You are on page 1of 9

1

การผลิตถ่ านไม้ ไผ่ คุณภาพสู งเพือ่ พัฒนาเป็ น


ถ่ านกัมมันต์ โดยใช้ เตาเผาถ่ านดัดแปลงจากถังนา้ มัน 200 ลิตร
A production of high quality bamboo charcoals as activated
charcoal based materials using 200 liters oil drum modified charcoal kiln
กิตติธัช สัจจากุล1* พงษ์ศกั ดิ์ เฮงนิรันดร์1 ไตรรัตน์ เนียมสุวรรณ1 และนิคม แหลมสัก1
Kittitouch Sajjakul1* , Pongsak Hengniran1 , Trairat Neimsuwan1 and Nikhom Laemsak1

บทคัดย่อ
ในงานวิจยั นี้เป็ นการศึกษาการผลิตถ่านไม้ไผ่เพื่อดูแนวโน้มความเป็ นไปได้เบื้องต้นในการใช้เป็ นถ่านกัม
มันต์ โดยถ่านที่ได้มาจากการเผาไม้ไผ่ 4 ชนิด คือ ไผ่ตงดา ไผ่หวานอ่างขาง ไผ่หยก และไผ่มากินอย ในเตาเผาถ่าน
ที่พฒั นาจากถังน้ ามัน 200 ลิตร สามประเภท คือ เตา KP1 เตา KP2 และเตา Nikome โดยใช้แผนการทดลองแบบ
แฟคทอเรี ยลของปั จจัยทั้งสองข้างต้น ผลจากการวิเคราะห์แบบการประมาณค่า (Approximate Analysis) พบว่า
ประเภทเตาและชนิดไม้ที่ใช้ไม่มีอิทธิ พลร่ วมต่อค่าคาร์บอนเสถียร (%FC) ที่ได้ โดยเตา KP2 ให้ค่าเฉลี่ยสู งสุ ดอยู่ที่
ร้อยละ 80.84 ขณะที่ไม้ไผ่ตงดาให้ค่าเฉลี่ยสู งสุ ดที่ร้อยละ 84.78 ตามลาดับ ส่ วนค่าร้อยละขี้เถ้า (%Ash) พบว่า
เฉพาะชนิ ดไม้ไผ่เท่านั้นที่มีผลต่อร้อยละขี้เถ้าของถ่านไม้ไผ่ที่ได้ โดยไม้ไผ่ตงดาให้ค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ
4.74 ซึ่ งตรงข้ามกับผลการวิเคราะห์ร้อยละปริ มาณสารระเหย (%VOCs) ที่เฉพาะประเภทเตาเผาถ่านเท่านั้นที่มีผล
ต่อค่าปริ มาณสารระเหยของถ่านไม้ไผ่ที่ผลิตได้ โดยถ่านไม้ไผ่จากเตา KP1 และเตา KP2 จะมีร้อยละปริ มาณสาร
ระเหยน้อยกว่าถ่านไม้ไผ่จากเตา Nikome อย่างมีนยั สาคัญ โดยมีค่าที่ได้อยูท่ ี่ร้อยละ 5.69 และ 6.29 เปรี ยบเทียบกับ
10.50 ตามลาดับ กล่าวโดยสรุ ปคือ ไผ่ตงดาและไผ่มากินอยที่ได้จากเตา KP1 และ เตา KP2 มีคุณสมบัติพ้ืนฐาน
เบื้ อ งต้นของการเป็ นถ่ า นกัมมันต์ เมื่ อพิ จารณาคุ ณ สมบัติ ถ่านไม้ไผ่ท้ งั สองที่ ไ ด้เ พิ่ มเติ ม พบว่า ค่ า ความร้ อ น
(Calorific Value) ของถ่านไม้ที่ได้จากไผ่ตงดามีค่าสู งกว่าถ่านไม้ไผ่มากิ นอยอย่างมีนยั สาคัญโดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่
7,402.04 และ 7,105.80 แคลอรี่ /กรัม ตามลาดับ ส่ วนผลการวิเคราะห์หาปริ มาณธาตุ (Ultimate Analysis) ของ
องค์ประกอบถ่านทั้งสอง ชี้ให้เห็นว่าในส่ วนของร้อยละไนโตรเจน (%N) เฉพาะชนิดไม้ไผ่เท่านั้นที่มีผลต่อร้อยละ
ไนโตรเจนของถ่านไม้ไผ่ที่ได้ โดยไม้ไผ่มากินอยให้ค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดอยูท่ ี่ร้อยละ 0.32 ส่ วนไผ่ตงดาอยู่ที่ 0.64 และ
ผลการวิเคราะห์ปริ มาณธาตุซลั เฟอร์ (%S) พบว่า ทั้งชนิ ดไม้ไผ่และเตาที่ใช้มีอิทธิ พลต่อค่าซัลเฟอร์ ของถ่านไม้ไผ่
ทั้งสองชนิดที่ได้ โดยถ่านไม้ไผ่ตงดาจากเตา KP2 ให้ปริ มาณธาตุซลั เฟอร์ นอ้ ยกว่าโดยอยู่ที่ร้อยละ 0.33 อย่างไรก็
ตามถ่านไม้ไผ่ที่ได้จะต้องทาการวิเคราะห์ความสามารถในการดูดซับ (Adsorption Capacities) เพิ่มเติ มเพื่อให้
งานวิจยั นี้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น

คาสาคัญ: ถ่านกัมมันต์, เตาถังน้ ามัน 200 ลิตรประยุกต์, ถ่านไม้ไผ่คุณภาพสู ง


* Corresponding author; e-mail address: houto_ted@hotmail.com
1
ภาควิชาวนผลิตภัณฑ์ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุ งเทพฯ 10900
1
Department of Forest Product, Faculty of Forestry, Kasetsart University, Bangkok 10900
2

ABSTRACT
In this research, the preliminary examinations of high quality bamboo charcoals were carefully studied
in order to check their properties for applying them as activated carbon-based materials. The bamboo charcoals
were produced from 4 species of high potential bamboo namely Rough Giant Bamboos, Taiwan Giant Bamboos,
Giant Timber Bamboos and Makinoi Bamboos carbonized in three types of 200 liters oil drum modified
charcoal kiln, namely KP1, KP2 and Nikome charcoal kiln. The 4x3x3 factorial design was run in this study.
The approximate analysis showed that the interaction of bamboo species and types of charcoal kiln had no
influence on the fixed carbon percentages (%FC) of produced bamboo charcoals. The bamboo charcoals from
KP2 gave the highest fixed carbon at 80.84% among those from other charcoal kilns, while the Rough Giant
bamboos can be produced the highest fixed carbon at 84.78% compared with those from other species.
Additionally, only the bamboo species affected on the ash percentages of produced bamboo charcoals. The
lowest of ash percentages about 4.74% came from Rough Giant bamboo charcoals. However, only types of
charcoal kiln had clearly an effect on the Volatile Organic Compounds (%VOC). The KP1 and KP2 charcoal
kiln produced bamboo charcoals with the lower Volatile Organic Compounds than that from the Nikome
charcoal kiln (5.63% and 6.29% compare with 10.50%). By conclusion with these primary data, the charcoals
from Rough Giant bamboos and Makinoi bamboos carbonized in the KP1 and KP2 charcoal kiln have
fundamental properties suitable for utility as activated charcoal or active carbon-based raw material. To consider
the properties of bamboo charcoal between Rough Giant bamboos and Makinoi bamboos, the heating value from
the first one is higher than that of the second one (7,402.04 cal / g compared with 7,105.80 cal / g). By ultimate
analysis, only the bamboo species had an influence on Nitrogen percentages (%N). The Nitrogen percentages of
bamboo charcoal from Makinoi bamboos are lower than that of Rough Giant bamboos (0.32% vs 0.64%).
Finally, for these two charcoal kinds, both bamboo species and charcoal kinds had effect directly on sulfur
contents. The lowest sulfur percentages of charcoal approximately 0.33% originated from Rough Giant bamboo
species from the KP2 charcoal kiln. Last but not least, the test of adsorption capacities is necessary to complete
this research completion.

Key word: activated charcoal, modified oil drum kilns, high quality bamboo charcoal
* Corresponding author; e-mail address: houto_ted@hotmail.com
1
ภาควิชาวนผลิตภัณฑ์ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุ งเทพฯ 10900
1
Department of Forest Product, Faculty of Forestry, Kasetsart University, Bangkok 10900
3

คานา

ถ่านกัมมันต์ (Activated Charcoal) คือ ถ่านที่อยูใ่ นรู ปคาร์ บอนอสัณฐาน (Amorphous Carbon) ชนิ ดหนึ่ ง
ที่ผลิตขึ้นมาเป็ นพิเศษโดยผ่านการกระตุน้ (Activation) เพื่อทาให้ถ่านมีความเป็ นรู พรุ นและมีพ้ืนที่ผิวที่สูงเหมาะ
แก่การดูดซับ ถ่านกัมมันต์ประกอบไปด้วยธาตุคาร์บอนเป็ นส่ วนใหญ่ซ่ ึ งมีอยู่ประมาณร้อยละ 87 - 97 โดยน้ าหนัก
และอาจมี องค์ประกอบอื่ นอยู่บา้ ง เช่ น ออกซิ เจน ไฮโดรเจน กามะถัน และไนโตรเจน เป็ นต้น แต่ธาตุ เหล่านี้
รวมกันไม่เกินร้อยละ 20 ขององค์ประกอบทั้งหมด (สัมฤทธิ์ , 2558) จากการจาแนกถ่านกัมมันต์สามารถแบ่งชนิ ด
ถ่านกัมมันต์ได้ตามเกณฑ์ต่าง ๆ ดังนี้ แบ่งตามชนิ ดของตัวกระตุน้ ตามขนาดรู พรุ นบนผิวคาร์ บอน ตามความ
หนาแน่ นของถ่านกัมมันต์ ตามชนิ ดสารที่ ถูกดูดซับ ตามรู ปร่ างลักษณะ และแบ่งตามค่าความเป็ นกรดด่างเมื่อ
ละลายน้ า เป็ นต้น แต่ในทางปฏิ บตั ิ กระบวนการผลิตถ่านกัมมันต์สามารถแบ่งเป็ น 2 วิธีดงั นี้ คื อ วิธีการผลิ ต
ถ่านกัมมันต์ดว้ ยการกระตุน้ ทางกายภาพ และวิธีการผลิตถ่านกัมมันต์ดว้ ยวิธีการกระตุน้ ด้วยสารเคมี (ปริ นทร,
2552)

ในปัจจุบนั ประเทศไทยมีการใช้ถ่านกัมมันต์เพื่อใช้เป็ นตัวดูดซับ (Adsorption) แก๊สพิษ ความชื้ น และน้ า


เสี ยอย่างแพร่ หลาย โดยเฉพาะโรงงานอุตสาหกรรมหลายแห่ งที่มีของเสี ยปะปนออกมา แต่ส่วนใหญ่ถ่านกัมมันต์
คุณภาพดีที่ใช้ในประเทศไทยนาเข้ามาจากการนาเข้าจากต่างประเทศเป็ นส่ วนใหญ่ซ่ ึ งมีราคาค่อนข้างสู ง รวมถึง
กรรมวิธีการผลิ ตถ่านกัมมันต์ในประเทศไทยยังคงมีปัจจัยหลายอย่างในการผลิตไม่ว่าจะเป็ นกรรมวิธีการผลิ ต
ถ่านกัมมันต์ที่ค่อนข้างซับซ้อนหรื อมีตน้ ทุนการผลิตที่สูง ส่ งผลให้ราคาถ่านกัมมันต์ที่ผลิตขึ้ นในประเทศไทยมี
ภาระต้นทุนมากกว่าที่ควรจะเป็ น ด้วยเหตุน้ ี ทาให้ผวู ้ ิจยั ต้องการศึกษากรรมวิธีในการผลิตถ่านกัมมันต์ที่เหมาะสม
และมีตน้ ทุ นการผลิตที่ ลดลง โดยเตาเผาถ่านที่ ใช้เป็ นเตาเผาถ่านที่ สามารถสร้างขึ้ นเองได้ในราคาที่ ถูกกว่าเตา
ทัว่ ไป ซึ่ งประยุกต์มาจากถังน้ ามัน 200 ลิตร ส่ วนวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตถ่านกัมมันต์ผวู ้ ิจยั ได้เล็งเห็นคุณค่าของไม้
ไผ่ เนื่ องจากไม้ไผ่เป็ นพื ชที่ สามารถเติ บโตได้ทวั่ ทุ กภูมิภาคของประเทศไทย เมื่ อนามาผลิตเป็ นถ่านจะมีความ
แตกต่างจากถ่านไม้ชนิ ดอื่นเพราะถ่านไม้ไผ่จะมีความเป็ นรู พรุ นที่สูงกว่าถ่านไม้ชนิ ดอื่น (ถ่านไม้ไผ่มีความเป็ นรู
พรุ นอยู่ประมาณ 300 – 700 ตารางเมตรต่อกรัม แต่ถ่านไม้ทวั่ ไปมีความเป็ นรู พรุ นประมาณ 50 – 100 ตารางเมตร
ต่อกรัม) ทาให้มีพ้ืนที่ผิวสัมผัสสูง ซึ่ งเหมาะแก่การนาไปเป็ นตัวดูดซับของเสี ยต่าง ๆ ในอุตสาหกรรม

ในงานวิจยั นี้ เป็ นการศึ กษาความเป็ นไปได้ในการผลิตถ่านกัมมันต์ โดยใช้เตาเผาถ่านที่ประยุกต์จากถัง


น้ ามัน 200 ลิตร 3 แบบ ผลิตร่ วมกับไม้ไผ่ 4 ชนิ ด เพื่อหาเตาที่ มีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดในการผลิตถ่านกัมมันต์ และ
ชนิดไม้ไผ่ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมแก่การเลือกไปผลิตเป็ นถ่านกัมมันต์
4

อุปกรณ์ และวิธีการ

วิธีการผลิตถ่ านกัมมันต์
ในการศึ กษาคุณสมบัติของถ่านกัมมันต์ครั้งนี้ มีปัจจัยที่ตอ้ งพิจารณาทั้งหมด 2 ปั จจัย คื อ ชนิ ดของไม้ไผ่
และประเภทของเตาเผาถ่าน โดยเลือกไม้ไผ่มีท้ งั หมด 4 ชนิด ได้แก่ ไผ่ตงดา ไผ่หมาจู๋หรื อไผ่หวานอ่างขวาง ไผ่ลี่จ๋ ู
หรื อไผ่หยก และไผ่มากินอย มาทดลองเผาในเตาเผาถ่าน มีท้ งั หมด 3 ประเภท คือ เตา KP1 เตา KP2 และเตาถัง
น้ ามัน 200 ลิ ตรแบบสองถังต่ อ (Nikome) โดยเลื อกใช้แผนการทดลองแบบ 4x3 แฟคทอเรี ยล และจานวนซ้ า
ทั้งหมด 3 ซ้ า โดยมีข้ นั ตอนการผลิตถ่านไม้ไผ่ดงั นี้
1. ทาความสะอาดเตาและปล่องควันก่อนเผาถ่านทุกครั้งเพื่อป้ องกันไม่ให้สิ่งสกปรกไปอุดตันการ
ไหลเวียนของอากาศภายในเตา หลังจากนั้นเตรี ยมเชื้อเพลิงแห้งสาหรับการเผา
2. คัดขนาดความหนาของไม้ไผ่ให้ใหญ่พอประมาณ แล้วตัดไม้ไผ่ให้มีความยาวใกล้เคี ยงกับความยาว
ของเตาเผาถ่านโดยจะขึ้นอยู่กบั ขนาดของเตาเผาถ่านแต่ละชนิ ด แล้วเจาะรู ในแต่ละปล้องของไม้ไผ่เพื่อใช้ระบาย
ความชื้นของไม้ไผ่ออกจากรู ในระหว่างการเผา
3. เรี ยงไม้เข้าเตาโดยนาไม้ขนาดเล็กเรี ยงไว้ดา้ นล่างเตาเผาถ่าน และนาไม้ขนาดใหญ่เรี ยงไว้ดา้ นบนของ
เตาเผาถ่าน
4. เริ่ มจุดเตาเผาถ่านแล้วรักษาอัตราการเพิ่มของอุณหภูมิภายในเตาช่วงแรกโดยไม่ควรให้อตั ราการเพิ่ม
ของอุณหภูมิเร็ วเกินไป จดบันทึกอุณหภูมิทุก 30 นาที พยายามสังเกตการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิภายในเตา และควัน
ที่ออกจากปล่องควัน
5. ควบคุมอุณหภูมิภายในเตาให้อยู่ที่ระดับ 700 – 1,000 องศาเซลเซี ยส หลังจากนั้นให้นาถ่านออกจาก
เตาขณะอุณหภูมิสูงสุ ด เพื่ อเป็ นการกระตุน้ ถ่านด้วยอากาศ แล้วจึ งกลบถ่านด้วยขี้ เถ้าให้ไฟดับ เนื่ องจากขี้ เถ้ามี
แคลเซี ยมออกไซด์อยูม่ ากจึงเป็ นการกระตุน้ ครั้งที่สอง
6. เมื่ออุณหภูมิของถ่านกัมมันต์ลดลงจนเท่ากับบรรยากาศภายนอก ให้เก็บถ่านกัมมันต์ใส่ บรรจุภณ ั ฑ์
เพื่อเตรี ยมทาการทดสอบคุณสมบัติของถ่านกัมมันต์ต่อไป

การทดสอบคุณสมบัตขิ องถ่ านกัมมันต์


โดยการศึกษาคุณสมบัติของถ่านกัมมันต์ในงานวิจยั นี้มีหลายวิธีซ่ ึ งทาตามมาตรฐานดังนี้
1. การทดสอบปริ มาณความชื้นใช้มาตรฐาน ASTM D 2867 - 04
2. การทดสอบหาปริ มาณสารระเหยใช้มาตรฐาน ASTM D 5832 – 98 (Reapproved 2003)
3. การทดสอบหาปริ มาณเถ้าใช้มาตรฐาน ASTM D 3174
4. การหาปริ มาณคาร์บอนคงตัว (Fixed Carbon) เป็ น Fixed Carbon Calculation
5. การทดสอบหาค่าพลังงานความร้อนความร้อน (Calorofic Value: CV) โดยใช้เครื่ อง Bomb -
Calorimeter รุ่ น AC - 500 โดยทดสอบอิงตามมาตรฐาน ASTM D 3180
5

6. วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนของข้อมูล (Analysis of Variance, ANOVA) และ


ใช้เปรี ยบเทียบโดยวิธีของ Fisher’s Significant Difference (LSD) เพื่อวิเคราะห์หาสภาวะที่เหมาะสม
ในการผลิตกัมมันต์

ผลและวิจารณ์

ในงานวิจยั นี้ ได้ทาการทดสอบคุณสมบัติถ่านกัมมันต์ 3 วิธี โดยวิธีแรกคือการทดสอบแบบการประมาณ


ค่า (Approximate Analysis) ค่าที่ได้จากการทดสอบนี้ ประกอบไปด้วย ปริ มาณคาร์ บอนเสถียร (Fixed Carbon)
ปริ ม าณสารระเหย (VOCs) และปริ ม าณขี้ เ ถ้า (Ash) การทดสอบอี ก วิ ธี คื อ การทดสอบแบบหาปริ ม าณธาตุ
(Ultimate Analysis) ซึ่ งจะหาปริ มาณธาตุคาร์ บอน (%C) ปริ มาณธาตุไฮโดรเจน (%H) ปริ มาณธาตุไนโตรเจน
(%N) และปริ มาณธาตุ ซัลเฟอร์ (%S) และสุ ด ท้า ยเป็ นการทดสอบหาค่ าพลังงานความร้ อนของถ่ า นกัมมันต์
(Calorofic Value: CV) ซึ่ งการทดสอบนี้เป็ นเพียงการทดสอบหาสภาวะเบื้องต้นของถ่านกัมมันต์ โดยการทดสอบ
หาปริ มาณคาร์บอนเสถียรเป็ นค่าที่ช้ ีให้เห็นว่าถ่านที่ผลิตได้มีความบริ สุทธิ์ มากน้อยเพียงใด ซึ่ งถ่านกัมมันต์ที่ดีควร
มีปริ มาณคาร์บอนเสถียรมากกว่าร้อยละ 80 และควรสอดคล้องกับการหาปริ มาณธาตุคาร์ บอน การหาปริ มาณขี้เถ้า
จะเป็ นตัวบ่งชี้ ให้เห็นว่าวัสดุที่ใช้ในการผลิตมีองค์ประกอบที่เป็ นสิ่ งเจือปนอยู่มากน้อยเพียงใด และปริ มาณขี้เถ้า
ในถ่านกัมมันต์จะเป็ นค่าที่ สามารถอ้างอิงไปถึงความบริ สุทธิ์ ของถ่านกัมมันต์ได้เช่นเดียวกับการหาปริ มาณธาตุ
ไนโตรเจน จากผลการทดสอบคุณสมบัติ ถ่านกัมมันต์ท้ งั 3 วิธี สามารถแบ่งการวิเคราะห์ทางสถิติได้เป็ น 2 กรณี
ดังนี้

1. กรณี ที่ประเภทของเตาเผาถ่านและชนิดของไม้ไผ่ไม่มีอิทธิ พลร่ วมกัน


จากการทดสอบทางสถิติพบว่าประเภทเตาเผาถ่านกับชนิ ดไม้ไผ่ไม่มีอิทธิ พลร่ วมต่อกัน ส่ งผลให้
ต้องทดสอบแยกระหว่างประเภทเตาเผาถ่านกับชนิดไม้ไผ่ เพื่อศึกษาว่าในการทดลองมีประเภทเตาหรื อชนิ ดไม้ไผ่
ที่ใดบ้างเหมาะสมกับค่าของการทดลองแต่ละการทดลองโดยแยกการศึกษาดังนี้
1.1 ประเภทของเตาเผาถ่านที่มีผลต่อคุณภาพถ่านไม้ไผ่ที่ผลิตได้
จากการวิเคราะห์ทางสถิ ติ เฉพาะอิ ทธิ พลของประเภทของเตาเผาถ่านที่ ใช้พบว่า ปริ มาณ
คาร์บอนเสถียรและปริ มาณสารระเหย ของถ่านไม้ไผ่จากเตา KP1 และเตา KP2 มีปริ มาณคาร์ บอนเสถียรที่สูงกว่า
ถ่านไม้ไผ่จากเตา Nikome แต่มีปริ มาณสารระเหยเฉลี่ยที่นอ้ ยกว่าถ่านไม้ไผ่ที่ได้จากเตา Nikome อย่างมีนยั สาคัญ
ในขณะเดียวกันค่าพลังงานความร้อนของถ่านไม้ไผ่จากเตา KP2 และ เตา Nikome มีค่าพลังงานความร้อนอยู่ใน
กลุ่มที่อยูใ่ นกลุ่มเดียวกันและสู งกว่าถ่านไม้ไผ่จากเตา KP1 เมื่อพิจารณาถึงตรงนี้ จะเห็นได้ว่าเตา KP2 ให้คุณภาพ
ของไม้ไผ่ที่โดดเด่ นเหนื อกว่าเตาอื่ น ๆ เมื่ อยิ่งพิ จารณาเพิ่ มเติ มพบว่า ปริ มาณขี้ เถ้า ปริ มาณธาตุ คาร์ บอน และ
ปริ มาณธาตุไนโตรเจนมีค่าไม่แตกต่างกันเลยในทางสถิติ
6

Table 1 Show average of testing properties without mutual influence on each type of charcoal kilns.
Approximate Analysis Ultimate Analysis CV
Types of Charcoal Kilns
**%FC %VOCs %Ash %C %N (cal / g)
KP1 79.8689A 5.6889B 9.6949 75.89 0.54 6,936.0B
KP2 80.8350A 6.2859B 9.1570 79.94 0.60 7,088.6A
Nikome 76.8909B 10.1300A 8.4015 77.04 0.58 7,076.8
Remark: The same font in vertical, there is not difference in the level of p<0.05.

1.2 ชนิดของไม้ไผ่ที่มีผลต่อคุณภาพถ่านไม้ไผ่ที่ผลิตได้
จากผลการวิเคราะห์ทางสถิ ติอิทธิ พลของชนิ ดไม้ไผ่ที่ใช้ในการเผาถ่ านพบว่า ปริ มาณ
คาร์ บอนเสถี ยร ปริ ม าณขี้ เถ้า และค่ าพลังงานความร้ อนของไม้ไผ่ตงดามี ปริ มาณคาร์ บอนเสถี ยร ปริ มาณธาตุ
คาร์บอน และค่าพลังงานความร้อนอยู่ในกลุ่มที่สูง แต่มีปริ มาณขี้เถ้าที่นอ้ ยกว่าถ่านไม้ไผ่ชนิ ดอื่นอย่างมีนยั สาคัญ
และไม้ไผ่มากินอยก็เป็ นไม้ไผ่อีกหนึ่งชนิดที่มีผลการวิเคราะห์ทางสถิติอยูใ่ นเกณฑ์ที่เหมาะสมแก่การเลือกไปผลิต
ถ่านกัมมันต์ โดยพบว่าปริ มาณธาตุคาร์บอนมีปริ มาณอยู่ในกลุ่มที่สูงแต่มีปริ มาณธาตุไนโตรเจนที่นอ้ ยกว่าถ่านไม้
ไผ่จากชนิดอื่น ๆ อย่างมีนยั สาคัญ ส่ วนปริ มาณขี้เถ้าของถ่านไม้ไผ่มากินอยอยูใ่ นเกณฑ์ที่นอ้ ยกว่าปริ มาณขี้เถ้าจาก
ถ่านไม้ไผ่หยกและถ่านไม้ไผ่หวานอ่างขาง และมีปริ มาณค่าความร้อนของถ่านไม้ไผ่มากินอยมากกว่าปริ มาณค่า
ความร้อนจากถ่านไม้ไผ่หยกและถ่านไม้ไผ่หวานอ่างขางอย่างมีนยั สาคัญด้วยเช่ นกัน เมื่อพิจารณาโดยละเอียด
ชี้ให้เห็นว่าไผ่ตงดาและไผ่มากินอยให้คุณภาพของถ่านไม้ไผ่ที่โดดเด่นเหนื อกว่าถ่านไม้ไผ่ชนิ ดอื่น ๆ อย่างชัดเจน
และเมื่อพิจารณาเพิ่มเติมก็ยงั พบว่าปริ มาณสารระเหยมีค่าที่ไม่แตกต่างกันเลยในทางสถิติ

Table 2 Show average of testing properties without mutual influence on each type of bamboos.
Approximate Analysis Ultimate Analysis CV
Type of Bamboos
%FC %Ash %VOCs %C %N (cal / g)
Rough Giant Bamboos 84.7766A 4.7384C 7.1875 83.45A 0.64A 7,402.0A
Taiwan Giant Bamboos 77.6127B 11.2040A 7.3641 75.11B 0.66A 6,797.5C
Giant Timber Bamboos 76.1964B 11.4752A 7.8058 72.96B 0.65A 6,829.8C
Makinoi Bamboos 78.2061B 8.9203B 7.1157 78.98A 0.32B 7,105.8B
Remark: The same font in vertical, there is not difference in the level of p<0.05.

2. กรณี ที่ประเภทของเตาเผาถ่านและชนิดไม้ไผ่มีอิทธิ พลร่ วมกัน


จากการทดสอบพบว่ า ประเภทของเตาเผาถ่ า นและชนิ ด ไม้ไ ผ่ มี อิ ท ธิ พ ลร่ ว มกัน ต่ อ ปริ ม าณธาตุ
ไฮโดรเจน และปริ มาณธาตุ ซัลเฟอร์ ดังนั้นจึ งศึ กษาปั จจัย ทั้งสองไปพร้ อมกัน โดยจะพิ จารณาปริ มาณธาตุ
ไฮโดรเจนและปริ มาณธาตุซลั เฟอร์ ของถ่านไม้ไผ่แต่ละชนิ ดเมื่อใช้เตาเผาทั้ง 3 ประเภท และพิจารณาปริ มาณธาตุ
7

ไฮโดรเจนและปริ มาณธาตุ ซัลเฟอร์ ของถ่านที่ ได้จากเตาเผาแต่ ละประเภทเมื่ อใช้ไม้ไผ่ท้ งั 4 ชนิ ด ซึ่ งให้ผ ล
การศึกษาดังนี้

Table 3 Show the average percentage quantity of hydrogen.


Types of Types of Bamboos
Kilns Rough Giant Bamboos Taiwan Giant Bamboos Giant Timber Bamboos Makinoi Bamboos
KP1 1.87 1.36 1.37a 1.86
KP2 2.16 1.95b 1.93a 2.29
x c,y b,y
Nikome 1.59 3.17 2.53 2.38x
Remark: a,b,c divide groups in vertical.
x,y,z divide groups in horizontal.

เมื่อพิจารณาชนิดของไม้ไผ่แต่ละชนิดกับเตาเผาทั้ง 3 ประเภท ที่มีผลต่อปริ มาณธาตุไฮโดรเจน พบว่าถ่าน


ไม้ไผ่ตงดาและถ่านไม้ไผ่มากินอยทั้ง 2 ชนิด ไม่ได้รับอิทธิ พลจากประเภทของเตา ซึ่ งแตกต่างจากไม้ไผ่หวานอ่าง
ขางและไม้ไผ่หยก ที่ ประเภทของเตาที่ ใช้มีผลต่อปริ มาณธาตุไฮโดรเจน โดยถ้าเป็ นไม้ไผ่หวานอ่านขาง พบว่า
หากเผาด้วยเตา KP1 จะให้ปริ มาณธาตุไฮโดรเจนเฉลี่ยน้อยกว่าเตา KP2 และเตา Nikome ส่ วนไม้ไผ่หยก พบว่า
หากเผาด้วยเตา KP1 และเตา KP2 จะให้ปริ มาณธาตุไฮโดรเจนเฉลี่ยไม่แตกต่างกันและให้ปริ มาณธาตุไฮโดรเจน
เฉลี่ยน้อยกว่าถ่านไม้ไผ่จากเตา Nikome
เมื่อพิจารณาประเภทของเตาแต่ละประเภทกับชนิดของไม้ไผ่ท้ งั 4 ชนิ ดพบว่าถ่านไม้ไผ่จากเตา KP1 และ
เตา KP2 ไม่ได้รับอิทธิ พลจากชนิ ดของไม้ไผ่ ซึ่ งแตกต่างเตา Nikome ที่ชนิ ดของไม้ไผ่ตงดาและไม้ไผ่มากินนอย
ให้ปริ มาณธาตุไฮโดรเจนเฉลี่ยที่นอ้ ยกว่าถ่านจากไม้ไผ่หวานอ่างขาง และไม้ไผ่หยก

Table 4 Show the average percentage quantity of sulfur.


Types of Types of Bamboos
Kilns Rough Giant Bamboos Taiwan Giant Bamboos Giant Timber Bamboos Makinoi Bamboos
KP1 0.33a,y 0.16a,x 0.20a,x 0.25x
KP2 0.33ajdj 0.21ajdj 0.23ad,j 0.19ja
Nikome 0.49b,y 0.44b,y 0.38b,yj 0.19x
Remark: a,b,c divide groups in vertical.
x,y,z divide groups in horizontal.
8

เมื่อพิจารณาชนิ ดของไม้ไผ่แต่ละชนิ ดกับเตาเผาทั้ง 3 ประเภท ที่มีผลต่อปริ มาณธาตุซลั เฟอร์ พบว่า ถ่าน


ไม้ไผ่มากินอย ไม่ได้รับอิทธิ พลจากประเภทของเตา ซึ่ งแตกต่างจากไม้ไผ่ตงดา ไม้ไผ่หวานอ่างขาง และไม้ไผ่หยก
โดยไม้ไผ่ท้ งั 3 ชนิดให้ปริ มาณธาตุซลั เฟอร์ เฉลี่ยที่นอ้ ยเมื่อเผาด้วยเตา KP1 และเตา KP2 โดยปริ มาณธาตุซลั เฟอร์
ที่ได้นอ้ ยกว่าถ่านที่เผาจากเตา Nikome
เมื่อพิจารณาประเภทของเตาแต่ละประเภทกับชนิ ดของไม้ไผ่ท้ งั 4 ชนิ ดพบว่า ถ่านไม้ไผ่จากเตา KP2
ไม่ได้รับอิทธิ พลจากชนิ ดของไม้ไผ่ ซึ่ งแตกต่างจากเตา KP1 และเตา Nikome โดยที่เตา KP1 มีชนิ ดของไม้ไผ่
หวานอ่างขาง ไผ่หยก และไผ่มากินอยให้ปริ มาณธาตุซลั เฟอร์ เฉลี่ยน้อยกว่าถ่านไม่ไผ่ตงดา ส่ วนเตา Nikome ไม้
ไผ่มากินอยให้ปริ มาณซัลเฟอร์เฉลี่ยที่นอ้ ยที่สุดเมื่อเปรี ยบเทียบกับไม้ไผ่ชนิดอื่น ๆ

สรุ ป

จากผลการวิเคราะห์ทางสถิ ติ พบว่าไม้ไผ่ตงดาและไม้ไผ่มากิ นอยมี ความเหมาะสมเบื้ องต้นที่ ใช้เป็ น


ถ่านกัมมันต์หรื อเลือกผลิตเป็ นถ่านกัมมันต์ เนื่องจากไผ่ตงดาให้ปริ มาณคาร์ บอนเสถียร ปริ มาณธาตุคาร์ บอน และ
ค่าพลังงานความร้อนของถ่านกัมมันต์อยู่ในเกณฑ์ที่มากกว่าไผ่หวานอ่างขางและไผ่มากิ นอย และมีปริ มาณขี้ เถ้า
ปริ มาณธาตุ ไฮโดรเจน และปริ มาณธาตุ ซัลเฟอร์ อยู่ในเกณฑ์ที่น้อยกว่าไผ่หวานอ่างขางและไผ่มากิ นอยด้วย
เช่ นกัน (ในการหาปริ มาณธาตุซัลเฟอร์ ของไผ่ตงดาที่นอ้ ยที่ สุด ไผ่ตงดาต้องเผาร่ วมกับเตาเผาถ่าน KP2 เท่านั้น)
ส่ วนเตาเผาถ่านที่ มีประสิ ทธิ ภาพดี ที่สุด ในการผลิ ตถ่านกัมมันต์ คื อ เตา KP1 และเตา KP2 เนื่ องจากปริ มาณ
คาร์บอนเสถียร และค่าพลังงานความร้อนของถ่านกัมมันต์ที่ได้จากเตาดังกล่าวให้ค่าอยู่ในกลุ่มเดียวกันซึ่ งมากกว่า
ถ่านที่ มาจากเตา Nikome (ถึงแม้ว่าการวิเคราะห์ทางสถิติช้ ี ให้เห็นว่าค่าพลังงานความร้อนจากเตา KP1 มีความ
แตกต่ างจากเตาชนิ ดอื่ นแต่ ก็ไม่ แตกต่ างกันมาก) ส่ วนค่ า สารระเหย ปริ มาณธาตุ ไ ฮโดรเจน และปริ มาณธาตุ
ซัลเฟอร์ มีค่าอยู่ในเกณฑ์ที่นอ้ ยกว่าเตา Nikome ส่ วนผลการทดสอบถ่านไม้ไผ่บางการทดลองที่ ไม่ได้นามากล่าว
สรุ ปในที่น้ ีหมายความว่าในการผลิตถ่านกัมมันต์ผลการทดลองเหล่านั้นประเภทของเตาและชนิดของไม้ไผ่ไม่มีผล
ต่อการถ่านผลิตถ่านกัมมันต์
อย่างไรก็ดีในงานวิจยั นี้เป็ นการทดสอบถ่านกัมมันต์เบื้องต้นเพื่ออ้างอิงได้ว่าประเภทของเตาเผาถ่านหรื อ
ชนิ ด ไม้ไ ผ่ ใ ดบ้า งที่ มี คุ ณ สมบัติ เ หมาะสมที่ สุ ด ในการผลิ ต ถ่ า นกัม มัน ต์ ซึ่ งในงานวิ จัย ครั้ งนี้ ไม่ ไ ด้ท ดสอบ
ประสิ ทธิ ภาพการดูดซับ ซึ่ งควรศึกษาเพิ่มเติมเพื่อให้งานวิจยั นี้มีประสิ ทธิ ภาพมากยิ่งขึ้นต่อไป
9

เอกสารอ้างอิง

ปริ นทร เต็มญารศิลป์ . 2551. การเตรียมและการวิเคราะห์ คุณลักษณะเฉพาะของถ่ านกัมมันต์ จากไผ่ ตงและไผ่ หมา
จู๋. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

รศ.ดร.ธราพงษ์ วิทิตศานต์. 2553. ถ่ านกัมมันต์ การผลิตและการนาไปใช้ . พิ มพ์ครั้งที่ 1. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์


มหาวิทยาลัย, กรุ งเทพฯ.

สัมฤทธิ์ โม้พวง. 2558. คาร์ บอนกัมมันต์ Activated Carbon. พิมพ์ครั้งที่ 1. สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร,


พิษณุ โลก.
ASTM International. 2004. Standard Test Method for Ash in the Analysis Sample of Coal and Coke from
Coal. ASTM D 3174 – 002.

ASTM International. 2004. Standard Test Method for Moisture Activated Carbon. ASTM D 2867 – 04.

ASTM International. 2004. Standard Test Method for Volatile Matter Content of Activated Carbon
Samples. ASTM D 5832 – 98 (Reapproved 2003).

You might also like