You are on page 1of 6

2 Pharmaceutical Calculation

นศภ. โสภานันท บุญลอม


ความเขมขนและการแปลงหนวย

• mol = >>> mol เทากับ กรัม หารดวย มวลโมเลกุล


• Eq = >>>> equivalent เทากับ กรัม หารดวย equivalent weight
• Equivalent weight คือ น้ําหนักของสารที่สามารถใหประจุบวก 1 โมล หรือประจุลบ 1 โมล
• Eq weight =
• Valency คือ จํานวนประจุ
• Eq = = x valency

• Eq = mol x valency
• mEq = mmol x valency
• Valency ดูจากจํานวนประจุ
• ความเขมขน Molarity หมายถึง mol/L หรือ mol/dm3
• ความเขมขน Normality หมายถึง eq/L หรือ eq/dm3

Drug dose calculation


1. Per time, Per day
• Amoxicillin for children 25-50 MKD (mg/kg/day) in divided dose every 8 hr
• Amoxicillin for adult 250-500 mg every 8 hr
2. Rate of administration
Drip factor (drop/mL)
• Macrodrops = 10 gtt/mL (gtt = drip = drop) : เหมาะสําหรับ viscous fluid เชน เลือด
• Microdrops = 60 gtt/mL : สําหรับ fluid ปริมาณนอยและตองการปริมาณที่แมนยํา เชน IV therapy for
infants or children
• Regular drops = 15-20 gtt/mL
3. Potency/Strength: mg/tab, mg/cap, mg/ml, %w/v, %w/w, mg/vial

8
Allegation method
Allegation method: เปนวิธีทางเลขคณิตที่ใชในการคํานวณปญหาการเจือจางและการเพิ่มความเขมขน โดย
ความแรงตองระบุเปน % ทั้งหมด
1. วิธีการทํา
• เรียงความแรงของสารเริ่มตนจากมากไปหานอยในแนวตั้ง (คอลัมน A)
• ใหความแรงที่ตองการอยูตรงกลาง (คอลัมน B)
• หาผลตางระหวางความแรงที่ตองการกับความแรงของสารตั้งตนแตละตัว แลวเขียนผลตางนี้ใหอยูดานขวามือ
ของความแรงที่ตองการ (คอลัมน C)
• เขียนจํานวนของผลตางของขอ 3 อยูขวามือตรงขามกับความแรงของสารแตละตัว จํานวนดังกลาวจะคิดเปน
สัดสวนของสารเริ่มตนในแตละตัว
2. ตัวอยางการคํานวณ
Epinephrine 0.01 mg/kg ชวยการหยุดเตนของหัวใจ โดยใชความแรง 1:10,000 หากผูปวยหนัก 50 kg ตอง
ใชยา Epinephrine ในความแรง 1:10,000 จํานวนกี่ ml หากที่ โรงพยาบาลมี Epinephrine ความแรง 1:1,000 ตองเจือ
จางอยางไร
วิธีคิด
Epinephrine 1:10,000 คือ มียา 1 g ในสารละลาย 10,000 mL หรือ 0.1 mg/mL
ผูปวย 50 kg ตองใชยา 0.01 mg/kg × 50 kg = 0.5 mg ซึ่งตองใช epinephrine ความแรง 1:10,000
(0.1 mg/ml) ปริมาณ = 5 ml
หากโรงพยาบาลมีความแรง 1:1,000 ตองนํามาเจือจาง โดยใชวิธี Allegation method
การใช Allegation method ตองระบุความแรงเปน % ทั้งหมด ซึ่งจะไดวา
สารละลายตั้งตน
สารละลาย Epinephrine 1:1,000 (1 gm/1,000 ml) มีความเขมขน × 100 = 0.1%
สารละลายที่ตองการ
สารละลาย Epinephrine 1:10,000 (1 gm/10,000 ml) มีความเขมขน × 100 = 0.01%
ตัวทําละลายที่นํามาเจือจาง
สมมติใช NSS ซึ่งตัวทําละลายมีความแรงของ Epinephrine (ตัวถูกละลาย) เปน 0 %
0.1% 0.01 สวน (ไดจาก 0.01% - 0.0%)
0.01%
0.0% 0.09 สวน (ไดจาก 0.1% - 0.01%)
คอลัมน A คอลัมน B คอลัมน C
แสดงวา
1. ตองนําสารละลาย Epinephrine 1:1,000 ปริมาณ 0.01 สวน คิดเปนปริมาตร 0.01x ml
2. ผสมกับตัวทําละลาย NSS ปริมาณ 0.09 สวน คิดเปนปริมาตร 0.09x ml
3. นํา 1กับ 2 ผสมกันตองไดปริมาตร 5 ml
4. สรางสมการจากเงื่อนไข 0.01x + 0.09x = 5
0.1x = 5
x = 50

9
แทนคา x ลงใน เงื่อนไขขอที่ 1
ตองนําสารละลาย Epinephrine 1:1,000 ปริมาณ 0.01 x 50 = 0.5 ml
แทนคา x ลงใน เงื่อนไขขอที่ 2
ผสมกับตัวทําละลาย NSS ปริมาณ 0.09 x 50 = 4.5 ml
จึงจะไดสารละลาย Epinephrine ที่มีความแรง 1:10,000 ปริมาตร 5 ml

การวัดขนาดของรางกาย (Anthropometry)
1. Body Mass Index (BMI) ใชสําหรับประเมินภาวะโภชนาการ และพิจารณาวาผูปวยน้ําหนักเกินหรือไม
BMI = น้ําหนัก (kg)
สวนสูง (m2)
การแปลผลตองระมัดระวัง เพราะมีเกณฑหลายเกณฑ เชน

ตารางแสดง Standard BMI สําหรับเด็กกอนวัยเรียน (ดัดแปลงจากเอกสารอางอิงหมายเลข 3)


ภาวะโภชนาการ BMI (kg/m2)
Mild malnutrition 14.5 – 13.0
Moderate malnutrition 13.0 – 11.5
Severe malnutrition < 11.5

ตารางแสดง BMI สาหรับผูใหญ (ดัดแปลงจากเอกสารอางอิงหมายเลข 1)


ภาวะโภชนาการ BMI (kg/m2)
Severe obesity > 40
Obesity 30 – 40
Overweight 25 – 30
Desirable range 20 – 25
Moderate protein – energy malnutrition 17 – 18.4
Moderately severe protein – energy 16 – 17
malnutrition
Severe protein – energy malnutrition < 16

ตารางแสดง BMI สําหรับผูใหญชาวเอเชีย (ดัดแปลงจากเอกสารอางอิงหมายเลข 2)


ภาวะโภชนาการ BMI (kg/m2)
ปกติ 18.5 – 22.9
นาหนักเกิน 23 – 25
โรคอวน 25 – 30

2. Ideal body weight (IBW)


• ใชสําหรับคํานวณ Creatinine clearance
• ใชสําหรับคํานวณ ขนาดยาบางชนิด เชน Aminoglycosides
• ใชสาํ หรับประเมินภาวะโภชนาการ

10
ผูใหญ เพศชาย IBW (kg) = 50 + 2.3 (ความสูงเปนนิ้วที่เกินจากหาฟุต)
เพศหญิง IBW (kg) = 45.5 + 2.3 (ความสูงเปนนิ้วที่เกินจากหาฟุต)
เด็กอายุ 1 – 18 ป IBW (kg) = [(ความสูงเปนเซนติเมตร)2 x 1.65]/1,000
2.1 รอยละของ Ideal body weight (% IBW)
% IBW = [(kg)/IBW] x 100
2.2 Adjusted body weight
Adjusted body weight = IBW + 0.4 (W - IBW)

3. Lean body weight (LBW)


เพศชาย LBW (kg) = 0.3281Wt + 0.33929Ht – 29.5336
เพศหญิง LBW (kg) = 0.2957Wt + 0.41813Ht – 43.2933

การวัดทํางานของไต (Renal function assessment)


1. Renal function test
• Glomerular function เชน Scr, ClCr test (24 urine creatinine collection)
• Tubular function เชน Urine osmolarity, Specific gravity, Electrolytes, Concentration test
เงื่อนไขของการใชสูตร
- Stable renal function (Scr > 0.5 – 0.7 mg/dL/day): การเปลี่ยนแปลงของ Scr ตองไมเปนแบบ
กะทันหัน เพราะหากมีการเปลี่ยนแปลงเร็วขนาดนี้ ใหประมาณวา ClCr < 10 mL/min
- ตองไมอยูในภาวะ Marked emaciation (ผอมแหง ) เพราะมีกลามเนื้อสราง Creatinine นอย ไมสะทอน
การทํางานของไตที่แทจริง
2. สูตรการคํานวณ
2.1 Creatinine clearance (ClCr)
• 24 hour urine creatinine collection: ClCr = (mL/min)
2.2 Estimation of creatinine clearance (ClCr)
• Adult > 18 years:
Cockcroft & Gault equation (mL/min)

เพศชาย ClCr =

เพศหญิง ClCr = x 0.85


• Infant (> 6 months) to adult < 21 years:
Schwartz Brion & Spitzer equation (mL/min/1.73m2)

ClCr =

11
ตารางแสดงคา Constant of proportional age specific
K: Constant of proportional age specific
Low birth weight < 1 year 0.33
Full term < 1 year 0.45
2 – 12 years 0.55
13 – 21 years (female) 0.55
13 – 21 years (male) 0.70

Temperature conversion
5F = 9C + 160ο

References
1. Chessman, Teasley-Strausburg "Assessment of Nutrition Status and Nutrition Requirements", In
Dipiro, J.T., et al. Pharmacotherapy: A Pathophysiologic Approach. 5 ed. Norwalk: Appleton
and Lange. . 2002. p 2445-2463.
2. Choo, V. WHO reassesses appropriate body-mass index for Asian populations. The
Lancet, 2002. 360(9328), 235.
3. ประสงค เทียนบุญ. การประเมินภาวะโภชนาการดวยการวัดสัดสวน. วารสารโภชนบําบัด 2540.
4. ศรีรัตน กสิวงศ . เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 562 – 301 เรื่อง Calculation in Pharmacy คณะเภสัช
ศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

12
(This page is intentionally left blank)

13

You might also like