You are on page 1of 134

แบบฝึ กหัด วิช า Corporate Finance

อาทิต ย์ ท่ ี 1 เรื่อ ง งบการเงิน และการวิเ คราะห์ งบ


อาทิต ย์ ท่ ี 2 เรื่อ ง AFN and Pro-forma
อาทิต ย์ ท่ ี 3 เรื่อ ง WC management
อาทิต ย์ ท่ ี 4 เรื่อ ง Time Value of Money (TVM)
อาทิต ย์ ท่ ี 5 เรื่อ ง Interest rate and Bond
อาทิต ย์ ท่ ี 6 เรื่อ ง Risk, Return and CAPM
อาทิต ย์ ท่ ี 7 เรื่อ ง Stock valuation and EMH
อาทิต ย์ ท่ ี 8 เรื่อ ง WACC
อาทิต ย์ ท่ ี 8 เรื่อ ง Financial statement analysis presentation (no exercise)
อาทิต ย์ ท่ ี 10 เรื่อ ง Capital Budgeting
อาทิต ย์ ท่ ี 11 เรื่อ ง CF estimation
อาทิต ย์ ท่ ี 12 เรื่อ ง Capital structure, dividend policy and CG

1 of 134
 
แบบฝึ กหัด วิช า Corporate Finance สําหรับ อาทิต ย์ ท่ ี 1 เรื่อ ง งบการเงิน และการวิเ คราะห์ งบ
1/ จงใช้ ข้อมูล งบการเงินข้ างล่างนี ้ของบริษัท ABC ในการตอบคําถาม

Statement of financial position ABC co. (millions) 2013 2012 2011


Assets
Current assets
Cash and cash equivalents 3,550 3,473 3,216
Account receivables 10,651 11,578 6,432
Inventories 8,876 9,262 5,789
Other current assets 1,385 1,216 1,235
Total current assets 24,463 25,529 16,672
Non-current assets
Property, plant and equipment (Gross) 37,940 32,707 28,944
- Accumulated depreciation (17,247) (13,074) (10,130)
Property, plant and equipment (Net) 20,692 19,633 18,814
Other non-current assets 1,686 1,698 1,608
Total non-current assets 22,379 21,331 20,422
Total assets 46,842 46,859 37,093
Statement of financial position ABC co. (millions) 2013 2012 2011
Liabilities and Equity
Current liabilities
Account payables 4,757 4,290 4,112
Short-term loans 1,267 961 143
Current portion of long-term loans 3,415 3,925 2,316
Accruals 1,154 695 643
Total current liabilities 10,593 9,870 7,214
Non-current liabilities
Long-term loans -net of current portion 13,658 15,699 9,262
Deferred tax liabilities 383 393 381
Other non-current liabilities (no interest) 976 695 836
Total non-current liabilities 15,017 16,786 10,479
Total liabilities 25,610 26,656 17,693
Shareholders' equity
Issued and fully paid up share capital 10,000 10,000 10,000
Share premium 8,000 8,000 8,000
Retained earnings
Appropriated-statutory reserve 1,000 1,000 1,000
Unappropriated 2,231 1,203 400
Total Retained earnings 3,231 2,203 1,400
Total shareholders' equity 21,231 20,203 19,400
Total liabilities and shareholders' equity 46,842 46,859 37,093

2 of 134
 
Income statement of ABC co. (millions) 2013 2012 2011
Sales 88,762 77,184 64,320
Cost of goods sold (68,346) (62,519) (50,813)
Gross profit 20,415 14,665 13,507
Selling expenses (4,438) (2,316) (2,573)
Administrative expenses (1,686) (1,389) (1,286)
Depreciation expenses (4,173) (2,944) (2,894)
Earnings before interest and taxes (EBIT) 10,117 8,017 6,754
Finance cost (1,441) (879) (800)
Earings before taxes (EBT) 8,676 7,137 5,954
Income tax expenses (1,822) (1,784) (1,905)
Net Income 6,854 5,353 4,048
Dividend 5,826 4,550 3,441
Earnings per share 6.85 5.35 4.05
Dividend per share 5.83 4.55 3.44
Weighted average number of shares (millions) 1,000 1,000 1,000
Statutory tax rate (Ts) 20% 23% 30%

จงคํานวณหาค่าต่อไปนี ้พร้ อ มระบุห น่ วย ของ บริ ษัท ABC จํากัด และอธิบายความหมาย

อัตราส่วนทางการเงิน ค่า ปี 2013 พร้ อมระบุหน่วย ความหมาย


ROA
Quick Ratio (QR)
Interest Coverage Ratio (ICR)
Common size of long-term
loans – net of current portion
Trend Net Income
(ใช้ ปี 2011 เป็ นปี ฐาน)
ค่าดัชนีเทียบปี ฐาน ไม่มีหน่วย
Cash Conversion Cycle
(CCC)

3 of 134
 
ธงข้ อ 1/
อัตราส่วนทางการเงิน ปี 2013 ความหมาย
ROA 10,117/[(46,842+46,859)2/] สินทรัพย์โดยเฉลี่ยร้ อยบาท บริษัทจะมีกําไร
= 10,117/46,850.5 = ก่อนดอกเบี ้ยและภาษี (EBIT) เท่ากับ 21.59
21.59% บาท
Quick Ratio (QR) (3,550 + 10,651)/10,593 = บริ ษัทมีสนิ ทรัพย์สภาพคล่องที่สามารถแปลง
14,201/10,593 = 1.34x เงินสดได้ อย่างรวดเร็ว ได้ แก่ เงินสด เงินลงทุน
ระยะสัน้ ลูกหนี ้การค้ า เป็ น 1.34 เท่าของ
หนี ้สินหมุนเวียน มีคา่ มากกว่าหนึง่ แสดงว่า
บริ ษัทมีสภาพคล่องเพียงพอ
Interest Coverage 10,117/1,441 = 7.02x บริษัทมีความสามารถในการจ่ายภาระ
Ratio (ICR) ดอกเบี ้ยจาก กําไรก่อนดอกเบี ้ยและภาษี
(EBIT) เป็ น 7.02 เท่าของภาระดอกเบี ้ยจ่าย
แสดงว่ามีความสามารถพอที่จะจ่ายดอกเบี ้ย
Common size of long- 13,658/46,842 = 29.16% จากสินทรัพย์ของบริ ษัท 100 บาท บริษัท
term loans – net of ไฟแนนซ์โดยใช้ เงินกู้ระยะยาวสุทธิจากที่ถึง
current portion กําหนดไปภายหนึง่ ปี เป็ นจํานวน 29.16 บาท
Trend Net Income 6,854/4,048 x 100 = กําไรสุทธิของบริษัทในปี 2013 คิดเป็ น
(ใช้ ปี 2011 เป็ นปี ฐาน) 169.32 1.6932 เท่า ของกําไรสุทธิที่บริษัทมีในปี
ค่าดัชนีเทียบปี ฐาน ไม่มี 2011 กล่าวคือกําไรเพิ่มขึ ้น 69.32% ในช่วง
หน่วย เวลาดังกล่าว
Cash Conversion 69.79 วัน โดยเฉลี่ยแล้ วบริ ษัทได้ รับเงินจากลูกค้ า 69.79
Cycle (CCC) วัน หลังจากบริ ษัทจ่ายเงินค่าสินค้ าให้ กบั
Supplier ช่วงเวลาดังกล่าวบริษัทต้ องหมุน
เงินตัวเองใช้ ไปก่อน
A/R Turnover = 88,762/[(10,651 + 11,578)/2] = 88,762/11,114.5 = 7.99x
Inventory Turnover = 68,346/[(8,876 + 9,262)/2] = 68,346/9,069 = 7.54x
A/P Turnover = [68,346 + 8,876 – 9,262]/[(4,757 + 4,290)/2] = 67,960/4,523.5 = 15.02x
RCP = 365/7.99 = 45.68 วัน, ICP = 365/7.54 = 48.41 วัน, PDP = 365/15.02 = 24.30 วัน
CCC = 45.68 + 48.41 - 24.30 = 69.79 วัน

4 of 134
 
2/ กรณีศกึ ษา บริ ษัท แพรนด้ า จิวเวลรี่ จํากัด (มหาชน)
บริ ษัท แพรนด้ า จิวเวลรี่ จํากัด (มหาชน) ก่อตังขึ ้ ้นเมื่อปี พ.ศ. 2516 ในนามของ บริ ษัท แพรนด้ า ดีไซน์ จํากัด ต่อมา
ได้ จดั ตัง้ บริ ษัท แพรนด้ า จิวเวลรี่ จํากัด ขึ ้นอย่างเป็ นทางการเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2527 และได้ นํา หุ้นสามัญเข้ าจดทะเบียน
ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2533 ซึง่ ได้ แปรสภาพเป็ นบริ ษัทมหาชนจํากัด เมื่อวันที่ 3 มิถนุ ายน
2537 บริ ษัทฯ ดําเนินธุรกิจเป็ นผู้ผลิตจัดจําหน่ายและค้ าปลีกเครื่ องประดับแท้ เป็ นหลัก ปั จจุบันเป็ นผู้นําด้ านการส่งออก
เครื่ องประดับอัญมณีของไทยซึง่ มีการกระจายฐานลูกค้ าไปยังภูมิภาคที่สําคัญของโลก อันได้ แก่ อเมริ กาเหนือ ยุโรปและเอเชีย
โดยที่บริ ษัทฯ ได้ วางโครงสร้ างการบริหารที่สมดุลซึง่ ประกอบด้ วยรายละเอียดดังนี ้
1. ด้ านการผลิต (Production)
ผลิตเครื่ องประดับอัญมณี ที่มีประสิทธิ ภาพในด้ านการประหยัดขนาดการผลิต (Economies of Scale) ส่งผลให้
ต้ นทุนในการผลิตสินค้ าเหมาะสมกับคุณภาพของสินค้ า และได้ กระจายความเสี่ยงทางด้ านการผลิตเพื่อให้ ครอบคลุมแทบทุก
ระดับราคาสินค้ า โดยกลุ่มบริ ษัทฯ มี 7 โรงงานใน 4 ประเทศ ด้ วยจํานวนโรงงานที่มากเพียงพอต่อปริ มาณการสัง่ ผลิต ทําให้
ปั จจุบนั บริษัทฯ มีกําลังการผลิตรวมกว่า 10 ล้ านชิ ้นต่อปี
2. ด้ านการจัด จําหน่ าย (Distribution)
บริ ษัทฯ มีบริ ษัทจัดจําหน่ายที่เป็ นของตนเอง และตัวแทนจําหน่าย ทังในประเทศและต่
้ างประเทศ เพื่อกระจายความ
เสี่ยงทางการตลาด และการขยายตลาดในเวลาเดียวกัน ฐานจัดจําหน่ายเหล่านี ้กระจายตามภูมิภาคที่สําคัญของทัว่ โลก ได้ แก่
สหรัฐอเมริ กา อังกฤษ เยอรมนี ฝรั่งเศส อิตาลี สเปน ญี่ปนุ่ และอินเดีย โดยช่องทางการจัดจําหน่ายจะขายส่งให้ กบั ตัวแทนจัด
จําหน่ายรายใหญ่ทวั่ โลก โดยปั จจุบนั มีบริษัทย่อยที่เป็ นฐานการจัดจําหน่ายทังหมด ้ 5 บริษัท
3. ด้ านการค้ าปลีก (Retail)
บริ ษัทฯ มีบริษัทย่อยที่มีความเชี่ยวชาญในการบริหารจัดการการค้ าปลีก ซึง่ รวมถึงร้ านค้ าปลีกของบริษัทเอง และการ
จัดจําหน่ายผ่านระบบแฟรนซ์ไชส์ครอบคลุมเอเชียและตะวันออกกลาง เพื่อเข้ าถึงกลุม่ ผู้บริโภคเครื่ องประดับโดยตรง ปั จจุบนั มี
4 บริ ษัท ในไทย จีน อินโดนีเซีย และเวียดนาม
นโยบายเงิน ปั น ผล
ไม่เกินร้ อยละ 60 ของกําไรสุทธิประจําปี จากงบการเงินเฉพาะกิจการ โดยคณะกรรมการบริ ษัทฯ จะพิจารณาถึงกําไร
จากการดําเนินงาน เงินทุนหมุนเวียน เงินลงทุนในสินทรัพย์ถาวร เงื่อนไขทางการเงิน และการตังสํ ้ ารองทุนตามที่กฎหมาย
กําหนด ทังในปั้ จจุบนั และในอนาคต
กรอบเวลาดําเนิน งานตามปกติ
ธุรกิจกําหนดกรอบดําเนินงานปกติเพื่อสรุปและวัดผลดําเนินงานทุก 1 ปี โดยกําหนดให้ 1 ปี เท่ากับ 365 วัน
ราคาตลาดต่ อ หุ้น
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ราคาตลาดต่อหุ้นของบริษัท เท่ากับ 3.95 บาทต่อหุ้น
จํานวนหุ้น สามัญ
จํานวนหุ้นสามัญของบริ ษัท ตามที่แสดงไว้ ในรายงานงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริ ษัทถือว่าจํานวนหุ้น
ดังกล่าวมีการออกจําหน่ายและได้ รับชําระเงินค่าหุ้นครบถ้ วนแล้ ว และมีอายุครอบคลุมหรื อเทียบเท่าเต็ม 1 ปี สําหรับในปี
2557

5 of 134
 
(หน่ วย: พันบาท)
งบแสดงฐานะการเงิน (ส่ วนสิ นทรัพ ย์ ) ณ วันที่ ณ วันที่
31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2556
สิ นทรัพ ย์
สิ นทรัพ ย์ หมุนเวียน
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 661,148.20 455,061.00
เงินลงทุนชัว่ คราว - เงินฝากสถาบันการเงิน 8,474.00 8,207.00
ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น 1,087,334.00 1,257,029.00
สิ นค้าคงเหลือ 1,473,242.00 1,481,158.00
สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น 145,043.00 82,881.00
รวมสิ นทรัพ ย์หมุนเวียน 3,375,241.20 3,284,336.00
สิ นทรัพ ย์ ไม่ หมุนเวียน
เงินฝากธนาคารที่มีภาระคํ้าประกัน 3,584.00 4,016.00
เงินลงทุนระยะยาวอื่น 24,360.00 24,342.00
อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน 501,967.00 504,104.00
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 764,446.00 705,798.00
สิ ทธิการเช่า 26,243.00 28,106.00
สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนอื่น 32,937.00 35,665.00
สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี 80,605.00 83,484.00
สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 15,433.00 15,523.00
รวมสิ นทรัพ ย์ไม่ หมุนเวียน (สุ ทธิ) 1,449,575.00 1,401,038.00
รวมสิ นทรัพ ย์ 4,824,816.20 4,685,374.00
 
 

6 of 134
 
หน่ วย: พันบาท
งบแสดงฐานะการเงิน
ณ วันที่ ณ วันที่
(ส่ วนหนีส้ ิ น)
31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2556
หนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถือหุ้น
หนีส้ ิ นหมุนเวียน
เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสั้น 603,620.00 457,670.00
เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น 602,537.00 743,708.00
เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 1,125.00 -
เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน 100,000.00 -
เงินกูย้ มื ระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี 94,924.00 113,223.00
ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย 6,071.00 1,148.00
หนี้สินหมุนเวียนอื่น 61,740.00 50,817.00
รวมหนีส้ ิ นหมุนเวียน 1,470,017.00 1,366,566.00
หนีส้ ิ นไม่ หมุนเวียน
เงินกูย้ มื ระยะยาวสุ ทธิจากส่วนที่ถึงกําหนดชําระใน 316,483.00 328,448.00
หนึ่งปี
สํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน 150,014.00 192,806.00
หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น 1,044.00 1,059.00
รวมหนีส้ ิ นไม่ หมุนเวียน 467,541.00 522,313.00
รวมหนีส้ ิ น 1,937,558.00 1,888,879.00
   

7 of 134
 
หน่ วย: พันบาท
งบแสดงฐานะการเงิน
ณ วันที่ ณ วันที่
(ส่ วนของผู้ถือหุ้น)
31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2556
ส่ วนของผู้ถือหุ้น
ทุนเรื อนหุ้น:
ทุนจดทะเบียน:
หุ น้ สามัญ 410,000,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท 410,000.00 410,000.00
ทุนออกจําหน่ ายและชําระเต็มมูลค่ าแล้ว: 409,529.00 409,145.00
หุน้ สามัญ 409,529,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท
(31 ธันวาคม 2556: หุน้ สามัญ 409,144,800 หุน้
มูลค่าหุ น้ ละ 1 บาท)
ส่ วนเกินมูลค่าหุ น้ สามัญ 786,855.00 786,087.00
กําไรสะสม
จัดสรรแล้ว - สํารองตามกฎหมาย 50,956.80 41,000.00
ยังไม่ได้จดั สรร 1,639,917.40 1,560,263.00
รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น 2,887,258.20 2,796,495.00
รวมหนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถือหุ้น 4,824,816.20 4,685,374.00
 
   

8 of 134
 
 
งบกําไรขาดทุน จํานวนเงิน
สํ าหรับงวดปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 (หน่ วย: พันบาท)
รายได้
รายได้จากการขาย 2,115,599.00
รายได้อื่น
ดอกเบี้ยรับ 721.00
อื่น ๆ 7,606.00
รวมรายได้ 2,123,926.00
ค่ าใช้ จ่าย
ต้นทุนขาย (1,577,209.00)
ค่าใช้จ่ายในการขาย (106,521.00)
ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร (129,625.00)
ค่าใช้จ่ายอื่น
ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน (48,918.00)
รวมค่ าใช้ จ่าย (1,862,273.00)
กําไร (ขาดทุน) ก่อนค่ าใช้ จ่ายทางการเงินและค่ าใช้ จ่ายภาษีเงินได้ 261,653.00
ค่าใช้จ่ายทางการเงิน (12,733.00)
กําไร (ขาดทุน) ก่อนค่ าใช้ จ่ายภาษีเงินได้ 248,920.00
รายได้ (ค่าใช้จ่าย) ภาษีเงินได้: (อัตราภาษี 20%) (49,784.00)
กําไร (ขาดทุน) สํ าหรับงวด 199,136.00

9 of 134
 
 

อ ัตราสว่ นการเงิน อธิบายความหมาย


ปี 2557 ค่าเฉลีย
่ ภายหล ังเปรียบเทียบ
อ ัตราสว่ นทางการเงิน สูตร หน่วย ของบริษ ัท อุตสาหกรรม อ ัตราสว่ นทางการเงิน
1 ROA 5.70%
2 EBIT Margin 11.40%
3 Total Asset Turnover 0.50
4 ROE 7.13%
5 Current Ratio 2.50
6 Quick Ratio 1.25
7 Inventory Turnover 1.20
8 Inventory Conversion Period 304
9 Account Receivable Turnover 1.78
9 Receivable Collection Period 205
10 Account Payable Turnover 2.47
11 Payables Deferral Period 148
12 Cash Conversion Cycle: CCC 361
13 Debt Ratio 49.50%
14 Time Interest Earned (TIE) 21.45
15 Earnings per Share (EPS) 0.52
16 Price Earning : PE 8.17
17 Book Value per Shares: BVPS 7.22
18 Price to Book Value: PBV 0.59

10 of 134
 
ธงข้ อ 2/
อัตราสว่ นปี 2557 ค่าเฉลีย
่ ของ ความหมาย 
อัตราสว่ นทางการเงิน  สูตร   หน่วย  ของบริษัท  อุตสาหกรรม  
 
1  ROA   EBIT/Average TA. % 5.50% 5.70% ไม่ด ี
 
2  EBIT Margin   EBIT/Sales % 12.32% 11.40% ดี 
   
3  Total Asset Turn over   Sales/Average TA. เท่า  0.45 0.50 ไม่ด ี
 
4  ROE   NI/Average TE. % 7.01% 7.13% ไม่ด ี
 
5  Current Ratio   CA57/CL57 เท่า  2.30 2.50 ไม่ด ี
 
6  Quick Ratio   (Cash+ ST Investment + AR)57/CL57 เท่า  1.20 1.25 ไม่ด ี
 
7  Inventory Turnover   COGS/Average INV เท่า  1.07 1.20 ไม่ด ี
 
8  Inventory Conversion Period   365/Inv.Turnover วัน  342 304 ไม่ด ี
 
9  Account Receivable Turnover   Sales/Average AR. เท่า  1.81 1.78 ดี
 
9  Receivable Collection Period   365/AR Turnover วัน  201 205 ดี 
10   Account Payable Turnover   (Inv1-Inv0+COGS)/Average AP. เท่า  2.33 2.47 ดี 
11   Payables Deferral Period   365/AP Turnover วัน  157 148 ดี
   
12   Cash Conversion Cycle: CCC   ICP+RCP-PDP วัน  387 361 ไม่ด ี
   

11 of 134
 
อัตราสว่ นปี ความหมาย 
2557 ของ ค่าเฉลีย
่ ของ
อัตราสว่ นทางการเงิน  สูตร หน่วย  บริษัท อุตสาหกรรม
 
13   Debt Ratio   Total Liability57/Total Assets57 %  40.16% 49.50% ดี
14   Time Interest Earned  EBIT/Interest Expense เท่า  20.55 21.45 ไม่ด ี
15   Earnings per Share (EPS)   NI/Shares Outstanding บาทต่อหุ ้น  0.49 0.52 ไม่ด ี
16   Price Earning : PE   Market Price per Share/EPS เท่า  8.12 8.17 ไม่ด ี
17   Book Value per Shares: BVPS   Total Equity57/Shares Outstanding บาทต่อหุ ้น  7.05 7.22 ไม่ด ี
18   Price to Book Value: PBV   Market Price per Share/BVPS เท่า  0.56 0.59 ไม่ด ี

12 of 134
 
3/ จงวิเคราะห์งบการเงินของบริ ษัทบริษัท แพรนด้ า จิวเวลรี่ จํากัด (มหาชน) ข้ างต้ น ในประเด็นดังต่อไปนี ้
 ความสามารถในการทํากําไร (Profitability)
 ความเสีย่ งระยะสันในแง่
้ สภาพคล่อง (Liquidity risk)
 ความเสีย่ งระยะยาวในแง่ความสามารถในการชําระหนี ้ (Solvency risk)
การวิเคราะห์ควรครอบคลุมทังผลและสาเหตุ
้ ด้วย

13 of 134
 
4/ จงใช้ งบแสดงฐานะการเงินและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จที่ให้ มาคํานวณอัตราส่วนการเงินด้ านล่างนี ้

บริษัท สําเร็จ จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2556 [หน่วย: ล้ านบาท]
Cash 106 Accounts Payable 190
Accounts Receivable 195 Accruals 90
Inventories 280 Other Current Liabilities 13
Other Current Assets 5 Current Liabilities 293
Current Assets 586 Long-term Debts 199
Fixed Assets 413 Total Liabilities 492
- Accumulated Depreciation -106 Common Stock (@ Par Value) 557
Net Fixed Assets 307 Retained Earnings -156
Total Assets 893 Total Liabilities + Equity 893

งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 2556) [หน่วย: ล้ านบาท]


Sales 3,862
- Cost of Goods Sold -2,829
Gross Profit 1,033
- Operating Costs -517
EBITDA 516
- Depreciation & Amortization -51
EBIT 465
- Interests -11
EBT 454
- Taxes (Tax Rate = 20%) -90.80
Net Income 363.20

14 of 134
 
คํานวณหาคําตอบของอัตราส่วนการเงินดังต่อไปนี ้
4.1) Quick Ratio
4.2) Days Sales Outstanding Ratio
4.3) Times Interest Earned or TIE
4.4) Net Profit Margin
4.5) Return on Equity

15 of 134
 
ธงข้ อ 4/
1. Quick Ratio = (Cash + Accounts Receivable)/(Current Liabilities)
= (106+195)/(293) = 1.0273 เท่า
2. Days Sales Outstanding Ratio = (Account Receivables)/(Sales/365)
= 195/(3,862/365) = 18.4296 วัน
3. Times Interest Earned = (EBIT)/(Interest Expense)
= (465)/(11) = 42.2727 เท่า
4. Net Profit Margin = EBIT/(Sales)
= (465)/(3,862) = 12.0404 เปอร์ เซ็นต์
5. Return on Equity = (Net Income)/(Total Equity)
= (363.2)/(557-156) = 90.5736 เปอร์ เซ็นต์

16 of 134
 
แบบฝึ กหัด วิช า Corporate Finance สําหรั บ อาทิต ย์ ท่ ี 2 เรื่ อ ง AFN and Pro-forma
1/ ในปี 2558 ที่ผ่านมา บริ ษัท โบว์สีร้ ุง จํากัด มียอดขายเท่ากับ 92.5 ล้ านบาท มีสินทรัพย์รวม ณ สิ ้นปี 2558 เท่ากับ 65 ล้ าน
บาท มีหนีส้ ินหมุนเวียนรวม 16 ล้ านบาท ซึ่งประกอบไปด้ วยรายการดังต่อไปนี ้ 1) เจ้ าหนีก้ ารค้ า 8 ล้ านบาท 2) ค่าใช้ จ่าย
ทางการค้ าค้ างจ่าย 5 ล้ านบาท และ 3) เงินกู้อื่นที่ไม่เกี่ยวข้ องทางการค้ า 3 ล้ านบาท บริ ษัทฯมีอตั ราส่วนกําไรสุทธิตอ่ ยอดขาย
เท่ากับ 10% และมีอตั ราการจ่ายปั นผลเท่ากับ 40% ของกําไรสุทธิประจําปี บริษัทฯคาดการณ์วา่ ยอดขายในปี 2559 จะมีอตั รา
การเติบ โตเพิ่มขึน้ 20% เมื่ อ เที ย บจากยอดขายปี ที่ ผ่า นมา และขณะนี บ้ ริ ษั ท ฯ ผลิตสิน ค้ า เต็ม กํ า ลัง การผลิตแล้ ว ดัง นัน้
สินทรัพย์รวมทังหมดของบริ
้ ษัทจึงต้ องเติบโตในอัตราเดียวกันกับยอดขาย ในปี 2559 บริ ษัทฯ ยังคงรักษาอัตราส่วนกําไรสุทธิ
ต่อยอดขาย และอัตราการจ่ายปั นผลในอัตราส่วนเดิม คือ เท่ากับในปี 2558

จงตอบคําถามต่อไปนี ้
2.1/ หากบริษัทต้ องการระดมทุนเพื่อช่วยให้ ยอดขายเติบโตได้ ดี บริษัทจะจัดหาเงินทุนได้ จากแหล่งใดบ้ าง จงอธิบายแหล่งที่มา
ของเงินทุนสําหรับบริษัท

2.2/ จงคํานวณว่าบริษัทต้ องการเงินทุนจากแหล่งเงินทุนภายนอกเป็ นเงินเท่าไหร่ในปี 2559 (Additional Funds Needed:


AFN) ให้ ใช้ ทศนิยมสองตําแหน่ง (5 คะแนน)

17 of 134
 
ธงข้ อ 1/
1.1/
RE, A/P, Accruals
Debt, equity

2.2/
S0 = 92.5 mil, ΔS = (0.2 x 92.5) = 18.5 mil, S1 = 111 Mil
A* = 65 mil, L* = (8+5) = 13 mil, Profit Margin = 10%, Payout = 40%

AFN = (65/92.5 x 18.5) - (13/92.5 x 18.5) - (10% x 111 x (1-0.4))


= 13.00 – 2.60 – 6.66
= 3.74 mil

18 of 134
 
2/ จงใช้ งบการเงินข้ างล่างนี ้ของบริษัท ABC ในการตอบคําถาม
Statement of financial position ABC co. (millions) 2013 2012 2011
Assets
Current assets
Cash and cash equivalents 3,550 3,473 3,216
Account receivables 10,651 11,578 6,432
Inventories 8,876 9,262 5,789
Other current assets 1,385 1,216 1,235
Total current assets 24,463 25,529 16,672
Non-current assets
Property, plant and equipment (Gross) 37,940 32,707 28,944
- Accumulated depreciation (17,247) (13,074) (10,130)
Property, plant and equipment (Net) 20,692 19,633 18,814
Other non-current assets 1,686 1,698 1,608
Total non-current assets 22,379 21,331 20,422
Total assets 46,842 46,859 37,093
Statement of financial position ABC co. (millions) 2013 2012 2011
Liabilities and Equity
Current liabilities
Account payables 4,757 4,290 4,112
Short-term loans 1,267 961 143
Current portion of long-term loans 3,415 3,925 2,316
Accruals 1,154 695 643
Total current liabilities 10,593 9,870 7,214
Non-current liabilities
Long-term loans -net of current portion 13,658 15,699 9,262
Deferred tax liabilities 383 393 381
Other non-current liabilities (no interest) 976 695 836
Total non-current liabilities 15,017 16,786 10,479
Total liabilities 25,610 26,656 17,693
Shareholders' equity
Issued and fully paid up share capital 10,000 10,000 10,000
Share premium 8,000 8,000 8,000
Retained earnings
Appropriated-statutory reserve 1,000 1,000 1,000
Unappropriated 2,231 1,203 400
Total Retained earnings 3,231 2,203 1,400
Total shareholders' equity 21,231 20,203 19,400
Total liabilities and shareholders' equity 46,842 46,859 37,093

19 of 134
 
Income statement of ABC co. (millions) 2013 2012 2011
Sales 88,762 77,184 64,320
Cost of goods sold (68,346) (62,519) (50,813)
Gross profit 20,415 14,665 13,507
Selling expenses (4,438) (2,316) (2,573)
Administrative expenses (1,686) (1,389) (1,286)
Depreciation expenses (4,173) (2,944) (2,894)
Earnings before interest and taxes (EBIT) 10,117 8,017 6,754
Finance cost (1,441) (879) (800)
Earings before taxes (EBT) 8,676 7,137 5,954
Income tax expenses (1,822) (1,784) (1,905)
Net Income 6,854 5,353 4,048
Dividend 5,826 4,550 3,441
Earnings per share 6.85 5.35 4.05
Dividend per share 5.83 4.55 3.44
Weighted average number of shares (millions) 1,000 1,000 1,000
Statutory tax rate (Ts) 20% 23% 30%

จากข้ อมูลงบการเงินข้ างต้ น


จงประเมินว่า ถ้ าปี 2014 บริ ษัทคาดว่าจะทํายอดขายได้ 100,000 ล้ านบาท บริษัทจะต้ องไปจัดหาเงินทุนเพิ่มเติมมาอีกหรื อไม่
และเท่าไหร่ โดยคํานวณจากสูตร AFN และสมมุติวา่ retention ratio (RR) มีคา่ เท่ากับของปี 2013

20 of 134
 
ธงข้ อ 2/

A* L*
AFN  ( ).S  ( ).S  M .S1.RR
S S

NI
M 
S

Asset to Sales ratio 0.53


Spontaneous liability AP + Accrual 5,911
L* ratio 6.66%
Net Income Margin 7.72%
Retention ratio 15%
Sales next year (S1) 100,000

Increase in Sales 11,238


AFN 4,024

21 of 134
 
3/ “A sure Inc.” expects that its sales next year (2014) would increase to 3,000 million baht. The company has a
policy to maintain a constant dividend payout ratio. Assume that all assets are used to generate sales and all
financial ratios are very stable. Use the AFN formula to approximate the additional funds needed to prepare for the
next year expansion.

22 of 134
 
ธงข้ อ 3/
AFN = (A/S)ΔSales – (Spontaneous L/S)ΔSales – Sales.(NI/S).(Retention Ratio)
= (3,588/2,311)(3,000 – 2,311) – (344/2,311)(3,000 – 2,311) – (3,000)(429/2,311)(242/429)
= 1,069.72 – 102.56 – 314.15 = 653.01

Note: Addition to Retained Earnings = 2,041 – 1,799 = 242


The firm need to acquire more financing by the amount of 653.01 to facilitate its business expansion.

23 of 134
 
4/ “A sure Inc.” expects that its sales next year (2014) would increase to 3,000 million baht. The company has a
policy to maintain a constant dividend payout ratio. Assume that all assets are used to generate sales and all
financial ratios are very stable.
Prepare one year ahead pro-forma financial statement of “A sure Inc.” For simplicity, assume that all
interest paying debts occur at the end of the year. As such, interest expense depends on last year's interest
paying debts. Also assume that the interest rate is stable over time and all assets are fully utilized except gross
fixed assets which are still adequate for foreseeable future.
Note: Gross Fixed Assets (GFA) of 2012 = 4,307, Depreciation expensed is based on the GFA of last
year. Any additional GFA this year is assumed to happen at year end. In 2012, Note payables = 231, Long-term
debt = 531. Retained earnings in 2012 = 1,799. Interest expenses are assumed to depend on interest bearing
debt of last year. Any additional debt accrued this year is assumed to happen at year end.
 

  2013 2014 show your assumptions and


calculations

Sales 2,311
cost of goods sold (1,344)
depreciation (276)
Total operating costs (1,620)
EBIT 691
Interest expense (141)
EBT 550
Taxes (121)
Net Income 429
   

24 of 134
 
  2013 2014 show your assumptions and
calculations

Cash 98
Short-term investment 55
Account receivables 133
Inventory 422
Total current assets 708
Gross fixed assets 4,732
Accumulated depreciation (1,852)
Net fixed assets 2,880
Total assets 3,588
Account payables 344
Note payables 196
Total current liabilities 540
Long-term debt 457
Total liabilities 997
Common stock 550
Retained earnings 2,041
Total equity 2,591
Total liabilities and equity 3,588

25 of 134
 
ธงข้ อ 4/
  2013 2014 show your assumptions and
calculations

Sales 2,311 3,000 Stated in the question

cost of goods sold (1,344) (1,744.70) 1,344/2,311 = 58.16%


of sales
depreciation (276) (303.23) (276/4,307)x(4,732)
link with GFA
Total operating costs (1,620) (2,047.93)

EBIT 691 952.07

Interest expense (141) (120.81) rd =141/(231+531) =


18.50%,
I = 18.50% x (196+457)
EBT 550 831.26

Taxes (121) (182.88) Ta= 22% = 121/550


Other option is to use
statutory tax rate of 20%
Net Income 429 648.38

   

26 of 134
 
  2013 2014 show your assumptions and
calculations

Cash 98 127.22 98/2,311 x 3,000

Short-term investment 55 71.40 55/2,311 x 3,000

Account receivables 133 172.65 133/2,311 x 3,000

Inventory 422 547.81 422/2,311 x 3,000

Total current assets 708 919.08

Gross fixed assets 4,732 4,732 Excess capacity

Accumulated depreciation (1,852) (2,155.23) 1,852 + 303.23

Net fixed assets 2,880 2,576.77

Total assets 3,588 3,495.85 919.08 + 2,576.77

   

27 of 134
 
Account payables 344 446.56 344/2,311 x 3,000

Note payables 196 27.78 Plug-in AFN


196/(196 + 457) x
92.54
Total current liabilities 540 474.34

Long-term debt 457 64.76 Plug-in AFN


457/(196 + 457) x
92.54
Total liabilities 997 539.10

Common stock 550 550 No new equity


issuance
Retained earnings 2,041 2,406.75 2,041 +
648.38x(242/429)
242 = 2,041 – 1,799
Total equity 2,591 2,956.75

Total liabilities and equity 3,588 3,495.85

 
Gap to Plug‐In = 3,495.85 – 446.56 – 2,956.75 = 92.54 
 

28 of 134
 
5/ บริ ษัท ศาลายา จํากัด คาดการณ์ว่ายอดขาย ปี 2558 จะมีอตั ราการเติบโตเพิ่มขึ ้น 20% เมื่อเทียบจากยอดขายปี ที่ผ่านมา
สําหรั บปี 2557 ที่ผ่านมา บริ ษัทมียอดขายเท่ากับ 60 ล้ านบาท สินทรั พย์ รวม ณ สิน้ ปี 2557 เท่ากับ 40 ล้ านบาท หนี ส้ ิน
หมุนเวียนรวม 10 ล้ านบาท ซึ่งประกอบไปด้ วยเจ้ าหนี ้การค้ า 6 ล้ านบาท ค่าใช้ จ่ายทางการค้ าค้ างจ่าย 1 ล้ านบาท และเงินกู้
อื่นที่ไม่เกี่ยวข้ องทางการค้ า 3 ล้ านบาท บริ ษัทมีอตั ราส่วนกําไรสุทธิต่อยอดขายเท่ากับ 8% และอัตราการจ่ายปั นผลเท่ากับ
60% ของกําไรสุทธิประจําปี และเนื่องจากในขณะนีบ้ ริ ษัทผลิตสินค้ าเต็มกําลังการผลิต สินทรัพย์ทงหมดของบริ
ั้ ษัท จึงต้ อง
เติบโตในอัตราเดียวกบยอดขาย ณ สิ ้นปี 2557 อย่างไรก็ดี บริ ษัทคาดการณ์ ว่าในปี 2558 บริ ษัทจะสามารถรักษา อัตราส่วน
กําไรสุทธิตอ่ ยอดขายและอัตราการจ่ายเงินปั นผลได้ ในอัตราส่วนเท่ากับในปี 2557 ให้ ทา่ น :

5.1/ คํานวณหาความต้ องการเงินทุนจากภายนอก (Additional Funds Needed: AFN) ของบริษัทในปี 2558

5.2/ อ้ างงอิงข้ อมูลตามโจทย์ข้างต้ น สมมติให้ ข้อมูลอื่นคงที่ตามโจทย์กําหนด ยกเว้ น รายการนโยบายการจ่ายปั นผลของ


บริ ษัท โดยสมมติว่าหากบริ ษัทคาดวาจะเปลี่ยนแปลงนโยบายการจ่ายเงินปั นผลจากเดิม อัตราการจ่ายปั นผลเท่ากับ 60% ใน
ปี 2557 เปลี่ยนเป็ น 40% ในปี 2558 และคาดการณ์ อัตราการเติบโตของยอดขายเปลี่ยนจาก 20% เปลี่ยนเป็ นอัตราการ
เติบโตของยอดขายเท่ากับ 15% ให้ นักศึกษาคํ านวณหาความต้ องการเงินทุนจากภายนอก (Additional Funds Needed:
AFN) ของบริษัทในปี 2558

29 of 134
 
ธงข้ อ 5/
5.1/
AFN = (A0*/S0)ΔS – (L0*/S0)ΔS – M0S1(RR)
AFN = ((40/60)*12) - ((7/60)*12) - (0.08*72*(1-0.6))
= 8.00 -1.40 - 2.30 ล้ านบาท
= 4.30 ล้ านบาท

5.2/
AFN = (A0*/S0)ΔS – (L0*/S0)ΔS – P0S1(RR)
AFN = ((40/60)*9) - ((7/60)*9) - (0.08*69*(1-0.4))
= 6.00 -1.05 - 3.31 ล้ านบาท
= 1.64 ล้ านบาท

30 of 134
 
แบบฝึ กหัด วิช า Corporate Finance สําหรั บ อาทิต ย์ ท่ ี 3 เรื่ อ ง WC management
1/ บริ ษัท Smart Choice มีความต้ องการเพิ่มเงินทุนหมุนเวียนส่วนของสินค้ าคงคลัง ในการใช้ เป็ นสต็อคเพื่อการขยายสาขา
ภายใน 1 ปี คิดเป็ นเงิน 1,500,000 บาท โดยที่บริ ษัทจะทํ าการสั่งซื อ้ สินค้ าจากผู้ขายที่มีเทอมขายเชื่ อแบบ 3/10 Net 90
ขณะเดียวกันถ้ าบริ ษัทสนใจในส่วนลดการค้ าของผู้ขายก็ยงั จะสามารถกู้ยืมเงินจากธนาคารเป็ นเงิน 1,500,000 บาทมาจ่าย
โดยที่ธนาคารจะหักดอกเบี ้ยจากเงินต้ นที่ก้ ทู นั ที ณ อัตราดอกเบี ้ย 12% ต่อปี ในวันที่ก้ เู งิน จงคํานวณหาอัตราดอกเบี ้ยแท้ จริ ง
ต่อปี (Annual Effective Cost of Bank Lending Rate) ที่ธนาคารคิดกับบริ ษัท? และบริ ษัท Smart Choice ควรตัดสินใจซื อ้
เชื่อจากผู้ขายหรื อไม่? (ให้ กําหนดว่า 1 ปี มี 365 วัน)

2/ บริ ษัท Quick Cash ต้ องการใช้ เครื่ องมือทางการเงินที่เรี ยกว่า Cash Conversion Cycle (CCC) เป็ นตัวบ่งชี ้ว่าเงินทุนของ
บริ ษัทไม่จมอยู่ในสินทรั พ ย์ ห มุนเวียนมากเกิ นความเหมาะสม จึงทําการเก็บตัวเลขจากงบการเงินประจํ าปี ล่า สุดได้ ดัง นี ้
ค่าเฉลี่ยของสินค้ าคงคลัง 50,000บาท สินค้ าคงคลังไม่มีการเปลี่ยนแปลงระหว่างปี นีก้ ับปี ที่แล้ ว ค่าเฉลี่ยของลูกหนีก้ ารค้ า
60,000 บาท สินทรัพย์หมุนเวียนรวม 140,000 บาท ค่าเฉลี่ยของเจ้ าหนี ้การค้ า 30,000บาท ยอดขายต่อปี 700,000บาท โดย
บริ ษัทมีต้นทุนขายคิดเป็ น 75% ของยอดขาย ค่า CCC เฉลี่ยของอุตสาหกรรมอยู่ที่ 40วัน จงหาค่า CCC ของบริ ษัท และเมื่อ
นํามาเทียบกับค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรม ท่านคิดว่าเงินทุนของบริ ษัทจมอยู่ในสินทรัพย์หมุนเวียนมากเกินความเหมาะสม
หรื อไม่? (ให้ กําหนดว่า 1 ปี มี 365 วัน)

3/ จงตอบคําถามต่อไปนี ้
3.1) บริ ษัท กุ๊กไก่ จํากัด มีโครงการที่จะเพิ่มยอดขายจาก 3 ล้ านบาท เป็ น 4 ล้ านบาท แต่บริ ษัทจําเป็ นที่ต้องลงทุนในสินทรัพย์
หมุนเวียนเพิ่ม 500,000 บาทเพื่อรองรับส่วนที่ขยายเพิ่มขึ ้น บริ ษัทมีทางเลือกในการเพิ่มเจ้ าหนี ้การค้ าซึง่ บริ ษัท ทําการซื ้อขาย
เป็ นเงินเชื่อภายใต้ เงื่อนไข 1/10, net 40 หรื อทําการกู้ยืมจากธนาคารเป็ นเวลาหนึง่ ปี โดยวิธีหกั ลดหน้ าตัว๋ (Discount loan) โดย
มีอตั ราดอกเบี ้ยคิดหักลด (Discount rate) 12% ต่อปี บริษัทควรจัดหาเงินทุนจากแหล่งใด ทังนี ้ ้ กําหนดให้ หนึง่ ปี มี 365 วัน
3.2) จงอธิบายลักษณะและข้ อดี-ข้ อเสียของนโยบายการลงทุนในเงินทุนหมุนเวียนแบบเข้ มงวด (2 คะแนน)

31 of 134
 
ธงข้ อ 3/
3.1/
EAR = (1 + 1/99)^[365/(40-10)] - 1 = 13.01 per annum
อัตรากู้ยืมธนาคารมีอตั ราดอกเบี ้ยคิดหักลด 12% ต่อปี
หา Annual Effective Cost of Bank Lending Rate โดยที
Set P/Y=C/Y=1
PV = 88
N=1
FV = -100
จะได้ I/Y = 13.64%
สรุ ป 13.64% < 13.01% ดังนัน้ บริ ษัท กุ๊กไก่ซือ้ สินค้ าเครดิตจากผู้ขายโดยที่ไม่เอาส่วนลด เพราะมีราคาที่ถูกกว่า Annual
Effective Cost of Bank Lending Rate

3.2/
ลักษณะ: ธุรกิจจะดํารงสินทรัพย์หมุนเวียนน้ อยมาก ณ แต่ละระดับยอดขาย
ข้ อดี:ประหยัดต้ นทุนเสียโอกาส ลดความเสี่ยงจากสินค้ าล้ าสมัย หรื อ ลดความเสี่ยงจากการเก็บหนี ้ไม่ได้
ข้ อเสีย:อาจขาดสภาพคล่อง อาจสูญเสียลูกค้ าเพราะไม่ให้ เครดิตลูกค้ า อาจไม่มีสินค้ าส่งมอบให้ ลกู ค้ าเพราะสินค้ าอาจหมด
stock

32 of 134
 
4/ บริ ษัท เรดแครปค้ าข้ าว จํ ากัด (red crab rice trading company limited) เป็ นบริ ษัทที่ทําธุรกิ จค้ าข้ าวตราดูไบห่อ เพื่อ
้ เท่ากับ 50 ล้ านตัน บริ ษัท
ส่งออกไปต่างประเทศ โดยได้ รับคําสัง่ ซื ้อขนาดใหญ่จากเมือง ดูไบ ให้ สง่ ข้ าวไปให้ โดยคําสัง่ ซื ้อทังปี
จึงได้ ทําการซื ้อข้ าวจากชาวนาในราคา 15,000 บาท ต่อตัน โดยมีค่าโกดัง ค่าประกัน ค่ารมข้ าวที่เก็บไว้ ในโกดัง และค่าเสีย
โอกาสทางการเงิน รวมคิดเป็ นค่าใช้ จ่าย 10% ต่อปี ของมูลค่าข้ าวที่เก็บสต๊ อกไว้ นอกจากนี ้ยังมีค่าสัง่ ข้ าวเข้ ามาในแต่ละครัง้
เพราะต้ องใช้ รถสิบล้ อบรรทุกข้ าวเข้ าโกดัง โดยจ่ายเหมาเป็ นเที่ยว ๆ ไป เป็ นเงิน 30,000 บาท ต่อเที่ยว
ท่านคิดว่าบริ ษัทเรดแครปค้ าข้ าว ควรมีมลู ค่าข้ าวโดยเฉลี่ยที่รายงานในงบการเงินในบัญชีอยู่เท่าใด และมีต้นทุนใน
การบริ หารสต๊ อกทังหมดเท่
้ าใด ถ้ าบริ ษัทมีนโยบายการจัดการสินค้ าคงคลังแบบประหยัด (economic order quantity, EOQ)
ทังนี
้ ้ให้ ใช้ ทศนิยมสองตําแหน่ง และเพื่อความง่ายจํานวนเที่ยวที่ขนส่งข้ าวไม่จําเป็ นต้ องเป็ นจํานวนเต็ม

33 of 134
 
ธงข้ อ 4/

EOQ = SQRT[(2.F.S)/(C.P)]
= SQRT[(2 x 30,000 x 50,000,000)/(0.10 x 15,000)]
= SQRT[2,000,000,000] = 44,721.36
average Q = Q/2 = 44,721.36/2 = 22,360.68 ton
in terms of baht = 22,360.68 x 15,000 = 335,410,196.60

Total cost = C.P.(Q/2) + F.(S/Q)


= 0.10 x 15,000 x 22,360.68 + 30,000 x (50,000,000/44,721.36
= 67,082,039.32 baht per yea

34 of 134
 
5/ คุณโต้ ง ไวท์ลาย เป็ นผู้จดั การฝ่ ายการเงินของบริ ษัท ได้ รับข้ อเสนอจากซัพพลายเออร์ ที่เสนอขายวัตถุดิบในเทอม 1/10 net
้ ้ บริ ษัทไม่มีสภาพคล่องพอที่จะจ่ายค่าวัตถุดิบได้ ทนั ทีแต่สามารถกู้ยืมโดยการขายลดเช็คระยะเวลา 1 เดือน ได้ ที่อตั รา
70 ทังนี
คิดลด 6% ต่อปี ให้ หนึ่งปี มี 360 วัน และหนึ่งเดือนมี 30 วัน ท่านคิดว่าคุณโต้ ง ควรใช้ เครดิตเทอมจากซัพพลายเออร์ หรื อไม่
และเพราะเหตุใด

35 of 134
 
ธงข้ อ 5/
Effective cost of trade credit = (1 + d/(100 - d))^(360/days extended) -1
= (1 + 1/99)^(360/60) - 1 = 6.22% p.a.
2 points

Effective cost of discount loan = [1+(d x days/360)/(1- (d x days/360)]^(360/days) -1


=[1 + (6% x 30/360)/(1 - (6% x 30/360))]^(360/30) = 6.20% p.a.

So better to borrow by cheque and pay on the tenth day to take discount

36 of 134
 
6/ จงอธิบายลักษณะสําคัญ ข้ อดี ข้ อเสีย ของนโยบายในการลงทุนในเงินทุนหมุนเวียนทัง้ 3 ลักษณะประกอบด้ วย
 นโยบายแบบเข้ มงวด(Restricted Policy)
 นโยบายแบบผ่อนคลาย(Relaxed Policy)
 นโยบายแบบปานกลาง(Moderate Policy)

37 of 134
 
ธงข้ อ 6/

38 of 134
 
ข้ อ 7/ นโยบายในการจัดหาเงินทุน (Working Capital Financing Policy) ซึ่งมี 3 ทางเลือก คื อ Conservative approach,
Aggressive approach, และ Maturity matching approach จงอธิบายลักษณะของแต่ละนโยบาย ข้ อดี และ ข้ อเสีย

39 of 134
 
ธงข้ อ 7/

40 of 134
 
ข้ อ 8/
บริ ษัท J-Pan จํากัด มียอดขายเครื่ องคิดเลขปี ละ 85,000 เครื่ อง บริ ษัทมีต้นทุนต่อการสัง่ ซื ้อหนึ่งครัง้ (Cost per order) 5,500
บาท และมีต้นทุนในการเก็บรักษาต่อเครื่ อง (Carrying cost per unit) 40 บาท
8.1/ บริ ษัทควรสัง่ ซื ้อเครื่ องคิดเลขจากผู้ผลิตครัง้ ละกี่เครื่ องจึงจะประหยัดที่สดุ (Economic Order Quantity)
8.2/ บริษัทจะต้ องสัง่ ซื ้อเครื่ องคิดเลขปี ละกี่ครัง้
8.3/ ต้ นทุนรวม (Total cost per year) ของบริ ษัทมีมลู ค่าเท่าไหร่ (ต้ นทุนรวมประกอบด้ วยต้ นทุนการสัง่ ซื ้อ (Ordering cost
per year) และต้ นทุนในการเก็บรักษาทังปี ้ (Carrying cost per year))

41 of 134
 
ธงข้ อ 8/
8.1/ EOQ = (2*85,000*5,500/40)^0.5 = (935,000,000/40)^0.5 = 4,834.77 เครื่ อง
บริ ษัทฯควรสัง่ เครื่ องคิดเลขครัง้ ละ 4,834.77 เครื่ อง

8.2/ จํานวนครัง้ ในการสัง่ ซื ้อต่อปี = Annual sales/ EOQ = 85,000 / 4,834.77 = 17.58 ครัง้

8.3/
Ordering cost per year = (85,000 / 4,834.77) x 5,500 หรื อ 17.58 x 5,500 = 96,695.40 บาท
Carrying cost per year = (4,834.77/ 2) x 40 = 96,695.40 บาท
Total cost per year = 96,695.396 + 96,695.40 = 193,390.80 บาท

42 of 134
 
9/ Supplier ของบริ ษัท เอชัวร์ จํากัด เสนอเทอมการขายเชื่อ (Credit Sale) แบบ 1/20 Net 60 ต่อบริ ษัท ทังนี ้ ้บริ ษัทสามารถ
กู้ยืมเงินจากธนาคารสําหรับระยะเวลา 3 เดือน แบบดอกเบี ้ยอย่างง่าย (Simple Interest) ในอัตรา 9 เปอร์ เซ็นต์ต่อปี จงให้
คําแนะนําบริษัทว่า บริษัท เอชัวร์ จํากัด ควรซื ้อเชื่อจาก Supplier หรื อไม่ ทังนี
้ ้ให้ ระยะเวลา 1 ปี เท่ากับ 360 วัน

43 of 134
 
แบบฝึ กหัด วิช า Corporate Finance สําหรั บ อาทิต ย์ ท่ ี 4 เรื่ อ ง Time Value of Money (TVM)
1/ นายเอ มีอายุ 30 ปี เขาต้ องการเกษี ยณตัวเองที่อายุ 55 ปี เขาคาดว่าตัวเองคงเป็ นโสดไปจนตาย ไม่มีทายาท แต่คิดจะทิ ้ง
มรดกให้ หลานเป็ นเงิน 1,000,000 บาท นายเอ พึ่งไปตรวจสุขภาพมา หมอบอกว่าสุขภาพแข็งแรงดี ดังนันนาย ้ เอ คาดหมาย
ว่าน่าจะมีชีวิตยืนยาว เท่ากับค่าเฉลี่ยชายไทย คือ 70 ปี นายเอ คิดว่าเมื่อเกษี ยณแล้ วอยากมีเงินใช้ ทุกต้ นเดือน เดือนละ
40,000 บาท เงินที่มีนายเอ จะฝากธนาคารเป็ นฝากประจํา 1 เดือน
ขณะนี ้ นายเอ ทํางานประจําอยู่ได้ เงินเดือนทุกปลายเดือน เนื่องจาก นายเอ กลัวความเสี่ยงมาก เงินที่ได้ มาจะนํา
ฝากธนาคารเท่านัน้ โดยฝากประจํา 1 เดือน โดยฝากทุกปลายเดือน ขณะนี ้นายเอมีเงินอยูใ่ นบัญชี 500,000 บาท
ถ้ าอัตราดอกเบี ้ยเงินฝากประจํา 1 เดือน ปลอดภาษี คงที่ตลอดโดยเท่ากับ 3 เปอร์ เซ็นต์ ต่อปี นายเอ จะต้ องฝาก
เงินเดือนละเท่าไหร่ เพื่อเกษี ยณได้ ตามเป้าหมาย

44 of 134
 
ธงข้ อ 1/
หาเงินที่ต้องมีทงหมด
ั้ ณ วันที่ เกษียณ ตอนอายุ 55 ก่อน เพื่อรู้วา่ ต้ องเก็บให้ ได้ เงินก้ อนเท่าใด
Set to BGN เพราะต้ องถอนเงินต้ นเดือน
P/Y=C/Y=12, FV=1,000,000 , PMT=40,000, N= 15*12= 180, I/Y =3
PV = ? = -6,444,685.73
้ องเก็บเงินเดือนละเท่าใด
หาต่อว่า เมื่อตอตเกษียณต้ องการเงินเท่านี ้ ดังนันต้
Set to END เพราะเก็บเงินทุกปลายเดืนอจากเงินเดือน
P/Y=C/Y=12, FV=6,444,685.73, PV =-500,000, N= 25*12= 300, I/Y =3
PMT = ? = -12,078.66

45 of 134
 
2/ นายเอชัวร์ ประสงค์จะซื ้อคอนโดแห่งใหม่เพื่ออยู่อาศัย ราคาคอนโดคือ 2,000,000 บาท โดยต้ องจ่ายดาวน์เองเป็ นจํานวน
ร้ อยละ 10 ของราคา ส่วนที่เหลือ นายเอชัวร์ สามารถกู้ธนาคารกรุ งเจริ ญได้ โดยเสียดอกเบี ้ยร้ อยละ 5 ต่อปี ไปตลอดอายุ
สัญญาคือ 20 ปี
นายเอชัวร์ ต้ องจ่ายคืนหนี ้ให้ ธนาคารทังเงิ
้ นต้ นและดอกเบี ้ยทุกเดือน โดยดอกเบี ้ยนันตามกฎหมายไม่
้ มีการทบต้ น
ระหว่างปี จงตอบคําถามต่อไปนี ้
2.1/ นายเอชัวร์ ต้ องผ่อนไปเดือนละเท่าใด
2.2/ เมื่อเวลาผ่านไป 10 ปี นายเอชัวร์ ต้ องการทํารี ไฟแนนซ์ ไปกู้ธนาคารคนจน ซึง่ คิดดอกเบี ้ยเพียงร้ อยละ 4 ต่อปี แต่ให้ เวลา
ผ่อนหลังรี ไฟแนนซ์แค่ 5 ปี นายเอชัวร์ ต้องผ่อนไปเดือนละเท่าใด

46 of 134
 
ธงข้ อ 2/
2.1/
Set to END
P/Y=12, C/Y=1, PV=(1-0.1)(2,000,000)= 1,800,000
N = 12*20 = 240, I/Y=5, FV=0
PMT= ? = -11,769.06

2.2/
เมื่อเวลาผ่านไป 10 ปี นายเอชัวร์ ต้ องการทํารี ไฟแนนซ์ ไปกู้ธนาคารคนจน ซึง่ คิดดอกเบี ้ยเพียงร้ อยละ 4 ต่อปี แต่ให้ เวลาผ่อน
หลังรี ไฟแนนซ์แค่ 5 ปี นายเอชัวร์ ต้องผ่อนไปเดือนละเท่าใด
AMORT P1=1, P2=12*10 =120, BAL = 1,115,301.00 , PRN= -684,699.00 , INT= -727,588.20
Set to END
P/Y=12, C/Y=1, PV=1,115,301.00
N = 12*5 = 60, I/Y=4, FV=0
PMT= ? = -20,503.99

47 of 134
 
3/ ตามข้ อมูลของเวิลด์แบงก์ ตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ หรื อ GDP ปี ค.ศ. 2008 ของ 3 ประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจ
ใหญ่ติดอันโลก 3 อันดับแรกเป็ นดังนี ้
อันดับที่ 1 สหรัฐอเมริกา 14.2 ล้ านล้ านเหรี ยญสหรัฐฯ
อันดับที่ 2 ญี่ปนุ่ 4.9 ล้ านล้ านเหรี ยญสหรัฐฯ
อันดับที่ 3 จีน 4.3 ล้ านล้ านเหรี ยญสหรัฐฯ
Source: http://siteresources.worldbank.org/DATASTATISTICS/Resources/GDP.pdf
หากทัง้ 3 ประเทศรักษาอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของตนเองไว้ ได้ ในอัตราคงที่ตลอดไป
สหรัฐอเมริกาที่ระดับ 3%/ปี , ญี่ปนุ่ ที่ 1%/ปี , และจีนที่ 9%/ปี

จงหาว่า ในปี ค.ศ.ใด ที่


3.1/ จีนจะมีตวั เลข GDP แซงหน้ าญี่ปนุ่ และเป็ นประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจเป็ นอันดับ 2 ของโลก
3.2/จีนจะมีตวั เลข GDP แซงหน้ าสหรัฐฯและเป็ นประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจเป็ นอันดับ 1 ของโลก

48 of 134
 
4/ หลังจากจบการศึกษาคุณวางแผนที่จะทํา งานให้ กบั บริษัท รวยไม่หยุด เป็ นเวลา 15 ปี และจะลาออกมาเริ่ มต้ นธุรกิจส่วนตัว
ของคุณเอง คุณต้ องการเก็บสะสมเงินและฝากธนาคารไว้ เพื่อจะนํา ไปลงทุนหลังจากลาออกจากงานแล้ ว โดยใน 5 ปี แรก คุณ
จะสามารถเก็บเงินได้ ปีละ 50,000 บาท (t = 1 ถึง t = 5) และจะสามารถเก็บเงินได้ ปีละ 100,000 บาทในอีก 10 ปี ถัดไป (t = 6
ถึง t = 15) นอกจากนีค้ ุณพ่อยัง ได้ ให้ เงินคุณเป็ นของขวัญที่สําเร็ จการศึกษาจํานวน 200,000 บาทโดยที่คุณจะฝากเงินใน
ธนาคารทัน ที (t = 0) หากธนาคารให้ ดอกเบี ้ย 5% ต่อปี อยากทราบวาคุณจะมีเงินในบัญชีที่จะนา ไปเริ่ มต้ นธุรกิจส่วนตัวเป็ น
จํานวนเท่าไหร่เมื่อคุณออกจากงาน (t = 15)

49 of 134
 
ธงข้ อ 4/
Present value of 50,000 annuity
N = 5, I/Y = 5, PMT = 50,000, CPT PV -> PV = 216,473.83 เปลี่ยน 216,473.83 ที่ปีที่ 0 ไปปี ที่ 15
N = 15, I/Y = 5, PV = 216,473.83, CPT FV -> FV = 450,033.55

Future value of 100,000 annuity


N = 10, I/Y = 5, PMT = 100,000, CPT FV -> FV = 1,257,789.25

Future value of 200,000


N =15, I/Y = 5, PV = 200,000, CPT FV -> FV = 415,785.6

เงินทังหมดที
้ ่มี = 450,033.55 + 1,257,789.25 +415,785.6 = 2,123,608.4

50 of 134
 
แบบฝึ กหัด วิช า Corporate Finance สําหรั บ อาทิต ย์ ท่ ี 5 เรื่ อ ง Interest rate and Bond
1/ บริ ษัทเบอร์ ลี่ต้องการออกหุ้นกู้อายุ 5 ปี โดยมีมลู ค่าหน้ าตัว๋ (Face Value) หน่วยละ 1,000 บาท หุ้นกู้นี ้จ่ายคูปองดอกเบี ้ยทุก
ครึ่งปี (Semi-annual) และมีอตั ราดอกเบี ้ยของคูปองถูกกําหนดแบบขันบั ้ นไดว่าในปี ที่ 1-2 จ่ายคูปอง (Coupon) 4% ต่อปี และ
ในปี ที่ 3-5 จ่ายคูปอง (Coupon) 5% ต่อปี ทังนี ้ ้ให้ ตอบคําถามโดยใช้ ทศนิยมสองตําแหน่ง
คําแนะนําการใช้ เครื่ องคิดเลขการเงิน ใช้ ฟังก์ชนั่ CF ในการใส่ข้อมูล ใช้ ฟังก์ชนั่ NPV ในการหามูลค่าปั จจุบนั โดยใส่
อัตราผลตอบแทนต่องวดที่ใช้ คิดลด และใช้ ฟังก์ชนั่ IRR ในการหาผลตอบแทนต่องวด (ไม่ใช่ต่อปี ) โดยใส่ราคาเป็ นค่าลบใน
กระแสเงินสดงวดที่ศนู ย์

1.1/ ถ้ าปั จจุบนั อัตราผลตอบแทนในตลาด (yield to maturity) อยู่ที่ 6% ต่อปี และมีการคํานวณดอกเบี ้ยวิธีทบต้ นทุกครึ่ งปี
(compounded semi-annually) จงหามูลค่าปั จจุบนั ที่เหมาะสมของหุ้นกู้นี ้

1.2/ ถ้ า ราคาเหมาะสมของหุ้น กู้ใ นปั จ จุบัน เท่า กับ 900 บาท จงหาอัต ราผลตอบแทนในตลาด (Yield to maturity) เป็ น กี่
เปอร์ เซ็นต์ ต่อปี

51 of 134
 
ธงข้ อ 1/
1.1/ YTM = 6% ทบต้ นรายครึ่งปี = 3% ต่อครึ่งปี
PV of cash flow = 20/1.03+ 20/1.03^2 + 20/1.03^3 + 20/1.03^4 + 25/1.03^5 + 25/1.03^6 + 25/1.03^7 +
25/1.03^8+25/1.03^9+1025/1.03^10
= 938.76 บาท

1.2/ ให้ ราคาเหมาะสมของหุ้นกู้ = 900บาท


900 = 20/(1+YTM) + 20/(1+YTM)^2 + 20/(1+YTM)^3 + 20/(1+YTM)^4 +
25/(1+YTM)^5+25/(1+YTM)^6+25/(1+YTM)^7+25/(1+YTM)^8+25/(1+YTM)^9+1025/(1+YTM)^10
IRR = YTM = 3.48% ต่องวด -> x 2 งวดต่อปี = 6.96% ต่อปี

52 of 134
 
2/ บริษัทมัน่ คงดีต้องการออกหุ้นกู้อายุ 4 ปี โดยมีมลู ค่าหน้ าตัว๋ (Face Value) หน่วยละ 1,000 บาท หุ้นกูนี ้จ่ายคูปองทุกครึ่งปี
อัตราดอกเบี ้ยของคูปองถูกกําหนดแบบขันบั ้ นได ในปี ที่ 1-2 จ่ายคูปอง (Coupon interest rate) 4% ต่อปี และในปี ที่ 3-4 จ่าย
คูปอง (Coupon interest rate) 5% ต่อปี ให้ ทํา :

2.1) ถ้ า ปั จ จุบัน อัต ราผลตอบแทนในตลาด (Market interest rate หรื อ Yield to maturity) อยู่ที่ อัต รา 5% ต่อ ปี และการ
คํานวณดอกเบี ้ยวิธีทบต้ นทุกครึ่งปี (compounded semi-annually) จงหามูลค่าปั จจุบนั ที่เหมาะสมของหุ้นกูนี ้

2.2) ถ้ ากําหนดให้ ราคาเหมาะสมในปั จจุบนั (หรื อ Present Value) ของหุ้นกูเท่ากับ 950 บาท จง คํานวณหาอัตราผลตอบแทน
ในตลาด (Market interest rate หรื อ Yield to maturity: YTM)
กรณีคํานวณ YTM โดยเครื่ องคํานวณการเงิน (Financial Calculator) กรณี Cash Flow ไม่เท่ากัน ให้ เลือกคํา สัง่ CF และ IRR

53 of 134
 
ธงข้ อ 2/
Financial Diagram: Coupon Interest & Maturity Value

2.1) YTM = 5% ทบต้ น รายครึ่งปี = 2.5% ต่อครึ่งปี


PV of cash flow = 20/1.025 + 20/1.025^2 + 20/1.025^3 + 20/1.025^4 + 25/1.025^5 + 25/1.025^6 + 25/1.025^7
+ 1025/1.025^8 = 981.19บาท

2.2) ให้ ราคาเหมาะสมของหุ้นกู้ = 950


950 = 20/(1+YTM) + 20/(1+YTM)^2 + 20/(1+YTM)^3 + 20/(1+YTM)^4 + 25/(1+YTM)^5 + 25/(1+YTM)^6 +
25/(1+YTM)^7 + 1025/(1+YTM)^8
IRR = YTM = 2.946% ต่องวด -> x 2 งวดต่อปี = 5.892% ต่อปี

54 of 134
 
3/ บริ ษัท ทรัพย์ จํากัด (มหาชน) ออกจําหน่ายหุ้นกู้ อายุ 12 ปี โดยที่ห้ นุ กู้มีมลู ค่าที่ตราไว้ ฉบับละ 1,000 บาท และมีอตั รา
ดอกเบี ้ยที่ระบุไว้ (Coupon Rate) เท่ากับ 9% และกําหนดจ่ายชําระดอกเบี ้ยปี ละ 2 ครัง้ ให้ คํานวณหาราคาหุ้นกู้ ภายใต้ คําสัง่
ดังนี ้
3.1/ สมมติว่าสองปี ภายหลังจากที่ออกขายหุ้นกู้ พบว่าอัตราดอกเบี ้ยในตลาดลดลงเป็ น 6% ต่อปี ดังนันราคาหุ ้ ้ นกู้ ควรเป็ น
เท่าใด เมื่อเวลาผ่านไป 2 ปี

3.2/ สมมติว่าสองปี ภายหลังจากที่ออกขายหุ้นกู้ พบว่าอัตราดอกเบี ้ยในตลาดเพิ่มขึ ้นเป็ น 12% ต่อปี ดังนันราคาหุ


้ ้ นกู้ ควรเป็ น
เท่าใด เมื่อเวลาผ่านไป 2 ปี

55 of 134
 
ธงข้ อ 3/
3.1/
20 3 45 1,000
CPT PV = -1,223.1621
N I/Y PMT FV

3.2/
20 6 45 1,000
CPT PV = -827.9512
N I/Y PMT FV

56 of 134
 
ข้ อ 4/ บริษัท โชคดี จํากัด ออกจําหน่ายหุ้นกู้อายุ 10 ปี โดยที่ห้ นุ กู้มีมลู ค่าที่ตราไว้ (Par Value) ฉบับละ 1,000 บาท และมีอตั รา
ดอกเบี ้ยที่ระบุไว้ (Coupon Rate) เท่ากับ 10% และกําหนดจ่ายดอกเบี ้ยปี ละ 2 ครัง้
คําสัง่ :
4.1/ ภายหลังสองปี จากที่ออกขายหุ้นกู้พบว่าอัตราดอกเบี ้ยในตลาดลดลงเป็ น 6% ดังนัน้ เมื่อเวลาผ่านไป 2 ปี ราคาหุ้นกู้ ที่จะ
ขายควรเป็ นเท่าใด

4.2/ ถ้ าภายหลังสองปี จากที่ออกขายหุ้นกู้พบว่าอัตราดอกเบี ้ยของหุ้นกู้ชนิดเดียวกันเพิ่มขึ ้นเป็ น 12% ดังนันราคาหุ


้ ้ นกู้ที่จะขาย
ควรเป็ นเท่าใด

57 of 134
 
ธงข้ อ 4/

(4.1) ภายหลังสองปี จากที่ออกขายหุ้นกู้พบว่ าอัตราดอกเบีย้ ในตลาดลดลงเป็ น 6%  ดังนั้นราคาหุ้นกู้ (เมื่อ


เวลาผ่านไป 2 ปี ) ทีจ่ ะขายควรเป็ นเท่ าใด

(4.2)  ถ้ าภายหลังสองปี จากที่ออกขายหุ้นกู้พ บว่ าอัตราดอกเบีย้ ของหุ้นกู้ชนิดเดียวกันเพิม่ ขึน้ เป็ น    


          12% ดังนั้นราคาหุ้นกู้ทจี่ ะขายควรเป็ นเท่ าใด

58 of 134
 
5/ บริ ษัท ศาลายา จํากัด (มหาชน) ออกจําหน่ายหุ้นกู้อายุ 12 ปี โดยที่ห้ นุ กู้มีมลู ค่าที่ตราไว้ ฉบับละ 1,000 บาท และมีอตั รา
ดอกเบี ้ยที่ระบุไว้ (Coupon Rate) เท่ากับ 12% ต่อปี และกําหนดจ่ายชําระดอกเบี ้ยรายไตรมาส หากสมมติว่าสองปี ภายหลัง
จากที่ออกขายหุ้นกู้พบว่าอัตราดอกเบี ้ยในตลาดลดลงเป็ น 8% ต่อปี ให้ คํานวณหาราคาที่เหมาะสมของหุ้นกู้นี ้ เมื่อเวลาผ่านไป
2 ปี

59 of 134
 
ธงข้ อ 5/
ราคาที่เหมาะสมของหุน้ กู เมื่อเวลาผ่านไป 2 ปี เท่ากับ 1,273.55 บาทต่อฉบับ  
40   2 (8%/4)   30   1,000      
(48-8)   (120/4)   CPT   PV = -1,273.55  
N  I/Y   PMT   FV  

6/ บริ ษัท ลุ้นผ่าน ได้ ทําการออกหุ้นกู้ระยะกลาง โดยมีระยะเวลาครบกําหนด 2 ปี หุ้นกู้ที่ออกมีการจ่ายคูปองทุกครึ่งปี อัตรา


ดอกเบี ้ยคูปองเท่ากับ 8% ต่อปี หน้ าตัว๋ ของหุ้นกู้หนึ่งฉบับเท่ากับ 1,000 บาท อัตราดอกเบี ้ยในท้ องตลาดสําหรับบริ ษัทอยู่ที่
10% ท่านคิดว่าราคายุติธรรมของหุ้นกู้นี ้ควรอยูท่ ี่กี่บาท จงคํานวณหาราคาและแสดงวิธีทํา

60 of 134
 
แบบฝึ กหัด วิช า Corporate Finance สําหรั บ อาทิต ย์ ท่ ี 6 เรื่ อ ง Risk, Return and CAPM
1/ ถ้ าพอร์ ตโฟลิโอ (Portfolio) ของนายสุขมุ ใช้ เงินลงทุนในหุ้นเอ็ม 40% หุ้นดี 60% ของมูลค่าพอร์ ตการลงทุน โดยมี
ผลตอบแทนและความเสี่ยงของแต่ละหลักทรัพย์เป็ นไปตามข้ อมูลข้ างล่างนี ้

หลัก ทรั พ ย์ Expected return per year Standard deviation of return per year
หุ้นเอ็ม 15% 30%
หุ้นดี 20% 35%
อัตราผลตอบแทนของหุ้นเอ็มและหุ้นดี มีคา่ Correlation coefficient เท่ากับ 0.3

1.1/ จงคํานวณค่า Expected return per year ของพอร์ ตโฟลิโอของนายสุขมุ ให้ ตอบโดยใช้ ทศนิยมสองตําแหน่ง

1.2/ จงคํานวณค่า Standard deviation of return per year ของพอร์ ตโฟลิโอของสุขมุ ให้ ตอบโดยใช้ ทศนิยมสองตําแหน่ง

61 of 134
 
ธงข้ อ 1/
1.1/ E(Rp) = 0.4(15%) + 0.6(20%) = 18.00%

1.2/ Variance(Risky port) = [(0.4)^2*(0.3)^2 + (0.6)^2*(0.35)^2 + 2(0.4)(0.6)(0.3)(0.3)(0.35)]


= 0.07362^0.5
Sigma(Rp) = 0.07362^0.5 = 0.27133 = 27.13%

62 of 134
 
2/ มานพสร้ างพอร์ ตการลงทุนโดยมีห้ นุ X เป็ นเงิน 1,000,000 บาท และหุ้น Y เป็ นเงิน 1,500,000 จากสถานการณ์ทาง เศรษฐกิจ
ดังต่อไปนี ้
ผลตอบแทน
สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ ความน่าจะเป็ น
หุ้น X หุ้น Y
ภาวะถดถอย 0.25 -8% +10%

ปกติ 0.5 +10% +5%

ภาวะขยายตัว 0.25 +25% 0%

ถ้ าหุ้น X และ Y มีคา่ เบต้ า 1.2 และ 0.3 ตามลําดับ ผลตอบแทนที่ปราศจากความเสี่ยงเท่ากับ 5% และผลตอบแทน ของตลาด
เท่ากับ 8% ให้ :
2.1/ คํานวณหาอัตราผลตอบแทนที่ต้องการ (required rate of return) ของพอร์ ต
2.2/ ประเมินว่าราคาของพอร์ ตมีมลู ค่าตํ่ากว่าที่ควรจะเป็ น (Undervalued) หรื อสูงกว่าที่ควรจะเป็ น (Overvalued) หรื อว่า
ราคาเหมาะสม (Fairly Valued)

63 of 134
 
ธงข้ อ 2/
Portfolio’s beta = (1.2 x 0.4) + (0.3 x 0.6) = 0.66
Portfolio’s Required rate of return = Rf + (Rm – Rf).b
= 5 + (8-5) 0.66 = 6.98%
Required rate of return > Expected return -> มูลค่าสูงกว่าที่ควรจะเป็ น

64 of 134
 
3/ ถ้ าพอร์ ตโฟลิโอของสุขมุ ใช้ เงินลงทุนในหุ้นเอ็ม 30% หุ้นดี 40% และทองคําแท่ง 30% ของมูลค่าพอร์ ตการลงทุน โดยมี
ผลตอบแทนและความเสี่ยงของแต่ละหลักทรัพย์เป็ นไปตามข้ อมูลข้ างล่างนี ้
หลักทรัพย์ Expected return per year Standard deviation of return per year
หุ้นเอ็ม 15% 30%
หุ้นดี 20% 35%
ทองคําแท่ง 9% 25%
อัตราผลตอบแทนของหุ้นเอ็มและหุ้นดี มีคา่ Correlation coefficient เท่ากับ 0.3 ส่วนอัตราผลตอบแทนของทองคําแท่งไม่มี
ความสัมพันธ์กบั อัตราผลตอบแทนของหุ้นเอ็มและหุ้นดี จงคํานวณหาค่าดังต่อไปนี ้
3.1/ Expected return per year ของพอร์ ตโฟลิโอของสุขมุ
3.2/ Standard deviation of return per year ของพอร์ ตโฟลิโอของสุขมุ

65 of 134
 
ธงข้ อ 3/
3.1/ E(Rp) = 0.3(15%) + 0.4(20%) + 0.3(9%) = 15.2%
3.2/ Var(Risky port) = (0.3)^2*(0.3)^2 + (0.4)^2*(0.35)^2+(0.3)^2*(0.25)^2 + 2(0.3)(0.4)(0.3)(0.3)(0.35)+
2(0.3)(0.3)(0)(0.3)(0.25) + 2(0.4)(0.3)(0)(0.35)(0.25) = 0.04089
Sigma(Rp) = 0.04089^0.5 = 0.2022=20.22%

66 of 134
 
ข้ อ 4/
ถ้ าพอร์ ตโฟลิโอของเสรี ใช้ เงินลงทุนในหุ้นเอ 40% หุ้นบี 40% และหุ้นซี 20% ของมูลค่าพอร์ ตการลงทุน โดยมีผลตอบแทน
และความเสี่ยงของแต่ละหลักทรัพย์เป็ นไปตามข้ อมูลข้ างล่างนี ้
หลักทรัพย์ Expected return per year Standard deviation of return per year
หุ้นเอ 14% 30%
หุ้นบี 25% 45%
หุ้นซี 9% 15%

อัตราผลตอบแทนของหุ้นเอและหุ้นบี มีคา่ Correlation coefficient เท่ากับ 0.5 ส่วนอัตราผลตอบแทนของหุ้นเอและหุ้นซี มีคา่


Correlation coefficient เท่ากับ 0.3 และอัตราผลตอบแทนของหุ้นบีและหุ้นซี มีคา่ Correlation coefficient เท่ากับ 0 ให้
คํานวณหาค่าดังต่อไปนี ้
4.1/ Expected return per year ของพอร์ ตโฟลิโอ
4.2/ Standard deviation of return per year ของพอร์ ตโฟลิโอ

67 of 134
 
ธงข้ อ 4/
4.1/ E(Rp) = 0.4(14%) + 0.4(25%) + 0.2(9%) = 17.4%
4.2/ Var(Risky port) = (0.4)^2*(0.3)^2 + (0.4)^2*(0.45)^2+(0.2)^2*(0.15)^2 + 2(0.4)(0.4)(0.5)(0.3)(0.45)+
2(0.4)(0.2)(0.3)(0.3)(0.15) + 2(0.4)(0.2)(0)(0.45)(0.15) = 0.07146
Sigma(Rp) = 0.07146^0.5 = 0.26732=26.732%

68 of 134
 
ข้ อ 5/ นายซี มี ก ารลงทุ น ในพอร์ ต ตราสารหุ้ น ตาม portfolio composition, expected return, standard
deviation และ correlation matrix ข้ างล่างนี ้ โดยลงทุนเป็ น 70% ของความมัง่ คัง่ ที่เขามี ส่วนอีก 30% ลงทุน
ในเงินฝาก โดยได้ ดอกเบี ้ย 2% ต่อปี

Assets Weight (%) Beta Expected return Standard


deviation of
returns (%)
A 25% 0.9 8% 13%
B 40% 1.2 12% 17%
C 35% 1.5 15% 22%

Correlation matrix A B C
A 1.0 0.8 0.6
B 0.8 1.0 0.5
C 0.6 0.5 1.0

5.1/ จงคํานวณหาค่าผลตอบแทนที่คาดหวัง และ ความเสี่ยงที่วดั โดยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ


ผลตอบแทน ของพอร์ ตความมัง่ คัง่ ของนายซี
5.2/ ถ้ า ค่า ส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐานของผลตอบแทนของตลาด มี ค่ า เท่ า กับ 12% ต่ อ ปี จงหาค่า
correlation ของผลตอบแทนของพอร์ ตหุ้นกับผลตอบแทนของตลาด

69 of 134
 
ข้ อ 6/
พิจารณาสถานการณ์ทางเศรษฐกิจดังต่อไปนี ้
สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ ความน่าจะเป็ น ผลตอบแทน

หุ้น X หุ้น Y

ภาวะถดถอย 0.25 -5% +10%

ปกติ 0.5 +10% +5%

ภาวะขยายตัว 0.25 +20% 0%

6.1/ คุณควรจะเลือกลงทุนในสินทรัพย์ไหน แสดงวิธีทํา


6.2/ ถ้ าหุ้น X และ Y มีคา่ เบต้ า 1.2 และ – 0.3 ตามลําดับ ผลตอบแทนที่ปราศจากความเสี่ยงเท่ากับ 5% และ ผลตอบแทนของ
ตลาดเท่ากับ 8% จงหาอัตราผลตอบแทนที่ต้องการ (required rate of return) ของหุ้น X และ Y และหาว่าราคาของหุ้น X และ
Y มีมลู ค่าตํ่ากวาที่ควรจะเป็ น สูงกว่าที่ควรจะเป็ น หรื อว่าราคาเหมาะสม

70 of 134
 
ธงข้ อ 6/
6.1/
หุ้น X: r = 0.25 (-5%) + 0.5 (+10%) + 0.25 (+20%) = 8.75%
Std = [(-5.0 – 8.75)0.25 + (10 – 8.75)0.50 + (20.0 – 8.75)0.25]^0.5 = 8.93%
CV = 8.93 / 8.75 = 1.02 (1 คะแนน)
หุ้น Y: r = 0.25 (+10%) + 0.5 (+5%) + 0.25 (0%) = 5%
Std = [0.25(10-5)^2 + 0.50(5-5)^2 + 0.25(0-5)^2]^0.5 = 3.54%
CV = 3.54 / 5 = 0.71 (1 คะแนน)
ดังนัน้ เราควรเลือกลงทุนในหุ้น Y เพราะ CV ตํ่ากว่า

6.2/ ถ้ าหุ้น X และ Y มีคา่ เบต้ า 1.2 และ – 0.3 ตามลําดับ ผลตอบแทนที่ปราศจากความเสี่ยงเท่ากับ 5% และ ผลตอบแทนของ
ตลาดเท่ากับ 8% จงหาอัตราผลตอบแทนที่ต้องการ (required rate of return) ของหุ้น X และ Y และหาว่า ราคาของหุ้น X และ
Y มีมลู ค่าตํ่ากว่าที่ควรจะเป็ น สูงกว่าที่ควรจะเป็ น หรื อว่าราคาเหมาะสม
Rx = 5% + (8%-5%) 1.25 = 8.75% -> มูลค่าเหมาะสม
Ry = 5% + (8%-5%) (-0.3) = 4.1% -> มูลค่าตํ่ากว่าที่ควรจะเป็ น

71 of 134
 
7/ ถ้ านักลงทุนมีการคาดการณ์ผลตอบแทนของหลักทรัพย์ A และ B และมีการลงทุน ตามตารางข้ างล่างนี ้
หลักทรัพย์ A หลักทรัพย์ B
Weight 60% 40%
Expected Return [E(r)] 12% 8%
Standard Deviation of Return 20% 16%
Correlation between A and B 0.6

ให้ คํานวณหาค่าต่อไปนี ้
7.1/ ค่าผลตอบแทนที่คาดหวังของพอร์ ตการลงทุน
7.2/ ค่าความเสี่ยงของพอร์ ตการลงทุนนี ้

72 of 134
 
8/ คํากล่าวที่ว่า “high risk, high return” สําหรับการลงทุนทางการเงินนัน้ ท่านเห็นด้ วย หรื อไม่เห็นด้ วย ด้ วยเหตุผล และ
ภายใต้ เงื่อนไขใด

9/ ตาม Capital Assets Pricing Model (CAPM) ผลตอบแทนที่ ค าดหวัง (Expected Return) ของสิ น ทรั พ ย์ ท างการเงิ น
(Financial Assets) จะขึ ้นอยูก่ บั ค่าความเสี่ยงที่วดั โดยค่าเบต้ า (ถ้ าเขียนคําตอบไม่พอให้ ใช้ หน้ าหลังของกระดาษแผ่นนี ้)
9.1/ ค่าเบต้ ามีความหมายว่าอย่างไร เช่น ถ้ าค่าเบต้ าของหุ้น AIS เท่ากับ 1.3 มีความหมายว่าอย่างไร
9.2/ ทําไมผลตอบแทนที่คาดหวัง (Expected Return) ถึงไม่ขึ ้นอยูก่ บั ค่าความเสี่ยงทังหมดของสิ
้ นทรัพย์นนที
ั ้ ่วดั โดย Standard
Deviation of Returns แต่กลับขึ ้นกับค่าเบต้ า

73 of 134
 
10/ บริษัท รูนี่ จํากัด ดําเนินธุรกิจตามหนี ้ กําไรของบริษัทผันผวนขึ ้นลงสูงมาก (ความผันผวนสะท้ อนความเสี่ยงในธุรกิจ) ในแต่
ละปี และรายได้ ของธุรกิ จมี ลักษณะสวนกับภาวะเศรษฐกิ จและภาวะตลาดหุ้น (counter-cyclical), บริ ษัท ตอเรส จํ ากัด
ดําเนินธุรกิจอาหาร กําไรของบริ ษัทผันผวนขึ ้นลงบ้ างในแต่ละปี และรายได้ ของธุรกิจมีลกั ษณะไม่ขึ ้นกับภาวะเศรษฐกิจและ
ภาวะตลาดหุ้น (acyclical) เพราะอาหารเป็ นของจําเป็ น, บริ ษัท รอบเบ็น จํากัด ดําเนินธุรกิจอสังหา ฯ กําไรของบริ ษัทผันผวน
บ้ าง และรายได้ ของธุรกิจมีลกั ษณะตามภาวะเศรษฐกิจและภาวะตลาดหุ้น (pro-cyclical)
ท่านคิดว่าผลตามแทนที่คาดหวังหรื อที่ตลาดต้ องการ (expected return or required rate of return) ของหุ้นของทัง้
3 บริ ษัท จะเป็ นเช่นใด เมื่อเปรี ยบเทียบกับ อัตราผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาล และระหว่างกันเอง (หุ้นใดควรให้ ความ
ผลตอบแทนสูงสุด เรี ยงตามลําดับ ลงมา) โดยใช้ กรอบของ CAPM

11/ จากข้ อ ความที่ ว่ า “ความเสี่ ย งที่ มี ผ ลต่อ Portfolio ของนัก ลงทุน ประเภท Diversified Investor มี เ ฉพาะ Market Risk
เท่านัน”
้ ขอให้ ท่านใช้ Capital Asset Pricing Model (CAPM) มาอธิ บายว่าทําไมจึงเป็ นเช่นนัน? ้ และนักลงทุนประเภทนี ้ทํา
อย่างไรจึงสามารถกระจายความเสี่ยงให้ เหลือเฉพาะ Market Risk ได้ ?

74 of 134
 
12/ สมชายเป็ นนักลงทุนที่ไม่ชอบความเสี่ยงเลย กลยุทธ์ การลงทุนของสมชาย คือ แบ่งเงิน 5 เปอร์ เซ็นต์ ของที่มีอยู่ไปซื ้อ
ทองคํ า เก็ บ ไว้ ส่ว นเงิ น ที่ เ หลื อ ทัง้ หมด นํ า ไปฝากบัญ ชี อ อมทรั พ ย์ กับ ธนาคาร ถามว่ า พอร์ ต การลงทุน ของสมชายจะให้
ผลตอบแทนกี่ เ ปอร์ เ ซ็น ต์ แ ละมี ค วามเสี่ ยงที่ วัด ด้ ว ยค่า ส่ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) กี่ เ ปอร์ เซ็น ต์ หาก
ผลตอบแทนจากการลงทุนในทองคําไม่มีความสัมพันธ์กบั อัตราดอกเบี ้ยเงินฝากออมทรัพย์ และผลตอบแทนกับความเสี่ยงของ
ทองคํากับเงินฝากออมทรัพย์เป็ นไปตามตารางข้ างล่างนี ้

ทองคํา เงินฝากบัญชีออมทรัพย์
ผลตอบแทน (%) 12 0.5
ความเสี่ยง (Standard Deviation) (%) 20 0

75 of 134
 
แบบฝึ กหัด วิช า Corporate Finance สําหรั บ อาทิต ย์ ท่ ี 7 เรื่ อ ง Stock valuation and EMH
1/ จงตอบคําถามต่อไปนี ้
1.1/ จงอธิบายความหมาย และนัยสําคัญที่มีตอ่ นโยบายการลงทุนหุ้นในตลาดทุน (Implications for stock Investment
Strategy) ที่ระดับประสิทธิภาพของตลาดทุน (Market Efficiency) ดังต่อไปนี ้
- Weak-Form Market Efficiency
- Semi-strong-Form Market Efficiency
- Strong-Form Market Efficiency

1.2/ ตามแนวความคิดทฤษฎี market efficiency จงตอบว่าเหตุการณ์ 2 กรณีข้างล่างนี ้สอดคล้ องกับความมีประสิทธิภาพของ


ตลาดทุนในระดับใดและตอบด้ วยว่ามีประสิทธิภาพหรื อไม่ (2 คะแนน)
 กรณีที่นายนิเวศน์ เป็ นนักลงทุนที่มีความรู้ทางการเงินธุรกิจเป็ นอย่างดี และลงทุนตามปั จจัยพื ้นฐานและบทวิเคราะห์
้ งดูตามแนวโน้ มราคาหุ้นอีกด้ วย นายนิเวศน์ ได้ รับกําไรตามผลตอบแทนจากการลงทุนเกินปกติตลาดหุ้น
หุ้น ทังยั
ขณะนันอย่้ างมาก
 กรณีที่นายก่อสุข เป็ นผู้บริหารระดับสูงของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ซึง่ รู้ข้อมูลผลประกอบการของ
บริษัทเป็ นอย่างดี และยังสามารถเข้ าถึงข้ อมูลของบริ ษัทก่อนนักลงทุนทัว่ ไป นายก่อสุขได้ ทําการซื ้อขายหุ้นตาม
ข้ อมูลดังกล่าวทําให้ ได้ กําไรเกินปกติอย่างมาก

76 of 134
 
ธงข้ อ 1/
1.1/
 Weak form ข้ อมูลซื อ้ ขายถูกสะท้ อนในราคาแล้ ว ดังนัน้ ใช้ ราคาในอดี ต หรื อ Technical Analysis มาช่วยในการ
ลงทุนก็ไม่มีประโยชน์ แต่ถ้าใช้ วิเคราะห์พื ้นฐาน อาจได้ กําไรเกินปกติ
 Semi-strong form ข้ อมูลสาธารณะสะท้ อนในราคาแล้ ว ดังนัน้ การวิเคราะห์พื ้นฐาน หรื อ Fundamental Analysis
หรื อวิเคราะห์ราคาในอดีตแบบ Technical Analysis ก็ไม่ช่วยให้ เกิดกําไรเกินปกติ จะต้ องใช้ ข้อมูล Inside เท่านันเพื ้ ่อ
การลงทุน ถึงจะได้ กําไรเกินปกติ
 Strong form ข้ อ มูล ทุก อย่ า งทัง้ Private และ Public สะท้ อ นในราคาแล้ ว ดัง นัน้ คาดหวัง ได้ เ พี ย งผลตอบแทน
ตามปกติ เ ท่ า นัน้ การวิ เ คราะห์ ทัง้ Technical หรื อ Fundamental Analysis หรื อ ใช้ ข้ อ มูล Inside ก็ ไ ม่ ช่ ว ยให้ ไ ด้
ผลตอบแทนเกินปกติ
1.2/
- กรณีนายนิเวศน์( เป็ นSemi-strong form, inefficiency market)
- กรณีนายก่อสุข ( เป็ นStrong form, inefficiency market)

77 of 134
 
2/ ถ้ าเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2555 ที่ผา่ นมา บริษัท อนันต์ทารา จํากัด (มหาชน) แถลงว่าบริษัทมีกําไรสุทธิประจําปี 2555 เท่ากับ
้ นี ้บริษัทจะจ่ายปั นผลเป็ นครัง้ แรกให้ ผ้ ถู ือหุ้น จงใช้ ข้อมูลด้ านล่าง
72 ล้ านบาท และได้ ล้างขาดทุนสะสมได้ สําเร็จแล้ ว ดังนันในปี
นี ้เพื่อตอบคําถาม
 บริษัทมีนโยบายจ่ายเงินปั นผลร้ อยละ 50 ของกําไรสุทธิ
 บริษัทมี Market Cap ณ วันที่ 1 ธันวาคม 2555 เท่ากับ 1,000 ล้ านบาท
 ราคาหุ้นของบริ ษัท ณ วันที่ 1 ธันวาคม 2555 เท่ากับ 5 บาท
คําสัง่ :
(2.1) ผู้ถือหุ้นจะได้ เงินปั นผลหุ้นละกี่บาท
(2.2) ถ้ าราคาหุ้นก่อนจ่ายเงินปั นผลของบริ ษัทคงที่ในอัตรา 5 บาทต่อหุ้นตลอดมา หลังจากขึ ้นเครื่ องหมาย XD ราคาหุ้น
ของบริษัทควรเท่ากับกี่บาทต่อหุ้น (ไม่คํานึงถึงภาษี )

78 of 134
 
ธงข้ อ 2/
2.1/ ผู้ถือหุ้นจะได้ เงินปั นผลหุ้นละกี่บาท
บริษัทจ่ายปั นผลได้ = 0.5*72 = 36 ล้ านบาท
บริษัทมีห้ นุ 200 ล้ านหุ้น (1,000 ล้ านบาทหารด้ วยหุ้นละ 5 บาท)
ดังนัน้ ปั นผลต่อหุ้น = 36/200 = 0.18 บาทต่อหุ้น

2.2/ ถ้ าราคาหุ้นก่อนจ่ายเงินปั นผลของบริ ษัทคงที่ในอัตรา 5 บาทต่อหุ้นตลอดมา หลังจากขึ ้นเครื่ องหมาย XD ราคาหุ้นของ


บริษัทควรเท่ากับกี่บาทต่อหุ้น
ราคาซื ้อขายหุ้นควรจะอยูท่ ี่ = 5-0.18 = 4.82 บาทต่อหุ้น หลังวันขึ ้นเครื่ องหมาย XD

79 of 134
 
3/ หากงานวิจัยเรื่ องกองทุนรวมในประเทศไทยมักพบข้ อสรุ ปคล้ าย ๆ กัน คือ ผู้จัดการกองทุนที่บริ หารกองทุนต่าง ๆ มักไม่
สามารถเอาชนะผลตอบแทนของดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ( Return of the SET Index) หรื อพูดอีกนัยหนึ่งก็คือ
ผู้จดั การกองทุนส่วนใหญ่ไม่สามารถทํากําไรได้ เกินกว่ากําไรปกติ เพราะผู้จดั การกองทุนในประเทศไทยใช้ แต่เพียงข้ อมูลการซื ้อ
ขายหลักทรัพย์ในอดีตและข้ อมูลที่เป็ นสาธารณะในการบริหารกองทุนในประเทศไทย
จากประโยคที่กล่าวมาข้ างต้ น จะสรุปได้ วา่ ตลาดหลักทรัพย์ในประเทศไทยมีประสิทธิภาพในระดับใด จงอธิบาย

80 of 134
 
ธงข้ อ 3/
กรณี งานวิจัยเรื่ องกองทุนรวมในประเทศไทยเป็ น Semi-strong form efficient market เพราะ Semi-strong form
efficient market คือ การที่ข้อมูลสาธารณะสะท้ อนในราคาหลักทรัพย์แล้ ว ดังนัน้ การวิเคราะห์พื ้นฐาน หรื อFundamental
Analysis รวมทังวิ้ เคราะห์ราคาในอดีตแบบ Technical Analysis ก็ไม่ช่วยให้ เกิดกําไรเกินปกติ จะต้ องใช้ ข้อมูล Inside เท่านัน้
เพื่อการลงทุน ถึงจะได้ กําไรเกินปกติ

81 of 134
 
4/ บริ ษัท SHINS จํากัด คาดว่าจะจ่ายเงินปั นผลสําหรับผู้ถือหุ้นสามัญได้ 5 บาทต่อหุ้นในปี หน้ า (D1 = 5 บาท) และคาดว่า
บริ ษัทจะสามารถจ่ายเงินปั นผลได้ เพิ่มขึ ้นในอัตรา 4% ของเงินปั นผลในปี ก่อนตลอดไป และปั จจุบนั ราคาหุ้นของบริ ษัทอยูท่ ี่ 50
บาท
4.1/ นักลงทุนหรื อผู้ถือหุ้นได้ คาดหวังผลตอบแทน (r) ในอัตราเท่าใด? สําหรับหุ้นสามัญของบริษัทนี ้
4.2/ หากนักลงทุนหรื อผู้ถือหุ้นยังคาดหวังผลตอบแทนตามข้ อ ก. แต่ปรากฏว่าบริ ษัทเปลี่ยนนโยบายเป็ นจ่ายเงินปั นผลคงที่คือ
จ่ายที่ 5 บาททุกปี (g = 0%) ราคาหุ้นสามัญของบริ ษัท SHINS จะลดลงเท่าไรเมื่อเทียบกับราคาหุ้นในปั จจุบนั ?

5/ หุ้น ก. เป็ นหุ้นที่จ่ายปั นผลสมํ่าเสมอในอัตราหุ้นละ 10 บาทคงที่ทกุ ปี ในขณะที่ห้ นุ ข. เป็ นหุ้นที่จ่ายปั นผลตํ่ากว่า คือ คาดว่า
เงินปั นผลจะเป็ น 5 บาทต่อหุ้นในปี หน้ า แต่เงินปั นผลของหุ้น ข. นันเพิ
้ ่มขึ ้นทุกปี ๆ ละ 2% เมื่อเทียบกับปี ก่อนหน้ า หากหุ้นทัง้
2 มีราคา (P0) เท่ากันที่ 100 บาทในปั จจุบนั จงหาราคาหุ้น ก. และราคาหุ้น ข. ในปี ที่ 4 (P4) หากอัตราผลตอบแทนที่คาดหวัง
ของทังสองหุ
้ ้ นนันยั
้ งคงที่

82 of 134
 
6/ บริ ษัท ลุ้นเทอมหน้ า ประกาศจ่ายเงินปั นผลปี นี ้ที่ 10 บาท จากผลประกอบการคือกําไรสุทธิต่อหุ้น 40 บาท ตลาดหลักทรัพย์
ยังไม่ได้ ประกาศขึ ้นป้าย XD (Exclude Dividend) สําหรับหุ้นของบริ ษัท บริ ษัทมีนโยบายรักษาสัดส่วนระหว่างหนี ้สินต่อทุนให้
เท่าเดิม (D/E ratio) และไม่มีนโยบายออกหุ้นสามัญเพิ่มทุน ผลตอบแทนต่อส่วนทุน (ROE) ของบริ ษัทในแต่ละปี มีเสถียรภาพ
อยู่ที่ 15% ถ้ านักลงทุนต้ องการผลตอบแทนจากการลงทุนในหุ้นนี ้ที่ 20% ท่านคิดว่าราคายุติธรรม (Fair Value) ของหุ้นบริ ษัท
นี ้ ควรอยู่ที่เท่าใด จงคํานวณหาราคา และแสดงวิธีทํา ตามวิธี Dividend Discounted Model (Gordon Constant Growth
Model)

7/ บริ ษัทโกอินเตอร์ เป็ นบริ ษัทที่มีอตั ราการทํากําไร (Return on Equity: ROE) คงที่และจ่ายเงินปั นผลในอัตราที่เพิ่มขึ ้นอย่าง
สมํ่าเสมอมาตลอดช่วงเวลา 5 ปี ที่ผา่ นมา โดยบริษัทนี ้มีอตั ราส่วน ROE เท่ากับ 15% และมีอตั ราการจ่ายเงินปั นผลร้ อยละ 60
ของกําไรสุทธิ (Payout ratio) อย่างไรก็ตามในปี นี ้ บริ ษัทโกอินเตอร์ ได้ ทําการเปิ ดตัวสินค้ าตัวใหม่ด้วยยอดขายที่สงู มาก รายได้
และเงินปั นผลคาดว่าจะโต 15% ในสองปี แรก และ 30%ในปี ที่สาม และหลังจากนันจะโตแบบคงที ้ ่เทียบเท่าอดีต 5 ปี ที่ผ่านมา
ตลอดไป ปี นี ้ทางบริ ษัทโกอินเตอร์ จะจ่ายเงินปั นผลเป็ นจํานวนเงิน 8 บาทต่อหุ้น และโดยเฉลี่ยแล้ วเมื่อดัชนีตลาดหุ้นปรับตัว
เพิ่มขึ ้นหนึ่งเปอร์ เซ็นต์ราคาหุ้นของบริ ษัทจะปรับตัวเพิ่มขึ ้นด้ วย 1.6 เปอร์ เซ็นต์ ผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอยู่ที่ 5% ต่อปี
และผลตอบแทนโดยเฉลี่ยของตลาดหุ้นอยูท่ ี่ 12% ต่อปี
จงหามูลค่าที่เหมาะสมของหุ้นบริษัทโกอินเตอร์ ซงึ่ ยังไม่ XD (7 คะแนน)

83 of 134
 
ธงข้ อ 7/
Re = rrf + b (rm – rrf)
= 5% + (12% - 5%)*1.6 = 16.2%
D0 = 8
D1 = 8 * 1.15 = 9.2, D2 = 9.2*1.15 = 10.58, D3 = 10.58*1.3= 13.754
G = ROE * Retention ratio = 15% * (1-0.6) = 6%
D4 = 13.754 * 1.06 = 14.579

P3 = D4 / (re – g)
= 14.579 / (0.162 – 0.06) = 142.93

P0 = 8 + 9.2 / 1.162 + 10.58 / 1.162^2 + 13.754 / 1.162^3 + 142.93 / 1.162^3


= 8 + 7.92 + 7.84 + 8.77 + 91.10 = 123.62

84 of 134
 
แบบฝึ กหัด วิช า Corporate Finance สําหรั บ อาทิต ย์ ท่ ี 8 เรื่ อ ง WACC
1/ จงคํานวณต้ นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงนํ ้าหนักของเงินทุน (WACC) ของบริ ษัท สุขสันต์คอนสตรักชัน่ จํากัด บริ ษัทฯ มีเงินลงทุนรวม
้ ้น 315 ล้ านบาท โดยโครงสร้ างเงินทุนมาจากหนี ้สิน 30% และส่วนของเจ้ าของ 70% ต้ นทุนของเงินทุนแต่ละแหล่งมีข้อมูล
ทังสิ
ดังนี ้
• ขณะนี ้บริษัทมีอตั ราดอกเบี ้ยจ่ายก่อนหักภาษี ที่ 7% และเสียภาษี ที่อตั รา 20%
• อัตราผลตอบแทนพันธบัตรอายุ 1 ปี เท่ากับ 3.50% และอัตราผลตอบแทนเฉลี่ยของตลาดฯ เท่ากับ 14%
• ปั จจุบนั ค่าเบต้ าของบริษัท เท่ากับ 1.12

85 of 134
 
ธงข้ อ 1/
Kd(AT) = 7%(1-0.2) = 5.6%

Ks = 3.5% + (14-3.5)1.12 = 15.26%

WACC = (30%)(5.6%) + (70%)(15.26%)


= 1.68% + 10.682%
= 12.362%

86 of 134
 
2/ บริ ษัท เด็กดอย-ผลไม้ จํากัด มีสดั ส่วนโครงสร้ างเงินทุนดังนี ้ สัดส่วนหนี ้ 30% เป็ นเงินกู้ระยะยาวจากธนาคารที่อัตรา
ดอกเบี ้ยก่อนหักภาษี ที่ 8% ต่อปี อัตราภาษี นิติบคุ คลเท่ากับ 20%และสัดส่วนเงินทุนจากหุ้นสามัญ 70% บริ ษัทฯมีนโยบาย
การจ่ายเงินปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นสามัญปี ละครัง้ และเมื่อปลายเดือนที่แล้ วเพิ่งจ่ายเงินปั นผลที่ 1.22 บาทต่อหุ้น ราคาหุ้นสามัญ
ปั จจุบนั อยูท่ ี่ 56.00 บาทต่อหุ้น และบริษัทฯคาดว่าจะเติบโตคงที่ที่อตั รา 7% ต่อปี
2.1/ ต้ นทุนจากการกู้ยืมสุทธิจากภาษี คืออัตราร้ อยละ (%) เท่าใด
2.2/ ต้ นทุนจากการลงทุนในหุ้นสามัญ คืออัตราร้ อยละ (%) เท่าใด
2.3/ ต้ นทุนเงินทุนถัวเฉลี่ยถ่วงนํ ้าหนักของบริ ษัทฯ (WACC) คืออัตราร้ อยละ (%) เท่าใด

87 of 134
 
ธงข้ อ 2/
Rd(AT) = 8%(1-0.2) = 6.4% (คําตอบ2.1)
RS = 1.22x(1+0.07)/56 + 7% = 9.33%(คําตอบ2.2)
WACC = (30%)(6.4%) + (70%)(9.33%)
= 1.920% + 6.531% = 8.45%(คําตอบ2.3)

88 of 134
 
3/ บริ ษัท กรุ งเก่า จํากัด มีเงินลงทุนรวมทังสิ
้ ้น 20 ล้ านบาท โดยโครงสร้ างเงินทุนที่หนีส้ ิน 35% และส่วนของเจ้ าของ 65%
ต้ นทุนของเงินทุนแต่ละแหล่งมีข้อมูลดังนี ้
 ขณะนี ้บริษัทฯมีอตั ราดอกเบี ้ยก่อนภาษี ที่ 7% และอัตราภาษี 20%
 บริ ษัทคาดว่าจะจ่ายเงินปั นผลหุ้นสามัญในปี หน้ า 2.14 บาทต่อหุ้น เงินปั นผลหุ้นสามัญมีอตั ราการเติบโตปี ละ 7%
ราคาหุ้นสามัญในขณะนี ้หุ้นละ 29.75 บาท
ให้ คํานวณต้ นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงนํ ้าหนักของเงินทุน(WACC) ของบริษัท กรุงเก่า จํากัด

89 of 134
 
ธงข้ อ 3/
Rd(AT) = 7%(1-0.2) = 5.6%

Re = + 0.07 = 14.193%

WACC = (35%)(5.6%) + (65%)(14.193%)


= 1.96% + 9.22%
= 11.18%

สมการ
Rd(AT) = Rd(1-T)

KS = D1/P + g

WACC = Wd Rd(AT) + WPsRps + WeRe

90 of 134
 
4/ บริ ษั ท เอชัว ร์ จํ า กัด มี นโยบายในการจัดหาเงิ นทุนโดยใช้ เฉพาะหนี ส้ ิน (Debt) และส่ว นทุน (Equity) โดยกํ าหนดให้ มี
อัตราส่วนหนีส้ ินต่อทุน (Debt to Equity ratio, D/E) เท่ากับ 1.5 เท่า บริ ษัทเสียภาษี เงินได้ นิติบุคคลในอัตรา 20% ของกําไร
ก่อนหักภาษี เงินได้ นิติบคุ คล
บริ ษัทสามารถกู้ยืมเงินจากธนาคารได้ ที่อตั ราดอกเบี ้ย 6% ต่อปี สําหรับหุ้นของบริ ษัทนัน้ พบว่า โดยเฉลี่ยแล้ วเมื่อ
ผลตอบแทนของตลาดหลักทรั พย์เพิ่มขึน้ 1% ผลตอบแทนของหุ้นบริ ษัทจะเพิ่มขึน้ 0.8% และโดยปกติแล้ วตลาดหุ้นจะให้
ผลตอบแทนสูงกว่าพันธบัตรรัฐบาลอยู่ 7% ในขณะนี ้ผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาลอยูท่ ี่ 3% ต่อปี
ถ้ าบริษัทกําลังพิจารณาโครงการลงทุนใหม่ซงึ่ ให้ ผลตอบแทนภายใน (Internal Rate of Return, IRR) เท่ากับ 6.2% ต่อปี
คําสัง่
4.1/ ให้ ทา่ นคํานวณหาต้ นทุนทางการเงินของบริษัท (WACC)
4.2/ ท่านคิดว่าบริษัทควรทําโครงการลงทุนใหม่นี ้หรื อไม่

91 of 134
 
ธงข้ อ 4/
D/E = 1.5
Wd = 1.5/(1+1.5) = 60%
We= 40%
Re = 3 + 0.8 x 7 = 8.6%
WACC = 0.6x(1-0.2)x6% + 0.4x8.6% = 6.32%
ไม่ควรลงทุนเพราะ IRR < WACC

92 of 134
 
5/ ในปี นี ้ผลกําไรสุทธิของบริ ษัท สามัคคีไทย จํากัด เท่ากับ 600 ล้ านบาท บริ ษัทต้ องเสียภาษี นิติบคุ คลในอัตราร้ อยละ 20 และ
บริ ษัทมีภาระดอกเบี ้ยจ่ายเท่ากับ 90 ล้ านบาท บริ ษัทมีมลู ค่าทางบัญชีของส่วนทุน (Equity) จํานวน 2,450 ล้ านบาท (โดย
บริ ษัทมีมลู ค่าทางบัญชีของส่วนทุนเท่ากับมูลค่าทางการตลาดของส่วนทุน) บริ ษัทมีภาระหนี ้สินคงที่เท่ากับ 1,000 ล้ านบาท
โดยหนี ้ทังหมดเป็
้ นประเภทหนี ้เงินกู้ยืมธนาคาร ค่าเบต้ าของหุ้นบริ ษัทอยู่ที่ 1.4 เท่า ดอกเบี ้ยพันธบัตรรัฐบาลเท่ากับร้ อยละ 4
และค่าผลตอบแทนของการชดเชยความเสี่ยงของตลาดหุ้น( market risk premium) อยูท่ ี่ร้อยละ 8
คําสัง่ :
5.1/ คํานวณหาอัตราต้ นทุนของเงินทุนถัวเฉลี่ย (Weighted Average Cost of Capital: WACC)
5.2/ คํานวณหาค่า EVAของธุรกิจ (Economic Value Added of Firm)

93 of 134
 
ธงข้ อ 5/
5.1/ คํานวณหา WACC
E= 70M x 35 = 2,450M, D= 1,000M, V=E+D=3,450M
R(equity) = 4% + 1.4x8% = 15.2%
R(debt) = 90/1000 = 9%
WACC = (2450/3450)*15.2% + (1000/3450)*9%*(1 – 0.2) = 12.88%

5.2/ คํานวณหาค่า EVA


ที่มาของการคํานวณหา EBIT แสดงไว้ ดงั นี ้:
EBIT 840M
-I -90M
EBT 750M
-T(20%) -150M
NI 600M

ใช้ สตู รคํานวณหา EVA


EVA = Net Income – (Equity Capital)(Cost of Equity) = 600M- (0.152x2450M) = 227.61M

94 of 134
 
6/ บริ ษัทหนังสือดีออนไลน์ จํากัด มีสดั ส่วนโครงสร้ างเงินทุนดังนี ้ สัดส่วนหนี ้ 40% เป็ นเงินกูระยะยาวจาก ธนาคารที่อตั รา
ดอกเบี ้ยก่อนหัก ภาษี ที่ 9% ต่อปี อัตราภาษี นิติบคุ คลเท่ากบ 20◌ั %และสัดส่วนเงินทุนจากหุ้น สามัญ 60% บริษัทฯมีนโยบาย
การจ่ายเงินปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นสามัญปี ละครัง้ และเมื่อสิ ้นปี ที่แล้ วเพิ่งจ่ายเงินปั นผลที่ 1.5 บาทต่อหุ้น ราคาหุ้นสามัญปั จจุบนั
อยูท่ ี่ 50 บาทต่อหุ้น และบริ ษัทคาดวาจะเติบโต คงที่ที่อตั รา 6% ต่อปี
คําสัง่ : ให้ ทา่ นตอบคําถามต่างๆ ดังต่อไปนี ้
6.1/ ต้ นทุนจากการกู้ยืม จากธนาคารสุทธิจากภาษี คืออัตราร้ อยละเท่าใด
6.2/ ต้ นทุนจากการลงทุนในหุ้นสามัญคืออัตราร้ อยละเท่าใด
6.3/ ต้ นทุนเงินทุนถัวเฉลี่ยถ่วงนํ ้าหนักของบริษัทฯ (WACC) คืออัตราร้ อยละเท่าใด

95 of 134
 
ธงข้ อ 6/
Rd(AT) = 9%(1-0.2) = 7.2% (คําตอบ 6.1)
RS = 1.5(1+0.06)/50 + .06 = 9.18% (คําตอบ 6.2)
WACC = (40%)(7.2%) + (60%)(9.18%) = 2.88% + 5.51% = 8.39%(คําตอบ 6.3)

96 of 134
 
ข้ อ 7/
บริ ษัท ไทยไทยไทย จํากัด (มหาชน) มีเป้าหมายโครงสร้ างทางการเงิน คือ มีสดั ส่วนหนี ้ต่อทุน เป็ น 1 : 4 จงคํานวณหาต้ นทุน
ทางการเงินเฉลี่ยของบริษัท (Weighted Average Cost of Capital, WACC) โดยใช้ ข้อมูลประกอบอื่น ๆ ดังนี ้
 บริ ษัทมีหนี ้เงินกู้กบั ธนาคารแห่งหนึง่ ณ อัตราดอกเบี ้ยคงที่ 7% ต่อปี
 หุ้นของบริษัทมีคา่ เบต้ าเท่ากับ 1.4
 บริษัทเสียภาษี เงินได้ นิติบคุ คลเท่ากับ 30%
 บริษัทนี ้มีนโยบายปั นผล 100% ของกําไรสุทธิ
 ผลตอบแทนต่อส่วนผู้ถือหุ้น (Return on Equity) เท่ากับ 13%
 ปี ที่แล้ วบริษัทได้ จ่ายเงินปั นผล 2 บาทต่อหุ้น
 ราคาหุ้นของบริษัท ณ ปั จจุบนั เท่ากับ 10 บาทต่อหุ้น

97 of 134
 
ข้ อ 8/ บริษัท อาหารแช่แข็ง ฟรี ซ จํากัด (มหาชน) มีมลู ค่าตลาดของกิจการ 2,000 ล้ านบาท มีสว่ นของเจ้ าของตามมูลค่าตลาด
1,400 ล้ านบาท เสียภาษี นิติบุคคลในอัตรา 30% หุ้นบริ ษัทฯมีค่าเบต้ า 1.3 อัตราผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาลเท่ากับ
4.5% อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ (Market Return) เท่ากับ 13% และบริ ษัทฯได้ ออกหุ้นกู้ให้ อตั รา
ผลตอบแทนกับนักลงทุนเมื่อถือครบอายุ (Yield-to-Maturity) เท่ากับ 7.5% จงคํานวณหาต้ นทุนเงินทุน (After-Tax Weighted
Average Cost of Capital, WACC) ของบริ ษัทนี ้

ข้ อ 9/ บริ ษัท เมสซี่ จํากัด มีสนิ ทรัพย์ตามมูลค่าตลาดที่ 100 ล้ านบาท และมีภาระหนี ้สินตามมูลค่าตลาดที่ 60 ล้ านบาท บริษัท
เสียภาษี เงินได้ นิติบคุ คลที่ 30 เปอร์ เซ็นต์ นักวิเคราะห์ลงความเห็นว่า บริ ษัทนี ้ อยู่ในธุรกิจที่อยู่ตวั แล้ ว (mature industry) จะมี
การเติบโตของกําไรสุทธิและเงินปั นผลที่สมํ่าเสมอ ไม่หวือหวา อยู่ที่ 5 เปอร์ เซ็นต์ ต่อปี บริ ษัทจ่ายเงินปั นผลปี ที่แล้ ว (D0) ที่ 2
บาท ต่อหุ้น ราคาหุ้นของบริ ษัทในปั จจุบนั อยู่ที่ 30 บาท ต่อหุ้น บริ ษัทสามารถกู้โดยเสียอัตราดอกเบี ้ย 8 เปอร์ เซ็นต์ ต่อปี จง
คํานวณหาต้ นทุนทางการเงิน (WACC: Weighted Average Cost of Capital) ของบริ ษัท เมสซี่ จํากัด

98 of 134
 
ข้ อ 10/ บริ ษัทสินสยาม มีโครงสร้ างเงินทุนดังนี ้ 60 เปอร์ เซ็นต์จากหนี ้ 40 เปอร์ เซ็นต์จากส่วนทุน บริ ษัทเสียภาษี นิติบคุ คลใน
อัตรา 25 เปอร์ เซ็นต์ ต้ นทุนดอกเบี ้ยของบริ ษัทเท่ากับ 6 เปอร์ เซ็นต์ และค่าเบต้ าของหุ้นบริ ษัท เท่ากับ 1.2 ในปั จจุบนั อัตรา
ดอกเบีย้ พันธบัตรรัฐบาลอยู่ที่ 3 เปอร์ เซ็นต์ และจากข้ อมูลในอดีต Thai Market Risk Premium อยู่ที่ 8 เปอร์ เซ็นต์ ให้ ท่าน
คํานวณหาต้ นทุนของเงินทุนของบริษัท (Weighted Average Cost of Capital, WACC)

ข้ อ 11/ บริษัทจดทะเบียน “แสงสยาม” มีโครงสร้ างทางการเงินดังนี ้


 บริ ษัทสามารถกู้ธนาคารได้ ในอัตราดอกเบี ้ย 8% ต่อปี
 บริษัทมีนโยบายจ่ายเงินปั นผลเท่ากับ 40% ของกําไรสุทธิ
 บริ ษัทมีเป้าหมายโครงสร้ างเงินทุนอยูท่ ี่ 50% ส่วนทุน ต่อ 50% หนี ้
 ภาษี เงินได้ นิติบคุ คลเท่ากับ 30%
 ผลตอบแทนต่อส่วนผู้ถือหุ้น (Return on Equity) เท่ากับ 15%
 บริ ษัทคาดว่าในหนึง่ ปี หลังจากนี ้ จะจ่ายเงินปั นผลเท่ากับ 5 บาทต่อหุ้น
 ราคาหุ้นของบริษัทเท่ากับ 200 บาทต่อหุ้น
จงหาต้ นทุนทางการเงินเฉลี่ยของบริษัทแสงสยาม (Weighted Average Cost of Capital, WACC)

99 of 134
 
ข้ อ 12/ บริษัท มัง่ มีศรี สขุ จํากัด (มหาชน) เป็ นบริษัททําธุรกิจยาสีฟัน มีการเติบโตของกําไรสุทธิคงที่แล้ วอยูท่ ี่ 5% ต่อปี บริษัทฯ
มีห้ นุ สามัญจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์จํานวน 1.2 ล้ านหุ้น ราคาปิ ดตลาดฯ ล่าสุดของหุ้นบริ ษัทฯที่ยงั ไม่ XD อยู่ที่ 30.00
บาท และภาระหนี ้สินของบริ ษัทฯ เท่ากับ 24 ล้ านบาท ขณะนี ้อัตราดอกเบี ้ยจ่ายก่อนหักภาษี ของบริ ษัทฯยู่ที่ 11% ต่อปี และ
อัตราภาษี นิติบุคคลอยู่ที่ 20% ปี นีบ้ ริ ษัทกําลังจะจ่ายเงินปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นสามัญเป็ นเงิน 2.14 บาทต่อหุ้น และบริ ษัทมี
นโยบายจ่ายเงินปั นผลในอัตราคงที่ของกําไรสุทธิ (constant payout ratio)
จงคํานวณต้ นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงนํ ้าหนักของเงินทุน (WACC) ของบริษัท

100 of 134
 
ธงข้ อ 12/
Wd = 24/(24 + 1.2x30) = 40%
We = 1.2x30/(24 + 1.2x30) = 60%
Rd(AT) = 11%(1-0.2) = 8.8%
Re = (2.14(1.05))/(30.00 – 2.14) + 0.05 = 8.07% + 5% = 13.07%
WACC = (40%)(8.8%) + (60%)(13.07%)
= 3.52% + 7.84%
= 11.36%

101 of 134
 
แบบฝึ กหัด วิช า Corporate Finance สําหรั บ อาทิต ย์ ท่ ี 10 เรื่ อ ง Capital Budgeting
1/ บริ ษัท ไทยทํา จํากัด วางแผนพิจารณาลงทุนในโครงการสองโครงการโดยจะต้ องเลือกลงทุนโครงการเดียวเท่านัน้ โครงการที่
บริ ษัทกําลังพิจารณาลงทุนต้ องใช้ เงินลงทุนครัง้ แรกเท่ากับ 15 ล้ านบาท บริ ษัทมีต้นทุนทางการเงินอยู่ที่ (WACC) 13% บริ ษัท
คาดการณ์วา่ กระแสเงินสดรับในอนาคตของทังสองโครงการมี
้ ดงั นี ้

ปี ที่ โครงการ A โครงการ B


1 5,000,000 8,500,000
2 6,000,000 7,500,000
3 7,000,000 6,500,000
4 8,000,000 5,500,000
5 9,000,000 5,000,000

คําสัง่ : ให้ ทา่ นจงตอบคําถามดังต่อไปนี ้


1. IRR มีคา่ เท่าไหร่
2. Discounted Payback Period เป็ นเท่าไหร่
3. Net Present Value (มูลค่าปั จจุบนั สุทธิ) เป็ นเท่าไหร่
4. บริษัทควรเลือกลงทุนในโครงการใด (1 คะแนน) เพราะเหตุใด

102 of 134
 
ธงข้ อ 1/
1.1/ IRR มีคา่ เท่าไหร่ A = 32.50% B = 38.37%

1.2/ Discounted Payback Period เป็ นเท่าไหร่


0 1 2 3 4 5
Project A -15000000 5000000 6000000 7000000 8000000 9000000
PV -15000000 4424779 4698880 4851351 4906550 4884839
Cumulative -15000000 -10575221 -5876341 -1024990 3881560 8766399

0 1 2 3 4 5
Project B -15000000 8500000 7500000 6500000 5500000 5000000
PV -15000000 7522124 5873600 4504826 3373253 2713800
Cumulative -15000000 -7477876 -1604276 2900550 6273803 8987603
A = 3 + (1024990 / 4906550) = 3.21 ปี
B = 2 + (1604276 / 4504826) = 2.36 ปี

1.3/ Net Present Value (มูลค่าปั จจุบนั สุทธิ) เป็ นเท่าไหร่


A = 8,766,399 บาท B = 8,987,603 บาท

1.4/ บริษัทควรเลือกลงทุนในโครงการใด (1 คะแนน) เพราะเหตุใด


โครงการ B เพราะ NPV สูงกว่า

103 of 134
 
2/ บริ ษัท Happy Forever จํากัด มีนโยบายลงทุนในโครงการที่สามารถสร้ างผลกําไรได้ ในระยะยาว แต่บริ ษัทจะต้ องเลือก
ลงทุนเพียงโครงการเดียวเท่านัน้ บริ ษัทฯมีต้นทุนเงินทุนอยู่ที่ (WACC) 12% โครงการที่บริ ษัทฯกําลังพิจารณาลงทุนจะต้ องใช้
เงินลงทุนถึง 34 ล้ านบาทต่อโครงการ และกระแสเงินสดรับในอนาคตของแต่ละโครงการฯ มีดงั นี ้

โครงการผลิตอาหารเสริ ม โครงการผลิตอาหารเสริม
ปี ที่
ชนิดนํ ้า (บาท) ชนิดอัดเม็ด (บาท)
1 16,500,000 13,000,000
2 14,000,000 17,500,000
3 12,600,000 14,000,000
4 10,200,000 11,000,000
5 6,500,000 4,200,000

คําสั่ง: ให้ ทา่ นตอบคําถามต่างๆ ดังต่อไปนี ้


2.1/ Regular Payback เป็ นจํานวนเท่าใด (แสดงในรูปหน่วยปี )
2.2/ Net Present Value (มูลค่าปั จจุบนั สุทธิ) เป็ นจํานวนเท่าใด (หน่วย: บาท)
2.3/ IRR (Internal Rate of Return) เป็ นจํานวนร้ อยละ (%) เท่าใด
2.4/ หากสมมติว่าธุรกิจสามารถตัดสินใจเลือกลงทุนได้ เพียง 1 โครงการเท่านัน้ บริ ษัทฯควรเลือกลงทุนในโครงการใด และ
เพราะเหตุใด

104 of 134
 
ธงข้ อ 2
Regular Payback(นํ ้า) = 2 ปี + (34,000,000 – 30,500,000 / 12,600,000) = 2.278 ปี
Regular Payback(เม็ด) = 2 ปี + (34,000,000 – 30,500,000 / 14,000,000) = 2.25 ปี
NPV(นํ ้า) = 11,031,847.23
NPV(เม็ด) = 10,896,850.84
IRR(นํ ้า) = 26.51%
IRR(เม็ด) = 26.04%
เลือก ชนิดนํ ้า เพราะ NPV และ IRR ดีกว่า

105 of 134
 
3/ บริ ษัท เอชัวร์ กําลังพิจารณาโครงการลงทุนใหม่ โดยโครงการนี ้มีอายุ 4 ปี และ มีงบลงทุนเริ่ มต้ น 300 ล้ านบาท โดยบริษัทมี
นโยบายที่จะใช้ เงินทุนจากส่วนหนีส้ ิน (debt) และทุน (equity) เท่า ๆ กัน โดยจ่ายดอกเบี ้ยที่อตั รา 6 เปอร์ เซ็นต์ต่อปี บริ ษัท
คาดการณ์ ว่า บริ ษัทจะมีกระแสเงินสดจากกํ าไรก่อนดอกเบี ย้ และภาษี (EBIT) เป็ นจํ านวน 80, 100, 140, 180 ล้ านบาท
ภายหลังจากที่เริ่ มลงทุนไปแล้ ว 1-4 ปี ตามลําดับ บริ ษัทเสียภาษี เงินได้ นิติบุคคลที่อตั รา 20 เปอร์ เซ็นต์ ของกําไรก่อนภาษี
(EBT) และ ต้ นทุนทางการเงินเฉลี่ยของบริษัท (WACC) เท่ากับ 10 เปอร์ เซ็นต์ตอ่ ปี (กรณีข้อมูลตามโจทย์นี ้ไม่มีคา่ เสื่อมราคา)
คําสัง่ :
3.1/ คํานวณหา ระยะเวลาคืนทุน
3.2/ คํานวณหามูลค่าปั จจุบนั ของโครงการ (NPV)
พร้ อมแนะนําว่าบริษัทควรลงทุนโครงการนี ้หรื อไม่และเพราะเหตุใด

106 of 134
 
ธงข้ อ 3/
ห กระแสเงินสดจากโครงการหลังภาษ ที่จะเกิดขึ ้น โดยถือเสมือนหนึง่ ว่าบริษัทไม่มีหนี ้ เพราะต้ นทุนดอกเบี ้ยถูกรวมใน WACC
อยูแ่ ล้ ว จะได้ กระแสเงินสด ดังนี ้ (หน่วยล้ านบาท)
0 1 2 3 4
-300 80(1-0.2)=64 100(1-0.2)=80 140(1-0.2)=112 180(1-0.2)=144
WACC = 10% p.a.
Payback = 3.31 ปี
NPV = 6.80 ล้ านบาท
ควรลงทุนในโครงการนี ้เพราะมี NPV หรื อมูลค่าปั จจุบนั เป็ นบวก

107 of 134
 
4/ ใช้ ข้อมูลต่อไปนี ้ในการตอบคําถามข้ างล่างนี ้
 บริษัทมีต้นทุนทางการเงิน (WACC) เท่ากับ 10% p.a.
 บริษัทพึง่ เซ็นสัญญาเช่าที่ดินในการทําโครงการ เป็ นเวลา 10 ปี สัญญาเช่านี ้จะไม่มีการต่อสัญญาออกไปอีก
 บริษัทมีสองโครงการลงทุนคือ เอ กับ บี
 โครงการ เอ มีอายุโครงการ 5 ปี ตามอายุเครื่ องจักรที่จะเสื่อมสภาพ แต่บริษัทอาจนําเครื่ องจักรเข้ ามาใหม่ได้ โดย
คาดว่าจะลงทุนได้ เท่าเดิม และยึดอายุโครงการออกไปได้ ตามอายุเครื่ องจักรอีก 5 ปี โดยคาดว่าจะได้ กระแสเงินสด
เหมือนเดิม
 โครงการ บี เป็ นโครงการระยะยาว มีอายุ 10 ปี โดยไม่จําเป็ นต้ องมีการลงทุนเพิ่มเติมอีก
 กระแสเงินสดของโครงการ เอ (หน่วย ล้ านบาท)
ปี ที่ 0 1 2 3 4 5
-100 20 35 35 35 35
 กระแสเงินสดของโครงการ บี (หน่วย ล้ านบาท)
ปี ที่ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
-250 20 50 50 50 50 50 50 50 50 50

ให้ คํานวณค่าต่อไปนี ้สําหรับแต่ละโครงการ


a) payback period
b) NPV
c) IRR
d) MIRR
จากค่าที่คํานวณได้ จงให้ คําแนะนําแก่บริษัทว่าควรมีการตัดสินใจลงทุนอย่างไรบ้ าง

108 of 134
 
5/ ใช้ ข้อมูลต่อไปนี ้ในการตอบคําถามข้ างล่างนี ้
 ต้ นทุนทางการเงินของบริษัทเท่ากับ 10% ต่อปี
 ความเสีย่ งของโครงการเอ เท่ากับความเสีย่ งโครงการเฉลี่ยทัว่ ๆ ไปของบริษัท
 กระแสเงินสดของโครงการเอ (หน่วย ล้ านบาท)
ปี ที่ 0 1 2 3 4 5
-250 50 60 80 70 100

ให้ คํานวณค่าต่อไปนี ้สําหรับแต่ละโครงการ


 Payback period
 Discounted payback period
 NPV
 IRR
 MIRR

109 of 134
 
ธงข้ อ 5/
WACC= 10%
PB = 3.86
DPB = 4.76
NPV = 15.05
IRR = 12.09%
MIRR = 11.29%

110 of 134
 
แบบฝึ กหัด วิช า Corporate Finance สําหรั บ อาทิต ย์ ท่ ี 11 เรื่ อ ง CF estimation
1/ บริ ษัท กขค จํากัด กํ าลังพิจารณาโครงการ ติดตังเครื ้ ่ องจักรใหม่ โดยต้ องใช้ เงินลงทุนเริ่ มต้ นค่าเครื่ องจักร
ทังสิ
้ ้น 100 ล้ านบาท และไม่มีภาระต้ องลงทุนเพิ่มเติมหลังจากนัน้ ทังนี ้ ้ บริ ษัทมีแผนจะระดมทุนด้ วยการกู้ยืม
ครึ่งหนึง่ โดยเสียดอกเบี ้ย 6.25% ต่อปี กู้ยืมเป็ นเวลาห้ าปี ตามอายุโครงการแล้ วจึงจ่ายคืนเงินต้ น ส่วนอีกครึ่งมา
จากกําไรสะสมของบริ ษัท โดยบริ ษัทมีต้นทุนของส่วนทุนอยู่ที่ 15% ต่อปี บริ ษัทเสียภาษี เงินได้ นิติบุคคลใน
อัตรา 20% ของกําไรก่อนภาษี โครงการนี ้มีอายุ 5 ปี
บริ ษัทคาดว่าเมื่อครบอายุ เครื่ องจักรที่มีจะสามารถขายได้ ในราคา 5 ล้ านบาท บริ ษัทมีนโยบายหักค่า
เสื่อมราคาแบบเส้ นตรงโดยไม่มีมลู ค่าซาก และใช้ เวลา 5 ปี สําหรับเครื่ องจักร โดยสรรพากรถือว่าค่าเสื่อมราคา
หักเป็ นค่าใช้ จ่ายได้
บริ ษัททําธุรกิจโดยใช้ เงินสดเป็ นหลัก ทังในด้
้ านการขายและต้ นทุน บริ ษัทประเมินกําไรขาดทุนจาก
โครงการนี ้ตามตารางข้ างล่างนี ้
หน่วยล้ านบาท 0 1 2 3 4 5
เงินลงทุน -100
กําไรก่อนค่าเสื่อม 30 30 30 30 30
ราคา ดอกเบี ้ยและ
ภาษี (EBITDA)
ค่าเสื่อมราคา (D) -20 -20 -20 -20 -20
ดอกเบี ้ย (I) -3.125 -3.125 -3.125 -3.125 -3.125
กําไรก่อนภาษี (EBT) 6.875 6.875 6.875 6.875 6.875
ภาษี (20%) (T) -1.375 -1.375 -1.375 -1.375 -1.375
กําไรสุทธิ (NI) 5.5 5.5 5.5 5.5 5.5

จงหาค่า NPV ของโครงการ และ ท่านคิดว่าบริษัทควรลงทุนโครงการนี ้หรื อไม่ เพราะเหตุใด

111 of 134
 
ธงข้ อ 1/
หน่วยล้ านบาท 0 1 2 3 4 5
เงินลงทุน -100
กําไรก่อนค่าเสื่อม 30 30 30 30 30
ราคา ดอกเบี ้ยและ
ภาษี
ค่าเสื่อมราคา -20 -20 -20 -20 -20
กําไรก่อนภาษีถ้า 10 10 10 10 10
บริ ษัทไม่มีหนี ้
ภาษี (20%) -2 -2 -2 -2  -2
NOPAT 8 8 8 8  8
+ ค่าเสื่อมราคา +20 +20 +20 +20 +20
CF from operation +28 +28 +28 +28  +28
Salvage CF +4
Total CF -100 +28 +28 +28 +28  +32

Salvage value = 5
BV at year 5 = 0, so profit by 5 – 0 =5. Tax 20%, so Salvage value after tax = 5 x (1 – 0.2) = 4
WACC= 0.5 x 15% + 0.5 x 6.25% x (1-0.2) = 10%
NPV = 8.625715 ดังนันควรลงทุ
้ นเพราะมีคา่ NPV เป็ นบวก

112 of 134
 
ข้ อ 2/ บริษัท กระดาษไทยดี จํากัด มีโครงการลงทุนใหม่โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อขยายกําลังการผลิตกระดาษA4 โดยสัง่ ซื ้อพร้ อม
้ ่ องจักรผลิตกระดาษเป็ นมูลค่า 500 ล้ านบาท โดยบริ ษัทได้ บนั ทึกมูลค่าเครื่ องจักรนี ้เป็ นสินทรัพย์ถาวรและตัดค่า
ค่าติดตังเครื
เสื่อมราคาแบบเส้ นตรงหมดได้ ภายใน 5 ปี ตามอายุการใช้ งานของเครื่ องจักร โดยคิดมูลค่าซากในการตัดค่าเสื่อมราคาเท่ากับ
50 ล้ านบาท
บริ ษัทคาดว่าเมื่อสิ ้นปี ที่ 5 ตัวเครื่ องจักรจะถูกจําหน่ายออกไปในมูลค่าซากเท่ากับ 50 ล้ านบาท บริ ษัทลงทุนในส่วน
ของเงินทุนหมุนเวียน 100 ล้ านบาทตังแต่ ้ เริ่ มต้ นไปจนสิ ้นสุดอายุโครงการ บริ ษัทคาดการณ์ว่าจากโครงการลงทุนใหม่ดงั กล่าว
จะทําให้ บริ ษัทได้ รับยอดขายเมื่อสิ ้นปี ที่ 1 เท่ากับจํานวนเงิน 400 ล้ านบาท และประมาณการว่ายอดขายของบริ ษัทจะมีการ
เติบโตเพิ่มขึ ้นปี ละ 25% ตลอดอายุโครงการ บริ ษัทมีต้นทุนสินค้ าและค่าใช้ จ่ายดําเนินงานไม่รวมค่าเสื่อมราคาคิดเป็ น 75%
ของยอดขาย และบริษัทต้ องจ่ายภาษี เงินได้ นิติบคุ คลในอัตรา 20% ต่อปี

คําสัง่
2.1/ ให้ ท่ า นแสดงวิ ธี ทํ า โดยการจัด ทํ า “ประมาณการกระแสเงิ น สดจากการดํ า เนิ น งานของโครงการสํ า หรั บ ปี ที่ 0-5”
โดยประมาณการกระแสเงินสดจากการดําเนินงานดังกล่าว จะต้ องสามารถให้ ข้อมูลเพื่อตอบคําถามย่อยต่างๆ ทุกข้ อดังนี ้
2.2/ กําไรก่อนหักดอกเบี ้ยจ่ายและภาษี เงินได้ นิติบคุ คล (EBIT) สําหรับปี 0 – 5 มีจํานวนเงินเท่าใด (หน่วย: ล้ านบาท)
2.3/ กําไรก่อนหักดอกเบี ้ยจ่ายหลังหักภาษี เงินได้ นิติบคุ คล (NOPAT) สําหรับปี 0 – 5 มีจํานวนเงินเท่าใด (หน่วย: ล้ านบาท)
2.4/ กระแสเงินสดจากการดําเนินงาน สําหรับปี 0 – 5 มีจํานวนเงินเท่าใด (หน่วย: ล้ านบาท)
2.5/ สรุปยอดรวมกระแสเงินสดตลอดอายุของโครงการ” สําหรับปี 0 – 5 มีจํานวนเงินเท่าใด (หน่วย: ล้ านบาท)
2.6/ ถ้ ากําหนดให้ ต้นทุนเงินทุนของโครงการนี ้ (WACC) มีคา่ 11% จงหา “มูลค่าปั จจุบนั สุทธิ หรื อ Net Present Value” (NPV)
ของโครงการฯ

113 of 134
 
ธงข้ อ 2/
หน่วย:ล้ านบาท
31-ธ.ค. 31-ธ.ค. 31-ธ.ค. 31-ธ.ค. 31-ธ.ค.
รายการ 2551 2552 2553 2554 2555
1 2 3 4 5
รายได้ 400.00 500.00 625.00 781.25 976.56
หัก ต้ นทุนขาย -300.00 -375.00 -468.75 -585.94 -732.42
หัก ค่าเสื่อมราคา -90.00 -90.00 -90.00 -90.00 -90.00
กําไรก่อนหักดอกเบี ้ยและภาษี (EBIT) 10.00 35.00 66.25 105.31 154.14
หัก ภาษี 20% -2.00 -7.00 -13.25 -21.06 -30.83
กําไรก่อนหักดอกเบี ้ยหลังหักภาษี (NOPAT) 8.00 28.00 53.00 84.25 123.31
บวก ค่าเสื่อมราคา 90.00 90.00 90.00 90.00 90.00
กระแสเงินสดจากการดําเนินงาน 98.00 118.00 143.00 174.25 213.31

หน่วย:ล้ านบาท
งวดเวลา
ประเมินผลโครงการลงทุน 0 1 2 3 4 5
เงินลงทุนเริ่ มแรก
ในสินทรัพย์ถาวร -500.00
เงินลงทุน
ในทุนหมุนเวียนที่เปลี่ยนแปลง -100.00 0 0 0 0 100.00
เงินสดรับค่าซาก
(หลังจากหักภาษี ) 50.00
กระแสเงินสดจากการดําเนินงาน 98.00 118.00 143.00 174.25 213.31
สรุปกระแสเงินสดรวม
ตลอดอายุของโครงการ -600.00 98.00 118.00 143.00 174.25 363.31
กําไรจากการขายซาก = 50 – 50 = 0 ดังนันจึ
้ งไม่มีภาระภาษี เงินที่ได้ สทุ ธิคือเงินที่ได้ จากการขายซากคือ 50 ล้ านบาท

WACC 11%
Net Present Value (NPV) ฿19.01M

114 of 134
 
3/ บริ ษัท Ready-Meal Packaging จํากัด มีโครงการลงทุนใหม่ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อขยายกําลังการผลิตบรรจุภณ ั ฑ์อาหาร
พร้ อมรับประทาน บริ ษัทดําเนินการจัดหาเงินทุนเริ่ มแรกโดยครึ่งหนึ่งของเงินลงทุนรวม จัดหาโดยวิธีการกู้ยืมระยะยาวโดยเสีย
อัตราดอกเบี ้ย 10% ต่อปี และเงินอีกครึ่งหนึ่งของเงินลงทุนเริ่ มแรกจัดหาโดยการออกจําหน่ายหุ้นสามัญ โดยมีต้นทุนเงินทุน
จากหุ้นสามัญที่อตั รา 15% ต่อปี
เงินลงทุนเริ่ มแรกรวม 350 ล้ านบาท ประกอบด้ วย เงินทุนหมุนเวียน100 ล้ านบาทตลอดอายุโครงการ และเงินลงทุน
เพื่อใช้ ในการสัง่ ซื ้อพร้ อมติดตังเครื
้ ่ องจักรผลิตบรรจุภัณฑ์เป็ นมูลค่า 250 ล้ านบาท โดยบริ ษัทบันทึกมูลค่าเครื่ องจักรนี เ้ ป็ น
สินทรัพย์ถาวรและตัดค่าเสื่อมราคาแบบเส้ นตรงหมดได้ ภายใน 5 ปี ตามอายุการใช้ งานของเครื่ องจักร โดยคิดมูลค่าซากในการ
ตัดค่าเสื่อมราคาเท่ากับ 50 ล้ านบาท
บริ ษัทคาดว่าเมื่อสิ ้นปี ที่ 5 ตัวเครื่ องจักรจะถูกจําหน่ายออกไปในมูลค่าซากเท่ากับ 50 ล้ านบาท บริ ษัทคาดการณ์ว่า
จากโครงการลงทุนใหม่ดงั กล่าวจะทําให้ บริ ษัทได้ รับยอดขายเมื่อสิ ้นปี ที่ 1 เท่ากับจํานวนเงิน 400 ล้ านบาท และประมาณการ
ว่ายอดขายของบริษัทจะมีการเติบโตเพิ่มขึ ้นปี ละ 25% ตลอดอายุโครงการบริษัทมีต้นทุนสินค้ าและค่าใช้ จ่ายดําเนินงานไม่รวม
ค่าเสื่อมราคาคิดเป็ น 75% ของยอดขาย และบริษัทต้ องจ่ายภาษี เงินได้ นิติบคุ คลในอัตรา 20% ต่อปี

คําสัง่
3.1/ ให้ ทา่ นจัดทําประมาณการกระแสเงินสดจากการดําเนินงานของโครงการสําหรับปี ที่0-5/(3 คะแนน)
3.2/ จากข้ อ 3.1/ ให้ ทา่ นคํานวณหาค่าต่างๆ ดังนี ้
 มูลค่าปั จจุบนั สุทธิ (Net Present Value: NPV)
 ระยะเวลาคืนทุนแบบคิดลดค่าเงินตามเวลา (Discounted Payback Period)

115 of 134
 
ธงข้ อ 3/
31-ธ.ค. 31-ธ.ค. 31-ธ.ค. 31-ธ.ค. 31-ธ.ค.
รายการ 2551 2552 2553 2554 2555
1 2 3 4 5
รายได้ 400.00 500.00 625.00 781.25 976.56
หัก ต้ นทุนขาย -300.00 -375.00 -468.75 -585.94 -732.42
หัก ค่าเสื่อมราคา -40.00 -40.00 -40.00 -40.00 -40.00
กําไรก่อนหักดอกเบี ้ยและภาษี (EBIT) 60.00 85.00 116.25 155.31 204.14
หัก ภาษี -12.00 -17.00 -23.25 -31.06 -40.83
กําไรก่อนหักดอกเบี ้ยหลังหักภาษี (NOPAT) 48.00 68.00 93.00 124.25 163.31
บวก ค่าเสื่อมราคา 40.00 40.00 40.00 40.00 40.00
กระแสเงินสดจากการดําเนินงาน 88.00 108.00 133.00 164.25 203.31

งวดเวลา
ประเมินผลโครงการลงทุน 0 1 2 3 4 5
เงินลงทุนเริ่ มแรก
ในสินทรัพย์ถาวร -250.00
เงินลงทุนเริ่ มแรก
ในทุนหมุนเวียน -100.00 100.00
เงินสดรับค่าซาก
(สุทธิจากภาษี ) 50.00
กระแสเงินสดจากการดําเนินงาน 88.00 108.00 133.00 164.25 203.31
สรุปกระแสเงินสด
ของโครงการ -350.00 88.00 108.00 133.00 164.25 353.31
กําไรจากการขายซาก = 50 – 50 = 0 ดังนันจึ
้ งไม่มีภาระภาษี เงินที่ได้ สทุ ธิคือเงินที่ได้ จากการขายซากคือ 50 ล้ านบาท
WACC 11.50%
Net Present Value (NPV) ฿223.02

Discounted Payback Period (DPB) 3.83

116 of 134
 
4/ บริ ษัท มีดี จํากัด มีโครงการลงทุนใหม่โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อขยายกําลังการผลิต ราคาเครื่ องจักรผลิตมีมลู ค่า 100 ล้ านบาท
ซึ่งรวมค่าขนส่งและติดตัง้ โดยบริ ษัทบันทึกมูลค่าเครื่ องจักรนี เ้ ป็ นสินทรัพย์ ถาวรและตัดค่าเสื่อมราคาแบบเส้ นตรงหมดได้
ภายใน 4 ปี ตามอายุการใช้ งานของเครื่ องจักร โดยคิดมูลค่าซากในการตัดค่าเสื่อมราคาเท่ากับ 20 ล้ านบาท
บริ ษัทคาดว่าเมื่อสิ ้นปี ที่ 4 ตัวเครื่ องจักรจะถูกจําหน่ายออกไปในมูลค่าซากเท่ากับ 20 ล้ านบาท บริ ษัทคาดการณ์ว่า
จาก โครงการลงทุนใหม่ดงั กล่าวจะทําให้ บริษัทได้ รับยอดขายรวมจนถึงสิ ้นปี ที่ 1 รวมเป็ นจํานวนเงินมูลค่า 100 ล้ านบาท และ
ประมาณการว่ายอดขายของบริ ษัทจะมีการเติบโตเพิ่มขึ ้นปี ละ 20% ตลอดอายุโครงการ บริ ษัทมีต้นทุนสินค้ าและค่าใช้ จ่าย
ดําเนินงานไม่รวมค่าเสื่อมราคาคิดเป็ น 60% ของยอดขาย และบริ ษัทต้ องจ่ายภาษี เงินได้ นิติบคุ คลในอัตรา 20% ต่อปี เงินทุน
หมุนเวียนที่ใช้ ในการดําเนินโครงการเท่ากับ 10% ของยอดขาย
คําสัง่ : ให้ ทําประมาณการ งบประมาณเงินสดของโครงการ

117 of 134
 
ธงข้ อ 4/

กําไรจากการขายซาก = 20 – 20 = 0 ดังนันจึ้ งไม่มีภาระภาษี เงินที่ได้ สทุ ธิคือเงินที่ได้ จากการขายซากคือ 20 ล้ านบาท


แก้ ตวั เลขในตาราง ช่อง Salvage ปี 4 จาก 16 เป็ น 20 และ Net CF เป็ น 96.58

118 of 134
 
แบบฝึ กหัด วิช า Corporate Finance สําหรั บ อาทิต ย์ ท่ ี 12 เรื่ อ ง Capital structure, dividend policy and CG
1/ จงอธิบายว่าทฤษฏี Trade-off Theory พูดถึงระดับของหนี ้ที่เหมาะสม (Optimal Debt Level) ไว้ วา่ อย่างไร

119 of 134
 
ธงข้ อ 1/
ทฤษฏี Trade-off Theory พูดถึงระดับของหนี ้ที่เหมาะสม (Optimal Debt Level) ไว้ วา่ บริษัทควรจะมีหนี ้บ้ างเพื่อเอาประโยชน์
จากการประหยัดภาษี และสร้ างวินยั ทางการเงิน แต่ไม่ควรมีหนี ้มากเกินไปเพราะมีต้นทุนปั ญหาทางการเงิน ดังนัน้ บริ ษัทควร
เลือกระดับหนี ท้ ี่ทําให้ ได้ ประโยชน์ สุทธิ ของการมีหนี ส้ ูงที่สุด โดยหาจุดที่เป็ นจุดสมดุลระหว่างภาษี ที่ประหยัดได้ กับต้ นทุน
ปั ญหาทางการเงิน

120 of 134
 
2/ จากทฤษฎีที่เกี่ยวข้ องกับนโยบายปั นผล 3 ทฤษฏีตามที่กําหนดมาดังนี ้
 Irrelevance Theory
 Bird-in-hand Theory
 Tax Preference Theory

“คําสัง่ : ให้ ทา่ นอธิบายในหลักการและแนวคิดสําคัญของทุกทฤษฎีให้ ถกู ต้ อง

121 of 134
 
ธงข้ อ 2/
1. The dividend irrelevance theory
ผู้ที่เสนอแนวคิดคือMerton Miller และ Franco Modigliani (MM)
ทฤษฎีนี ้กล่าวถึงนโยบายเงินปั นผลว่า การจ่ายเงินปั นผลให้ กบั ผู้ถือหุ้นจะไม่มีผลกระทบต่อ ราคาหุ้นสามัญของบริ ษัทและ
ต้ นทุนของเงินทุน มูลค่าของกิจการจะขึ ้นอยูก่ บั ความสามารถในการทํากําไรและความเสี่ยงของธุรกิจของบริษัทเอง ไม่ได้ ขึ ้นอยู่
กับ ว่ า รายได้ นัน้ จะนํ า มาแบ่ ง อย่ า งไร ซึ่ง ในความเป็ น จริ ง นัน้ ทฤษฎี ข อง MM อาจไม่ ถูก ต้ อ ง แต่ ถ้ า เขาอธิ บ ายในทาง
เศรษฐศาสตร์ ทฤษฎีของเขาจะถูกต้ องตามหลักเศรษฐศาสตร์

2. Bird-in-Hand Theory
ทฤษฎี นีก้ ล่าวว่านักลงทุนยินดีที่จะรั บเงินปั นผลในปั จจุบันมากกว่ากําไรจากการขายหุ้นสามัญที่ราคาจะสูงขึน้ ในอนาคต
เนื่องจากอัตราผลตอบแทนจากเงินปั นผลมีความเสี่ยงน้ อยกว่าอัตราผลตอบแทนจากกําไรที่จะได้ รับจากการที่คาดว่าราคาหุ้น
จะสูงขึ ้นในอนาคต

3. Tax Preference Theory


ทฤษฎีนีก้ ล่าวว่านักลงทุนต้ องการที่จะให้ บริ ษัทเก็บกําไรส่วนใหญ่ไว้ เพื่อลงทุนต่อเนื่องจากต้ องการให้ ราคาหุ้นสามัญของ
บริ ษัทสูงขึ ้นเมื่อทําการซื ้อขาย กําไรที่ได้ จากส่วนต่างราคาหุ้นนันไม่
้ ต้องนํามาเสียภาษี เหมือนเงินปั นผล และผู้ลงทุนยินดีที่จะ
ซื ้อหุ้นสามัญของบริษัทที่จ่ายเงินปั นผลตํ่าในราคาสูงกว่าหุ้นสามัญของบริษัทที่จ่ายเงินปั นผลสูงๆ

122 of 134
 
3/ ถ้ าท่านจะตังบริ
้ ษัทด้ วยเงินทุนของตัวเองทังหมด
้ 4 ล้ านบาทเพื่อทําร้ าน online menu and delivery โดยจะมียอดขายในปี
2559 เป็ นเงิน 6 ล้ านบาท จะมีต้นทุน,ค่าใช้ จ่ายรวม,และค่าเสื่อมฯ เป็ น 50% ของยอดขาย ที่เหลือเป็ นกําไรก่อนดอกเบี ้ยและ
ภาษี (EBIT) โดยบริ ษัทจะจ่ายเงินปั นผล 100% ของกําไรสุทธิ (NI) บริ ษัทเสียภาษี นิติบุคคลในอัตรา 20% (ไม่ต้องคิดเรื่ อง
ภาษี เงินได้ บคุ คลธรรมดา) แต่หากว่าท่านจะลงทุนด้ วยเงินทุนเท่าเดิมโดยเอาหุ้นสามัญจากบริ ษัทเพียง 1.6 ล้ านบาท และที่
เหลืออีก 2.4 ล้ านบาทนันทํ้ าเสมือนให้ บริ ษัทกู้เงินจากท่านมาใช้ เป็ นเงินทุน และท่านคิดอัตราดอกเบี ้ยกับบริ ษัทในอัตรา 12%
ต่อปี จงเปรี ยบเทียบว่าเงินปั นผลที่ท่านจะได้ รับจากกรณีแรก เมื่อเทียบกับเงินดอกเบี ้ยและเงินปั นผลที่ท่านจะได้ จากกรณีหลัง
จะต่างกันอยูก่ ี่บาท และท่านคิดว่าควรเลือกกรณีไหน เพราะเหตุใด

123 of 134
 
ธงข้ อ 3/
กรณีแรกไม่มีหนี ้: EBIT = 6,000,000–3,000,000 = 3,000,000 บาท
Tax (20%) = 600,000
NI = 2,400,000
ท่านได้ เงินปั นผลเป็ นผลตอบแทน = 2,400,000 บาท

กรณีที่สอง มีหนี ้ 60%: EBIT = 3,000,000


Interest = 0.12*2,400,000 = 288,000
EBT = 2,712,000
Tax (20%) = 542,400
NI = 2,169,600
ท่านได้ เงินปั นผล+ดอกเบี ้ยรับคิดเป็ นผลตอบแทน = 2,169,000+288,000 = 2,457,600 บาท ดังนัน้ ในกรณี หลังดีกว่า =
2,457,600–2,400,000 =57,600 บาท ซึง่ เป็ นส่วนที่เกิดจากการประหยัดภาษี = 600,000 - 542,400 = 57,600 บาท

124 of 134
 
4/ ให้ นกั ศึกษาอธิบายมาพอสังเขปถึง ความหมายของธรรมาภิบาล (Corporate Governance) และระบุประโยชน์ที่บริ ษัทจะ
ได้ รับจากการมีธรรมาภิบาล

125 of 134
 
ธงข้ อ 4/
"บรรษัทภิบาล" (Corporate Governance) มีความหมายหลากหลายแล้ วแต่มมุ มอง เช่น
 เป็ นความสัมพันธ์ อย่างหนึ่งระหว่าง ฝ่ ายจัด การ คณะกรรมการบริ ษัท และ ผู้ถ ือ หุ้น ในการกําหนดทิศทางและ
สอดส่องดูแลผลปฏิบตั ิงานของบริษัท
 เป็ น โครงสร้ างและกระบวนการภายในที่ จัด ขึ น้ เพื่ อ ให้ ค วามมั่น ใจว่า ฝ่ ายจัด การของบริ ษั ท บริ ห ารอย่า ง สุจริ ต
ตรงไปตรงมา และ มีประสิทธิผล
 เป็ นระบบการควบคุมของกิจการ ให้ ฝ่ายจัดการมีความรับผิดชอบตามหน้ าที่ด้วยความโปร่งใส และเพิ่มคุณค่าให้ กบั
ผู้ถือหุ้นในระยะยาว

ประโยชน์ของบรรษัทภิบาล
1. สร้ างความเชื่อมัน่ แก่ผ้ เู กี่ยวข้ อง (Stakeholders Confidence)
2. ทําให้ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency and Effectiveness) ในการดําเนินงาน
3. สร้ างมูลค่าแก่ผ้ ถู ือหุ้น (Shareholder Values)
4. ทําให้ บริษัทสามารถระดมทุนได้ ง่าย รวมทังมี ้ ต้นทุนที่ตํ่า

126 of 134
 
ข้ อ 5/ บริ ษัท นิกรห้ องเย็น จํากัด กําลังขยายกิจการไปยังนิคมอุตสาหกรรมทัว่ ประเทศไทย บริ ษัทต้ องการจัดหาเงินทุนระยะ
ยาวรวม 70 ล้ านบาท โดยกําหนดสัดส่วนโครงสร้ างเงินทุนที่เหมาะสม ดังนี ้คือ ระดมเงินทุนจากการกู้ระยะยาว 30% และ
ส่วนที่เหลืออีก 70% จะระดมเงินทุนจากส่วนของหุ้นสามัญ ปั จจุบนั บริ ษัทมีกําไรก่อนหักดอกเบี ้ยจ่ายและภาษี (EBIT) อยู่ที่
67 ล้ านบาท บริ ษัทมีภาระเงินกู้ 21 ล้ านบาทและต้ องชําระดอกเบี ้ย 6% ทุกปี และต้ องเสียภาษี นิติบคุ คลที่อตั รา 20% หาก
บริ ษัทกําหนดนโยบายปั นผลด้ วยวิธีการจ่ายปั นผลส่วนที่เหลือ (Residual dividend policy)
จงคํานวณว่าอัตราส่วนปั นผล (dividend payout ratio) ควรเป็ นเท่าไร (ตอบเป็ น %)

127 of 134
 
ธงข้ อ 5/
Dividend distribution = 52,592,000 - (70%) x (70,000,000) = 52,592,000 - 49,000,000 บาท = 3,592,000 บาท
Dividend payout ratio = 3,592,000 / 52,592,000 = 6.83%

128 of 134
 
6/ บริ ษัท ชุมนุม จํากัด วางแผนจัดหาเงินทุนเพื่อลงทุนในโครงการระยะยาวจํานวนเงินที่ต้องการรวม 60 ล้ านบาท สําหรับ
โครงการลงทุนที่มีมลู ค่าปั จจุบนั สุทธิ หรื อ NPV เป็ นบวก โดยกําหนดสัดส่วนโครงสร้ างการระดมเงินทุนที่เหมาะสมคือ ระดม
เงินจากการขายหุ้นสามัญ (equity) ในอัตราร้ อยละ 60 และส่วนที่เหลือคือ ร้ อยละ 40 ระดมเงินทุนจากการกู้ยืม บริ ษัทฯ มี
กําไรก่อนหักดอกเบี ้ยจ่ายและภาษี เงินได้ นิติบคุ คล จํานวน 98 ล้ านบาท นอกจากนี ้บริ ษัทฯ ยังมีสินทรัพย์รวมเป็ นจํานวน 200
ล้ านบาท และมีอตั ราดอกเบี ้ยเงินกู้ที่ต้องจ่ายชําระที่ร้อยละ 10 ต่อปี ขณะที่อตั ราภาษี เงินได้ นิติบคุ คลอยู่ที่ร้อยละ 35 ถ้ าหาก
บริ ษัทฯ กําหนดนโยบายจ่ายเงินปั นผลโดยวิธีการจ่ายเงินปั นผลจากกําไรส่วนที่เหลือ (Residual Dividend Policy) และบริ ษัท
ยังมีความต้ องการจะรักษาระดับโครงสร้ างเงินทุนที่เหมาะสมในอัตราส่วนเดิม

คําสัง่ : ให้ ทา่ นตอบคําถามต่างๆ ดังต่อไปนี ้ (หน่วย: ล้ านบาท)

1) หนี ้สินรวม คือจํานวนเงินเท่าใด


2) ดอกเบี ้ยจ่าย คือจํานวนเงินเท่าใด
3) กําไรก่อนหักภาษี คือจํานวนเงินเท่าใด
4) ภาษี เงินได้ นิติบคุ คล คือจํานวนเงินเท่าใด
5) กําไรสุทธิ คือจํานวนเงินเท่าใด
6) กําไรสุทธิสว่ นที่จดั สรรไปใช้ ในโครงการลงทุน คือจํานวนเงินเท่าใด
7) กําไรส่วนที่เหลือเพื่อนําไปจัดสรรเป็ น “เงินปั นผล” คือจํานวนเงินเท่าใด
8) Dividend Payout ratio ของบริ ษัทฯ คืออัตราส่วนร้ อยละ (%) เท่าใด

129 of 134
 
ธงข้ อ 6/
สินทรัพย์รวม = 200 ล้ านบาท
เงินกู้ตามโครงสร้ างทุนที่เหมาะสม = หนี ้สิน 40% x200 ล้ านบาท = 80 ล้ านบาท (คําตอบ 1)
ดอกเบี ้ยจ่าย = 80ล้ านบาท x 0.10 = 8 ล้ านบาท (คําตอบ 2)
คํานวณกําไรสุทธิ (หน่วย: ล้ านบาท):
EBIT 98.0
หัก: ดอกเบี ้ยจ่าย - 8.0
EBT 90.0 (คําตอบ 3)
หัก: ภาษี (@35%) - 31.5 (คําตอบ 4)
กําไรสุทธิ 58.5 (คําตอบ 5)

คํานวณจํานวนเงินทุนที่จดั สรรจากกําไรสุทธิ:
จํานวนเงินทุนที่ต้องการเพื่อลงทุนจํานวนรวม 60 ล้ านบาท ในโครงการลงทุนที่มีค่าบวก การจําแนกเงินลงทุนที่จัดสรรเพื่อ
ลงทุนในโครงการลงทุนที่มี NPV เป็ นบวก มีดงั นี ้
จัดสรรเงินทุนจากกําไรสุทธิ: 60 ล้ าน x 0.60 = 36.0 ล้ านบาท (คําตอบ 6)
จัดสรรเงินทุนจากการกู้ยืม: 60 ล้ าน x 0.40 = 24.0 ล้ านบาท

ดังนันกํ
้ าไรส่วนที่เหลือที่จะนําไปจัดสรรเป็ นเงินปั นผลคือ:
58.5 ล้ าน - 36.0 ล้ าน = 22.5 ล้ านบาท (คําตอบ 7)

Dividend Payout Ratio = (22.5 / 58.5) x 100 = 38.46% (คําตอบ 8)

130 of 134
 
7/ จงอธิบายถึงประโยชน์ (1.5 คะแนน) และโทษ (1.5 คะแนน) ของการใช้ การกู้ยืมเงินเพื่อทําธุรกิจ พร้ อมทังอธิ
้ บายว่าทฤษฏี
Trade-off Theory พูดถึงระดับของหนี ้ที่เหมาะสม (Optimal Debt Level) ไว้ วา่ อย่างไร

131 of 134
 
ธงข้ อ 7/
ประโยชน์ของการกู้ยืมเงินมาทําธุรกิจ คือ บริ ษัทจะมีเงินทุนที่จะใช้ ทําธุรกิจมากขึ ้น โดยที่ถ้าบริ ษัทสามารถลงทุนแล้ วได้ กําไร
มากกว่าดอกเบี ้ยที่ต้องจ่าย ผู้ถือหุ้นก็จะมีความมัง่ คัง่ เพิ่มขึ ้น และประโยชน์อีกอย่างคือเกิดการประหยัดภาษี นอกจากนัน้ หนี ้
ยังเป็ นเครื่ องมือในการสร้ างวินยั ให้ ฝ่ายบริ หาร เนื่องจากดอกเบี ้ยจ่ายจะทําให้ เหลือกระแสเงินสดที่ฝ่ายบริ หารจะนําไปใช้ จ่าย
ได้ น้อยลง จึงช่วยลดปั ญหาตัวแทน (Agency Problem)

ส่วนโทษ คือ ต้ นทุนปั ญหาทางการเงิน (financial distress costs) ทัง้ ทางตรงและทางอ้ อม ทางตรงได้ แก่ ต้ นทุนเกี่ยวการ
ล้ มละลาย (เช่น ค่าใช้ จ่ายทางกฎหมาย ค่าธุรกิจหยุดชะงัก ความเสียหายที่เกิดจากการขายสินทรัพย์ทอดตลาดได้ ในราคาตํ่า
กว่าราคายุติธรรม เป็ นต้ น) และ ต้ นทุนดอกเบี ้ยที่สงู มากขึ ้น จากอันดับความน่าเชื่อถือที่ลดลงเมื่อมีหนี ้มาก ส่งผลให้ ต้นทุน
ทางการเงินสูงขึ ้น ทางอ้ อมได้ แก่ การสูญเสียลูกค้ าเพราะลูกค้ าไม่เชื่อมัน่ เสียความตังใจทํ
้ างานของพนักงาน เสียความเชื่อถือ
จาก supplier ทําให้ ไม่สามารถทําธุรกิจได้ อย่างราบรื่ น

ทฤษฏี Trade-off Theory พูดถึงระดับของหนี ้ที่เหมาะสม (Optimal Debt Level) ไว้ วา่ บริษัทควรจะมีหนี ้บ้ างเพื่อเอาประโยชน์
จากการประหยัดภาษี และสร้ างวินยั ทางการเงิน แต่ไม่ควรมีหนี ้มากเกินไปเพราะมีต้นทุนปั ญหาทางการเงิน ดังนัน้ บริ ษัทควร
เลือกระดับหนี ท้ ี่ทําให้ ได้ ประโยชน์ สุทธิ ของการมีหนี ส้ ูงที่สุด โดยหาจุดที่เป็ นจุดสมดุลระหว่างภาษี ที่ประหยัดได้ กับต้ นทุน
ปั ญหาทางการเงิน

132 of 134
 
8/ ให้ ใช้ ทฤษฏี Trade-Off Theory อธิบายเรื่ องดังต่อไปนี ้
8.1/ อธิบายถึง ผลดี และ ผลเสีย ของการระดมทุนด้ วยหนี ้ (debt financing) ที่มีตอ่ มูลค่าของบริ ษัท (firm's value)
8.2/ โครงสร้ างเงินทุนที่เหมาะสมที่สดุ (optimal capital structure) ของบริ ษัท

133 of 134
 
ธงข้ อ 8/
8.1/
ข้ อดีของการมีหนี ้คือ ช่วยประหยัดภาษี โดยเป็ นเสมือนโล่ภาษี (tax shield) นอกจากนันยั ้ งเป็ นเครื่ องมือในการสร้ าง
วินยั ให้ ฝ่ายบริหาร เพื่อจะทําให้ เหลือกระแสเงินสดที่ฝ่ายบริหารจะนําไปใช้ จ่ายน้ อยลง เป็ นการช่วยลดปั ญหาตัวแทน (agency
problem)
ข้ อเสียของการมีหนี ้คือ ต้ นทุนความยากลําบากทางการเงิน (financial distress costs) ทังทางตรงและทางอ้
้ อม
ทางตรงได้ แก่ ต้ นทุนการล้ มละลาย (เช่น ค่าใช้ จ่ายทางกฎหมาย ค่าธุรกิจหยุดชะงัก ความเสียหายที่เกิดจากการขาย
สินทรัพย์ทอดตลาดได้ ในราคาตํ่ากว่าราคายุติธรรม เป็ นต้ น) และ ต้ นทุนดอกเบี ้ยที่สงู มากขึน้ จากอันดับความน่าเชื่อถือที่
ลดลงเมื่อมีหนี ้มาก ส่งผลให้ ต้นทุนทางการเงินสูงขึ ้น
ทางอ้ อ มได้ แ ก่ การเสี ยลูกค้ า เพราะลูก ค้ า ไม่เชื่ อ มั่น เสียความตัง้ ใจทํ า งานของพนัก งาน เสียความเชื่ อ ถื อ จาก
supplier ทําให้ ไม่สามารถทําธุรกิจได้ อย่างราบรื่ น

8.2/
โครงสร้ างเงินทุนที่เหมาะสม บริ ษัทควรจะมีหนี ้บ้ างเพื่อเอาประโยชน์จากการประหยัดภาษี และสร้ างวินยั แต่ไม่ควรมีหนี ้มาก
เกินไปเพราะมีต้นทุนความยากลําบากทางการเงิน ดังนัน้ บริ ษัทควรเลือกระดับหนี ้ที่ทําให้ ประโยชน์สทุ ธิของการมีหนี ้สูงที่สดุ
ซึง่ อยูร่ ะหว่างไม่มีหนี ้เลย กับมีหนี ้เกือบ 100 เปอร์ เซ็นต์ ในโครงสร้ างเงินทุน

134 of 134
 

You might also like