You are on page 1of 82

( )

2
2

บทที่ 1
ประวัติและความเป็นมาของมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต เดิมชือ ่ “โรงเรียนมัธยมวิสามัญ


การเรือน” เป็น โรงเรียนการเรือนแห่งแรกของประเทศไทย สังกัดกอง
อาชีวศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ
เปิดดำาเนินกิจการครั้งแรกเมือ่ วันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2477 ที่วังกรมหลวง
ชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ซึ่งในปัจจุบันเป็นที่ตั้งของสถาบันเทคโนโลยีราช
มงคล วิทยาเขตพณิชยการพระนคร โดยทีความมุ่งหมายเพื่ออบรม
การบ้านการเรือนสำาหรับสตรีหลักสูตร 3 ปี ต่อมาในปี พ.ศ. 2480 ได้ยา้ ยมา
อยู่ที่
วังจันทรเกษม (กระทรวงศึกษาธิการในปัจจุบัน) และเปลี่ยนชื่อจาก
โรงเรียนมัธยมวิสามัญการเรือนมาเป็น “โรงเรียนการเรือนวังจันทร
เกษม” โดยสังกัดกองและกรมเดิม ประวัติมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
มีความเป็นมาดังนี้
พ.ศ. 2477
“โรงเรียนมัธยมวิสามัญการเรือน” เปิดดำาเนินการ ซึ่งเป็น
โรงเรียนการเรือนแห่งแรกของประเทศไทย สังกัดกอง
อาชีวศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ โดยมีคณ ุ หญิง
เพชรดา ณ ป้อมเพชร์ (ม.ล.จิตรจุล กุญชร) ดำารงตำาแหน่ง
อาจารย์ใหญ่
พ.ศ. 2480
โรงเรียนต้องย้ายจากวังกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ เข้ามาตั้ง
ที่วังจันทรเกษม และเปลี่ยนชื่อจากโรงเรียนมัธยมวิสามัญ
การเรือนมาเป็น “โรงเรียนการเรือนวังจันทร์เกษม” โดยสังกัด

2
2

กองและกรมเดิม โดยมีคณ
ุ หญิงไสววงศ์ ทองเจือ ดำารง
ตำาแหน่งอาจารย์ใหญ่
พ.ศ. 2481
เริม
่ สอนหลักสูตรอบรมครูการเรือนขึ้นเป็นปีแรก เพื่อเตรียมผู้
ที่จะออกไปประกอบอาชีพในวิชาชีพครู
พ.ศ. 2483
เปิดสอนนักเรียนชั้นอนุบาลขึ้นเป็นครั้งแรก เรียกว่า “
โรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ” นับเป็นโรงเรียนอนุบาลของ
รัฐบาลแห่งแรกในประเทศไทย

3
2

พ.ศ. 2484
โรงเรียนได้ย้ายออกจากวังจันทร์เกษมเข้ามาอยู่ใน
สวนสุนันทา (บริเวณทีต
่ ั้งปัจจุบัน) และได้เปลี่ยนชื่อเป็น “
โรงเรียนการเรือนพระนคร” ได้ย้ายไปสังกัดกองฝึกหัดครู กรม
สามัญศึกษา โดยมีอาจารย์บุญเกลื้อ กรลักษณ์ ดำารงตำาแหน่ง
อาจารย์ใหญ่
พ.ศ. 2486
เปิดแผนกอบรมครูอนุบาลขึ้นแขนงหนึ่ง เพือ ่ เตรียมครูสอนใน
ระดับชั้นอนุบาซึ่งยังขาดแคลน ปลายปีเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2
ทำาให้ต้องอพยพนักเรียนฝึกหัดครูอนุบาลและนักเรียน
การเรือนชั้นสูงไปเรียนที่จังหวัดฉะเชิงเทรา รวมทั้งบางส่วน
ไปเรียนที่จังหวัดนครราชสีมา หลังสงครามสงบได้ยา้ ยกลับมา
ที่สวนสุนันทาเหมือนเดิมในปี พ.ศ. 2489 และได้เปิดสอนทุก
แผนกเป็นปกติในปีการศึกษา 2490 โดยมีคุณหญิงกระจ่างศรี
รักตะกนิษฐ์ ดำารงตำาแหน่งอาจารย์ใหญ่
พ.ศ. 2490
โรงเรียนได้งบประมาณสร้างตึกใหม่แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2495 คือ
อาคารเรียน 1 หรือตึก 1 นั้นเอง
พ.ศ. 2497
เปิดสอนหลักสูตรครูมัธยมเป็นปีแรก
พ.ศ. 2498
โรงเรียนการเรือนพระนครได้ย้ายสังกัดจากกองฝึกหัดครู กรม
สามัญศึกษา มาสังกัด กองโรงเรียนฝึกหัดครู กรมการฝึกหัด
ครู
พ.ศ. 2499
เปิดหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) สาขา
คหกรรมศาสตร์เป็นครั้งแรก
พ.ศ. 2501
ยกเลิกหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) สาขา
คหกรรมศาสตร์ และ ปรับเปลี่ยนเป็นหลักสูตรประกาศนียบัตร
วิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ.ชัน ้ สูง)สาขา
คหกรรมศาสตร์ และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา
้ สูง (ป.กศ. ชั้นสูง) สาขาการอนุบาลศึกษา
ชัน

4
2

พ.ศ. 2504
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศยกฐานะโรงเรียนการเรือน
พระนครเป็นวิทยาลัย และ เปลี่ยนชื่อเป็น “ วิทยาลัยครู
ิ ”
สวนดุสต

5
2

พ.ศ. 2517
เปิดสอนหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) สาขาประถมศึกษา
วิชาเอกสังคมศึกษาเป็น
ครั้งแรก
พ.ศ. 2518
เปิดหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขามัธยมศึกษา วิชาเอก
คหกรรมศาสตร์เป็นครั้งแรก
พ.ศ. 2519
เปิดหลักสูตร ป.กศ. (ทวิภาค) และหลักสูตรปริญญาของสภา
การฝึกหัดครู หลังจากที่พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู (ฉบับที่ 1)
ประกาศใช้ โดยมีศาสตราจารย์เรวดี วงศ์พรหมเมฆ ดำารง
ตำาแหน่งอธิการวิทยาลัยครูสวนดุสติ
พ.ศ.2520
่ นชื่อ โรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ เป็น “ โรงเรียนสาธิต
เปลีย
อนุบาลละอออุทิศ ” วิทยาลัยครูสวนดุสิต และเปิดสอน
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต วิชาเอกการอนุบาลศึกษาเป็นครั้ง
แรก
พ.ศ. 2521
เปิดหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต วิชาเอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป และ
เปิดโครงการอบรมครู และ บุคลากรทางการศึกษาประจำาการ
(อคป.)ตามโปรแกรมพัฒนาสมรรถภาพครู 7 โปรแกรม คือ
ภาษาไทย สังคมศึกษา การศึกษาพิเศษ วิทยาศาสตร์ทั่วไป
คหกรรมศาสตร์การอนุบาลศึกษา และศิลป-ศึกษา เป็นรุ่นแรก
พ.ศ. 2522
ยกเลิกหลักสูตร ป.กศ. (ทวิภาค) เปิดสอนหลักสูตร ป.กศ.ชัน ้ สูง
เพิม
่ ขึ้นอีก คือ อุตสาหกรรมศิลป์ เปิดสอนหลักสูตรปริญญา
ครุศาสตร์ 2 ปีหลังเพิม่ อีก 5 วิชาเอก รวมเป็น 9 วิชาเอก คือ
ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ศิลปศึกษา วิทยาศาสตร์ทั่วไป
สังคมศึกษา การประถมศึกษา คหกรรมศาสตร์การอนุบาล
ศึกษา และการศึกษาพิเศษ เปิดสอน อคป. รุ่นที่ 2 รวม 9
โปรแกรม เพิ่มเติมจากเดิม 2 โปรแกรม คือ ภาษาอังกฤษ และ
คณิตศาสตร์
พ.ศ. 2523

6
2

เปิดสอนหลักสูตรปริญญาครุศาสตรบัณฑิต(ค.บ) 4 ปี รวม 9 วิชา


เอก คือ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา คหกรรมศาสตร์
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ทั่วไป ศิลปศึกษา การอนุบาลศึกษา
และการศึกษาพิเศษ
พ.ศ. 2524
เปิดสอน อคป.รุ่นที่ 4 รวม 10 โปรแกรม คือ ภาษาไทย ภาษา
อังกฤษ สังคมศึกษา คหกรรมศาสตร์ คณิตศาสตร์ การอนุบาล
ศึกษา ศิลปศึกษา การประถมศึกษา การบริหารการศึกษา และ
การแนะแนว
พ.ศ. 2525
เปิดสอน อคป.รุ่นที่ 5 รวม 10 โปรแกรม คือ ภาษาไทย ภาษา
อังกฤษ สังคมศึกษา คหกรรมศาสตร์ คณิตศาสตร์ การอนุบาล
ศึกษา ศิลปศึกษา การประถมศึกษา การบริหารการศึกษา และ
การแนะแนว
พ.ศ. 2526
เปิดสอน ป.กศ. ซึ่งสำานักงานการประถมศึกษาแห่งชาติ (สปช.)
้ สูงเทคนิคอาชีพ (ภาค
ส่งมาเรียน เปิดสอนระดับ ป.กศ. ชัน
สมทบ) รวม 3 วิชาเอก คือวารสารและการประชาสัมพันธ์ การ
อาหารและ ศิลปประดิษฐ์ เปิดสอน อคป. รุ่นที่ 6 รวม 8
โปรแกรม คือ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา
คหกรรมศาสตร์ การอนุบาลศึกษา ศิลปศึกษา การบริหารการ
ศึกษาและการแนะแนว
พ.ศ. 2527
เปิดสอน อคป.รุ่นที่ 7 ระดับปริญญาตรีครุศาสตร์ 7 โปรแกรม
คือ คหกรรมศาสตร์ สังคมศึกษา การอนุบาลศึกษา การประถม
ศึกษา ศิลปศึกษา การบริหารการศึกษาและการแนะแนว
้ สูง รวม 5 โปรแกรม คือ ภาษาอังกฤษ สุขศึกษา
ระดับ ป.กศ. ชัน
สังคมศึกษา คหกรรมศาสตร์และการอนุบาลศึกษา
พ.ศ. 2528
หลังจากที่ได้แก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู (ฉบับที่
2) พ.ศ.2527 ให้วิทยาลัยสามารถเปิดสอนสายวิชาการอื่นได้ นอก
เหนือจากสายวิชาชีพครู วิทยาลัยจึงเริ่มเปิดสอนสายวิชาการ
อื่นเป็นครั้งแรกในระดับอนุปริญญาก่อน คือ อนุปริญญาศิลป-

7
2

ศาสตร์ และอนุปริญญาวิทยาศาสตร์ รวม 6 วิชาเอก คิอ


วารสารและการประชาสัมพันธ์ ภาษาอังกฤษ การอาหาร ผ้า
และเครื่องแต่งกาย ศิลปประดิษฐ์ และออกแบบนิเทศศิลป์
รวมทั้งได้เปิดรับนักศึกษาชายเป็นสหศึกษาเป็นครั้งแรกด้วย
เปิดสอน อคป. รุ่นที่ 8 เป็นรุ่นสุดท้ายระดับปริญญาตรี
ครุศาสตร์ รวม 6 โปรแกรม คือ สังคมศึกษา คหกรรมศาสตร์
การอนุบาลศึกษา ศิลปศึกษา การบริหารการศึกษา และการ
แนะแนว ระดับ ป.กศ.ชัน ้ สูง รวม 5 โปรแกรม คือ สังคมศึกษา
คหกรรมศาสตร์ การอนุบาลศึกษา ศิลปศึกษา และนาฎศิลป์
โดยในขณะนั้นมี รองศาสตราจารย์ลำาพอง บุญช่วย ดำารง
ตำาแหน่งอธิการ
พ.ศ. 2529
เปิดสอนระดับศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) 4 ปี วิชาเอกภาษา
อังกฤษเป็นรุ่นแรก และเปิดสอนระดับอนุปริญญาศิลปศาสตร์
และอนุปริญญาวิทยาศาสตร์ รวม 6 วิชา คือ วารสารและการ
ประชาสัมพันธ์ ภาษาอังกฤษธุรกิจ การอาหาร ผ้าและเครือ ่ ง
แต่งกาย ศิลปประดิษฐ์ และการออกแบบนิเทศศิลป์ สำาหรับ
หลักสูตรปริญญาครุศาสตร์คงเปิดสอนตามปกติ เปิดสอน
กศ.บป. (การศึกษาสำาหรับบุคลากรประจำาการ) รุ่นแรกโดยเปิด
สอนทั้งสายวิชาชีพครู และสายวิชาอื่นระดับอนุปริญญาศิลป-
ศาสตร์ 2 วิชาเอกคือ วารสารและการประชาสัมพันธ์ และการ
จัดการทั่วไป ระดับ ป.กศ.ชัน ้ สูง 5 วิชาเอก คือ สังคมศึกษา
คหกรรมศาสตร์ การอนุบาลศึกษา สุขศึกษา และพลศึกษา
ระดับ ค.บ. 2 ปีหลัง 9 วิชาเอก คือ สังคมศึกษา ศิลปศึกษา
เกษตรศาสตร์ การอนุอนุบาลศึกษา พลศึกษา คหกรรม-
ศาสตร์ การแนะแนว การประถมศึกษาและการบริหารการ
ศึกษา
พ.ศ. 2530
เปิดสอน ศศ.บ. 2 ปีหลัง วิชาเอกการจัดการทั่วไป วิทยาศาสตร
บัณฑิต (วท.บ.) 4 ปี วิชาเอก สถิติประยุกต์ ระดับอนุปริญญา
ศิลปศาสตร์ เปิดสอนวิชาเอกธุรกิจการท่องเทีย ่ วเป็นปีแรก

8
2

สำาหรับสายวิชาชีพครูคงเปิดสอนตามปกติ เปิดสอน กศ.บป. รุ่น


ที่ 2 และเปิดสอน ศศ.บ. วิชาเอกการจัดการทั่วไปเป็นปีแรก
พ.ศ. 2531
เปิดสอนระดับอนุปริญญาวิทยาศาสตร์เพิ่มอีก 2 วิชาเอกคือ
ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมและคอมพิวเตอร์ ระดับ
วท.บ.4 ปี วิชาเอกคหกรรมศาสตร์ทั่วไป ระดับ ศศ.บ.4 ปี วิชา
เอกภาษาอังกฤษ การจัดการทั่วไป อุตสาหกรรมท่องเที่ยวและ
นิเทศศาสตร์ ระดับ วท.บ.2 ปีหลัง วิชาเอกคหกรรม-ศาสตร์
ทั่วไประดับ ศศ.บ.2 ปีหลัง วิชาเอกนิเทศศาสตร์ อุตสาหกรรม
ท่องเทีย่ ว ออกแบบนิเทศ-ศิลป์ และ การจัดการทั่วไป สำาหรับ
สายวิชาชีพครูคงเปิดสอนตามปกติ เปิดสอน กศ.บป.รุ่นที่ 3
ระดับ ค.บ.2 ปีหลัง 7 วิชาเอก คือ การศึกษาปฐมวัย การประถม
ศึกษา ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา คหกรรมศาสตร์ สุขศึกษา
และพลศึกษา ระดับ ค.บ.2 ปีหลัง 7 วิชาเอก คือ การศึกษา
ปฐมวัย การบริหารการศึกษา สังคมศึกษา สุขศึกษา พลศึกษา
คหกรรมศาสตร์ จิตวิทยาและการแนะแนว ระดับ อนุปริญญา
วิทยาศาสตร์ 2 วิชาเอก คือ ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
และ สุขศึกษา ระดับ วท.บ.4 ปี 1 วิชาเอก คือ คหกรรมศาสตร์
ระดับ ศศ.บ.4 ปี 3 วิชาเอก คือ การจัดการทั่วไป อุตสาหกรรม
่ วและนิเทศศาสตร์ ระดับ ศศ.บ.2 ปีหลัง 4 วิชาเอก คือ
ท่องเทีย
การจัดการทั่วไป ออกแบบนิเทศศิลป์ นิเทศศาสตร์และ
อุตสาหกรรมการท่องเทีย ่ ว
พ.ศ. 2532
เปิดสอนระดับอนุปริญญาวิทยาศาสตร์เพิ่มอีก 1 วิชาเอก คือ
เคมีปฏิบัติและเปิดสอน กศ.บป.รุ่นที่ 4
พ.ศ. 2533
รับนักศึกษาโครงการคุรท ุ ายาท ระดับ ค.บ. 4 ปี วิชาเอกการ
ศึกษาปฐมวัยเป็นรุ่นแรก
พ.ศ. 2535
เปิดสอนระดับ วท.บ. 4 ปี วิชาเอกวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การอาหารเป็นปีแรก โดยในขณะนั้นมี รองศาสตราจารย์ธง
รุญเจริญ ดำารงตำาแหน่งอธิการ
9
2

พ.ศ. 2538
ประกาศพระราชบัญญัตส ิ ถาบันราชภัฏ พ.ศ .2538 ทำาให้วิทยาลัย
ครูสวนดุสิตเปลี่ยนเป็น “ สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ” โดยมีผู้
ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน ดำารงตำาแหน่ง
อธิการบดี
พ.ศ. 2539
เปิดสอนหลักสูตรปริญญาครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) 4 ปี
โปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา และ ปริญญาวิทยาศาสตร
บัณฑิต (วท.บ.) 4 ปี (ภาคสมทบ) โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์สิ่ง
แวดล้อมเป็นรุ่นแรก

เปิดสอนหลักสูตรปริญญาตรี สำาหรับการให้การศึกษาภาค
สมทบ ศูนย์การศึกษานอกสถาบัน ได้แก่ ศูนย์ซุปเปอร์เซฟ
องค์การเภสัชกรรม และศูนย์อรรถวิทย์
พ.ศ. 2540
เปิดสอนหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) 4 ปี ภาค
ปกติ โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม และหลักสูตร
ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) 4 ปี ภาคสมทบ โปรแกรม
วิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาเป็นปีแรก

เริ่มเปิดสอนระดับปริญญาโทหลักสูตร M.B.A. โดยความร่วมมือ


จาก มหาวิทยาลัย VICTORIA ประเทศแคนาดา

เปิดสอนหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) 4 ปี
โปรแกรมวิชาการจัดการ-ทั่วไป และโปรแกรมวิชา
บริหารธุรกิจ

สำาหรับการให้การศึกษาภาคปกติศูนย์การศึกษานอกสถาบันที่
ศูนย์จรัลสนิทวงศ์เป็นปีแรก เปิดสอนระบบทางไกลภาคสมทบ
หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต 2 ปีหลังอนุปริญญา และ
หลักสูตรอนุปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต โปรแกรมวิชาการ
จัดการทั่วไปและบริหารธุรกิจ เปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญา

10
2

ตรีสำาหรับการศึกษาภาคสมทบศูนย์การศึกษานอกสถาบัน
ได้แก่ ศูนย์จรัลสนิทวงศ์ ศูนย์พงษ์สวัสดิ์ ศูนย์สุโขทัย

11
2

พ.ศ. 2541
เปิดสอนหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ) 4 ปี ภาค
ปกติ โปรแกรมวิชาฝรั่งเศสธุรกิจเป็นปีแรก เปิดสอนหลักสูตร
ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต 2 ปีหลังอนุปริญญา โปรแกรม
วิชาการจัดการทั่วไป สำาหรับการศึกษาภาคปกติและภาค
สมทบ ศูนย์การศึกษานอกสถาบันที่ศูนย์ดส ุ ิตพาณิชยาการเปิด
สอนหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) 4 ปี โปรแกรม
วิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ สำาหรับการ
ศึกษาภาคปกติศูนย์การศึกษานอกสถาบันที่ศูนย์เซ็นทรัล ปิ่น
เกล้า เปิดสอนหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต 2 ปีหลัง
อนุปริญญา และหลักสูตรอนุปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต
โปรแกรมวิชาการจัดการทั่วไปและโปรแกรมวิชาบริหารธุรกิจ
สำาหรับการให้การศึกษาระบบทางไกล ภาคสมทบที่ศูนย์
เซ็นทรัล ปิ่นเกล้า ศูนย์อม
ิ พีเรียล บางนา ศูนย์นครนายกที่
โรงเรียนเทคโนโลยีวีรพัฒน์ และศูนย์ปราจีนบุรีที่โรงเรียน
พณิชยการปราจีนบุรี
พ.ศ. 2542
เปิดสอนหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต 4 ปี ภาคปกติ
โปรแกรมวิชาชีววิทยาประยุกต์ เป็นปีแรก เปิดสอนหลักสูตร
ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) 4 ปี โปรแกรมวิชา
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต
(ศศ.บ.) 2 ปีหลังอนุปริญญา โปรแกรมวิชาบริหารธุรกิจ การ
จัดการทั่วไปสำาหรับการให้การศึกษาภาคปกติและภาคสมทบ

เปิดสอนหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต 2 ปีหลัง
อนุปริญญา โปรแกรมวิชาการจัดการทั่วไป และโปรแกรมวิชา
บริหารธุรกิจสำาหรับการศึกษาภาคสมทบศูนย์การศึกษานอก
สถาบันที่ศูนย์พณิชยการสันติราษฎร์เป็นปีแรก

เปิดสอนหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) 4 ปี
โปรแกรมวิชา บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ และ
โปรแกรมวิชาศิลปกรรม หลักสูตรอนุปริญญาศิลปศาสตร์

12
2

โปรแกรมวิชาออกแบบนิเทศศิลป์สำาหรับการให้การศึกษาภาค
ปกติศูนย์การศึกษานอกสถาบันที่ศูนย์ธนาลงกรณ์เป็นปีแรก

เปิดสอนหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) 4 ปี
โปรแกรมวิชานิเทศศาสตร์ การจัดการทั่วไป และบริหารธุรกิจ
สำาหรับการให้การศึกษาภาคปกติศูนย์การศึกษานอกสถาบันที่
ศูนย์ดส
ุ ิตพาณิชยการ

เปิดสอนหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) 4 ปี
โปรแกรมวิชาการจัดการทั่วไปสำาหรับให้การศึกษาภาคปกติ
ศูนย์การศึกษานอกสถาบันที่ศูนย์พงษ์สวัสดิ์เป็นปีแรก

เปิดสอนหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) 4 ปี
โปรแกรมวิชาการจัดการทั่วไปสำาหรับให้การศึกษาภาคปกติ
ศูนย์การศึกษานอกสถาบันที่ศูนย์เซ็นทรัล ปิ่นเกล้า
เปิดสอนหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) 4 ปี
โปรแกรมวิชาการจัดการทั่วไป บริหารธุรกิจ และ
บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์สำาหรับให้การศึกษา
ภาคปกติศูนย์การศึกษานอกสถาบันที่ศูนย์อม ิ พีเรียล บางนา

เปิดสอนระดับบัณฑิตศึกษาในหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต
(ค.ม.) สาขาบริหารการศึกษา และหลักสูตรบริหารธุรกิจมหา
บัณฑิต (บธ.ม.) สาขาบริหารธุรกิจ (การจัดการทั่วไป, การตลาด)
พ.ศ. 2543
เปิดสอนหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตร์บัณฑิต (ศศ.บ.) 4 ปี
โปรแกรมรัฐประศาสนศาสน์เป็นปีแรกและมีการขยายศูนย์
การศึกษานอกสถาบัน เปิดสอนระดับปริญญาตรี อนุปริญญา
และปริญญาตรีหลังอนุปริญญาเพิ่มอีก 8 ศูนย์ ได้แก่
- ศูนย์บุษยมาส เปิดสอนสาขาวิทยาการจัดการทั่วไป และ
บริหารธุรกิจ
- ศูนย์พณิชการสยาม เปิดสอนสาขาวิชาวิทยาการ
คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ศึกษา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถิติ
ประยุกต์ และบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์

13
2

- ศูนย์นครปฐม เปิดสอนสาขาวิชาการจัดการทั่วไป สาขา


วิชาบริหารธุรกิจ และ รัฐประศาสนศาสตร์
- ศูนย์ชลบุรี เปิดสอนสาขาวิชาการจัดการทั่วไป
บริหารธุรกิจ อังกฤษธุรกิจ และ รัฐประศาสนศาสตร์
- ศูนย์พัทยา เปิดสอนสาขาวิชาบริหารธุรกิจ การจัดการ
ทั่วไป การบริหารการศึกษา การศึกษาปฐมวัย ภาษา
อังกฤษธุรกิจ และรัฐประศาสนศาสตร์
- ศูนย์สระบุรี เปิดสอนสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สาขา
วิชาบริหารธุรกิจและ สาขาวิชาการจัดการทั่วไป
- ศูนย์พะเยา เปิดสอนสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สาขา
วิชาบริหารธุรกิจ และสาขาวิชาการจัดการทั่วไป
- ศูนย์ลำาปาง เปิดสอนสาขาวิชาบริหารธุรกิจขยายการ
จัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาบริหารการศึกษาที่
ศูนย์ปราจีนบุรี และสาขาการจัด-การทั่วไปที่ศูนย์นครปฐม
โครงการความร่วมมือเพื่อพัฒนาบุคลากรระหว่างสถาบัน
ราชภัฏสวนดุสิตกับบริษัท ซี.พี เซเว่นอีเลฟเว่น จำากัด
(มหาชน) และบริษัทในกลุม ่ ในการร่วมกันพัฒนาหลักสูตร
ธุรกิจการค้าปลีกเพื่อใช้สอนบุคลากรของบริษัท
พ.ศ. 2544
ขยายการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี โปรแกรมวิชา
นิเทศศาสตร์ให้ไปจัดการศึกษาในพื้นที่เช่าบริเวณซอยระนอง
2 นอกจากนี้ยังมีการขยายการจัดการศึกษาทางโปรแกรม
วิชาการจัดการทั่วไป โปรแกรมวิชาบริหารธุรกิจ และ
โปรแกรมวิชารัฐศาสตร์ ไปจัดการศึกษาที่โครงการความร่วม
มือฯ ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียน อำาเภอบ้านแพ้ว
จังหวัดสมุทรสาคร และขยายการจัดการศึกษาระดับบัณฑิต
ศึกษา เปิดสอนสาขาการจัดการทั่วไปที่ศูนย์ปราจีนบุรี เปิด
สอนสาขาการจัดการทั่วไปและสาขาการตลาดที่ศูนย์
นครราชสีมา และเปิดสอนสาขาบริหารการศึกษาที่ศูนย์แสตม
ฟอร์ด
พ.ศ. 2545
ขยายการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี เพิม ่ ขึ้นอีก 1 วิทยาเขต
2 ศูนย์การศึกษา ได้แก่ วิทยาเขตพิษณุโลก ศูนย์ตรังและศูนย์
หัวหิน และมีการจัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา
14
2

่ อีก 1 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหา


เพิม
บัณฑิต (รป.ม.) สาขาการบริหารและพัฒนาประชาคมเมืองและ
ชนบท และสาขานโยบายสาธารณะ และเปิดสอนสาขาการ
ตลาดที่ศูนย์นครปฐม และเปิดโครงการโรงเรียนอาหาร
นานาชาติ (Chef School)
พ.ศ. 2546
ขยายการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีเพิ่มอีก 1 ศูนย์การ
ศึกษา คือ ศูนย์ลม
ุ พินี เปิดสอนในระดับปริญญาตรีในภาคปกติ
และภาคสมทบ โปรแกรมวิชานิเทศศาสตร์ อุตสาหกรรมท่อง
เที่ยว การจัดการทั่วไป นิติศาสตร์ และบริหารธุรกิจ
พ.ศ. 2547
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์สุขม ุ เฉลยทรัพย์ ดำารงตำาแหน่งอธิการบดี
- ศูนย์สุพรรณบุรีจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี เพิ่ม 5
โปรแกรมวิชา คือ โปรแกรมวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว (
ธุรกิจการท่องเที่ยว) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการ
อาหาร อุตสาหกรรมอาหารและการบริการ นิเทศศาสตร์
(โฆษณา) และบริหารธุรกิจ (การตลาด)
- การจัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษาเพิ่มอีกใน
ระดับปริญญาโท และปริญญาเอก ได้แก่
- โครงการปริญญาโทนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการ
สื่อสารการเมืองและการสื่อสารเพื่อการรณรงค์ ( การ
โฆษณา , ประชาสัมพันธ์)
- โครงการปริญญาเอกการจัดการดุษฎีบัณฑิต และปริญญา
เอกปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาการบริหารงานยุติธรรมและ
สังคม และปริญญาเอกรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต
- เปิดอาคารโรงเรียนประถมสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ
สวนดุสิต เพือ
่ เป็นสถานที่ศึกษาต่อเนื่องของนักเรียนที่
เรียนจบจากโรงเรียนสาธิตอนุบาลละอออุทิศ
- พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห ่ ัว ทรงโปรดเกล้า พระราช
บัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ .2547 ลงประกาศในราชกิจ
จานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่ม 121 ตอนพิเศษ 23 ก ลงวันที่
14 มิถุนายน พ.ศ. 2547 เวลา 09.39 น. ทำาให้สถาบันราชภัฏ

15
2

สวนดุสิต ยกฐานะเป็น “ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสต


ิ ”
ในวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2547

16
2

(Survival)

( VISION )

1. เป็นมหาวิทยาลัยเฉพาะทาง ที่เน้นในสาขาวิชาที่มีความ
เชีย
่ วชาญและเป็นเลิศ สามารถสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมให้เป็นที่
ยอมรับได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ

2. เป็นมหาวิทยาลัยที่เน้นการนำาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้
ในการจัดการเรียนการสอนและการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบและมี
ประสิทธิภาพ

3. เป็นมหาวิทยาลัยที่มุ่งพัฒนาและสร้างสรรค์บุคลากรให้เป็น
บุคคลที่มีความรู้ (Knowledge Workers) เพื่อเป็นทุนมนุษย์ (Human Capital) ในการ
สร้างความมั่งคั่งทางปัญญา (Intellectual Wealth) ขององค์กร

(MISSION)

1. ผลิตบัณฑิตและพัฒนาครูให้มีคณ
ุ ภาพเป็นที่ยอมรับและ
ต้องการของผู้ประกอบการและสังคมโดยเน้นการนำาเทคโนโลยีที่ทันสมัย
มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนและการบริหารจัดการอย่างมี
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล โปร่งใส ตรวจสอบได้ และสามารถแข่งขันกับ
กระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก ตลอดจนส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วน
ร่วมในการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต

2. สร้างองค์ความรู้ ประสานความร่วมมือด้านวิจัย พัฒนา


นวัตกรรมและสร้างเครือข่ายพันธมิตรทางวิชาการกับองค์กรในประเทศ
และต่างประเทศรวมทั้งให้บริการวิชาการแก่สังคม พัฒนาและถ่ายทอด
เทคโนโลยีให้กับชุมชน ทำานุบำารุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และพัฒนา
คุณภาพชีวิตของประชาชน

17
2

18
2

เครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรูของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรูของมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิตได
ปรับปรุงและพัฒนาจากเดิม เพื่อเพิ่มศักยภาพในการใหบริการดานการเรียนการสอนและสื่อสารขอมูลใน
ลักษณะมัลติมีเดียในรูปแบบตางๆ โดยในปการศึกษา 2548 มหาวิทยาลัย มีการพัฒนาเทคโนโลยีดังนี้
1.มีระบบเครือขายหลักที่เชื่อมดวยใยแกวนําแสง (Fiber Optic) เชื่อมอาคาร ตางๆ ดวย
อุปกรณ์ ATM Switching ความเร็วสูงซึ่งในปการศึกษา 2549 จะมีการพัฒนาปรับเปลี่ยนเปน อุปกรณ์
Switching หลักเปน Ethernet Switching ที่ความเร็ว 10 Gigabit

2. ติดตั้งระบบเครือขายไรสาย (Wireless Network) เปนเครือขายเสริม สําหรับให


บริการแกบุคลากรและนักศึกษา โดยติดตั้งสถานีกระจายคลื่นความถี่วิทยุ ใหครอบคลุมทุกพื้นที่ภายใน
มหาวิทยาลัย จากเดิมจํานวน 12 สถานี เพิ่มเปน 40 สถานี ครอบคลุมบริเวณหนาหอประชุม ศาลาขาว หนา
อาคาร 2 สํานักงานคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครัวสวนดุสิต หนาอาคาร 4 ชั้น 1 ในอาคาร 11 อาคาร
12 ศาลาชืน่ อารมณ์ ศาลากระจางศรี สระวายนํ้า ชัน้ 1 สํานักวิทยบริการ (บริเวณที่อานหนังสือพิมพ์) หอง
อาหาร (บริเวณทางเชื่อมสํานักวิทยบริการกับอาคาร 11) อาคาร อนุบาลละอออุทิศ ทั้งนี้ เพื่อใหนักศึกษา อา
จารย์และบุคลากรของมหาวิทยาลัยฯ ที่ใชเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดพกพา (Notebook) และคอมพิวเตอร์มือถือ

19
2

(Pocket PC) สามารถใชงานระบบ Wireless LAN เชื่อมตอเขาสูเครือขายหลักของมหาวิทยาลัยฯเพื่อคนควา


ขอมูลสารสนเทศของมหาวิทยาลัย
1

3.
ให บริการงานอินเตอร เน็ตและ
ระบบต างๆ ของมหาวิทยาลัยฯ เช น Domain Name Server (DNS). Proxy Server. Mail
Server. Dusit Host. Dusit Web. ระบบลงเวลาบุคลกร (Dusit Personal). Dusit Stream. Dusit FTP.
Dusit Antivirus. Dusit DHCP, Dusit Update windowsฯลฯ โดยเครื่องแม ข ายทั้งหมด
ติดตั้งรวมกันไว ในห อง Server ทีห
่ อง IT Control เนื่องจาก
มีการติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัย ระบบสำารองต างๆ และระบบ
Monitor ทำาให สะดวกในการบริหารจัดการ บำารุงรักษา และสามารถ
ตรวจสอบแก ไขป ญหาได อย างรวดเร็ว
การติดตั้งโครงข ายอินเตอร เน็ตในป
2548 มหาวิทยาลัยเชือ ่ มโยงเครือข ายอินเตอร เน็ตกับผู ให
บริการอินเตอร เน็ต 2 ราย คือ บริษัท ซีเอส ล็อกอินโฟ

20
2

อินเตอร เน็ต ความเร็ว 14 MBps. และเชือ


่ มกับระบบเครือข ายเพื่อการศึกษา
(Uninet) ของทบวงมหาวิทยาลัย โดยเชื่อมต อด วยความร็ว 20 MBps.

เพื่อขยายการให บริการแก
นักศึกษาและบุคลากรทุกประเภทของมหาวิทยาลัยจากทางบ าน โดยแบ งได ดังนี้
- เชื่อมกับระบบเครือข ายโทรศัพท ขององค
การโทรศัพท แห งประเทศไทยชนิด Digital ที่ความเร็ว 56 Kbps. จำานวน 20
E1 หรือ 600 คู สาย
- เชือ
่ มกับระบบโครงข ายโทรศัพท หมายเลข
1222 ขององค การโทรศัพท แห งประเทศไทย เพือ ่ ให แก นักศึกษาของ
สถาบันที่กระจายอยู เกือบทั่วประเทศได เชือ ่ มต อระบบเครือข ายของสถาบันโดยผ
ระบบเครือข ายโทรศัพท ขององค การโทรศัพท เสียค าใช จ ายครั้งละ
3 บาท โดยผ าน Modem เข าใช บริการอินเตอร เน็ตของ
มหาวิทยาลัย
มีระบบ VPN (Virtual Private Network) เพื่อให นักศึกษาหรือ
บุคลากรที่ใช ระบบเครือข ายอื่นๆนอกมหาวิทยาลัย สามารถเชื่อม
ต อเข ามายังระบบเครือข ายของมหาวิทยาลัย เสมือนว าใช
งานอยู ภายในมหาวิทยาลัย ทำาให สามารถสืบค นข
อมูลต างๆของมหาวิทยาลัยได

จากส วนกลางจะเชื่อม
ต อไปยัง ศูนย การศึกษาด วยเครือข ายวงจรความเร็วสูงโดย
ใช เทคโนโลยี MPLS เพื่อรับส งข อมูลระบบ Internet และ Intranet ขนาด
ความเร็ว 2 MBps. และสำาหรับระบบ VDO Conference 15 ศูนย ได แยกใช
ช องทางการเชื่อมต อสำาหรับส งข อมูลระบบ VDO
Conference ที่ความเร็วศูนย ละ 768 Kbps. ซึ่งในอนาคตจะมีกา
รพัฒนาให ใช ช องทางสือ ่ สารเดียวกัน

21
2

22
2

ผลการดำาเนินงานในรอบป การศึกษา 2548 (มิ.ย.48 – พ.ค. 49)


ที่ผ านมา งานฝ กอบรมได รับความสนใจจากนักศึกษา บุคคล
ภายนอก และหน วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน เข าร วมโครงการ
อบรมคอมพิวเตอร เป นอย างมาก โดยได ดำาเนินการทั้งงานโครงการ
อบรมและงานบริการทางวิชาการแก สังคม รวม 16 โครงการ
ได แก
11. โครงการอบรมคอมพิวเตอร ประจำาป การศึกษา
2548
22. โครงการอบรมคอมพิวเตอร สาหรับเจ าหน าที่สำานักงาน
ป.ป.ช.
33. โครงการอบรมคอมพิวเตอร สำาหรับเจ าหน าที่ฝ
ายจัดการสหกรณ ทุกประเภท
44. โครงการอบรมการใช เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารเพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน สำาหรับ
คณาจารย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
5. โครงการอบรมคอมพิวเตอร สำาหรับนักศึกษาชั้นป ที่
3 โปรแกรมการจัดการทั่วไป
6. โครงการอบรมคอมพิวเตอร สำาหรับเจ าหน าที่กระทรวงวัฒนธรรม
17. โครงการการเตรียมฝ กประสบการณ วิชาชีพ เพือ ่ เตรียมความพร
อมให นักศึกษาสู ตลาดแรงงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สวนดุสิต
28. โครงการอบรมการใช เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารเพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน คณะครุศาสตร
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
39. โครงการอบรมการใช คอมพิวเตอร สำาหรับบุคลากรประ
จำาป 2549
410. โครงการอบรมการผลิตสือ ่ อิเล็กทรอนิกส
511. โครงการพัฒนาฐานข อมูลสหบรรณานุกรม
612. โครงการผลิตสื่อ e-Learning สำาหรับกรมการประกันภัย
13.โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสมาชิก
ก.พ.ร.สำานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (R&D)

23
2

14. โครงการจัดทำาซอฟแวร ระบบสารสนเทศของสำานัก


ทะเบียนและใบอนุญาตประกอบวิชาชีพคุรส ุ ภา
15. ที่ปรึกษาโครงการพัฒนาห องสมุดสำานักงบประมาณให
เป นห องสมุดอิเล็กทรอนิกส
16. ที่ปรึกษาโครงการพัฒนาแผนแม บทหอสมุดแห งชาติ

พอสรุปได ดังนี้
1. โครงการอบรมคอมพิวเตอร ประจำาป การศึกษา
2548 เป ดอบรมให แก นักศึกษาและบุคคลภายนอก รวม 64 หลักสูตร
มีผู อบรมทั้งสิ้น 2,291 คน แบ งเป นผู เข าอบรมภายใน
มหาวิทยาลัยและศูนย การศึกษานอกมหาวิทยาลัย
2. โครงการอบรมคอมพิวเตอร สำาหรับเจ าหน าที่สำานักงาน
ป.ป.ช. เป นการดำาเนินการฝ กอบรมคอมพิวเตอร ให กับห
น วยงานภาครัฐและภาคเอกชนทีม ่ าติดต อเข ารับอบรมเป น
หมู คณะ โดยทำาการฝ กอบรมรวมทั้งสิ้น 4 หลักสูตร มีผู เข ารับการ
อบรมจำานวน 120 คน ดังนี้
2.1หลักสูตร Microsoft Power Point รุ น 1 และ 2 จัดอบรมให กับ บุคลา
กรสำานักงานคณะกรรมการป องกันและปราบปรามการทุจริตแห งชาติ ระหว างวัน
6-8, 13-15 มิ.ย. 48 มีผู เข าร วมอบรมจำานวน 60 คน
2.2 หลักสูตร Microsoft Excel ขั้นสูง รุ น 1 และ 2 จัดอบรมให กับ บุ
คลากรสำานักงานคณะกรรมการป องกันและปราบปรามการทุจริตแห งชาติ ระหว า
20-22, 27-29 มิ.ย. 48 มีผู เข้าร่วมอบรมจำานวน 60 คน
3. โครงการอบรมคอมพิวเตอร สำาหรับเจ าหน าที่ฝ าย
จัดการสหกรณ ทุกประเภท รุ นที่ 2 เป นการดำาเนินการฝ กอบรม
คอมพิวเตอร โดยทำาการฝ กอบรมหลักสูตร Microsoft Power Point ระหว
างวันที่ 15 – 17 มิถุนายน 2548 มีผู เข ารับการอบรมจำานวน 35 คน
4. โครงการอบรมการใช เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน สำาหรับคณาจารย
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จำานวน 160 คน ให สามารถสร าง
พัฒนา ปรับปรุงสื่อบทเรียนออนไลน เพื่อใช ในการสนับสนุนการ
เรียนการสอน ระหว างวันที่ 3-4 เม.ย. , 20-21 เม.ย. , 26-27 เม.ย. และ 2-3 พ.ค. 49
รวม 4 รุ น

24
2

5. โครงการอบรมคอมพิวเตอร สำาหรับนักศึกษาชั้นป ที่


3 โปรแกรมการจัดการทั่วไป คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สวนดุสิต เพือ ่ เสริมทักษะการใช งานโปรแกรมคอมพิวเตอร และ
เตรียมความพร อมก อนออกฝ กประสบการณ วิชาชีพ
5.1 หลักสูตร Microsoft Access รุ นที่ 1 ระหว างวันที่ 5,19,26 ส.ค. และ
2 ก.ย. 48 จำานวน 125 คน
5.2 หลักสูตร Microsoft Access รุ นที่ 2 ระหว างวันที่ 9,16,23, 30 ก.ย. 48
จำานวน 123 คน
6. โครงการอบรมคอมพิวเตอร สำาหรับเจ าหน าที่กระทรวงวัฒนธรรม
ให สามารถสร างงานแอนิเมชันเพื่อใช เป นสื่อการสอนได ระหว างวันที่
30 ก.ย. – 4 ต.ค. 48 จำานวน 10 คน
7. โครงการ การเตรียมฝ กประสบการณ วิชาชีพ เพือ ่ เตรียมความ
พร อมให นักศึกษาสู ตลาดแรงงาน ด านคอมพิวเตอร และความ
สามารถเฉพาะทางสำาหรับนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร สิ่งแวดล อม หลักสูตร
Microsoft Office ระหว างวันที่ 9, 23, 30 ก.ย. 13, 14, 20, 21 ต.ค. 48 จำานวน 75 คน
แวดล อม หลักสูตร Microsoft Office ระหว างวันที่ 9, 23, 30 ก.ย. 13, 14, 20, 21 ต.ค.
48 จำานวน 75 คน
8. โครงการอบรมการใช เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สวนดุสิต เพือ ่ ให อาจารย และเจ าหน าที่มีความรู ความสามารถและทักษะในการ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ ่ สารในการปฏิบัติงานในหน าที่ที่รับ
ผิดชอบอย างมีประสิทธิภาพ ระหว างวันที่ 14 – 16 ธ.ค. 48 จำานวน 40 คน
9. โครงการอบรมคอมพิวเตอร สำาหรับบุคลากรประจำาป
2549 เพื่อพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยฯ ให มีความรู ทางด าน
คอมพิวเตอร และนำามาพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
9.1 หลักสูตร 1 การจัดทำาเว็บไซด ด วย Macromedia
Dreamweaver ระหว างวันที่ 17-19 พ.ศ.2549 จำานวน67 คนประเมินตนเอง ประ
จำาป การศึกษา 2548
9.2 หลักสูตร 2 การออกแบบงาน Multimedia ด วย Macromedia Flash
ระหว างวันที่ 22-24 พ.ค. 49 จำานวน 67 คน
10. โครงการอบรมการผลิตสือ ่ อิเล็กทรอนิกส

25
2

กลุ มงานผลิตและพัฒนามัลติมเี ดีย ได จัดกิจกรรมอบรม


เชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับ การผลิตสื่อมัลติมีเดีย ให กับบุคลากรในสถาบัน
การศึกษาทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย เพื่อพัฒนาศักยภาพให
ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถผลิตสื่อมัลติมีเดียและผลิตสือ ่
ผ านคอมพิวเตอร ได โดยจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรือ ่ ง การจัดทำา e
- Portfolio เพื่อพัฒนาเป นฐานข อมูลบุคลากรให กับอาจารย คณะ
มนุษยศาสตร และสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสต ิ จำานวน 4
รุ น ๆ ละ 30 คน ระหว างวันที่ 22 สิงหาคม – 2 กันยายน 2548 ณ ห องIT
Training สำานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สวนดุสิต
11. โครงการพัฒนาฐานข อมูลสหบรรณานุกรม
กลุ มงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ สำานักวิทยบริการฯ
ได จัดทำาโครงการระบบสหบรรณานุกรม (Union Catalog) เพื่อเป นการ
แลกเปลี่ยนข อมูลบรรณานุกรมและใช ทรัพยากรสารสนเทศร ว
มกันระหว างห องสมุด มีสมาชิกทั้งหมด 13 หน วยงาน คือ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร ธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏว
สถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนาห องสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรส ี ถาบันเพิ่มผลผลิตแห งชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ
อร ด ตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย สถาบันมะเร็งแห งชาติ และ
มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
12. โครงการผลิตสื่อ e-Learning สำาหรับกรมการประกันภัย
กลุ มงาน e-learning ได จัดมอบรมเชิงปฏิบัติการเกีย ่ วกับ การ
ผลิตสื่อการเรียนการสอนสื่ออิเล็กทรอนิกส
(courseware) วิชาภาษาอังกฤษพื้นฐานสำาหรับใช ในการปฏิบัติงาน
และชีวิตประจำาวัน และวิชาคอมพิวเตอร พื้นฐานสำาหรับใช ในการปฏิบัติงาน
เป นการผลิตสื่อการเรียนการสอนในลักษณะของสือ ่ ประสม (Multimedia)
ให กับกองส งเสริมการประกันภัยและสารสนเทศ กรมการประกัน
ภัย
13. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสมาชิก
ก.พ.ร.สำานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (R&D)
สำานักวิทยบริการฯได จัดทำาโครงการพัฒนาโปรแกรมและ
ระบบงานให กับสำานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการสำาหรับ

26
2

ใช ในการกรอกข อมูลทะเบียนประวัติของข าราชการ บุคลากรหน วยงานต างๆ ที่


เกี่ยวข อง รวมทั้งเครือข ายประชาสัมพันธ ทัง้ ของส วนราชการและเอกชน เพื่อใช
พัฒนาระบบราชการ และ ทำาข อมูลพื้นฐานของระบบ โดยพัฒนา
ในส วนของการรับข อมูลเข าระบบ บันทึกข อมูลทะเบียนประวัติต างๆ ของข าราช
และครูอต ั ราจ างในสังกัดของคุรุสภา ข อมูลสถานศึกษา
ข อมูลผู ใช ระบบ / เจ าหน าที่ การเพิ่ม / แก ไข /
ลบข อมูลต างๆ จัดทำา รายงานสรุปประเภทต างโดยใช ข อมูล
จากระบบออกรายงาน
14. โครงการจัดทำาซอฟแวร ระบบสารสนเทศของสำานัก
ทะเบียนและใบอนุญาตประกอบวิชาชีพคุรส ุ ภา
โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศของสำานักทะเบียนและใบ
อนุญาตประกอบวิชาชีพ เป นโครงการพัฒนาโปรแกรมและระบบงาน
สำาหรับใช ในการกรอกข อมูลทะเบียนประวัตข ิ องข าราชการครู และครูอัตราจ างใน
สังกัดของคุรุสภา เพื่อใช ในการตรวจสอบการออกใบอนุญาตประกอบ
วิชาชีพ ทำาข อมูลพื้นฐานของระบบ โดยพัฒนาในส วนของการรับ
ข อมูลเข าระบบ บันทึกข อมูลทะเบียนประวัติต างๆ ของข าราชการครู และครูอัต
ราจ างในสังกัดของคุรุสภา ข อมูลสถานศึกษา ข อมูลผู ใช ระบบ /
เจ าหน าที่ การเพิ่ม / แก ไข / ลบข อมูลต างๆ จัดทำารายงานสรุปประ
เภทต างๆ โดยใช ข อมูลจากระบบ ออกรายงาน
15. ที่ปรึกษาโครงการพัฒนาห องสมุดสำานักงบประมาณให
เป นห องสมุดอิเล็กทรอนิกส
กลุมงานบริการหองสมุดเสมือนไดจัดทําโครงการพัฒนาหองสมุดสํานักงบประมาณ ใหเปนหองสมุดเฉ
พาะดาน ใหบริการทรัพยากรสารสนเทศทางดานงบประมาณและทั่วไป ใหกับบุคลากรสํานักงบประมาณ มี
ความทันสมัย โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศมาชวยใหเปนหองสมุดอิเล็กทรอนิกส (e-Library) มีการติดตั้ง
ระบบเครือขาย และติดตั้งหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร รวมทั้งการพัฒนาระบบหองสมุดอัตโนมัติในรูปแบบ
ของ Web Application เพื่อใหบริการแบบออนไลน รวมถึงการปรับปรุงสภาพแวด
ลอมใหเหมาะสมตอการใหบริการ และการอบรมการใชงานระบบแกบุคลากรของสํานักงบประมาณ เพื่อให
สามารถใชงานระบบไดอยางมีประสิทธิภาพ
16. ที่ปรึกษาโครงการพัฒนาแผนแม บทหอสมุดแห งชาติ
กลุ มงานบริการห องสมุดเสมือนได ร วมกับ
บุคลากรของหอสมุดแห งชาติจด ั ทำาโครงการพัฒนาหอสมุดแห งชาติปี
2549 –2551 โดยได แบ งหมวดงานออกเป น 2 หมวด คือ การ
ปรับปรุงด านอาคารสถานทีจ ่ ะปรับปรุงในส วนของอาคาร

27
2

1 และอาคาร 3 และการปรับปรุงด านเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการเข


าไปสำารวจพื้นที่และทรัพยากรต าง ๆ ทีม ่ ีในหอสมุดแห งชาติ มีการพูดคุยกับบุคลาก
บริหารและฝ ายปฏิบัติงาน เพื่อศึกษาถึงป ญหาทีเ่ กิดขึ้นในการทำา
งาน จากนั้นนำาข อมูลต าง ๆ ที่ได จากการศึกษามาจัดทำาแปลนจัดสรรพื้นที่ใช สอย
1 และอาคาร 3 ใหม จัดทำาแผนการปรับปรุงระบบเทคโนโลยีใหม ทั้งทา
งด าน Infrastructure, เครื่องคอมพิวเตอร และการนำาซอฟต แวร เข ามาใช ใน
งานด านการบริหารและการให บริการ จากนั้นจัดทำาเป นเอกสารรูปเล
มโครงการพัฒนาหอสมุดแห งชาติป 2549-2551
สนับสนุนงานด านศิลปวัฒนธรรม

จัดกิจกรรมในโครงการวิจัยและพัฒนาห องสมุดมีชีวิต เรื่องการจัดการความ


รู ภูมิป ญญาท องถิ่นเพื่อพัฒนาอาชีพการทำาเครื่องประดับการ
แสดงนาฏศิลป ชุมชนวัดเทพากร แขวงบางพลัด เขตบางพลัด
กรุงเทพมหานคร จัดให มีกิจกรรม 5 ครั้ง คือ
1. สัมภาษณ ผู นำาชุมชนฯและผู ประกอบอาชีพการทำาเครือ ่ ง
ประดับการแสดงนาฏศิลป เพื่อเป นการศึกษาหาข อมูลเกี่ยวกับบริบทของชุม
ชนฯและการประกอบอาชีพการทำาเครื่องประดับการแสดงนาฏศิลป เมื่อเดือน กรกฎ
2548
2. จัดอบรมเพื่อถ ายทอดความรู ในการทำาเครื่องประดับการ
แสดงนาฏศิลป โดยวิทยากรซึ่งเป นผู ประกอบอาชีพฯจากชุมชน
วัดเทพากร ให กับนักศึกษาและผู สนใจ โดยจัดการอบรม ณ ศิลปวัฒนธรรม
่ วันที่ 30 สิงหาคม – 2 กันยายน 2548
เมือ
3. จัดอบรมเพื่อถ ายทอดความรู ในการทำาเครื่องประดับการ
แสดงนาฏศิลป โดยวิทยากรซึ่งเป นผู ประกอบอาชีพฯจากชุมชน
วัดเทพากร ให กับนักศึกษาและผู สนใจ โดยจัดการอบรม ทีบ ่ านของผู
ประกอบอาชีพฯ ในชุมชนวัดเทพากร เมื่อวันที่ 2 กันยายน – 4 กันยายน
2548
4. สัมภาษณ ผู จำาหน าย ฯและ ผู บริโภค เครื่องประดับการแสดง
นาฏศิลป การศึกษาหาข อมูลเกี่ยวกับการตลาดของเครื่องประดับการ
แสดงนาฏศิลป เพื่อนำาข อมูลไปพัฒนาการประกอบอาชีพนี้ของชุมชนต อไป โดยทำา
แหล งจำาหน ายสำาคัญย านพาหุรัด ระหว างเดือน กรกฎาคม –
สิงหาคม 2548

28
2

5. จัดการประชุมกลุม Focus Group ผูรับการถายทอดความรูการทําเครื่องประดับการแสดง


นาฏศิลป หลังจากที่ไดผานการอบรมมาแลว เพื่อนําขอมูลไปพัฒนาการประกอบอาชีพนี้ของชุมชน
ตอไป ณ อาคารศิลปวัฒนธรรม เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2548

29
2

ำ ำ


1 มหาวิทยาลัย เลขที่ 295 ถนนราชสีมา 70 MBps. 02-2445000


เขตดุสิต กรุงเทพ
2 ศูนย์สุโขทัย 11 ซอยสุพรรณ ถนน 10 MBps. 0-2668-7513-4
สุโขทัย เขตดุสิต
กรุงเทพฯ 10300
3 ศูนย์ลุมพินี เลขที่ 1875 อาคารศุนย์ 10 MBps. 02-2500564-6
การศึกษา ชัน ้ 3-5 ถนน
พระราม 4 แขวงลุมพินี
เขตปทุมวัน จังหวัด
กรุงเทพมหานคร 10330
4 ศูนย์รางนำ้า เลขที่ 107 ถ.รางนำ้า 10 MBps.
แขวงพญาไท เขต
ราชเทวี กรุงเทพ
10400
5 ศูนย์ระนอง 2 เลขที่ 87 ซ.ระนอง 2 10 MBps. 0-22417513
ถ.พระราม 5 แขวง
นครไชยศรี เขตดุสิต
กทม. 10300
6 ศูนย์จรัลสนิท ร.ร.เทคนิค พณิ ช ยการ 10 MBps. 0-2434-5680
วงษ์ จ รั ล ส นิ ท ว ง ศ์ 0-2434-8581
538 ซอยจรัลสนิทวงศ์41 0-2434-8525
ถ น น จ รั ล ส นิ ท ว ง ศ์
เ ข ต บ า ง ก อ ก น้ อ ย

30
2

ำ ำ


กทม.10700
7 ศูนย์ 138/1 ซอยพหลโยธิน 24 10 MBps. 0-2939-0351-2
สันติราษฎร์ ถนนพหลโยธิน เขต
จตุจักร กรุงเทพฯ 10900
8 ศูนย์ดส
ุ ิต โรงเรียนดุสิต 10 MBps. 0-2644-8832
พณิชยการ พณิชยการ เลขที่ 438/17 0-2644-8860
ถนนราชวิถีซอย 5 เขต 0-2644-8967
ราชเทวี กรุงเทพฯ 0-2644-8720
9 ศูนย์ธนาลง อาคารธนาลงกรณ์ 10 MBps. 02-446-8103-4
กรณ์ ทาวเวอร์ 666 ถนน 02-4468132
บรมราชชนนี แขวง
บางบำาหรุ เขต
บางกอกน้อย
กทม.10700
10 ศูนย์พณิชยกา 14/5 ถ.พิบูลสงคราม ต. 2 MBps. 02- 967-2044-6
รพงษสวัสดิ์ สวนใหญ่ อ.เมือง
จ.นนทบุรี 11000
11 ศูนย์บุษยมาส อาคารบุษยมาส 2 MBps. 0-2757-9591
คอมเพล็กซ์ เลขที่ 0-2757-9560
555/15 ถ.ปู่เจ้าสมิงพราย 0-2757-9593
ต.สำาโรงใต้
อ.พระประแดง
จ.สมุทรปราการ 10130

31
2

ำ ำ


12 ศูนย์ลำาปาง ร.ร. ลำาปางพณิชยการ 2 MBps. 054-251107


และเทคโนโลยี
173 ถ.พหลโยธิน
ต.ชมพู อ.เมือง
จ.ลำาปาง 52100
13 ศูนย์สระบุรี เลขที่ 99 หมู่ 1 ต.เขาดิน 2 MBps. 036-369453
พัฒนา
อ.เฉลิมพระเกียรติ
จ.สระบุรี 18000
14 ศูนย์หนองคาย 1191/10 ม. 2 ถนนเจนจบ 512 Kbps. 0-4246-5784
ทิศ ต.ในเมือง
จ.หนองคาย 43000
15 ศูนย์ 57 ม. 2 ต.โคกโคเฒ่า 4 MBps 035-550593-4
สุพรรณบุรี อ.เมือง
จ.สุพรรณบุรี 72000
16 ศูนย์หัวหิน บ้านบ่อฝ้าย ตำาบล 4 MBps 0-3252-2510
หัวหิน อำาเภอหัวหิน
จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์ 77110
17 ศูนย์พิษณุโลก 103/8 ถนนศรีธรรมไตร 4 MBps 055-258216
ปิฏก ต.ในเมือง 055-258445
อ.เมือง จ. พิษณุโลก 055-258756
65000

32
2

ำ ำ


18 ศูนย์ชลบุรี 80/90 ถ.สุขมุ วิท ต.ห้วย 2 MBps.


กะปิ อ.เมือง จ.ชลบุรี
20060
19 ศูนย์พัทยา 189/30 หมู่ 11 ถ.เทพ 2 MBps. 0-3830-0898-9
ประสิทธิ์ ต.หนองปรือ
อ.บางละมุง จ.ชลบุรี
20260
20 ศูนย์นครนายก โรงเรียนเทคโนโลยีวีร 2 MBps. 037-321590
พัฒน์
ถ.สุวรรณศร อ.เมือง
จ.นครนายก 26000
21 ศูนย์ปราจีนบุรี เลขที่ 97 ถ.เทศบาล 2 MBps. (037)215872,
ดำาริ ต.หน้าเมือง 200691
อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี
25000
22 ศูนย์ตรัง 139 ถนนวิเศษกุล 4 MBps 0-7522-1212-5
อำาเภอเมือง จังหวัด
ตรัง 92000

33
2

บทที่ 2
หลักการและเหตุผล

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีภาระหน้าที่ในการดำาเนินการ
ด้านการบริการประชาชน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การส่งเสริม
คุณภาพชีวิต การจัดระเบียบชุมชนและสังคม การพาณิชย์กรรม การท่อง
เทีย
่ ว การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ด้านศิลปวัฒนธรรม
จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น การนำาเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสารมาเพิ่มประสิทธิภาพการทำางานตามภารกิจขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นมีความจำาเป็นอย่างยิ่ง ทำาให้เกิดบูรณาการและ
เอกภาพในระบบข้อมูล การวางแผน การประสานงาน การจัดสรรงบ
ประมาณ ลดความซำ้าซ้อนในการปฏิบัติงาน รวมทั้งทำาให้การบริการ
ประชาชนดีขึ้น ซึ่งจะสร้างคุณค่าแก่ประชาชนในด้านความสะดวก
รวดเร็วในการใช้บริการ รวมถึงความโปร่งใส ตรวจสอบได้ อันจะ
สนับสนุนบรรยากาศที่เอือ ้ ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและความเป็นอยู่ของ
ท้องถิ่น
่ ีอยู่ประมาณ 7,855
เนื่องจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทีม
แห่ง ตั้งอยู่ทั้งในเขตเมืองและเขตชนบท ความแตกต่างด้านสภาพ
แวดล้อมทำาให้การจัดทำาแผนงานโครงการต่างๆมีความหลากหลาย ทำาให้
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นมีหน้าที่เป็นหน่วยงานกลางในการ
ประสานงานระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ซึ่งจำาเป็นที่จะ
ต้องกำากับดูแลและส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีการจัดทำาโครงการอย่างเป็น
ระบบและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศ จังหวัด และท้องถิ่นนั้น ทำาให้
กรมจึงมีความคิดที่จะพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดทำาแผนงาน งบ
ประมาณ และการติดตามประเมินผล ให้เข้ากับยุทธ์ศาสตร์ ขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งระบบงานนี้จะเป็นระบบที่ช่วยให้กรมส่งเสริม
การปกครองท้องถิ่นสามารถทราบถึงแผนงานโครงกาการใช้จ่ายงบ
ประมาณในโครงการต่างๆ ของ อปท. ได้อย่างสะดวกรวดเร็วและทันต่อ
เหตุการณ์
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นมีหน้าที่เป็นหน่วยงานกลาง
ในการประสานงานระหว่างองค์ปกครองท้องถิ่น ซึ่งจำาเป็นที่จะต้องมี
ข้อมูลเกีย
่ วกับการวางแผนโครงการงบประมาณและการใช้จ่ายงบ
ประมาณทั่วประเทศ ในปี 2549 กรมได้พัฒนาระบบดังกล่าวขึ้นมาและ

34
2

นำาร่องทั้งหมด 3 จังหวัด ซึ่งยังขาดอีก 72 จังหวัดทางกรมจึงมีความจำาเป็น


ที่จะจัดอบรมทั้งประเทศในปี 2550 และทบทวนการใช้งานให้กับ 3 จังหวัด
นำาร่องอีกครั้งหนึ่ง และทำาการขยายระบบที่ส่วนกลางเพื่อการรองรับ
ระบบการนำาเข้าข้อมูลและรายงานให้ผู้บริหาร และจัดหาเจ้าหน้าที่ดูแล
สารสนเทศประจำาจังหวัด 75 จังหวัด เพื่อเป็นผู้รวบรวมและนำาเข้าข้อมูล
อื่นๆและยังเป็นพี่เลี้ยงสำาหรับท้องถิ่นต่างๆในจังหวัดได้

35
2

บทที่ 3
วัตถุประสงค์ของโครงการ

การจัดทำาโครงการสารสนเทศการบริหารจัดการเพื่อการ
วางแผนและประเมินผลการใช้จ่ายงบประมาณของกรมองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นมีวัตถุประสงค์หลักดังนี้
• เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีเครื่องมือช่วยในการ
จัดทำาแผนงานโครงการของท้องถิ่น
• เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีเครื่องมือช่วยในการ
ติดตามประเมินผลของการทำาโครงการในท้องถิ่น
• เพื่อให้ผู้บริหารสามารถเรียกดูรายละเอียดของการทำางบ
ประมาณรายจ่ายประจำาปี จากองค์กรปกครองส่วนท้อง
ถิ่นทั่วประเทศ ได้ด้วยความสะดวกและรวดเร็วทัน
เหตุการณ์
• เพื่อให้การประสานงานระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้อง
ถิ่น กับกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นมี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
• เพื่อให้ขอ้ มูลการจัดทำารายงานความคืบหน้าของการใช้งบ
ประมาณประจำาปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของ
แต่ละทีท ่ ำาได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และถูกต้อง
• เพื่อให้ทราบถึงความก้าวหน้าในการดำาเนินโครงการต่างๆ
ที่อยู่ในแผนการใช้งบประมาณประจำาปีขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นของแต่ละที่ว่าอยู่ในขั้นตอนใด มีการ
เบิกจ่ายเงินไปแล้วเท่าไร
• เพื่อให้การใช้งานระบบสารสนเทศขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นและกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ก่อ
ให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพสูงสุด
• เพื่อให้เจ้าหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สามารถ
ทำาการส่งข้อมูลรายงานต่างๆ ให้กับกรมส่งเสริมการ
ปกครองส่วนท้องถิ่นได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
• เพื่อจัดหาเจ้าหน้าที่ประจำาจังหวัดเพื่อช่วยติดตามข้อมูล
• เพื่อทำาการจัดฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ อปท. ทั่วประเทศ
จำานวน 75 จังหวัด

36
2

• เพื่อให้ทราบผลการนำาเข้าข้อมูลแผนการใช้งบประมาณ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
• เป็นฐานข้อมูลให้กับกรมปกครองส่วนท้องถิ่นเกี่ยวกับการ
ใช้งบประมาณขององค์กรบริหารส่วนตำาบล องค์กร
บริหารส่วนจังหวัด

37
2

บทที่ 4
เป้าหมายของโครงการ

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นเปนศูนย์กลางขอมูลการวางแผนและประเมินผลการใช
จายงบประมาณขององค์กรปกครองสวนทองถิ่นทั่วประเทศ และองค์กรปกครองสวนทองถิ่นแตละแหงมี
การพัฒนาการทําแผนงานใหสอดคลองกับกรมฯ ตามเป้าหมายดังนี้
• สนับสนุนการจัดทำาแผนงานงบประมาณโครงการของ
องค์กรปกครองท้องถิ่น
• จัดทำาระบบสารสนเทศแบบช่วยกำากับการจัดทำาแผน
ยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองท้องถิ่น
• จัดทำาระบบสารสนเทศแบบช่วยเขียนแผนงานโครงการ
ขององค์กรปกครองท้องถิ่น
• จัดทำาระบบสารสนเทศแบบช่วยติดตามการดำาเนินงาน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สนับสนุนงานบริหารจัดการ

• จัดทำาการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
(Management Information System)
• จัดทำาการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหาร (Executive
Information System)
• จัดทำาการพัฒนาระบบช่วยตัดสินใจ (Decision Support System)
• สนับสนุนให้เกิดแรงจูงใจให้มีการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างแพร่หลายในองค์กรปกครอง ส่วนท้อง
ถิ่น
• เสนอแนวทางในการส่งเสริมและปรับวัฒนธรรมการ
ทำางานในองค์กรให้สอดคล้องกับเทคโนโลยี เพื่อลดการใช้
ทรัพยากรสิ้นเปลือง เช่น กระดาษ และค่าโทรศัพท์
เป็นต้น
• สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรให้เป็นผู้มีความรู้ความ
สามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
• จัดทำาแผนการฝึกอบรมผู้ใช้งานตรง (End Users) ในทุกระดับ
อย่างต่อเนื่อง

38
2

เพิ่มความสามารถในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี
สารสนเทศ
• จัดหาคณะทำางานเพื่อประสานงาน แนะนำาการใช้ระบบ
สารสนเทศให้กับบุคลากรขององค์กรปกครองท้องถิ่น
• จัดฝึกอบรมให้กับบุคลากรในสังกัดองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นเพื่อบริหารจัดการวางแผนและประเมินผลการใช้
จ่ายงบประมาณของกรมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
• มีรายสรุปผลการนำาเข้าข้อมูลแผนการใช้งบประมาณของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากทุกจังหวัดทั่วประเทศ

39
2

บทที่ 5
ระบบปัจจุบัน

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นมีหน้าที่เป็นหน่วยงานกลาง
ในการประสานงานระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ซึ่ง
จำาเป็นที่จะต้องมีข้อมูลเกี่ยวกับการแผนงานโครงการและการใช้จา่ ยงบ
ประมาณของ อปท. ทั่วประเทศ เพือ ่ ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ
เมือ
่ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นต้องการทราบถึงข้อมูล
การจัดทำางบประมาณในโครงการต่างๆ จะทำาการส่งหนังสือขอข้อมูลส่ง
ไปยัง อปท. ทั่วประเทศผ่านไปยังจังหวัดหรืออำาเภอขึ้นอยู่กับว่าจะเป็น
อปท ประเภทใดเช่น องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาลเมือง องค์การ
บริหารส่วนตำาบล เป็นต้น เมื่อ อปท. แต่ละที่ได้รับหนังสือเรียบร้อยแล้ว
เจ้าหน้าที่ใน อปท. นั้นๆ จะทำาการรวบรวมข้อมูลและส่งกลับมายังกรมส่ง
เสริมการปกครองท้องถิ่น โดยมีเจ้าหน้าทีท ่ ี่กรมส่งเสริมฯ ทำาหน้าที่
รวบรวมข้อมูลและจัดเก็บเพื่อนำาไปใช้งานต่อไป
การเก็บข้อมูลในปัจจุบันโดยปกติจะใช้โปรแกรมสำาเร็จ เช่น
MS-Word หรือ MS-Excel มาช่วยในการจัดเก็บ ซึ่งทำาให้ไม่มีการจัดเป็นหมวด
หมู่ทเี่ ป็นมาตรฐาน ตลอดจนสิทธิตา่ งๆ ในการเข้าถึงข้อมูล ซึ่งอาจเป็น
ข้อมูลทีม ่ ีความสำาคัญ
ในปีงบประมาณ 2549 กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ได้
พัฒนาระบบสารสนเทศการบริหารจัดการเพื่อการวางแผนและประเมิน
ผลการใช้จา่ ยงบประมาณของกรมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งร่วม
กับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และได้นำาร่องการใช้งานระบบใน 3 จังหวัด
คือ นนทบุรี, สมุทรปราการ และสมุทรสาคร

1. การรับส่งข้อมูลงบประมาณรายจ่ายระหว่างองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น และกรมส่งเสริมการปกครองท้อง
ถิ่นมีความล่าช้าและข้อมูลที่ได้อาจจะไม่ครบถ้วนสมบูรณ์
2. ข้อมูลที่ได้จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในแต่ละแห่ง
อาจจะเป็นข้อมูลที่ไม่ทันสมัย

40
2

3. ข้ อมู ล ที่ ไ ด้จ ากองค์ กรปกครองส่ วนท้ อ งถิ่ น ในแต่ ล ะแห่ ง


เป็นข้อมูลที่หลากหลายรูปแบบไม่เป็นมาตรฐาน จึงยากต่อ
การรวบรวมข้ อ มู ล เพื่ อ นำา มาวิ เ คราะห์ และการจั ด ทำา
ร า ย ง า น
4. ข้อมูลทีส ่ ่งมาจาก อปท. แต่ละที่ถ้าเป็นไฟล์ข้อมูลอาจจะมี
ไวรัสคอมพิวเตอร์ตด ิ มาด้วย ทำาให้เกิดความเสียหายต่อ
ระบบคอมพิวเตอร์ในกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
5. การประสานงานระหว่างเจ้าหน้าทีร ่ ะหว่างหน่วยงานที่มี
ความล่าช้า
6. ผู้บริหารไม่ได้รับรายงานที่ทันต่อเหตุการณ์
7. ความรู้ความเข้าใจในเรือ ่ ง Computer ของผู้ใช้งานที่ไม่เท่ากัน

41
2

บทที่ 6
ขอบเขตของการดําเนินงาน
1. Hardware
1.1 4
1.1.1 เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานเป็น
เครือ่ งแม่ขา่ ย (Server) โดยเฉพาะ
1.1.2 แผงวงจรหลักมีช่องสำาหรับติดตั้งหน่วยประมวลผลกลาง
(Processor) 2 ช่อง (Sockets)
1.1.3 มีหน่วยประมวลผลกลาง ความเร็วรอบสัญญาณนาฬิกา
แต่ละ CPU ความเร็วไม่น้อยกว่า 1.6 GHz แบบ Dual-Core มี
หน่วยความจำา (L2 Cache) ขนาดไม่น้อยกว่า 2 MB และมีขนาด
ของ FSB ไม่น้อยกว่า 1066 MHz จำานวน 1 หน่วย
1.1.4 มีหน่วยความจำาหลัก (RAM) ขนาดไม่น้อยกว่า 2 GB สามารถ
เพิ่มเติมได้เป็น 8 GB
1.1.5 มีพอร์ตสื่อสารข้อมูล (Network Interface) ชนิด 10/100/1000BASE-T
จำานวน 1 พอร์ต
1.1.6 มี Hard Disk แบบ แบบ SATA ขนาดความจุไม่น้อยกว่า 160 GB
ความเร็วรอบไม่น้อยกว่า 7,200 rpm จำานวน 2 หน่วย
1.1.7 มีภาคจ่ายไฟ (Power Supply) ขนาดไม่น้อยกว่า 650 Watts จำานวน
1 หน่วย
1.1.8 มี USB จำานวนไม่น้อยกว่า 2 port, PCI-Express จำานวนไม่น้อย
กว่า 2 slot
1.1.9 มีซอฟต์แวร์ตา่ ง ๆ ที่จำาเป็นในการทำางานกับอุปกรณ์ต่าง
ๆ ทั้งหมด (Drivers)

1.2 (KVM Switch)


1
1.2.1 สามารถควบคุมการทำางานของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ได้
พร้อมกัน 8 เครือ
่ ง
1.2.2 ประกอบด้วยด้วย 1 Keyboard, 1 Mouse, 1 Monitor

42
2

1.2.3 สามารถทำาการควบคุมได้จากสวิทซ์ที่หน้ากล่อง หรือใช้ Hot


Key จากแป้น Keyboard

1.3 LCD Monitor 1


1.3.1 เป็นจอภาพสี ชนิด LCD ขนาดวัดตามแนวทแยงมุมได้ไม่
น้อยกว่า 15 นิ้ว
1.3.2 สามารถแสดงผลได้ที่ความละเอียดสูงสุดไม่น้อยกว่า 1024 x
768 Pixel ที่ 60 Hz

43
2

1.4 Software
1.4.1 เป็นระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ที่สนับสนุนการ
ทำางานแบบออบเจ็กต์ (Object -Relational Database Management System)
1.4.2 ต้องมีให้เลือกใช้ทำางานบนระบบปฏิบัติการ UNIX ต่อไปนี้
ได้แก่ Sun SPARC Solaris, Compaq Tru64 Unix, HP-UX, AIX, Linux; และ
ระบบปฏิบัติการ Windows ได้เป็นอย่างน้อย
1.4.3 ต้องสนับสนุน เน็ตเวิร์คโพรโตคอลแบบ TCP/IP, HTTP, FTP
และ WebDAV
1.4.4 เป็นฐานข้อมูลทีม ่ ีระบบ Lock ข้อมูลในระดับ Row Level Locking
จริงๆซึ่ง Database Engine กระทำาได้เอง โดยต้องไม่มีการเขียน
โปรแกรมเพิม ่ เติม และต้องไม่มีการเปลี่ยนไปเป็นแบบ Page
Locking ในกรณีที่มีการ Lock Record จำานวนมาก ๆ
1.4.5 มีคณ ุ สมบัติในการทำา Multi-Version Read Consistency โดยไม่มีการ
อ่านข้อมูลแบบ Dirty Reads ทั้งนีเ้ พื่อความถูกต้องของข้อมูลที่
จะถูกนำาไปใช้ ที่ซึ่งผู้เป็น Readers และ Writers ของข้อมูลจะ
ต้องไม่ block ซึ่งกันและกัน (ผู้อ่านข้อมูลไม่ block ผู้เขียน
ข้อมูล และผู้เขียนข้อมูลไม่ block ผู้อา่ นข้อมูล) ดังนั้นเมื่อมี
transaction ที่ทำาการเปลี่ยนแปลงข้อมูลแต่ยังไม่มีการ commit
หรือ rollback ผู้ใช้งานอื่นจะต้องสามารถอ่านข้อมูลใน row นั้น
ได้ โดยเห็นข้อมูลของชุดก่อนที่จะมีการเปลี่ยนแปลง
เนื่องจากข้อมูลดังกล่าวยังไม่มีการยืนยันการเปลี่ยนแปลง
ที่เป็นจริง
1.4.6 User สามารถเรียกข้อมูลเก่าที่ถูกลบและ COMMIT ไปแล้ว
กลับมาได้โดยใช้ SQL command ได้เอง โดยไม่ต้องขอความช่วย
เหลือจากผู้ดูแลดาต้าเบส
1.4.7 สามารถทำาการเก็บข้อมูลและแสดงผลได้ทั้งภาษาไทยและ
ภาษาอังกฤษ มีระบบจัดเรียงลำาดับภาษาไทย โดยเรียง
ตามลำาดับตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน โดย
โปรแกรมในการเรียงลำาดับ (Sort) จะมีอยู่ใน Kernel ของระบบ
จัดการฐานข้อมูล ตามมาตรฐาน สมอ. 620-2533

44
2

1.4.8 ต้องสามารถทำา Password Management ดังต่อไปนี้ได้บน Database


Engine ทีน่ ำาเสนอ
• กำาหนดอายุการใช้งานของ Password
• กำาหนดจำานวนครั้งในการใส่ Password ผิด
• กำาหนดการใช้ Password ซำ้า
1.4.9 มีกฎบังคับในการกำาหนด Password ของ user เพื่อป้องกันการ
คาดเดา password โดยผู้บุกรุก
1.4.10 ต้องสามารถรองรับข้อมูลขนาดใหญ่ได้ถึง 8 Exabytes (สำาหรับ
Server ที่เป็น 64 bit เท่านั้น)
1.4.11 ต้องสามารถรองรับการทำางานกับข้อมูลรูปแบบต่างๆดังต่อ
ไปนี้ ได้ Character, Variable Character, Number, Date, BLOB, XML ได้ และ
ต้องสามารถจัดเก็บข้อมูลที่เป็น LOB ได้ถึงระดับ Terabytesได้
ใน Field เดียวกัน
1.4.12 ต้องสามารถทำาการจัดการกับ ข้อมูลที่มีรูปแบบเป็น XML ได้
อย่างน้อย 2 แบบดังต่อไปนี้
• Built in XML Developer Kits (XDKs)
• Native XML type
1.4.13 สามารถพัฒนาเวบเพจ โดยใช้ Stored Procedures (PL/SQL Server
Pages)
1.4.14 ต้องสามารถทำา Replication ข้อมูลระหว่างดาต้าเบส แบบ
Updatable materialized view โดยที่ เป็นการ replicate ข้อมูลบางส่วน
ของ table และสามารถทำาได้หลายระดับเพื่อใช้งานตาม
ระดับขององค์กร ได้ ตัวอย่างเช่น สำาหรับองค์กรที่แบ่ง
หน่วยงานเป็นสามระดับ สำานักงานใหญ่, สำานักงานใน
ภูมิภาค, และสำานักงานในระดับจังหวัด โดยทีส ่ ำานักงาน
ใหญ่จะมีข้อมูลทั้งหมดขององค์กร แต่ในระดับภูมิภาคจะมี
ข้อมูลเฉพาะของภูมิภาค และในระดับจังหวัดก็จะมีข้อมูล
ของในจังหวัดนั้นเท่านั้น และ การแก้ไขข้อมูลที่ ดาต้าเบส
อันใดอันหนึ่งต้องถูกส่งไปแก้ไขดาต้าเบสอื่นๆที่ถูกกำาหนด
ไว้ทุกระดับ โดยอัตโนมัติ

45
2

1.4.15 ต้องสามารถทำา Replication ข้อมูลระหว่างดาต้าเบส โดยที่


เป็นการ replicate ข้อมูลทั้ง table ได้ และการแก้ไขข้อมูลที่
กำาหนดไว้ ได้
1.4.16 สามารถเคลื่อนย้ายบางส่วนของฐานข้อมูลจากฐานข้อมูล
หนึ่งไปยังอีกฐานข้อมูลหนึ่งบน Platform เดียวกันได้ ด้วย
การ copy tablespace ระหว่างฐานข้อมูล โดยทำาเพียงแค่ copy
datafiles และตั้งค่า tablespace metadata
1.4.17 สามารถทำาการ Backup/Recovery ได้ ทัง้ แบบ Online/Offline รวมถึง
การทำา Incremental Backup and Recovery และต้องสามารถทำา Validate
Backup ของข้อมูลได้
1.4.18 สามารถรองรับจำานวนผู้ใช้ได้ไม่น้อยกว่า <ระบุจำานวน>
users

1.5 Call Center 1

1.5.1สามารถรองรับสายภายนอกแบบอนาลอก จำานวน 4 เลข


หมาย สามารถขยายได้ถึง 40 สายในอนาคต
1.5.2สามารถรองรับสายภายในแบบอนาลอก จำานวน 4 เลข
หมาย สามารถขยายได้ถึง 340 สายในอนาคต
1.5.3ชุดพนักงานรับโทรศัพท์ ( OPERATOR SET ) จำานวน 4 ชุด
ประกอบไปด้วย
• ชุดคอมพิวเตอร์สำาหรับพนักงานรับโทรศัพท์ จำานวน 4 ชุด
• โต๊ะสำาหรับตั้งชุดคอมพิวเตอร์ จำานวน 4 ตัว
• เครือ ่ งโทรศัพท์แบบ DIGITAL จำานวน 4 เครือ
่ ง
• เก้าอี้ จำานวน 4 ตัว
1.5.4ตู้พักกระจายสาย พร้อมอุปกรณ์เข้าสาย,เช็คสัญญาณ
( MDF)
1.5.5มีชดุ สำารองไฟฟ้าขณะไฟฟ้าดับ ( BATTERY BACK UP )
1.5.6สามารถกำาหนดหมายเลขภายในได้ไม่น้อยกว่า 6 หลัก
1.5.7Caller ID support สามารถแสดงหมายเลขโทรเข้ายังเลขหมาย
สายภายนอกแบบ ISDN หรือ สายภายนอกแบบอนาลอกที่

46
2

สามารถแสดงเลขหมายเรียกเข้าได้ ( CALLER ID ) โดยสามารถ


แสดงหมายเลขต้นทางทีเ่ รียกเข้ามาบนหน้าจอเครื่อง
ดิจต ิ อลหรือหมายเลขภายในทุกเครื่องที่ใช้เครือ ่ งโทรศัพท์
แบบแสดงหมายเลขเข้าก็ให้สามารถแสดงหมายเลขปรากฏ
บนหน้าจอได้เช่นเดียวกับเครื่องเครื่องดิจต ิ อล
1.5.8ตูส้ าขาสามารถจะบันทึกการใช้งานของเครื่องโทรศัพท์ใน
การโทรออกติดต่อกับสายภายนอก (SMDR) ให้ออกมาที่
เครือ ่ งพิมพ์ว่า หมายเลขภายในหมายเลขใดโทรออกไป
ที่ไหน เมือ ่ ไร และใช้เวลานานทั้งหมดเท่าไหร่
1.5.9ระบบสามารถเก็บข้อมูลของผู้ที่โทรศัพท์เข้ามาได้ เช่น ชือ ่
นามสกุล ที่อยู่ เบอร์ตด ิ ต่อ เป็นต้น
1.5.10ระบบสามารถจะเก็บข้อมูลปัญหา และวิธีการแก้ไข ที่เกิด
ขึ้นมาได้
1.5.11ระบบสามารถจะเก็บข้อมูลของผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบแผน
1.5.12ระบบสามารถจะเก็บข้อมูลเกีย ่ วกับคำาถามทีย่ ังไม่สามารถ
ตอบได้ เพื่อใช้ในการสอบถามผู้ดูแลระบบต่อไป
1.5.13ระบบสามารถออกรายงานแสดงผลได้ดังนี้
• รายงานผลการรับสายและโทรออกเป็นรายวัน หรือ ราย
บุคคล
• รายงานสรุปผลจำานวนการรับสายและโทรออกเป็นราย
เดือน และรายปี
• รายงานสรุปปัญหาและข้อแนะนำา โดยแบ่งเป็นประเภท
ของปัญหา
1.6 Internet Data Center Server 8

1.6.1 จัดเตรียมตู้ RACK ขนาด 42 U เพื่อจัดวาง Server


1.6.2 มี Link Internet ขนาดไม่น้อยกว่า 60 MB

47
2

2.

2.1
2.1.1 เพิ่มการเก็บข้อมูลในส่วนของ ผู้รับผิดชอบระบบของแต่ละ
อปท. โดยเก็บ ชือ่ ตำาแหน่ง เบอร์ติดต่อ เบอร์โต๊ะ เบอร์
แฟกซ์ EMAIL
2.1.2 เพิ่ม ระบบข้อความ ทีส ่ ามารถส่งข้อความและรับข้อความ
จากกรมให้แก่ อปท., อบจ. เทศบาลนคร, เทศบาลเมือง,
เทศบาลตำาบล, อบต.
2.1.3 สามารถสร้างโครงการที่มีงบประมาณมาจากหลายแหล่งได้
2.1.4 สามารถจัดการส่วนลงนามสัญญา ให้โครงการ 1 โครงการมี
ได้หลายคู่สัญญา
2.1.5 สามารถยกเลิกคูส ่ ัญญาได้ ในกรณีคู่สัญญาทิ้งงาน
2.1.6 สามารถเก็บข้อมูลการแก้ไข เปลี่ยนแปลง ในส่วนของ
โครงการที่ได้รับการอนุมัติแล้ว โดยเก็บหมายเหตุที่แก้ไข
หรือเปลี่ยนแปลงไว้ด้วย
2.1.7 สามารถเก็บข้อมูลการแก้ไข เปลี่ยนแปลง ในส่วนของคู่
สัญญา โดยเก็บหมายเหตุที่แก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงไว้ด้วย
2.1.8 สามารถเก็บข้อมูลตัวชี้วัดของยุทธศาสตร์ประเทศได้ โดย
แยกตามประเภทโครงการ
2.1.9 สามารถออกรายงานได้ดังนี้
• รายนามผู้รับผิดชอบ
• สามารถกำาหนดเงือ ่ นไขรายงาน ภาพรวม อปท อบจ
อบต เทศบาล
• สามารถกำาหนดเงือ ่ นไขรายงานภาพรวม เลือกจังหวัด
ได้
• สามารถรายงานสรุปโครงการออกมาในรูปแบบ แยก
ประเภทโครงการ
• สามารถรายงานสรุป เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ และเงิน
ทั่วไปแบบมีวัตถุประสงค์ ตามรายจังหวัดหรือทั่ว
ประเทศ

48
2

49
2

3. รายละเอียดการอบรม
แบงการจัดอบรมเปน 2 ระยะ โดยสถานที่ในการอบรมเปนดังนี้
3.1ระยะที่ 1 - จัดอบรมสําหรับเจาหนาที่ทองถิ่นจังหวัด
จัดอบรมสําหรับเจาหนาที่ทองถิ่นจังหวัดจํานวน 150 คน รวมกับเจาหนาที่ประสานงาน
โครงการ 200 คน ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตจํานวน 2 วัน
3.2ระยะที่ 2 - จัดอบรมสําหรับเจาหนาที่ขององค์กรปกครองสวนทองถิ่น
จัดอบรมสําหรับเจาหนาที่ขององค์กรปกครองสวนทองถิ่นจํานวน 15,706 คน ครั้งละ 1
วัน จํานวน 133 ครั้ง แยกการจัดอบรมออกตามศูนย์การศึกษาจํานวน 11 ศูนย์ทวั่ ประเทศ เนื่องจากศูนย์การ
ศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตมีการเชื่อมตอระบบเครือขายคอมพิวเตอร์จากสวนกลาง ดวยวงจร
ความเร็วโดยเฉลี่ย 2 Mbps. ขึ้นไป โดยมีรายละเอียดดังนี้
3.2.1ศูนย์กรุงเทพฯ ประกอบดวยจังหวัดนครปฐม ปทุมธานี ราชบุรี สมุทรสงคราม
นนทบุรี สมุทรปราการ สมุทรสาคร (มีความเร็วในการเชื่อมตอสัญญาเครือขาย
10 Mbps)
3.2.2ศูนย์ชลบุรี ประกอบดวยจังหวัดชลบุรี จันทบุรี ระยอง และตราด (มีความเร็วในการ
เชื่อมตอสัญญาเครือขาย 2 Mbps)
3.2.3ศูนย์นครนายก ประกอบดวยจังหวัดนครนายก ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี และสระแกว
(มีความเร็วในการเชื่อมตอสัญญาเครือขาย 2 Mbps)
3.2.4ศูนย์สุพรรณบุรี ประกอบดวยจังหวัดสุพรรณบุรี กาญจนบุรี ชัยนาท สิงห์บุรี อางทอง
และอุทัยธานี (มีความเร็วในการเชื่อมตอสัญญาเครือขาย 4 Mbps)
3.2.5ศูนย์สระบุรี ประกอบดวยจังหวัดสระบุรี อยุธยา ลพบุรี ชัยภูมิ นครราชสีมา (มี
ความเร็วในการเชื่อมตอสัญญาเครือขาย 2 Mbps)
3.2.6ศูนย์ลําปาง ประกอบดวยจังหวัดลําปาง เชียงราย เชียงใหม นาน พะเยา แพร
แมฮองสอน และลําพูน (มีความเร็วในการเชื่อมตอสัญญาเครือขาย 2 Mbps)
3.2.7ศูนย์พิษณุโลก ประกอบดวยจังหวัดพิษณุโลก กําแพงเพชร ตาก นครสวรรค์ พิจิตร
เพชรบูรณ์ สุโขทัย และ อุตรดิตถ์ (มีความเร็วในการเชื่อมตอสัญญาเครือขาย 4 Mbps)
3.2.8ศูนย์หนองคาย ประกอบดวยจังหวัดหนองคาย กาฬสินธุ์ ขอนแกน นครพนม
มหาสารคาม มุกดาหาร เลย สกลนคร หนองบัวลําภู และอุดรธานี (มีความเร็วในการ
เชื่อมตอสัญญาเครือขาย 512 Kbps)
3.2.9ศูนย์ศรีสะเกษ ประกอบดวยจังหวัดศรีสะเกษ บุรีรัมย์ ยโสธร รอยเอ็ด สุรินทร์
อํานาจเจริญ และอุบลราชธานี (มีความเร็วในการเชื่อมตอสัญญาเครือขาย 256 Kbps)

50
2

3.2.10ศูนย์หัวหิน ประกอบดวยจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ชุมพร และระนอง (มี


ความเร็วในการเชื่อมตอสัญญาเครือขาย 4 Mbps)
3.2.11ศูนย์ตรัง ประกอบดวยจังหวัดตรัง กระบี่ นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปัตตานี พังงา
พัทลุง ภูเก็ต ยะลา สงขลา สตูล และสุราษฎร์ธานี (มีความเร็วในการเชื่อมตอสัญญา
เครือขาย 4 Mbps.)

3.3จัดเตรียมคูมือการใชงาน - จํานวน 16,000 ชุด


3.4จัดเตรียมความพรอมในการฝึกอบรม – จัดเตรียมดังตอไปนี้
3.4.1 สถานที่สําหรับการฝึกอบรม
3.4.2 อุปกรณชวยสอนสําหรับวิทยากร อาทิเชน
• เครื่องคอมพิวเตอร์
• เครื่องเสียงพรอมไมโครโฟน
• โปรเจ็คเตอร์ พรอมฉากขนาด 100 *100 นิ้ว
• Virtualizer
3.4.3 เครือ ่ งคอมพิวเตอร์สำาหรับผู้เข้าฝึกอบรมจำานวน 1
เครือ ่ ง ต่อผูเ้ ข้าอบรม 2 ท่าน โดยทีเ่ ครื่องคอมพิวเตอร์ที่
ใช้ในการฝึกอบรมนั้นมีคุณลักษณะไม่ตำ่ากว่า Pentium M
ความเร็ว 1.6 GHz. RAM 512 MB.
3.4.4 เครื่องคอมพิวเตอรสามารถเชื่อมตอระบบเครือขาย (LAN)และสามารถเชื่อมตอ
อินเตอรเน็ตได

51
2

11

52
2

4. เจาหนาที่ดูแลและประสานงาน
4.1 เจ้าหน้าที่ประสานงานมีจำานวนทั้งหมด 200 คน
4.2 ระยะเวลาของสัญญาจ้าง 6 เดือน
4.3 ภาระงานของคณะทำางานเพื่อประสานงาน แนะนำาการใช้ระบบ
สารสนเทศให้กับบุคลากรขององค์กรปกครองท้องถิ่น เป็นดังนี้
• ทําหนาที่ประสานงานระหวางสํานักงานทองถิ่นจังหวัดกับองค์การบริหารสวนตําบล
(ตําบล)และกรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น
• ตอบคําถามเกี่ยวกับระบบสารสนเทศขององค์กรปกครองสวนทองถิ่นใหกับผูปฏิบัติ
งาน
• ทําความเขาใจเกี่ยวกับการใชงานโปรแกรมสารสนเทศการบริหารจัดการเพื่อการ
วางแผนและประเมินผลการใชจายงบประมาณของกรมองค์กรปกครองสวนทองถิ่น
ระยะที่ 2
• เปนผูชวยวิทยากรในการฝึกอบรมใหกับผูเขารวมอบรม
• ติดตามขอมูลและรายงานผลการดําเนินงานใหกับกรมสงเสริมการปกครองสวนทอง
ถิ่นที่เกี่ยวของกับโครงการ
• อํานวยความสะดวกในการจัดอบรม
• ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวของกับโครงการตามที่ไดรับมอบหมาย

53
2

บทที7่
ระยะเวลาและแผนการดําเนินงาน

ใช้ระยะเวลาในการดำาเนินการ 7 เดือน
­ วันที่พร้อมดำาเนินการ 1 มีนาคม 2550
­ วันสิ้นสุดดำาเนินการ 210 วัน (7 เดือน) นับจากวันตกลงสัญญา

54
2

บทที่ 8
งบประมาณดําเนินการและการเสนอผลงาน และการจายเงิน
ภายในวงเงินงบประมาณ 33,945,000 บาท (สามสิบสามล้านเก้าแสนสี่หมื่น
ห้าพันบาทถ้วน)
1 8,486,250 (25%)

Software

1.1 เครือ
่ งคอมพิวเตอร์แม่ขา่ ย จำานวน 4 ตัว
1.2 อุปกรณ์สลับสัญญาณจอภาพ (KVM Switch) จำานวน 1 ตัว
1.3 LCD Monitor จำานวน 1 ตัว
1.4 Software ฐานข้อมูล
1.5 เช่าระบบ Call Center เป็นระยะเวลา 1 ปี และจะต้องทำาการ
ติดตั้งไว้ที่กรม
1.6 Software ระบบสารสนเทศการบริหารจัดการเพื่อการ
วางแผนและประเมินผลการใช้ง่ายงบประมาณ
หมายเหตุ ข้อ 1.1 – 1.5 ดูรายละเอียดในบทที่ 6 หัวข้อที่ 1 เรือ
่ ง
อุปกรณ์ดา้ น Hardware
ข้อ 1.6 ดูรายละเอียดในบทที่ 6 หัวข้อที่ 2 เรือ
่ งระบบ
สารสนเทศ การบริหาร…

2 10,183,500 (30%)
. .

2.1 จัดอบรมเจ้าหน้าที่ทอ 150 คน


้ งถิ่นจังหวัดจำานวน
2.2 จัดอบรมเจ้าหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
จำานวนไม่น้อยกว่า 10 จังหวัด

55
2

2.3 ค่าดำาเนินการเจ้าหน้าดูแลและประสานงาน จำานวน 200


คน ล่วงหน้า 6 เดือน
2.4 ค่าจัดทำาเอกสารตำาราประกอบการอบรม
หมายเหตุ ข้อ 2.1 ดูรายละเอียดในบทที่ 6 ข้อ 3.1 เรื่องการจัด
อบรม…
ข้อ 2.2 ดูรายละเอียดในบทที่ 6 ข้อ 3.2.1 – 3.2.2 เรือ
่ งการจัด
อบรม…
ข้อ 2.3 ดูรายละเอียดในบทที่ 6 ข้อ 4 เรือ
่ งเจ้าหน้าที่
ประสานงาน…
ข้อ 2.4 ดูรายละเอียดในบทที่ 6 ข้อ 3.3 เรื่องจัดเตรียมคูม
่ ือ
การใช้งาน…

3 10,183,500 (30%)
.

จัดอบรมเจ้าหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นครบทั้ง
75 จังหวัด ดูรายละเอียดในบทที่ 6 ข้อ 3.2.3 – 3.2.11 เรือ
่ งการจัด
อบรม…

4 5,091,750 (15%)

มีขอ
้ มูลในระบบสารสนเทศการบริหารจัดการเพื่อการ
วางแผนและประเมินผลการใช้ง่ายงบประมาณไม่น้อยกว่าร้อยละ
75

ำ ำ
56
2

Project Manager 1 7 150,000 1,050,000


System Analyst 2 3 80,000 480,000
Programmer 4 3 75,000 900,000
เลขานุการ 2 6 20,000 240,000
ค่าเช่าระบบ Call Center 1 7 80,000 560,000
ค่าเจ้าหน้าที่รับสายและแก้
ปัญหา 4 12 12,000 576,000
ค่าเจ้าหน้าที่ดูแลพิเศษ 200 6 7,200 8,640,000
ค่าใช้จ่ายจัดห้องอบรม 117 1 40,000 4,680,000
ค่าพิมพ์เอกสารคูม ่ ือ 16,000 1 150 2,400,000
ค่า Server 4 1 320,000 1,280,000
KVM 1 1 25,000 25,000
LCD 1 1 10,000 10,000
ค่า Database Software 1 1 800,000 800,000
IDC 1 7 40,000 280,000
ค่าวิทยากรจัดอบรมการจัด
ทำาแผน 117 1 7,000 819,000
ค่าวิทยากรอบรมระบบ 117 1 7,000 819,000
ค่าเจ้าหน้าที่ช่วยสอน 117 1 7,000 819,000
ค่ า อ า ห า ร ใ น ก า ร จั ด ฝึ ก
อบรม 17,000 1 250 4,250,000
ค่าที่พักของท้องถิ่นจังหวัด 117 2 1,000 234,000
ค่าบริหารจัดการโครงการ 1,683,000
ค่ า ธ ร ร ม เ นี ย ม ข อ ง 3,400,000

57
2

มหาวิทยาลัย
33,945,000

58
2

บทที9่
บุคลากร

1. –
ดร.ชัยชนะ โพธิวาระ

2.
ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

3.
๑๑ พฤษภาคม ๒๔๙๑

4.
๓๓/๑๙๖ หมู่ ๑๔ ต.บางแก้ว อ. บางพลี จ.สมุทรปราการ 10540

5.
กศ.บ. M.E.d.(Teacher Education Ph.D Teacher Education)

6.
ผู้อำานวยการสำานักวิทยบริการ, ผู้อำานวยการศูนย์คอมพิวเตอร์

7.

ตช. ตม.

59
2

8.
ปี ๒๕๑๘ เป็นข้าราชการครูชั้นตรี สังกัดวิทยาลัยครูสวนดุสิต
ปี ๒๕๒๕ เป็นอาจารย์นิเทศคณะวิชาครุศาสตร์
ปี ๒๕๓๐ ดำารงตำาแหน่งหัวหน้าภาควิชาทดสอบและวิจัยการ
ศึกษา
ปี ๒๕๓๖ ดำารงตำาแหน่งผูอ
้ ำานวยการสำานักวิทยบริการ สถาบัน
ราชภัฏสวนดุสิต
ปี ๒๕๔๖ ดำารงตำาแหน่งผูอ
้ ำานวยการสำานักวิทยบริการและผู้
อำานวยการศูนย์ คอมพิวเตอร์ สถาบันราชภัฏสวนดุสิต

9.

เป็นผู้ดูแลงานเทคโนโลยีสารสนเทศของสถาบันมาตั้งแต่ปี
พ.ศ. ๒๕๓๖ เป็นผู้อำานวยการคนแรกของสำานักวิทยบริการและดูแลงาน
ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศตลอดมา

60
2

1. ประวัติส่วนตัว
ชื่อ - นามสกุล นายยุทธภูมิ ภู่ไพบูลย์ สั ญ ชา ไทย
ติ

2. ประวัติการศึกษา
คุณวุฒิ สาขา จ บ จ า ก ส ถ า บั น ก า ร
ศึกษา
ปริญญาตรี วิศวกรรมศาตรบัณฑิต ม ห า วิ ท ย า ลั ย
(วิศวกรรม เกษตรศาสตร์
คอมพิวเตอร์)
ปริญญาโท Master of Engineering Management University of Auckland,
New Zealand

3. ประสบการณ์ในการทำางาน
ประสบการณ์ใน [ พ.ค. 2541 – ก.ย. 2542 ] ศูนย์คอมพิวเตอร์
วิชาชีพ System Administrator Assistance
 ติดตัง้ และดูแลเครือขายคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
 หัวหนาชางดูแลคอมพิวเตอร์
 อาจารย์ผสู อนในโปรแกรมประยุกต์ดา นจัดการสํานักงาน
[ ก.ย. 2542 – ก.ย. 2544 ] สำานักวิทยบริการ
Virtual Library Staff
 คณะทํางานโครงการกอตัง้ หองสมุดเสมือน (Pioneer in Virtual Library Project)
 Video on Demand System Administrator
 PC (above 500s) and Peripherals setup
 Electronic Content (Database) System Administrator

[ ก.ย. 2544 - ปัจจุบัน] สำานักวิทยบริการและเทคโนโลยี


สารสนเทศ
Head of Virtual Library Staff

61
2

 Video on Demand System Administrator


 Electronic Content (Database) System Administrator
 Network Administrator Assistance
 System Advisor
 IT Campus Development Program Assistance
กิจกรรมด้าน ในวิชา :- ระบบ
วิชาชีพอื่นๆ ปฏิบัติการ 1 และ 2, ไมโครโปรเซสเซอร์, ระบบ
คอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม, โปรแกรมสำาเร็จรูป
สำาหรับสำานักงาน, พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หัวหนาคณะทํางาน ในโครงการ
• จัดทํา แผนแมบททางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและสถาปัตยกรรม
ภายใน ของหอสมุดแหงชาติ, กรมศิลปากร, กระทรวงวัฒนธรรมฯ

• ปรับปรุงหองสมุดสํา นักงบประมาณใหเปนหองสมุดอิเลคทรอนิกส์
ของสํานักงบประมาณ, สํานักนายกรัฐมนตรี

ความสนใจและ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และนวัตกรรมที่สามารถนำา


กิจกรรมอื่นๆ มาใช้ในชีวิตปัจจุบัน.

62
2

1. ประวัติส่วนตัว
ชื่อ - นามสกุล นายสุเมธ ตัง้ ประเสริฐ สั ญ ชา ไทย
ติ

4. ประวัติการศึกษา
คุณวุฒิ สาขา จ บ จ า ก ส ถ า บั น ก า ร
ศึกษา
ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย
คอมพิวเตอร์ ธรรมศาสตร์
ปริญญาโท บริหารจัดการ การ มหาวิทยาลัยมหิดล
จัดการทั่วไป

5. ประสบการณ์ในการทำางาน

ที่ปรึกษาในการพัฒนาระบบสารสนเทศ

63
2

ลักษณะงานที่ทํา - ผู้เชี่ยวชาญระบบสาระสนเทศ ออกแบบ


Architecture สำาหรับการเชื่อมโยงข้อมูลของหน่วย
งานด้านสุขภาพ สสส , กระทรวงสาธารณสุข ,
กรมพัฒนาชุมชน , สกว.ให้กับ สำานักงาน
กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุข
ภาพ(สสส.)ในส่วนข้อมูลโครงการด้วย Technology
Web Service
- ผู้เชี่ยวชาญด้านสารสนเทศโครงการระบบศูนย์
ปฏิบัติการสำานักงานพัฒนาการกีฬาและ
นันทนาการ
- ผู้เชี่ยวชาญด้านสารสนเทศโครงการโครงการ
จัดจ้างที่ปรึกษา โครงการจัดตั้งศูนย์ประมวล
ผลข้อมูลการแก้ปัญหาสังคมและความยากจน
เชิงบูรณาการ
.- ผู้ดูแลและควบคุมการพัฒนาระบบสำานักงาน
ประกันสังคมด้วย ภาษา JAVA โดยการ
ใช้Technology EJB และ UML ในการออกแบบ
- ผู้จัดการโครงการพัฒนาระบบ website ความร่วม
มือ 4 โครงการและระบบ Intranet กรมส่งเสริมสิ่ง
แวดล้อม

64
2

- ผู้ดูแลและควบคุมการพัฒนาระบบ Contract Center


ของกรมส่งเสริมการเกษตร
- ที่ปรึกษาการออกแบบระบบสำานักต่างด้าว กรม
พัฒนาธุรกิจการค้า
- ผู้จัดการโครงการระบบ ศูนย์ปฎิบัติการกรมการ
ปกครองโดยใช้ XML ในการพัฒนาระบบ
- ผู้จัดการโครงการระบบฐานข้อมูลชายแดน
กรมการปกครอง โดยใช้ ภาษา JAVA
- ผู้จัดการโครงการการทำาระบบเครือข่าย
ภายใน (LAN) กรมส่งเสริมปกครองท้องถิ่น
- ผู้จัดการโครงการทำาระบบอินเตอร์เน็ต กรม
ส่งเสริมปกครองท้องถิ่น
- ผู้ดูแลโครงการการทำา Website

www.thailocaladmin.go.th กรมส่งเสริมปกครองท้อง
ถิ่น
- กรมธนารักษ์ ระบบ Web site

www.treasury.go.th/index.htm ปี 45 พัฒนาด้วยภาษา
Java พัฒนาด้วยภาษา MY SQL
- ผู้จัดการโครงการระบบศูนย์ปฏิบัติการจังหวัด
กาญจนบุรีประกอบด้วยการพัฒนาระบบ
สารสนเทศภูมิศาสตร์ , ระบบดัชนีชี้วัด , และ
Technology Web Service
- ผู้จัดการโครงการพัฒนาระบบสารบัญราชการ
ของกรมส่งเสริมปกครองท้องถิ่น
- ผู้จัดการพัฒนาระบบฐานข้อมูลสิ่งรำาคาญ
พัฒนาด้วยภาษา VB พัฒนาด้วยภาษา MS Access
กรมอนามัย
- ที่ปรึกษาจัดทำาระบบ Datacenter ให้กับลูกค้ากลุ่มรา
การ เช่น กรมธนารักษ์ ,การบินไทย , บรรษัทเงิน
ทุนอุตสหกรรม , การรถไฟแห่งประเทศไทย
- บริษัท รอยัลคิง จำากัด พัฒนาระบบฝ่ายบุคคล
และลงเวลา สำาหรับพนักงาน 3000 คนพัฒนา
ด้วยภาษา VB และฐานข้อมูล SQL Server

65
2

- ธนาคารแห่งประเทศไทย พัฒนาระบบ
รายงานวิเคราะห์เงินเข้าออกประเทศ ธต 3,4,5
พัฒนาด้วยภาษา VB ฐานข้อมูล Oracle Database 8

4. การฝึกอบรม/ดูงาน/ประกาศนียบัตร
-
Software Project Management By Thammasat University
- Trained in Account Management
- Trained in Oracle 8 and Three –Tier Function By NEC Japan Association
- MAP Implementation
- Object Oriented By UML

66
2

( )

1. ประวัติส่วนตัว
ชื่อ - นามสกุล นายสราวุธ สุขสมคิด สัญชาติ ไทย

2. ประวัติการศึกษา
คุณวุฒิ สาขา ปีที่จบ จบจากสถาบันการ
ศึกษา
ปริ ญ ญา บริหารธุรกิจ 2542 มหาวิทยาลัยรังสิต
ตรี

3. ประสบการณ์ในการทำางาน (Full Time)


2006 – present Project Manager
ลักษณะงานที่ทำา - โครงการพัฒนาเว็บไซด์ www.sportscience.go.th
ของสำานักงานวิทยาศาสตร์การกีฬา
- โครงการพัฒนาระบบทดสอบสมรรถภาพทาง
กายโดยเครื่อง PDA ของสำานักงานวิทยาศาสตร์
การกีฬา
- โครงการออกแบบฐานข้อมูลองค์ความรู้ของ
สำานักวิทยาศาสตร์การกีฬา
- ระบบเพื่อการวางแผนและประเมินผลการใช้
จ่ายงบประมาณของกรมปกครองส่วนท้องถิ่น
- โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลชายแดน สำานัก
กิจการความมั่นคงภายใน กรมการปกครอง
2000 – 2004 Sale Support
ลักษณะงานที่ทำา - ติดตั้งระบบห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนเซน
จอร์น

67
2

(Senior Programmer) ( )

1. ประวัติส่วนตัว
ชื่อ - นามสกุล นายณัฐพงศ์ ลิปิการกุล สั ญ ชา ไทย
ติ

2. ประวัติการศึกษา
คุณวุฒิ สาขา จบจากสถาบันการศึกษา
ปริญญาตรี วิศวกรรม ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ท ค โ น โ ล ยี
คอมพิวเตอร์ มหานคร

3. ประสบการณ์ในการทำางาน (Full Time/Part Time)


2547 – ปัจจุบัน Programmer
ลักษณะงานที่ทำา - Back Office system development
- Web-Based Application for Database and Application Server
- Web-based development
- Coordinate with Customer
- พัฒนาโปรแกรม POC ของจังหวัดกาญจนบุรี

68
2

(Senier Programmer)( )

1. ประวัติส่วนตัว
ชื่อ - นามสกุล นางสาวอรอนงค์ วงศ์จิรัง สัญชาติ ไทย

2. ประวัติการศึกษา
คุณวุฒิ สาขา ปีที่จบ จบจากสถาบันการ
ศึกษา
ปริ ญ ญา วิทยาศาสตร์บัณฑิต 2543 ม ห า วิ ท ย า ลั ย
ตรี สาขาคอมพิวเตอร์ ธรรมศาสตร์
ปริ ญ ญา วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต 2549 จุ ฬ า ล ง ก ร ณ์
โท สาขาวิชาเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย
สารสนเทศทางธุรกิจ

3. ประสบการณ์ในการทำางาน (Full Time)


Mar 2004 – present System Analyst
ลักษณะงานที่ทำา - Coding Program
- Analyst and Design
- Project Management
- ผู้ดูแลและควบคุมการพัฒนาระบบจัดการฐาน
ข้อมูล สำานักงานประกันสังคม โดยใช้
JSP/Servlet/EJB และ UML ในการออกแบบ
- ผู้ดูแลและควบคุมการพัฒนาระบบ Contract Center
ของกรมส่งเสริมการเกษตร โดยใช้ JSP/Servlet
- พัฒนาระบบ KPI ของศูนย์ปฏิบัติการจังหวัด
กาญจนบุรี กระทรวงมหาไทย โดยใช้ JSP/Servlet

ลักษณะงานที่ทำา - Implement Web Application Framework


- Implement JSP Taglibs
- Develop JSP/Servlet
- Framework Instructor

69
2

ลักษณะงานที่ทำา - Implement Java Application Framework


- Develop Java Application
- Java Instructor

4. ประสบการณ์ในการทำางาน (Projects)
Company Project detail
CDG Inventory System of Control Data Thailand
การไฟฟ้า Java Application for replace old system
สำานักนายก ระบบสารบรรณ
สำานักงานประกัน ระบบการขึ้นทะเบียนประกันสังคมโดยพัฒนา
สังคม ด้วยภาษา JAVA EJB
การบินไทย ระบบจองห้องประชุม

5. การฝึกอบรม/ดูงาน/ประกาศนียบัตร
Feb-2003
Sun Certified Java1.4 Programmer

70
2

( )

1. ประวัติส่วนตัว
ชื่อ - นามสกุล นายจักรพันธ์ ชีวเลิศสกุล สัญชาติ ไทย

4. ประวัติการศึกษา
คุณวุฒิ สาขา ปีที่จบ จบจากสถาบันการ
ศึกษา
ปริ ญ ญา วิทยาศาสตร์บัณฑิต 2546 สถาบัน เทคโ นโ ลยี
ตรี สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ราชมงคล

5. ประสบการณ์ในการทำางาน (Full Time)


2005 – present Technical Support
ลักษณะงานที่ทำา - ประสานงานโครงการระบบงานสารบรรณ
อิเล็กทรอนิกส์ สำานักงานพัฒนาการกีฬาและ
นันทนาการ
- ประสานงานโครงการระบบรักษาความ
ปลอดภัยเครือข่าย สำานักงานพัฒนาการกีฬา
และนันทนาการ
- ดูแล จัดหา อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ให้กับโครงการ
ต่างๆ
วิทยากรโครงการศูนย์ประมวลผลข้อมูลการแก้
ปัญหาสังคมและความยากจนเชิงบูรณาการ
กรมการปกครอง
2004 – 2005 System Support
ลักษณะงานที่ทำา - ประสานงานโครงการระบบงานแผนที่ภาษีและ
ทะเบียนทรัพย์สินให้กับ เทศบาล และ อบต ทั่ว
ประเทศ
2004 – 2005 System Support
ลักษณะงานที่ทำา - ดูแล จัดหา ซ่อมแซมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ให้กับ
หน่วยงานต่างๆภายในองค์กร
- ดูแลระบบงานโปรแกรมต่างๆที่ใช้ภายใน
องค์กร

71
2

( )

1. ประวัติส่วนตัว
ชื่อ – นามสกุล นายสราวุธ คุ้มตน สัญชาติ ไทย

4. ประวัติการศึกษา
คุณวุฒิ สาขา ปีที่จบ จบจากสถาบันการ
ศึกษา
ปริ ญ ญา วิทยาศาสตร์บัณฑิต 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ตรี สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สวนดุสต

5. ประสบการณ์ในการทำางาน (Full Time)


2006 – present Programmer
ลักษณะงานที่ทำา - พัฒนาระบบ “วิทยาศาสตร์การกีฬา”
- ดูแลรักษาระบบสารบรรณของกรมการปกครอง
ส่วนท้องถิ่น

4. การฝึกอบรม/ดูงาน/ประกาศนียบัตร

SL-275 , CX-310-035 ของ SUN&SIPA 2005

72
2

( )

1. ประวัติส่วนตัว
ชื่อ – นามสกุล นายศิวกร บัณฑิต สัญชาติ ไทย

6. ประวัติการศึกษา
คุณวุฒิ สาขา ปีที่จบ จบจากสถาบันการ
ศึกษา
ปริ ญ ญา บริหารธุรกิจ 2542 มหาวิทยาลัยรังสิต
ตรี

7. ประสบการณ์ในการทำางาน (Full Time)


2006 – present Project Manager
ลักษณะงานที่ทำา - โครงการพัฒนาเว็บไซด์ www.sportscience.go.th
ของสำานักงานวิทยาศาสตร์การกีฬา
2000 – 2004 Sale Support
ลักษณะงานที่ทำา - ติดตั้งระบบห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนเซน
จอร์น

73
2

(Programmer)( )

1. ประวัติส่วนตัว
ชื่อ – นามสกุล นางสาวเยาวลักษณ์ กลาง สัญชาติ ไทย
หน

6. ประวัติการศึกษา
คุณวุฒิ สาขา ปีที่จบ จบจากสถาบันการ
ศึกษา
ปริ ญ ญา วิทยาศาสตร์บัณฑิต 2548 ม ห า วิ ท ย า ลั ย
ตรี สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ(ป
ระสานมิตร)

7. ประสบการณ์ในการทำางาน (Full Time)


Mar 2006 – present Programmer
ลักษณะงานที่ทำา - Coding Program(Java)
- Hibernate
- My SQL
- Implement JSP Taglibs
- Implement Web Application Framework

Mar 2004 – 2006 System Analyst


ลักษณะงานที่ทำา - Coding Program(Java)
- Analyst and Design
- Project Management
- Hibernate
- My SQL
- Implement JSP Taglibs
- Implement Web Application Framework

74
2

( )

1. ประวัติส่วนตัว
ชื่อ - นามสกุล นางสาวอมรรัตน์ วิทยานนท์ สั ญ ชา ไทย
ติ
วั น – เดื อ น – 13 เมษายน พ.ศ.2526 อายุ 21 ป
ปี เกิด ีี

2. ประวัติการศึกษา
คุณวุฒิ สาขา ปีที่จบ จบจากสถาบันการศึกษา
ปริญญาตรี การโรงแรม 2546 ม ห า วิ ท ย า ลั ย
เกษตรศาสตร์

1. ประสบการณ์ในการทำางาน

2547 – ปัจจุบัน เลขานุการโครงการ


ลักษณะงานที่ทำา - เลขานุการโครงการระบบศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดกาญจนบุรีประกอบ

ด้วยการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ , ระบบดัชนีชี้วัด , และ


Technology Web Service
- เลขานุการโครงการผู้จัดการโครงการพัฒนาระบบสารบัญราชการ
ของกรมส่งเสริมปกครองท้องถิ่น
- เลขานุการโครงการพัฒนาระบบ website ความร่วมมือ 4 โครงการ

และระบบ Intranet กรมส่งเสริมสิ่งแวดล้อม


- เลขานุการโครงการพัฒนาระบบ website ความร่วมมือ 4 โครงการ

และระบบ Intranet กรมส่งเสริมสิ่งแวดล้อม

Conrad Bangkok Hotel


2546 - 2547 Training Assistant
ลักษณะงานที่ทำา - Office Document Management
- Typing and Filing Document
- Document Translating
- Preparing Training Manual and Product Knowledge Test
2546 Banquet Service Officer ( Part - Time )

75
2

ลักษณะงานที่ทำา - Set out the tables for banquet events


- Serve food and beverage to customers

4. การฝึกอบรม/ดูงาน/ประกาศนียบัตร
Conrad Commitment Program ( CCP ) พ.ย.2545 – ม.ค.2546

76
2

77
2

1 มหาวิทยาลัย(ออก 70 Mbps.
อินเตอร์เน็ต)
2 ศูนย์ลำาปาง 2 Mbps.
3 ศูนย์สระบุรี 2 Mbps.
4 ศูนย์หนองคาย 512 Kbps.
5 ศูนย์สุพรรณบุรี 4 Mbps
6 ศูนย์หัวหิน 4 Mbps
7 ศูนย์พิษณุโลก 4 Mbps
8 ศูนย์ชลบุรี 2 Mbps.
9 ศูนย์ศรีสะเกษ 256 Kbps.
10 ศูนย์นครนายก 2 Mbps.
11 ศูนย์ตรัง 4 Mbps

78
2



1 มหาวิทยาลัย เลขที่ 295 ถนนราชสีมา 02-2445000


เขตดุสต ิ กรุงเทพ
2 ศูนย์ลำาปาง ร.ร. ลำาปางพณิชยการและ 054-251107
เทคโนโลยี
173 ถ.พหลโยธิน ต.ชมพู
อ.เมือง
จ.ลำาปาง 52100
3 ศูนย์สระบุรี เลขที่ 99 หมู่ 1 ต.เขาดิน 036-369453
พัฒนา อ.เฉลิมพระเกียรติ
จ.สระบุรี 18000
4 ศูนย์หนองคาย 1191/10 ม. 2 ถนนเจนจบทิศ 0-4246-5784
ต.ในเมือง จ.หนองคาย
43000
5 ศูนย์สุพรรณบุรี 57 ม. 2 ต.โคกโคเฒ่า 035-550593-4
อ.เมือง
จ.สุพรรณบุรี 72000
6 ศูนย์หัวหิน บ้านบ่อฝ้าย ตำาบลหัวหิน 0-3252-2510
อำาเภอหัวหิน จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์ 77110
7 ศูนย์พิษณุโลก 103/8 ถนนศรีธรรมไตรปิฏก 055-258216
ต.ในเมือง อ.เมือง จ. 055-258445
พิษณุโลก 65000 055-258756
8 ศูนย์ชลบุรี 80/90 ถ.สุขุมวิท ต.ห้วยกะปิ
อ.เมือง จ.ชลบุรี 20060

79
2

9 ศูนย์ศรีสะเกษ 319 ถนนไทยพันทา ตำาบล


โพธิ์ อำาเภอเมือง จังหวัด
ศรีสะเกษ
10 ศูนย์นครนายก โรงเรียนเทคโนโลยีวีร 037-321590
พัฒน์
ถ.สุวรรณศร อ.เมือง
จ.นครนายก 26000
11 ศูนย์ตรัง 139 ถนนวิเศษกุล อำาเภอ 0-7522-1212-5
เมือง จังหวัดตรัง 92000

80
2

ลำำดับท่ี ศูนย์กำรฝึ กอบรม จังหวัด วันท่ฝ


ี ึ กอบรม
1 นครปฐม เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 1
2 ปทุมธานี เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 1
กรุงเทพฯ
3 ราชบุรี เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 1
4 สมุทรสงคราม เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 2
5 จันทบุรี เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 1
6 ชลบุรี เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 2
ชลบุรี
7 ตราด เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 2
8 ระยอง เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 2
9 นครนายก เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 3
10 ฉะเชิงเทรา เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 3
นครนายก
11 ปราจีนบุรี เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 3
12 สระแก้ว เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 4
13 กำาแพงเพชร เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 3
14 ตาก เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 3
15 นครสวรรค์ เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 3
16 พิจิตร เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 3
พิษณุโลก
17 พิษณุโลก เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 4
18 เพชรบูรณ์ เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 4
19 สุโขทัย เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 1
20 อุตรดิตถ์ เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 1
21 กระบ่ี เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 3
22 ตรัง เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 3
23 นครศรีธรรมราช เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 3
24 นราธิวาส เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 3
25 ปั ตตานี เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 4
26 พังงา เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 4
ตรัง
27 พัทลุง เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 4
28 ภูเก็ต เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 4
29 ยะลา เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 1
30 สงขลา เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 1
31 สตูล เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 1
32 สุราษฎร์ธานี เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 1
33 เชียงราย เดือนท่ี 1 สัปดาห์ท่ี 4
34 เชียงใหม่ เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 1
35 น่าน เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 2
36 พะเยา เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 2
ลำาปาง
37 แพร่ เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 2
38 แม่ฮ่องสอน เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 3
39 ลำาปาง เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 3
40 ลำาพูน เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 3

81
2

ลำำดับท่ี ศูนย์กำรฝึ กอบรม จังหวัด วันท่ฝ


ี ึ กอบรม
41 กาญจนบุรี เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 2
42 ชัยนาท เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 2
43 สิงห์บุรี เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 3
สุพรรณบุรี
44 สุพรรณบุรี เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 3
45 อ่างทอง เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 3
46 อุทัยธานี เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 3
47 เพชรบุรี เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 2
48 ชุมพร เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 3
หัวหิน
49 ประจวบคีรีขันธ์ เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 3
50 ระนอง เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 3
51 กาฬสินธุ์ เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 4
52 ขอนแก่น เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 4
53 นครพนม เดือนท่ี 3 สัปดาห์ท่ี 1
54 มหาสารคาม เดือนท่ี 3 สัปดาห์ท่ี 1
55 มุกดาหาร เดือนท่ี 3 สัปดาห์ท่ี 1
หนองคาย
56 เลย เดือนท่ี 3 สัปดาห์ท่ี 2
57 สกลนคร เดือนท่ี 3 สัปดาห์ท่ี 2
58 หนองคาย เดือนท่ี 3 สัปดาห์ท่ี 2
59 หนองบัวลำาภู เดือนท่ี 3 สัปดาห์ท่ี 3
60 อุดรธานี เดือนท่ี 3 สัปดาห์ท่ี 3
61 บุรีรัมย์ เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 4
62 ยโสธร เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 4
63 ร้อยเอ็ด เดือนท่ี 2 สัปดาห์ท่ี 4
64 ศรีสะเกษ ศรีสะเกษ เดือนท่ี 3 สัปดาห์ท่ี 1
65 สุรินทร์ เดือนท่ี 3 สัปดาห์ท่ี 2
66 อำานาจเจริญ เดือนท่ี 3 สัปดาห์ท่ี 2
67 อุบลราชธานี เดือนท่ี 3 สัปดาห์ท่ี 2
68 พระนครศรีอยุธยา เดือนท่ี 3 สัปดาห์ท่ี 4
69 ลพบุรี เดือนท่ี 3 สัปดาห์ท่ี 4
70 สระบุรี สระบุรี เดือนท่ี 3 สัปดาห์ท่ี 4
71 ชัยภูมิ เดือนท่ี 4 สัปดาห์ท่ี 1
72 นครราชสีมา เดือนท่ี 4 สัปดาห์ท่ี 1

82

You might also like