [m3/kg-fuel] h2 = %vol ของก๊าซ hydrogen ในเชื้อเพลิง
m = อัตราส่วนอากาศส่วนเกิน n2 = %vol ของก๊าซ nitrogen ในเชื้อเพลิง
(CO) = %vol ของก๊าซ CO ในไอเสีย (ได้จากเครื่องวิเคราะห์
co2 = %vol ของก๊าซ CO2 ในเชื้อเพลิง
ก๊าซไอเสีย)
LHV = ค่าความร้อนทางต่ำ (kJ/m3) o2 = %vol ของก๊าซ O2 ในเชื้อเพลิง 46
Loss: LCO]
• การประเมินหาค่า CO loss ของเชื้อเพลิงเหลว และ เชื้อเพลิงแข็ง
𝐿𝐶𝑂 =126 . 1 [ 𝐺0 + ( 𝑚 −1 ) 𝐴 0 ] ( 𝐶𝑂 )

[ ]
21
G0 =
1
100 (o
)
8 . 89 𝑐1 + 21 . 1 h − + 3 . 3 s + 0 . 80 n
8
𝑚=
21− % 𝑂 2

ต้องรู้องค์ประกอบ
𝐿𝐻𝑉 ของเชื้อเพลิง
𝐿𝐻𝑉
A0 , 𝑙𝑖𝑞𝑢𝑖𝑑 = 2. 96 −1 .36 A0 , 𝑠𝑜𝑙𝑖𝑑 = 0 .241 + 0 . 56
10 , 000 10 , 000
G0 = ปริมาณไอเสียแห้งตามทฤษฎี [m3/kg-fuel] c1 = % mass ปริมาณคาร์บอนที่เผาไหม้
A0 = ปริมาณอากาศแห้งตามทฤษฎี [m3/kg-fuel] h = % mass ของไฮโดรเจนในเชื้อเพลิง
m = อัตราส่วนอากาศส่วนเกิน o = % mass ของออกซิเจนในเชื้อเพลิง
(CO) = ปริมาณ CO [%] ได้จากเครื่องวิเคราะห์ก๊าซไอเสีย s = % mass ของกำมะถันในเชื้อเพลิง
n = % mass ของไนโตรเจนในเชื้อเพลิง 47
Loss: LCO]
• การประเมินหาค่า CO loss ของเชื้อเพลิงเหลว

= 10.14

 HHV = 46,218 kJ/kg


 LHV = 43,518 kJ/kg

𝐿𝐶𝑂 =126 . 1 [ 𝐺0 + ( 𝑚 −1 ) 𝐴0 ] ( 𝐶𝑂 )

= 0.92 kJ/kgfuel

48
Loss: LCO]
• ตัวอย่างการประเมินหาค่า LCO ของเชื้อเพลิงเหลว

49
Loss: LCO]
• ตัวอย่างการประเมินหาค่า LCO ของเชื้อเพลิงเหลว

50
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Unburnt Loss: Lunburned]
• การประเมินหาค่า Unburned loss ของเชื้อเพลิงแข็ง
𝐿 𝑢𝑛𝑏𝑢𝑟𝑛𝑒𝑑 =339 ×𝑐 2
c2 = องค์ประกอบของคาร์บอนที่ไม่ถูกเผาในเถ้า (ash) เทียบกับ
คาร์บอนในเชื้อเพลิง (mass %w.b.)
= (a × u) / (100-u)
a = % mass ของเถ้าในเชื้อเพลิง
u = % mass ของคาร์บอนที่เหลืออยู่ในขี้เถ้า

 สำหรับเชื้อเพลิงก๊าซและเหลว ไม่ต้องคิดการสูญเสียในส่วนนี้ 51
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Unburnt Loss: Lunburned]
• การประเมินหาค่า Unburned loss ของเชื้อเพลิงแข็ง

52
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Radiation Loss: Lrad]
• บางครั้งเรียกว่า Shell loss
 การสูญเสียจากการแผ่รังสีและการพาความร้อนที่ full-load
 น้อยกว่า 1.0% สำหรับหม้อน้ำท่อน้ำ
 น้อยกว่า 0.5% สำหรับหม้อน้ำท่อไฟ
 % shell loss จะเพิ่มขึ้นเมื่อ load ลดลง เพราะ shell loss คงที่
 Shell loss ประมาณ 0.5% ที่ full-load
 Shell loss ประมาณ 2.0% ที่ quarter-load
 ถ้ามีหม้อน้ำหลายเครื่อง ให้พยายามลด shell loss ของทั้งระบบ

 การลดการใช้ไอน้ำ จะไม่ส่งผลต่อ shell loss นอกจากหม้อน้ำหยุดทำงาน


 หมั่นตรวจสอบ hot spot (> 60C)
53
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Radiation Loss: Lrad]
• ตรวจสอบฉนวนผนังเตาและอุปกรณ์ในระบบส่งไอน้ำ
• รูรั่วของไอน้ำที่ไม่สามารถมองได้ด้วยตาเปล่า
กล้องถ่ายภายทางความร้อน
(Infrared thermo-scan camera)

54
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Radiation Loss: Lrad]
• เมื่อได้ภาพถ่ายทางความร้อนแล้ว เราจะสามารถคำนวณหา Lrad ได้ โดยใช้
โปรแกรมช่วยในการคำนวณหาการสูญเสียของผนังหม้อน้ำ
โปรแกรม 3E plus
% Shell loss จะคิดเทียบกับ
ความร้อนของเชื้อเพลิงที่ป้ อน
ความร้อนสูญเสียคำนวณจาก
โปรแกรม 3E (W/m หรือ W/m2)

Qloss  Q3 E  A
พื้นที่สูญเสียความร้อน m หรือ m2

โดยปกติเพื่อความรวดเร็วในการประเมินประสิทธิภาพหม้อน้ำ ในส่วนของ
Lrad จะคิดอย่างง่ายโดยการประมาณให้มีค่า 0.5%-1% ของค่า HHV
55
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Radiation Loss: Lrad]
• ตัวอย่างการคำนวณหา Radiation loss
 อุณหภูมิผิวเฉลี่ยของผนังด้านข้าง = 55C
 อุณหภูมิผิวเฉลี่ยของฝาหน้า = 70C
3m  อุณหภูมิผิวเฉลี่ยของฝาหลัง = 80C
 ฉนวนเป็น 450F MF BLANKET
 เปลือกหุ้มฉนวนเป็นอลูมิเนียมด้าน
8m  อุณหภูมิบรรยากาศ = 33.7C
 ลมนิ่ง (0 m/s)
• HHV = 46,218 kJ/kg (น้ำมันเตา A)
• LHV = 43,518 kJ/kg
• อัตราการป้ อนเชื้อเพลิง = 710 l/h
• ความหนาแน่นน้ำมัน = 0.9435 kg/l (ref. temp 30C)

56
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Radiation Loss: Lrad]
• ตัวอย่างการคำนวณหา Shell loss (ผนังข้าง)

57
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Radiation Loss: Lrad]
• ตัวอย่างการคำนวณหา Shell loss

58
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Radiation Loss: Lrad]
• ตัวอย่างการคำนวณหา Shell loss

พื้ นที่ผนังด้านข้าง =𝜋 𝐷𝐿=𝜋 ( 3 ) ( 8 ) =75 . 40 𝑚


2

𝑊
การสูญเสียความร้อน =201 . 4 2
𝑚

59
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Radiation Loss: Lrad]
• ตัวอย่างการคำนวณหา Shell loss
ดังนั้นเกิดการสูญเสียความร้อนที่ผนังด้านข้าง

คิดเป็น radiation loss


𝑘𝐽
54 , 668
การสูญเสียความร้อน h 𝑘𝐽
¿ = =81 . 6
เชื้ อเพลิงที่ป้ อน 𝑙 𝑘𝑔 𝑓𝑢𝑒𝑙 𝑘𝑔 𝑓𝑢𝑒𝑙
710 × 0 . 9435
h 𝑙

 ผนังด้านที่เหลือให้คำนวณแบบเดียวกัน
60
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Radiation Loss: Lrad]
• ตัวอย่างการคำนวณหา Shell loss (ฝาหน้า)
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Radiation Loss: Lrad]

62
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Radiation Loss: Lrad]
• ตัวอย่างการคำนวณหา Shell loss (ฝาหน้า)

𝜋 2 𝜋 2
พื้ นที่ผนังด้านข้าง = 𝐷 = ( 3 )=7 . 07 𝑚
2
4 4
𝑊
การสูญเสียความร้อน =381 .20 2
𝑚

63
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Radiation Loss: Lrad]
• ตัวอย่างการคำนวณหา Shell loss
ดังนั้นเกิดการสูญเสียความร้อนที่ฝาหน้า

คิดเป็น radiation loss


𝑘𝐽
9 , 700
การสูญเสียความร้อน h 𝑘𝐽
¿ = =14 . 48
เชื้ อเพลิงที่ป้ อน 𝑙 𝑘𝑔 𝑓𝑢𝑒𝑙 𝑘𝑔 𝑓𝑢𝑒𝑙
710 × 0 . 9435
h 𝑙

64
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Radiation Loss: Lrad]
• ตัวอย่างการคำนวณหา Shell loss (ฝาหลัง)

65
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Radiation Loss: Lrad]

66
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Radiation Loss: Lrad]
• ตัวอย่างการคำนวณหา Shell loss (ฝาหลัง)

𝜋 2 𝜋 2
พื้ นที่ผนังด้านข้าง = 𝐷 = ( 3 )=7 . 07 𝑚
2
4 4
𝑊
การสูญเสียความร้อน =514 . 3 2
𝑚

67
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Radiation Loss: Lrad]
• ตัวอย่างการคำนวณหา Shell loss
ดังนั้นเกิดการสูญเสียความร้อนที่ฝาหลัง

คิดเป็น radiation loss 𝑘𝐽


13 , 087
การสูญเสียความร้อน h 𝑘𝐽
¿ = =19 .54
เชื้ อเพลิงที่ป้ อน 𝑙 𝑘𝑔 𝑓𝑢𝑒𝑙 𝑘𝑔 𝑓𝑢𝑒𝑙
710 × 0 . 9435
h 𝑙
 การสูญเสียความร้อนผ่านผนัง
𝑘𝐽 𝑘𝐽
𝐿𝑟𝑎𝑑 =( 81 . 6+14 . 48+19 . 54 ) =116
𝑘𝑔 𝑓𝑢𝑒𝑙 𝑘𝑔 𝑓𝑢𝑒𝑙
68
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Radiation Loss: Lrad]
• ตัวอย่างการประเมินหาค่า Lrad ของเชื้อเพลิงเหลว

69
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Radiation Loss: Lrad]
 ยากที่จะประเมินค่าที่ถูกต้อง
 หาจากการตรวจวัดหน้างานซึ่งใช้เวลาและการคำนวณการถ่ายเทความร้อน
 โดยทั่วไป ค่าการสูญเสียไม่มากเมื่อเปรียบเทียบกับการสูญเสียอื่นๆ
 สามารถประมาณได้จาก load โดยใช้ข้อมูล Best Practices
 อย่างไรก็ตาม สามารถเป็นโอกาสในการปรับปรุงที่มีศักยภาพ
Shell Loss Gross Estimate Field Evaluations

Steam Production Rating Boiler Full-Load Shell Loss Estimate


Boiler Type
Maximum (% fuel Minimum (% fuel
Minimum (Tph) Maximum (Tph)
input energy) input energy)
Water-Tube 5 50 2.0 0.3
Water-Tube 50 500 0.6 0.1
Water-Tube 500 5,000 0.2 0.1

Fire-Tube 0.5 20 1.0 0.1

Source: US DOE ITP Steam BestPractices Program

70
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Radiation Loss: Lrad]
• ตัวอย่างการประเมินหาค่า Lrad ของเชื้อเพลิงเหลว

ค่าจาก 3E-Plus

71
[Etc. Loss: Letc.]
การสูญเสียในส่วนนี้ จะขึ้นกับการตกลงระหว่างผู้ซื้ อและผู้ขาย อาจจะมี
หรือไม่มีก็ได้ เช่น การสูญเสียเนื่องจากการโบล์วดาวน์, การสูญเสียความ
ร้อนเนื่องจากอุณหภูมิของเถ้าหนักที่เปี ยกน้ำ , การสูญเสียของเถ้าลอย,
การรั่วของอากาศเข้าห้องเผาไหม้เป็นต้น

72
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Blowdown Loss: Lbd]
 โบลว์ดาวน์ (Blowdown) มีวัตถุประสงค์เพื่อลดระดับความเข้มข้นของสารละลาย
ในหม้อน้ำ ป้ องกันการเกาะของตะกรันบนผิวความร้อน และหลีกเลี่ยงการเกิดแครี่
โอเวอร์
 โบลว์ดาวน์เป็นการสูญเสียพลังงานที่สำคัญอย่างหนึ่งรองจาก stack loss
 คุณภาพน้ำที่ใช้ต้องดีขึ้น เมื่อมีความดันไอน้ำเพิ่มขึ้น
 ระบบบำบัดน้ำอย่างน้อยควรเป็นระบบ soft water หรือหากมีงบประมาณสามารถ
ติดตั้งระบบ RO หรือ demin
 หม้อน้ำที่ดีสามารถมีการ blowdown ให้น้อยกว่า 2% ได้ แต่ถ้าระบบไม่ดีอาจมีการ
blowdown ได้มากถึง 10%
 ถ้าสามารถนำน้ำคอนเดนเสทกลับมาใช้ใหม่ได้ จะช่วยลดการ blowdown ได้เป็น
อย่างดี 73
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Blowdown Loss: Lbd]
 ลดการ blowdown ของหม้อน้ำ

• วิธีนี้จะลดพลังงานในน้ำ blowdown ตามสัดส่วนที่ลดลง


• แต่ต้องปรับปรุงคุณภาพน้ำให้ดีขึ้น
• ต้องพิจารณาทั้งด้านเศรษฐศาสตร์ และ ระบบที่มีอยู่

 ติดตั้งอุปกรณ์ที่สามารถนำพลังงานจากการ blowdown กลับมาใช้ใหม่ได้

• ต้องไม่กระทบกับระบบบำบัดน้ำ
• อาจมีการพิจารณาถึงการใช้ระบบความร้อนร่วมเพื่อผลิตไฟฟ้ า
• ต้องพิจารณาทั้งด้านเศรษฐศาสตร์ และ ระบบที่มีอยู่

74
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Blowdown Loss: Lbd]
ใช้วัดค่า TDS (Total Dissolved Solid) เป็นค่าที่บอกว่ามีของแข็งที่ละลาย
อยู่ในน้ำทั้งหมด
ใช้ค่าการนำไฟฟ้ าเป็นตัวแทนในการบอกปริมาณ TDS
ระวังอย่าให้อุณหภูมิของน้ำที่นำมาวัดค่าสูงเกินกว่าที่เครื่องทนได้

75
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Blowdown Loss: Lbd]

76
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Blowdown Loss: Lbd]
𝐹
˙ 𝑏𝑑 =
𝑚 𝑄
โดยที่ (𝐵−𝐹 )
A = ปริมาณการโบลว์ดาวน์ [kg/h]
F = ค่าความนำไฟฟ้ า (conductivity) ของน้ำป้ อนหม้อน้ำ (feed water) [S/cm]
หรือค่าความเข้มข้นสารละลายของแข็ง (TDS) [ppm]
B = ค่าความนำไฟฟ้ าที่วัดได้จริงในหม้อน้ำ (Boiler water) [S/cm]
หรือระดับค่าความเข้มข้นสารละลายของแข็งที่วัดได้จริงในหม้อน้ำ
[ppm]
Q = อัตราการผลิตไอน้ำ [kg/h]
𝑚˙ 𝑏𝑑 × ( h𝑏𝑑 − h𝐹𝑊 )
𝐵𝑙𝑜𝑤𝑑𝑜𝑤𝑛 𝑙𝑜𝑠𝑠=𝐿𝑏𝑑= × 100 %
˙ 𝑓𝑢𝑒𝑙 × ( 𝐻𝑉 + 𝐻𝐺 )
𝑚
hbd = เอนทาลปี ของน้ำโบล์วดาวน์ (hf ที่ความดันไอน้ำ)
 ข้อควรระวัง คือ เวลาในการโบล์วดาวน์ โดยสูตรนี้จะอ้างอิงที่อัต 77
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Blowdown Loss: Lbd]
ความจุหม้อน้ำ 15 ตันต่อชั่วโมง (ใช้งาน 9 t/h, 8 barg, 180C)
TDS น้ำป้ อน 250 ppm (25C, ATC)
อุณหภูมิน้ำป้ อน 45C
TDS น้ำในหม้อน้ำ 3,000 ppm (25C, ATC)
ค่าพลังงานเชื้อเพลิง HHV 46,218 kJ/kg
ค่าพลังงานเชื้อเพลิง LHV 43,518 kJ/kg
ปริมาณการใช้เชื้อเพลิง 710 l/h
ความหนาแน่นเชื้อเพลิง 0.9435 kg/l (@30C)
ระยะเวลาการทำงาน 24 h/day (300 วันทำงานต่อปี )
คำถาม Blowdown loss มีค่าเท่าไหร่?

𝐹 250 𝑘𝑔 𝑘𝑔
𝑚˙ 𝑏𝑑= 𝑄= ×9,000 =818
( 𝐵−𝐹 ) ( 3000−250) h h 78
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Blowdown Loss: Lbd]
˙ 𝑏𝑑 × ( h𝑏𝑑 − h 𝐹𝑊 )
𝑚
𝐿𝑏𝑑 = × 100 %
˙ 𝑓𝑢𝑒𝑙 × ( 𝐻𝑉 + 𝐻𝐺 )
𝑚
𝑘𝐽
• หา hbd ที่ความดัน 8 barg; h 𝑏𝑑=743 𝑘𝑔
𝑘𝐽
• หา hFW ที่อุณหภูมิ 45C; h 𝐹𝑊 =188 . 437 𝑘𝑔 พลังงานในน้ำโบล์วดาวน์ = 677 kJ/kg

𝑘𝑔 𝑘𝐽
818 × ( 743 − 188 . 437 )
h 𝑘𝑔
𝐿𝑏𝑑, 𝐻𝐻𝑉 = ×100 %=1. 46 %
( 𝑙
710 × 0 . 9435
h
𝑘𝑔 𝑓𝑢𝑒𝑙
𝑙 )
× ( 46 , 218+164 )
𝑘𝐽
𝑘𝑔 𝑓𝑢𝑒𝑙
𝑘𝑔 𝑘𝐽
818 × ( 743 −188 . 437 )
h 𝑘𝑔
𝐿𝑏𝑑, 𝐿𝐻𝑉 = ×100 %=1. 55 %
( 𝑙
710 × 0 . 9435
h
𝑘𝑔 𝑓𝑢𝑒𝑙
𝑙 ) × ( 43 ,518 +164 )
𝑘𝐽
𝑘𝑔 𝑓𝑢𝑒𝑙

79
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม [Blowdown Loss: Lbd]

80
[Indirect method]
(
𝜂𝑖𝑛𝑑𝑖𝑟𝑒𝑐𝑡 = 1 −
𝐻𝑉 + 𝐻𝐺 )
𝐿𝑠𝑡𝑎𝑐𝑘 + 𝐿𝐶𝑂 + 𝐿𝑢𝑛𝑏𝑢𝑟𝑛𝑡 + 𝐿𝑟𝑎𝑑 + 𝐿𝑏𝑑
× 100 %

81
[Indirect method]
(
𝜂𝑖𝑛𝑑𝑖𝑟𝑒𝑐𝑡 = 1 −
𝐻𝑉 + 𝐻𝐺 )
𝐿𝑠𝑡𝑎𝑐𝑘 + 𝐿𝐶𝑂 + 𝐿𝑢𝑛𝑏𝑢𝑟𝑛𝑡 + 𝐿𝑟𝑎𝑑 + 𝐿𝑏𝑑
× 100 %

82
การตรวจวัดด้วยวิธีทางอ้อม
[Indirect method]
(
𝜂𝑖𝑛𝑑𝑖𝑟𝑒𝑐𝑡 = 1 −
𝐻𝑉 + 𝐻𝐺 )
𝐿𝑠𝑡𝑎𝑐𝑘 + 𝐿𝐶𝑂 + 𝐿𝑢𝑛𝑏𝑢𝑟𝑛𝑡 + 𝐿𝑟𝑎𝑑 + 𝐿𝑏𝑑
× 100 %

83
ขอบคุณครับ

You might also like