You are on page 1of 6

WHO histologic classification of odontogenic tumor

(ปี 2005)

1. Benign tumor
Odontogenic epithelium with mature, fibrous stroma
without odontogenic ectomesenchyme
เนื้องอกทีม
่ ี origin จาก odontogenic epithelium อย่างเดียว อยูใ่ น
mature CNT (มี collagen, blood vessel) ไม่เหมือน CNT ทีเ่ ป็ น
mesenchyme (จะมี spindle cell, collagen เส้นบางๆ) แบ่งเป็ น
- Ameloblstoma Solid/multicystic type:
เนื้องอกเป็ นเนื้อตัน หรือถุงน้าหลายถุง
Extraosseous/peripheral type:
เนื้องอกอยูน
่ อกกระดูก
Desmoplastic type: มีการสร้าง collagen
เยอะ
Unicystic type: เป็ นถุงน้าถุงเดียว
- Squamous odontogenic tumor
- Calcifying epithelium odontogenic tumor (CEOT)
- Adenomatoid odontogenic tumor (AOT)
- Keratocystic odontogenic tumor (KCOT)
Odontogenic epithelium with odontogenic
ectomesenchyme, with or without hard tissue formation (mixed
odontogenic tumor)
เซลล์เนื้องอกมี origin ประกอบด้วยเซลล์ 2 ชนิด ชนิดที่ 1 คือ
odontogenic epithelium และชนิดที่ 2 คือ odontogenic
ectomesenchyme ซึง่ อาจจะมีการสร้างเนื้อเยือ
่ แข็งของฟันหรือไม่ก็ได้
- Ameloblastic fibroma
- Ameloblastic fibrodentinoma
- Ameloblastic fibro-odontoma
- Odontoma
Odontoma, complex type
Odontoma, compound type
- Odontoameloblastoma
- Calcifying cystic odontogenic tumor (CCOT)
- Dentinogenic ghost cell tumor
Mesenchyme and/or odontogenic ectomesenchyme with
or without odontogenic epithelium
เนื้องอกมี origin จาก odontogenic ectomesenchyme
หรือมาจาก mesenchyme ทีอ ่ ยูร่ อบๆก็ได้ อาจะพบ odontogenic
epithelium อยูใ่ นเนื้องอกได้ ซึง่ อาจจะเกิดจากการทีม่ น
ั หลุดเข้าไป แต่ตวั
epithelium นี้ไม่ได้เป็ นเนื้องอกด้วย
- Odontogenic fibroma
- Odontogenic myxoma/myxofibroma
- Cementoblastoma
2. Malignant tumor
Odontogenic carcinoma
เป็ น malignant ที่ origin มาจาก odontogenic epithelium
- Metastasizing (malignant) ameloblastoma
- Ameloblastic carcinoma-primary type
- Ameloblastic carcinoma-secondary type
(dedifferentiated), intraosseous
- Ameloblastic carcinoma-secondary type
(dedifferentiated), peripheral
- Primary osseous squamous cell carcinoma-solid
type
- Primary osseous squamous cell carcinoma-solid
type derived from keratocystic odontogenic tumor
- Primary intraosseous squamous cell carcinoma
derived from odontogenic cysts
- Clear cell odontogenic carcinoma
- Ghost cell odontogenic carcinoma
Odontogenic sarcoma
เป็ น malignant ทีเ่ จริญมาจาก odontogenic ectomesenchyme
- Ameloblastic fibrosarcoma
- Ameloblastic fibrodentino-and fibro-
odontosarcoma

ลักษณะทางภาพรังสี

Benign ภาพรังสีแสดงขอบชัดเจน (well defined)


Malignant ภาพรังสีแสดงขอบไม่ชดั เจน (ill defined)

การวินิจฉัยและการวินิจฉัยแรกโรค
(Diagnosis and differential diagnosis)
ถ้าใช้ลกั ษณะทางคลินิกหรือภาพรังสีอย่างเดียวจะไม่สามารถบ่งบอกได้
ว่าเป็ นโรคไหน บอกได้แค่กว้างๆ เช่น โตไว เป็ น malignant หรือโตช้าเป็ น
benign แต่ลกั ษณะทาง histopathology
จะช่วยให้เห็นลักษณะเด่นของเนื้องอก และบอกได้วา่ เป็ นเนื้องอกชนิดไหน

ลักษณะทางคลินิก ไม่จาเพาะ
ลักษณะทางภาพรังสี ไม่จาเพาะ
ลักษณะทางทางจุลพยาธิวท
ิ ยา จาเพาะ แน่ นอน
การรักษา
- ใช้วธิ ีการตัดออกทัง้ benign และ malignant
- อาจะใช้ radiotherapy ร่วมด้วยได้
Benign tumor
Odontogenic epithelium with mature, fibrous stroma
without odontogenic ectomesenchyme
Ameloblastoma (เนื้องอกเซลล์ตน
้ กาเนิดฟัน)
แบ่งออกเป็ น 4 ชนิด
1. Solid/multicystic type: ชนิดตัน/หลายถุงน้า
2. Unicystic type: ชนิดเป็ นถุงน้าเดียว
3. Desmoplastic type เป็ นชนิดทีม
่ ีการสร้าง collagen เยอะ
4. Extraosseous type: ชนิดนอกกระดูก

Solid type Unicystic type ล้อมรอบ crown


Extraosseous type

สีฟ้าคือเนื้อ
งอก สีฟ้าอ่อนคื
อเซลล์เนื้อ
งอก
1) Ameloblastoma Solid/multicystic type
เป็ นชนิดทีพ
่ บบ่อยทีส
่ ุด
ลักษณะทางคลินิก (Clinical feature)
- พบบ่อยในวัยหนุ่มสาว อายุ 20-30
ปี
- ตาแหน่ งทีพ ่ บบ่อยทีส
่ ุดคือ
ขากรรไกรล่างส่วนหลังตรง molar
และ retromolar
- อาการทีม่ กั พบคือ การบวม(swelling) ทีข ่ ากรรไกรส่วนหลัง
ไม่เจ็บปวด
- เนื้องอกมีการลุกลามเนื้อเยือ ่ ข้างเคียงโดยรอบ Locally
invasive

ขากรรไกรด้านหลังมีการบวม Multilocular radiolucency


มีเส้นขาวๆแบ่งเป็ นห้องๆ
ขอบเขตชัดเจน

เนื้องอกผ่าครึง่ ออกมาพบถุง
น้าขนาดเล็กขนาดกลาง
และขนาดใหญ่ หลายๆถึงน้า
(แบบ multicystic)

ลักษณะทางภาพรังสี (radiographic feature)


- 60% เป็ น multilocular radiolucency (แบบอืน
่ ก็พบได้)
ขอบชัด อาจจะพบฟันคุดอยูด ่ ว้ ย
ลักษณะทางจุลพยาธิวท
ิ ยา (Histopathologic feature)
แบ่งเป็ น 5 แบบ
1. Follicular pattern พบ 1 ใน 3 ของ ameloblstoma
2. Plexiform pattern พบ 1 ใน 3 ของ ameloblstoma
3. Acanthomatous pattern
4. Granular cell pattern
5. Basal cell pattern
15.5% ของเนื้องอกทัง้ หมดมักเห็นลักษณะทางจุลพยาธิวท
ิ ยามากกว่า
1 แบบในก้อนเนื้องอก
การรักษา(Treatment)
รักษาโดยการตัดออก (resection)
โดยตัดห่างจากรอยโรคในภาพรังสีประมาณ 1 เซนติเมตร
เพือ
่ ให้แน่ ใจว่าตัดเนื้องอกออกได้หมด

You might also like