You are on page 1of 158

1

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสฤษดิเดช
พุทธศักราช 2560
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
วิชา ภาษาไทย
รหัสวิชา ท 14101

โรงเรียนสฤษดิเดช
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
2

คานา
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสฤษดิเดช (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2552) เป็นหลักสูตรระดับสถานศึกษา
ที่พัฒนาจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2544ซึ่งเป็นหลักสู ตรแกนกลางของประเทศ
โดยมีส าระและมาตรฐานเป็น กรอบในการนาไปพัฒ นาเป็น หลัก สูต รสถานศึกษาที่ส อดคล้อ งกับสภาพ
ปัญหาในชุมชนและสังคมภูมิปัญญาท้องถิ่น และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อใช้ในการจัดการศึกษา
มีจุดประสงค์ที่จ ะพัฒ นาคุณภาพผู้เ รีย นให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสามารถในการ
แข่งขัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเพิ่มศักยภาพของผู้เรีย นให้สู ง ขึ้น สามารถดารงชีวิต ร่ว มกับ ผู้อื่น อย่า งมี
ความสุข บนพื้น ฐานของความเป็น ไทยและความเป็ น สากล รวมทั้ ง มี ค วามสามารถในการประกอบ
อาชี พ หรื อ ศึ ก ษาต่ อ ตามความถนั ด ความสนใจ และความสามารถของแต่ละบุคคล
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสฤษดิเดช (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2552) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ประกอบด้วย สาระการเรียนรู้ของกลุ่มสาระวิชา มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน
การเรียนรู้ช่วงชั้น สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายปี สาระการเรียนรู้รายปี คาอธิบาย
รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ประจาหน่วยการเรียนรู้แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ในการจั ด ท าหลั ก สู ต รสถานศึ ก ษาโรงเรี ย นสฤษดิ เ ดชฉบั บ นี้ ไ ด้ รั บ ความร่ ว มมื อ อย่ า งดี ยิ่ ง จาก
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง ชุมชน หน่ว ยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้บริห ารและคณะครู
โรงเรีย นสฤษดิเดช ซึ่งเป็น ผู้ที่มีความรู้ และประสบการณ์ในสาขาวิช านั้น ๆ ตลอดจนที่เกี่ยวข้องกับการ
จัดการศึกษาของโรงเรียนสฤษดิเดช ทาให้ได้หลักสูตรที่มีความสอดคล้องกับ หลักสูตรแกนกลาง และมีความ
ชัดเจนในการนาไปจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โรงเรี ย นสฤษดิ เ ดช ขอขอบคุ ณ ทุ ก ท่ า นที่ ร่ ว มจั ด ทาทั้ ง ที่ ป รากฏนามท้ า ยเล่ ม และผู้ ใ ห้ คา
วิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ เ สนอแนะสาระอั น เป็ น ประโยชน์ ต่ อ การพั ฒ นาหลั ก สู ต รสถานศึ ก ษาอันจะนามาซึ่งการ
พัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอย่างแท้จริง

(ว่าที่ ร.ท.กัมพล ผลพฤกษา)


ผู้อานวยการสถานศึกษาโรงเรียนสฤษดิเดช
3

สารบัญ

หน้า
ประกาศคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนสฤษดิเดช 1
คุณภาพของผู้เรียน 2
มาตรฐานการเรียนรู้ 3
ตัวชี้วัดรายปี 4
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสฤษดิเดช 7
คาอธิบายรายวิชา รหัสตัวชี้วดั 8
โครงสร้างรายวิชา 11
แผนผังการวัดและประเมินผลปลายปี 19
หน่วยการเรียนรู้/แผนประจาหน่วยการเรียนรู้ 36
ภาคผนวก
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดชั้นปีเพื่อการออกแบบการจัดการเรียนรู้ 111
1

ประกาศคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนสฤษดิเดช
เรื่อง หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสฤษดิเดช ปีการศึกษา 2560
..............................................
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
เพื่อเป็นกรอบทิศทางในการพัฒนาเยาวชนของชาติ โดยมุ่งส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณธรรมบนพื้นฐานของความ
เป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล รักความเป็นไทย มีทักษะในการคิด มีทักษะในการแก้ปัญหา มีทักษะในด้าน
เทคโนโลยี มีความคิดสร้างสรรค์ มีความสามารถในการสื่อสาร และมีทักษะชีวิตสามารถทางานร่วมกับผู้อื่น
และอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมโลกได้อย่างสันติ โรงเรียนสฤษดิเดชโดยการมีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้องและมีส่วน
ได้ส่วนเสียต่อการจัดการศึกษา ได้ร่วมกันวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน นโยบายหน่วยงาน
ต้นสังกัด บริบทของสถานศึกษา ความต้องการของท้องถิ่น และความเปลี่ยนแปลงของสังคม เพื่อได้มาซึ่ง
หลักสูตรสถานศึกษาที่มีความเหมาะสมสอดคล้องกับความเป็นจริง อันจะนาไปสู่การพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษาชาติและสู่ความเป็นสากล
บัดนี้โรงเรียนสฤษดิเดชได้ดาเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสฤษดิเดชประจาปีการศึกษา
2559 และผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนสฤษดิเดชเห็นชอบ และอนุญาต
ให้ใช้หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสฤษดิเดช ประจาปีการศึกษา 2560 ในการจัดการเรียนรู้สาหรับผู้เรียนได้

ประกาศ ณ วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

(นายอวยชัย ดีประชา)
ประธานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โรงเรียนสฤษดิเดช
2

คุณภาพผู้เรียน
จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
 อ่า นออกเสีย งบทร้ อ ยแก้ว และบทร้อ ยกรองได้ถูก ต้อ งอธิบ ายความหมายโดยตรงและ
ความหมายโดยนัยของคา ประโยค และสานวนจากเรื่องที่อ่าน เข้าใจคาแนะนา คาอธิบายในคู่มือต่างๆ
แยกแยะข้อคิดเห็นและข้อเท็จจริง รวมทั้งจับใจความสาคัญของเรื่องที่อ่านและนาความรู้ความคิดจากเรื่องที่
อ่านไปตัดสินใจแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตได้ มีมารยาทและมีนิสัยรักการอ่าน และเห็นคุณค่าสิ่งที่อ่าน
 มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสะกดคา แต่งประโยคและเขียน
ข้อความ ตลอดจนเขีย นสื่ อสารโดยใช้ถ้อยคาชัดเจนเหมาะสม ใช้แผนภาพ โครงเรื่องและแผนภาพ
ความคิด เพื่อพัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ ย่อความ จดหมายส่วนตัว กรอกแบบรายการต่างๆ เขียน
แสดงความรู้สึกและความคิดเห็น เขียนเรื่องตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ และมีมารยาทในการเขียน
 พูดแสดงความรู้ความคิดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดูเล่าเรื่องย่อหรือสรุปจากเรื่องที่ฟังและดูตั้งคาถาม
ตอบคาถามจากเรื่องที่ฟังและดู รวมทั้งประเมิ นความน่าเชื่อถือจากการฟังและดูโฆษณาอย่างมีเหตุผล พูด
ตามลาดับขั้นตอนเรื่องต่างๆ อย่างชัดเจน พูดรายงานหรือประเด็นค้นคว้าจากการฟัง การดู การสนทนา
และพูดโน้มน้าวได้อย่างมีเหตุผล รวมทั้งมีมารยาทในการดูและพูด
 สะกดคาและเข้าใจความหมายของคา สานวน คาพังเพยและสุภาษิต รู้และเข้าใจ ชนิด และ
หน้าที่ของคาในประโยค ชนิดของประโยค และคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้คาราชาศัพท์และคาสุภาพ
ได้อย่างเหมาะสม แต่งประโยค แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสี่ กลอนสุภาพ และกาพย์ยานี 11
 เข้าใจและเห็นคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่ าน เล่านิทานพื้นบ้าน ร้องเพลงพื้นบ้านของ
ท้องถิ่น นาข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง และท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดได้

คุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสากล

1. ยอดเยี่ยมวิชาการ
2. สื่อสารได้อย่างน้อยสองภาษา
3. ล้าหน้าทางความคิด
4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
5. ร่วมกันรับผิดชอบสังคมโลก
3

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
ภาษาไทย
สาระที่ 1 การอ่าน
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา
ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
สาระที่ 2 การเขียน
มาตรฐาน ท 2.2 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า
อย่างมีประสิทธิภาพ
สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์

สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่าง
เห็นคุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
4

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้รายชั้นปี บูรณาการหลักสูตรมาตรฐานสากล
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และประชาคมอาเซียน
สาระการเรียนรู้หลัก
สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ประชาคม
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ปรัชญาของเศรษฐกิจ
มาตรฐานสากล อาเซียน
พอเพียง
มาตรฐาน 1.สรุปความรู้และ การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆเช่น - มีทักษะการคิดวิเคราะห์ - รู้จักประมาณตน รู้จัก - มีส่วนร่วมในการแสดง
ท 1.1 ข้อคิดเห็นจากเรื่อง - เรื่องสั้นๆ ข้อมูลข่าวสารและทัศนคติ ศักยภาพของตนใช้ชีวิตบน ความคิดเห็นและ
(การอ่าน) ที่อ่านเพื่อนาไปใช้ - เรื่องเล่าจากประสบการณ์ ความเห็นที่แตกต่างกัน พื้นฐานความเป็นจริงอย่าง แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ป.4 ในชีวิตประจาวัน - นิทานชาดก ซึ่งส่งผ่านสื่อและแหล่งข้อมูล เป็นเหตุเป็นผล - มีความสามารถในการ
- บทความ ต่างๆ ศึกษาเรียนรู้บทบาท คิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล
- บทโฆษณา ของสถาบันตรวจสอบ -มีความสามารถในการ
- งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ ประเมินต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ แก้ปัญหาอย่างสันติวิธี
- ข่าวและเหตุการณ์ประจาวัน เรื่องราวของโลก
- สารคดีและบันเทิงคดี

มาตรฐาน 1. เขียนบันทึกและ - การเขียนบันทึกและเขียนรายงาน - มีความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการ - มีคุณธรรมเป็นพื้นฐานของ - มีวิถีชีวิตประชาธิปไตย


ท 2.1 เขียนรายงานจาก จากการศึกษาค้นคว้า และประเด็นสาคัญที่ได้รับใน จิตใจ รู้จักผิดชอบชั่วดี มี ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล
(การเขียน) การศึกษาค้นคว้า การตัดสินใจ วินัยและความรับผิดชอบ และสันติวิธี
ป.4
5

สาระการเรียนรู้หลัก
สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ประชาคม
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ปรัชญาของเศรษฐกิจ
มาตรฐานสากล อาเซียน
พอเพียง

มาตรฐาน 1. รายงานเรื่อง การรายงาน เช่น - มีทักษะการคิดวิเคราะห์ - ความมีเหตุมีผล ศึกษา - มีความสามารถในการ


ท 3.1 หรือประเด็นที่ -การพูดลาดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน ข้อมูลข่าวสารและทัศนคติ เรียนรู้และแสดงความเห็น คิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล
(การฟัง การดู ศึกษาค้นคว้าจาก -การพูดลาดับเหตุการณ์ ความเห็นที่แตกต่างกัน อย่างมีเหตุผล เป็นคนมีเหตุ
และการพูด) การฟัง การดู และ ซึ่งส่งผ่านสื่อและแหล่งข้อมูล มีผลในการแสดงความ
ป.4 การสนทนา ต่างๆ ศึกษาเรียนรู้บทบาท คิดเห็น นาหลักการแสดง
ของสถาบันตรวจสอบ ความคิดเห็นมาใช้อย่างมี
ประเมินต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ เหตุผล
เรื่องราวของโลก
มาตรฐาน 1. สะกดคาและ - คาในแม่ ก กา - ผู้เรียนมีความเข้าใจบทบาท - เงื่อนไขความรู้ นาความรู้ - มีความสามารถในการ
ท 4.1 บอกความหมาย - มาตราตัวสะกด ของภาษา ขนบธรรมเนียม เกี่ยวกับการแต่งประโยค คิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล
(หลักการใช้ ของคาในบริบท - การผันอักษร สถานที่ ศิลปะ ศาสนา ของ และนาความรู้ที่เรียนมาไป
ภาษาไทย) ต่างๆ - คาเป็น คาตาย ตนเองและผู้อื่นในโลก ใช้ให้เกิดประโยชน์ใน
ป.4 - คาพ้อง ชีวิตประจาวัน มีความเชื่อ
ว่าการนาคาไปแต่งประโยค
จะทาให้การสื่อสารภาษาได้
ดี รู้จักการนาความรู้ที่เรียน
มาไปปรับประยุกต์ใช้กับ
สถานการณ์ต่างๆได้
6

สาระการเรียนรู้หลัก
สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ประชาคม
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ปรัชญาของเศรษฐกิจ
มาตรฐานสากล อาเซียน
พอเพียง
มาตรฐาน 1.ระบุข้อคิดจาก วรรณคดีและวรรณกรรม เช่น - ผู้เรียนมีความเข้าใจบทบาท - สืบสานวัฒนธรรม ศิลปะ - เคารพและยอมรับความ
ท 5.1 นิทานพืน้ บ้านหรือ - นิทานพื้นบ้าน ของภาษา ขนบธรรมเนียม ประเพณี ประวัติศาสตร์ หลากหลายของวัฒนธรรม
(วรรณคดีและ นิทานคติธรรม - นิทานคติธรรม สถานที่ ศิลปะ สาสนา ของ ภูมิปัญญา ภูมิใจในความ
วรรณกรรม) - เพลงพื้นบ้าน ตนเองและผู้อื่นในโลก เป็นไทย
ป.4 - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน
และตามความสนใจ
7

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสฤษดิเดช
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน(ชม./ปี)
รายวิชาพื้นฐาน
ท 14101 ภาษาไทย 200
ค 14101 คณิตศาสตร์ 160
ว 14101 วิทยาศาสตร์ 80
ส 14101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80
ส 14102 ประวัติศาสตร์ 40
พ 14101 สุขศึกษาและพลศึกษา 80
ศ 14101 ศิลปะ 80
ง 14101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 80
อ 14101 ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) 160
รายวิชาเพิ่มเติม
ค 14201 หน้าที่พลเมือง 40
ค 14201 ภาษาจีน 80
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมแนะแนว 40
กิจกรรมนักเรียน
ลูกเสือ/ยุวกาชาด 40
ชุมนุม/จิตสาธารณะ 40

รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 1,200
8

คาอธิบายรายวิชา
ท 14101 ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เวลาเรียน 200 ชั่วโมง

การอ่าน
อ่านได้คล่องและเร็วเข้าใจความหมายของคา สานวนโวหาร การเปรียบเทียบใช้ห้องปฏิบัติการทาง
ภาษาและห้องสมุด การแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ความ ตีความ สรุปใจความสาคัญ หาคา
สาคัญในเรื่อง โดยใช้แผนที่ความคิดหรือแผนภาพความคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ค่านิยม 12 ประการ
ซึ่งสามารถนามาใช้เป็นหลักในการดาเนินชีวิตประจาวันทั้งในครอบครัวและสังคมได้ และเรียนรู้ การดาเนิน
วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของคนในกลุ่มประเทศอาเซียนเข้าใจการดาเนินวิถีชีวิตประเพณี วัฒนธรรม ของคนในกลุ่ม
ประเทศสมาชิกอาเซียน พัฒนาการอ่าน นาความรู้ความคิดจากการอ่านไปใช้แก้ปัญหาและตัดสินใจในการ
อ่านเป็นเครื่องมือในการพัฒนาตนและค้นคว้าเพิ่ม อ่านในใจและอ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและร้อยกรอง
ได้คล่ อง รวดเร็ว ถูกต้องตามลั กษณะของคาประพันธ์และอักขรวิธี ท่องจาบทร้อยกรองที่มีคุณค่าทาง
ความคิดและความงดงามทางภาษา อธิบ ายความหมายและคุณค่า ของ บทร้อยกรอง เลือกหนังสืออ่าน
ตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
มีนิสัยรักการอ่านและมีมารยาทในการอ่าน
การเขียน
เขียนเรียงความ ย่อความ จดหมาย เขียนอธิบายประโยชน์ของการนาค่านิยม 12 ประการมาใช้ใน
ชีวิตประจาวัน เขียนชี้แจง การปฏิบัติงานได้เหมาะกับโอกาส เขียนเรื่องราวจากจินตนาการเกี่ยวกับการนา
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดาเนินชีวิตและเขียนขอกประโยชน์ที่นาปรัชญาเศรษฐกิจมาใช้ เล่า
เรื่อง จดบันทึกข้อมูลความรู้ ประสบการณ์เพื่อนามาพัฒนางานเขียน มีนิสัยรักการอ่านและมีมารยาทในการ
เขียน
การฟัง การดู และการพูด
จับประเด็นสาคัญ แยกแยะข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น วิเคราะห์เนื้อหาค่านิยม 12 ประการ สามารถสรุป
ประโยชน์ที่ได้จากการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดาเนินชีวิต เข้าใจผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ของเรื่องผู้พูดเข้าใจถ้อยคา น้าเสียงที่แสดงออก กิริยาท่าทางรับสารจาก การฟัง และการดูโดยสังเกต
สนทนาโต้ตอบพูดวิเคราะห์เรื่องราว พูดรายงาน มีมารยาทในการฟังและการพูด
หลักการใช้ภาษา
อ่านและเขียนคาสะกด ในวงศัพท์ที่กว้างขวาง ใช้คากลุ่มคา ตามชนิดและหน้าที่มาเรียบเรียงเป็น
ประโยค ใช้ประโยคสื่อสารได้ชัดเจน ใช้คาที่มีความหมายโดยตรง ใช้ภาษาในการสนทนาเชื้อเชิญ ชักชวน
ปฏิเสธ ชี้แจงด้วยถ้อยคาสุภาพ ใช้คาราชาศัพท์ รู้จักคิดไตร่ตรองก่อนพูดและเขียน ลักษณะของคาไทย คาภาษาถิ่น
และคาภาษาต่างประเทศ ที่ปรากฏในภาษาไทยแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสี่ กลอนแปด กลอนสุภาพ
เล่านิทาน และตานานพื้นบ้าน ใช้ทักษะภาษาเป็นเครื่องมือในการเรียนการแสวงหาความรู้และการดารงชีวิต
การใช้ห้องปฏิบัติการทางภาษาและห้องสมุด บอกระดับของภาษา ลักษณะของภาษาพูดและภาษาเขียน
ใช้ภาษาได้ถูกต้องเหมาะกับ บุคคลและสถานการณ์ ใช้ภาษาในกลุ่มสาระภาษาพูด และภาษาเขียน
อย่างถูกต้อง มีคุณธรรมและเหมาะแก่สถานการณ์ ใช้ภาษาอย่างสร้างสรรค์ สอดคล้องกับ ขนบธรรมเนียม
ประเพณีและวัฒนธรรมเข้าใจใช้ภาษากลุ่มบุคคลในชุมชน
9

วรรณคดี และวรรณกรรม
อ่านนิทาน ตานาน เรื่องสั้น สารคดี บทความ บทร้อยกรอง บทละคร ใช้หลักการพิจารณาคุณค่าของ
หนังสือ เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน

ทั้งนี้เน้นเรื่องการศึกษาค้นคว้า หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และประชาคมอาเซียน


มีคุณสมบัติในด้านความรับผิดชอบ กระบวนการกลุ่ม การตรงต่อเวลา ความสามัคคี ความมีระเบียบ
กล้าแสดงออก คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ตัวชี้วัด
ท.1.1 การอ่าน
ป.4/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.4/2 อธิบายความหมายของคา ประโยคและสานวนจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/3 อ่านเรื่องสั้น ตามเวลาที่กาหนด และตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/4 แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/5 คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
ป.4/6 สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/7 อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
เรื่องที่อ่าน
ป.4/8 มีมารยาทในการอ่าน
ท.2.1 การเขียน
ป.4/1 คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.4/2 เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม
ป.4/3 เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.4/4 เขียนย่อความจากเรื่องสั้น
ป.4/5 เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา
ป.4/6 เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
ป.4/7 เขียนเรื่องจากจินตนาการ
ป.4/8 มีมารยาทในการเขียน

ท.3.1 การฟัง การดู และการพูด


ป.4/1 จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/2 พูดสรุปการฟังและดู
ป.4/3 พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/4 ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/5 รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
ป.4/6 มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด
ท.4.1 หลักการใช้ภาษาไทย
ป.4/1 สะกดคาและบอกความหมายของคาในบริบทต่างๆ
ป.4/2 ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค
10

ป.4/3 ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา
ป.4/4 แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
ป.4/5 แต่งบทร้อยกรองและคาขวัญ
ป.4/6 บอกความหมายของสานวน
ป.4/7 เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้
ท.5.1 วรรณคดีและวรรณกรรม
ป.4/1 ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม
ป.4/2 อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/3 ร้องเพลงพื้นบ้าน
ป.4/4 ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

รวม 33 ตัวชี้วัด
11

โครงสร้างรายวิชา
ท 14101 ภาษาไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เวลา 200 ชั่วโมง

มาตรฐานการ เวลา น้าหนัก


หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
เรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
1 ขนมไทยไร้เทียมทาน ท.1.1ป.4/1 การอ่านในใจบทเรียน 11 7
ท.1.1ป.4/8 การอ่านคิด วิเคราะห์ และเขียนสื่อ
ท.2.1ป.4/1 ความ
ท. 2.1ป.4/8 การอ่านออกเสียงและเขียนตาม
ท.3.1ป.4/1 คาบอก
ท.3.1ป.4/6 เรียนรู้คาและนาไปใช้
ท.4.1ป.4/1 การทาแผนภาพโครงเรื่อง
ท.4.1ป.4/7 ฝึกเขียนและเรียนรู้
ท.5.1ป.5/1
ท.5.1ป.5/4
2 ออมไว้กาไรชีวิตและการ ท.1.1ป.4/1 การอ่านในใจบทเรียน 13 6
ผจญภัยของสุดสาคร ท.1.1ป.4/8 การอ่าน คิดวิเคราะห์และตอบ
ท.2.1ป.4/1 คาถาม
ท. 2.1ป.4/8 การอ่าน คิดวิเคราะห์และ
ท.3.1ป.4/1 เขียนสื่อความ
ท.3.1ป.4/6 การอ่านออกเสียง
ท.4.1ป.4/1 การเขียนตามคาบอกและแต่ง
ท.4.1ป.4/7 ประโยค
ท.5.1ป.5/1 เรียนรู้คาและนาไปใช้แต่งเรื่องราว
ท.5.1ป.5/4 การเขียนแผนภาพความคิดของเรื่อง
การอ่านในใจเรื่อง “ น้าผึ้งหยดเดียว “
การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
คาตอบ
การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
สื่อความ
คาพังเพยและสานวน
การแต่งประโยคและเขียนเรื่อง
บรรยายภาพ
การเขียนเชิงสร้างสรรค์
12

มาตรฐานการ สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา น้าหนัก


หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
3 ผักสมุนไพรใบหญ้ามีคุณ ท.1.1ป.4/1 การอ่านในใจบทเรียน 11 6
ทั้งนั้น ท.1.1ป.4/8 การอ่าน คิดวิเคราะห์และตอบคาถาม
ท.2.1ป.4/1 การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความ
ท. 2.1ป.4/8 ประโยชน์ของการนาหลักปรัชญา
ท.3.1ป.4/1 เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดาเนิน
ท.3.1ป.4/6 ชีวิต
ท.4.1ป.4/1 การอ่านออกเสียงและเขียนตามคาบอก
ท.4.1ป.4/7 เรียนรู้คาและนาไปใช้แต่งประโยค
ท.5.1ป.5/1 การเขียนภาพความคิดของเรื่อง
ท.5.1ป.5/4 มาตราตัวสะกด
คาที่ประเละไม่ประวิสรรชนีย์
คาที่ประและไม่ประวิสรรชนีย์
คาที่ใช้ไม้ยมก ( ๆ )
การเล่นปริศนาคาทาย
การอ่านบทร้อยกรองและคัดลายมือ
ประโยชน์ของหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงมาใช้ในการดาเนินชีวิต
4 ภูมิใจมรดกโลกแลน้าผึ้ง ท.1.1ป.4/1 การอ่านในใจบทเรียน 13 6
หยดเดียว ท.1.1ป.4/8 การอ่าน คิดวิเคราะห์และตอบคาถาม
ท.2.1ป.4/1 การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อ
ท. 2.1ป.4/8 ความ การอ่านในใจบทเรียน ( การผจญ
ท.3.1ป.4/1 ภัยของสุดสาคร )
ท.3.1ป.4/6 การอ่าน คิดวิเคราะห์และตอบคาถาม
ท.4.1ป.4/1 การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความ
ท.4.1ป.4/7 การอ่านออกเสียงและเขียนตามคาบอก
ท.5.1ป.5/1 เรียงรู้คานาไปใช้ ( แต่งประโยค )
ท.5.1ป.5/4 การเขียนภาระความคิดของเรื่อง
คาที่มีอักษรควบ
คาที่มีอักษรนา
คาที่มีไม้ฑัณทฆาตกากับ
การผังคา ( ไตรยางศ์ )
คาเป็นคาตาย
13

ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เวลา น้าหนัก


หน่วยที่ สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
เรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
5 ชีวิตที่ถูกเมิน ท.1.1ป.4/1 การอ่านในใจบทเรียน 11 6
ท.1.1ป.4/8 การอ่าน คิดวิเคราะห์และตอบ
ท.2.1ป.4/1 คาถาม
ท. 2.1ป.4/8 การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อ
ท.3.1ป.4/1 ความ
ท.3.1ป.4/6 การอ่านออกเสียงและเขียนตามคา
ท.4.1ป.4/1 บอก
ท.4.1ป.4/7 เรียนรู้คาและนาไปใช้ (แต่ง
ท.5.1ป.5/1 ประโยค )
ท.5.1ป.5/4 การเขียนภาพโครงเรื่อง
เรียนรู้เรื่องคาสรรพนาม
เรียนรู้เรื่องคากิริยา
เรียนรู้เรื่องคาวิเศษณ์
ประโยคสื่อสาร

6 โอม!พินิจมหาพิจารณา ท.1.1ป.4/1 การอ่านในใจบทเรียน (โอม!พินิจมหา 14 6


และระบาสายฟ้า ท.1.1ป.4/8 พิจารณา )
ท.2.1ป.4/1 การอ่าน คิดวิเคราะห์และตอบคาถาม
ท. 2.1ป.4/8 การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความ
ท.3.1ป.4/1 การอ่านในใจบทเรียน(ระบาสายฟ้า)
ท.3.1ป.4/6 การอ่าน คิดวิเคราะห์และตอบคาถาม
ท.4.1ป.4/1 การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความ
ท.4.1ป.4/7 การอ่านออกเสียงและการเขียนคาบอก
ท.5.1ป.5/1 การเรียนรู้นาไปใช้ (แต่งประโยค)
ท.5.1ป.5/4 ฝึกเขียนและเรียนรู้ ( กาพย์ยานี 11)
ฝึกเขียนแผนภาพความคิดเรื่อง (ระบา
สายฟ้า)
การพูดเชิงวิจารณ์ และแยกแยะ
ข้อเท็จจริง
การเว้นวรรค
เครื่องหมายวรรคตอน
14

ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เวลา น้าหนัก


หน่วยที่ สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
เรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
7 แรงพิโรธจากฟ้าดิน ท.1.1ป.4/1 การอ่านในใจบทเรียน ( แรงพิโรธจากฟ้า 11 6
ท.1.1ป.4/8 ดิน)
ท.2.1ป.4/1 การอ่าน คิดวิเคราะห์และตบคาถาม
ท. 2.1ป.4/8 การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความ
ท.3.1ป.4/1 การอ่านออกเสียงและเขียนตามคาบอก
ท.3.1ป.4/6 การเรียนรู้คาและนาไปใช้ ( แต่งประโยค )
ท.4.1ป.4/1 การเขียนแผนภาพความคิดของเรื่อง
ท.4.1ป.4/7 เรียงรู้คาพ้องรูป
ท.5.1ป.5/1 เรียนรู้คาพ้องเสียงและคาพ้องความ
ท.5.1ป.5/4 เรียนรู้การคัดลายมือตัวบรรจง
การจัดทาหนังสือเล่มเล็ก
การอ่านเสริมเรื่องคาเตือนจากฟ้าดิน
8 ไวรัสวายร้ายและเรื่อง ท.1.1ป.4/1 การอ่านในใจบทเรียน (ไวรัสวายร้าย) 14 7
เล่าจากพัทลุง ท.1.1ป.4/8 การอ่าน คิดวิเคราะห์แบบตอบคาถาม
ท.2.1ป.4/1 การอ่าน คิดวิเคราะห์เขียนสื่อความ
ท. 2.1ป.4/8 การอ่านในใจบทเรียน (เรื่องเล่าจาก
ท.3.1ป.4/1 พัทลุง)
ท.3.1ป.4/6 การอ่าน คิดวิเคราะห์และตอบคาถาม
ท.4.1ป.4/1 การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความ
ท.4.1ป.4/7 การอ่านออกเสียง (ไวรัสวายร้าย)และ
ท.5.1ป.5/1 เขียนตามคาบอก
ท.5.1ป.5/4 การอ่านออกเสียง (เรื่องเล่าจากพัทลุง)
และเขียนตามคาบอก
การเรียนรู้คาพร้อมนาไปใช้(แต่งประโยค)
การทาแผนภาพความคิด(ไวรัสวายร้าย)
การทาแผนภาพความคิด(เรื่องเล่าจาก
พัทลุง)
การเขียนเรียงความ
การทาหนังสือเล่มเล็ก
การเขียนเชิงสร้างสรรค์
15

ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เวลา น้าหนัก


หน่วยที่ สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
เรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
9 สนุกสนานกับการเล่น ท.1.1ป.4/1 การอ่านในใจบทเรียน 11 6
ท.1.1ป.4/8 การอ่านเชิงวิเคราะห์และเขียนสื่อความ
ท.2.1ป.4/1 การอ่านออกสียงและเขียนตามคาบอก
ท.2.1ป.4/8 การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง
ท.3.1ป.4/1 เรียนรู้เรื่องประโยค (1)
ท.3.1ป.4/6 เรียนรู้เรื่องประโยค (2)
ท.4.1ป.4/1 การเขียนจดหมาย
ท.4.1ป.4/7 ศึกษาการเล่นของเด็กไทย
ท.5.1ป.5/1 การอ่านเสริมเพิ่มความรู้การดาเนิน
ท.5.1ป.5/4 วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของคนในกลุ่ม
ประเทศอาเซียน
การทาหนังสือเล่มเล็ก
การเขียนเชิงสร้างสรรค์

10 หนูเอยจะบอกใครและ ท.1.1ป.4/1 การอ่านในใจบทเรียน 14 6


ดวงจันทร์ของลาเจียก ท.1.1ป.4/8 การอ่านเชิงวิเคราะห์และเขียนสื่อความ
ท.2.1ป.4/1 การอ่านออกเสียง (หนูเอยจะบอกให้)
ท. 2.1ป.4/8 การเขียนตามคาบอกและแต่งประโยค
ท.3.1ป.4/1 การเขียนแผนภาพความคิด
ท.3.1ป.4/6 การอ่านในใจเรื่อง “ ดวงจันทร์ของ
ท.4.1ป.4/1 ลาเจียก”
ท.4.1ป.4/7 การอ่านเชิงวิเคราะห์และตอบคาถาม
ท.5.1ป.5/1 การอ่านเชิงวิเคราะห์และตอบคาถาม
ท.5.1ป.5/4 การอ่านเชิงวิเคราะห์และเขียนสื่อความ
การอ่านออกเสียง (ดวงจันทร์ของ
ลาเจียก)
การบันทึกความรู้
การเขียนย่อความ
การเลือกหนังสื่ออ่าน
การอ่านเสริมเติมความรู้(เจ้าสีทอง)
การอ่านเสริมเติมความรู้(นิราศเดือน ราหู
อมจันทร์ พระจันทร์และวันลอยกระทง )
และทาแบบทดสอบหลังเรียน
16

ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เวลา น้าหนัก


หน่วยที่ สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
เรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
11 คนดีศรีโรงเรียน ท.1.1ป.4/1 การอ่านในใจบทเรียน 11 7
ท.1.1ป.4/8 การอ่านเชิงวิเคราะห์เละตอบคาถาม
ท.2.1ป.4/1 การอ่านเชิงวิเคราะห์และเขียนสื่อความ
ท.2.1ป.4/8 การอ่านออกเสียงและเขียนตามคาบอก
ท.3.1ป.4/1 เรียนรู้คาและนาไปใช้ (แต่งประโยค)
ท.3.1ป.4/6 การเขียนแผนภาพความคิดของเรื่อง
ท.4.1ป.4/1 คาพ้องเสียง
ท.4.1ป.4/7 คาที่มีตัวการันต์
ท.5.1ป.5/1- การพูด
ท.5.1ป.5/4
12 สารพิษในชีวิตประจาวัน ท.1.1ป.4/1 การอ่านในใจบทเรียน (มลพิษใน 14 7
และห้องสมุดป่า ท.1.1ป.4/8 ชีวิตประจาวัน)
ท.2.1ป.4/1 การอ่านเชิงวิเคราะห์และตอบคาถาม
ท. 2.1ป.4/8 การอ่านเชิงวิเคราะห์และเขียนสื่อความ
ท.3.1ป.4/1 การอ่านในใจบทเรียน(ห้องสมุดป่า)
ท.3.1ป.4/6 การอ่าน คิดวิเคราะห์และตอบคาถาม
ท.4.1ป.4/1 การอ่านเชิงวิเคราะห์และเขียนสื่อความ
ท.4.1ป.4/7 การอ่านออกเสียงและเขียนตามคาบอก
ท.5.1ป.5/1 การเขียนย่อความ
ท.5.1ป.5/4 เรียนรู้คาและนาไปใช้(แต่งประโยค)
การเขียนแผนภาพความคิด(มลพิษใน
ชีวิตประจาวัน)
การเขียนแผนภาพความคิด(ห้องสมุดป่า)
การโฆษณา
การอ่านเสริม(รูเ้ รื่องเครื่องปรุงรส)
การอ่านเสริมเติมความรู้(สมเด็จพระมหา
สมณเจ้าฯวัดบ้าน วัดป่า
17

ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เวลา น้าหนัก


หน่วยที่ สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
เรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
13 อย่างนี้ดีควรทา ท.1.1ป.4/1 การอ่านในใจบทเรียน(อย่างนี้ดีควรทา) 11 6
ท.1.1ป.4/8 การอ่านเชิงวิเคราะห์และตอบคาถาม
ท.2.1ป.4/1 ข้อดีค่านิยม 12 ประการ
ท. 2.1ป.4/8 การอ่านเชิงวิเคราะห์และเขียนสื่อความ
ท.3.1ป.4/1 การอ่านออกเสียงและเขียนตามคาบอก
ท.3.1ป.4/6 เรียนรู้คาและนาไปใช้(แต่งประโยค)
ท.4.1ป.4/1 การเขียนแผนภาพความคิดของเรื่อง
ท.4.1ป.4/7 เรียนรู้เรื่องการฟังและการดู
ท.5.1ป.5/1 เรียนรู้เรื่องการอ่านกราฟ
ท.5.1ป.5/4 เรียนรู้เรื่องการอ่านเสริมบทเรียน
การอ่านเชิงวิเคราะห์และเขียนสื่อความ
การอ่านออกเสียงและเขียนตามคาบอก

14 กระดาษนี้มีที่มา และ ท.1.1ป.4/1 การอ่านในใจบทเรียน เรื่อง กระดาษนี้มี 14 6


เที่ยวเมืองพระร่วง ท.1.1ป.4/8 ที่มา
ท.2.1ป.4/1 การอ่านเชิงวิเคราะห์และตอบคาถาม
ท. 2.1ป.4/8 การอ่านเชิงวิเคราะห์และเขียนสื่อความ
ท.3.1ป.4/1 การอ่านในใจบทเรียน(เที่ยวเมืองพระร่วง)
ท.3.1ป.4/6 การอ่านคิดวิเคราะห์และตอบคาถาม
ท.4.1ป.4/1 การอ่านเชิงวิเคราะห์และเขียนสื่อความ
ท.4.1ป.4/7 การอ่านออกเสียงเละเขียนตามคาบอก
ท.5.1ป.5/1 (กระดาษนี้มีที่มา)
ท.5.1ป.5/4 การอ่านออกเสียงและเขียนตามคาบอก
(เที่ยวเมืองพระร่วง)
เรียนรู้คาและนาไปใช้(กระดาษนี้มที ี่มา)
การเขียนรายงาน
การพูดรายงาน
การเขียนเชิงสร้างสรรค์
การอ่านเสริมเพิ่มความรู้
18

ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เวลา น้าหนัก


หน่วยที่ สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
เรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
15 รักที่คุ้มภัยการค้นคว้า ท.1.1ป.4/1 การอ่านในใจบทเรียน(รักที่คุ้มภัย) 12 6
เพื่อการเรียนรู้ ท.1.1ป.4/8 การอ่านเชิงวิเคราะห์และตอบคาถาม
ท.2.1ป.4/1 การอ่านเชิงวิเคราะห์และเขียนสื่อความ
ท. 2.1ป.4/8 การอ่านออกเสียงและเขียนตามคาบอก
ท.3.1ป.4/1 เรียนรู้คาและนาไปใช้(แต่งประโยค)
ท.3.1ป.4/6 การเขียนแผนภาพความคิดของเรื่อง
ท.4.1ป.4/1 ภาษาพูด ภาษาเขียนและภาษาถิ่น
ท.4.1ป.4/7 คาที่จากภาษาต่างประเทศการใช้
ท.5.1ป.5/1 พจนานุกรม
ท.5.1ป.5/4
16 ธรรมชาตินี้มีคุณ ท.1.1ป.4/1 การอ่านในใจบทเรียน 12 6
การค้นคว้าเพื่อการ ท.1.1ป.4/8 การอ่านเชิงวิเคราะห์และเขียนสื่อความ
เรียนรู้ ท.2.1ป.4/1 การอ่านออกเสียงและเขียนตามคาบอก
ท. 2.1ป.4/8 การเขียนแผนภาพความคิดของเรื่อง
ท.3.1ป.4/1 คาสัมผัสและกลอน
ท.3.1ป.4/6 กลอนสุภาพ
ท.4.1ป.4/1 กาพย์ยานี 11
ท.4.1ป.4/7 เรียนรู้เรื่องคาราชาศัพท์
ท.5.1ป.5/1 การอ่านเสริมเพิ่มความรู้
ท.5.1ป.5/4
รวมระหว่างเรียน 197 70
สอบปลายปี 3 30
รวมทั้งสิ้น 200 100
19

แผนผังการวัดและประเมินผลปลายปี (Test Blueprint)


กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รหัสวิชา ท 14101 ชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 4 ปีการศึกษา 2560
น้าหนัก จานวน ระดับพฤติกรรมการเรียนรู้
สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด
(ร้อยละ) ข้อ รู้-จา เข้าใจ นาไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า
สาระที่ 1 ท 1.1 การอ่าน ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, 20 6 - 1 1 2 1 1
ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7
สาระที่ 2 ท 2.2 การเขียน ป. 4/2, ป.4/4, ป.4/6, 30 8 - 2 2 3 1 -
ป.4/7
สาระที่ 3 ท 3.1 การฟัง การดู และ ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, 10 4 - - 3 1 - -
การพูด ป.4/4

สาระที่ 4 ท 4.1 หลักการใช้ภาษา ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, 30 9 - 3 2 2 2 -


ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6,
ป.4/7
สาระที่ 5 ท 5.1 วรรณคดีและ ป.4/1, ป.4/2 10 3 - 1 1 1 - -
วรรณกรรม
รวม 100 30 - 7 9 9 4 1
20

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขนมไทยไร้เทียมทาน จานวน 11 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

อ่านเรื่อง เขียนคา,วลีประโยค
อ่านคาชี้แจง เขียนสื่อความ
อ่านบทอ่านเสริม เขียนเรื่อสร้างสรรค์

อ่าน เขียน

ขนมไทยไร้เทียมทาน

ฟัง,ดู,พูด วรรณคดี วรรณกรรม


หลักภาษา

ฟังการพูด การสนทนา ขนมไทยไร้เทียมทาน


ดูภาพในบทเรียน หลักการอ่านในใจ ขนมแม่เอ๋ย...
สนทนาถึงคุณค่าของขนมไทย หลักการอ่านจับใจความ
ที่เป็นภูมิปัญญาของคนไทย หลักการจัดทาแผนภาพความคิด
แต่งคาคล้องจองขนมไทย
21

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ออมไว้กาไรชีวิตและการผจญภัยของสุดสาคร จานวน 13 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

อ่านเรื่อง ประโยค,สานวนภาษา
อ่านคาชี้แจง เขียนสื่อความ
อ่านบทอ่านเสริม เขียนเรื่องสร้างสรรค์
เกี่ยวกับการนา
หลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงไปใช้ในชีวิต
ประจาวัน

อ่าน เขียน

ออมไว้กาไรชีวิตและการผจญภัยของสุดสาคร

ฟัง,ดู,พูด วรรณคดี วรรณกรรม


หลักภาษา

ฟังการพูด การสนทนา การผจญภัยของสุด


สาคร
ดูภาพในบทเรียน การแต่งประโยค น้าผึ้งหยดเดียว
พูดสนทนา,พูดอภิปราย คาพังเพย เงินตราน่ารู้
สานวนภาษา
ปริศนาคาทาย
22

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ผักสมุนไพรใบหญ้ามีค่าทั้งนั้น จานวน 11 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

อ่านเรื่อง ประโยค,เขียนสะกด
อ่านคาชี้แจง เขียนสื่อความ
อ่านบทอ่านเสริม เขียนเรื่องสร้างสรรค์
การใช้พืชสมุนไพร
ตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง

อ่าน เขียน

ผักสมุนไพรใบหญ้ามีค่าทั้งนั้น

ฟัง,ดู,พูด วรรณคดี วรรณกรรม


หลักภาษา

ฟังการพูด การสนทนา สมุนไพรใบหญ้า


ดูภาพในบทเรียน การแต่งประโยค มีค่าทั้งนั้น
พูดสนทนา,พูดอภิปราย มาตราตัวสะกด ชีวกโกมารภัจจ์
คาที่ประและไม่ประวิสรรชนีย์
คาที่ใช้ไม้ยมก (ๆ)
ปริศนาคาทาย
23

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ภูมิใจมรดกโลกและน้าผึ้งหยดเดียว จานวน 13 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

อ่านเรื่อง ประโยค,คาควบกล้า
อ่านคาชี้แจง เขียนสื่อความ
อ่านบทอ่านเสริม เขียนเรื่องสร้างสรรค์
ความภาคภูมิใจมรดก
ล้าค่าในท้องถิ่น

อ่าน เขียน

ภูมใิ จมรดกโลกและน้าผึ้งหยดเดียว

ฟัง,ดู,พูด วรรณคดี วรรณกรรม


หลักภาษา

ฟังการพูด การสนทนา รู้เรื่องมรดกโลก


ดูภาพในบทเรียน คาควบกล้า น้าผึ้งหยดเดียว
พูดสนทนา,พูดอภิปราย คาที่มีอักษร ซ ศ ส
ควบ ร,ท ควบ ร
คาที่มีอักษร นา
คาที่มีไม้ทัณฑฆาตกากับ
การผันอักษร
คาเป็น คาตาย
24

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ชีวิตที่ถูกเมิน จานวน 11 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

อ่านเรื่อง ประโยค,ชนิดของคา
อ่านคาชี้แจง เขียนสื่อความ
อ่านบทอ่านเสริม เขียนเรื่องสร้างสรรค์
การดารงชีวิตอย่างสติ

อ่าน เขียน

ชีวิตที่ถูกเมิน

ฟัง,ดู,พูด วรรณคดี วรรณกรรม


หลักภาษา

ฟังการพูด การสนทนา ชีวิตที่ถูกเมิน


ดูภาพในบทเรียน คานาม ตัวเล็กนิดมีพิษเหลือใจ
พูดสนทนา,พูดอภิปราย คาสรรพนาม ชวนกันเล่น (ร้องเพลง)
พูดแสดงความคิดเห็น คากริยา
คาวิเศษณ์
ประโยคสื่อสาร
25

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 โอม ! พินิจมหาพิจารณาและระบาสายฟ้า จานวน 14 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

อ่านเรื่อง ประโยค,เขียนสะกด
อ่านคาชี้แจง เขียนสื่อความ
อ่านบทอ่านเสริม เขียนย่อหน้า

อ่าน เขียน

โอม ! พินิจมหาพิจารณาและระบาสายฟ้า

ฟัง,ดู,พูด วรรณคดี วรรณกรรม

หลักภาษา

ฟังการพูด การสนทนา โอม ! พินิจมหาพิจารณา


ดูภาพในบทเรียน การแต่งประโยค ระบาสายฟ้า
พูดสนทนา,พูดอภิปราย แสดงความคิดเห็นเชิงวิจารณ์ ก่อนจะเชื่อสิ่งใด
การดารงชีวิตอย่างมีเหตุผล การเว้นวรรคตอน ให้ยั้งคิด
และอยู่อย่างพอเพียง เครื่องหมายวรรคตอน
การเขียนย่อหน้า
26

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 แรงพิโรธจากฟ้าดิน จานวน 11 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

อ่านเรื่อง ประโยค,กลุ่มคา
อ่านคาชี้แจง เขียนสะกดคา
อ่านบทอ่านเสริม เขียนสื่อความ
อ่านเรื่องภัยพิบัติ สาเหตุการเกิด เขียนเรื่องสร้างสรรค์
และการป้องกันภัยพิบัติ

อ่าน เขียน

แรงพิโรธจากฟ้าดิน

ฟัง,ดู,พูด วรรณคดี วรรณกรรม

หลักภาษา

ฟังการพูด การสนทนา แรงพิโรธจากฟ้าดิน


ดูภาพในบทเรียน การแต่งประโยค คาเตือนจากฟ้าดิน
พูดสนทนา,พูดอภิปราย แสดงความคิดเห็น
การคัดลายมือตัวบรรจง
คาพ้องรูป
27

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 ไวรัสวายร้ายและเรื่องเล่าจากพัทลุง จานวน 14 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

อ่านเรื่อง ประโยค,เขียนสะกด
อ่านคาชี้แจง คาเขียนสื่อความ
อ่านวิเคราะห์หาสาเหตุและ เขียนย่อหน้า
วิธีป้องกันโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส เขียนเรียงความ

อ่าน เขียน

ไวรัสวายร้ายและเรื่องเล่าจากพัทลุง

ฟัง,ดู,พูด วรรณคดี วรรณกรรม


หลักภาษา

ฟังการพูด การสนทนา ไวรัสวายร้าย


ดูภาพในบทเรียน การแต่งประโยค เรื่องเล่าจากพัทลุง
พูดสนทนา,พูดอภิปราย แสดงความคิดเห็น ทาความเข้าใจกับโรคเอดส์
การทาหนังสือเล่มเล็ก ชาวซาไก
การเขียนเชิงสร้างสรรค์
การเขียนเรียงความ
28

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 สนุกสนานกับการเล่น จานวน 11 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

อ่านเรื่อง เขียนประโยค
อ่านคาชี้แจง เขียนจดหมาย
อ่านบทอ่านเสริม เขียนสื่อความ

อ่าน เขียน

สนุกสนานกับการเล่น

ฟัง,ดู,พูด วรรณคดี วรรณกรรม


หลักภาษา

ฟังการพูด การสนทนา สนุกสนานกับการเล่น


ดูภาพในบทเรียน การแต่งประโยค การเล่นงูกินหาง
พูดสนทนา,พูดอภิปราย การใช้ประโยคสื่อสาร ตระหนักถึงคุณค่าการเล่น
จดหมาย แบบไทย เพื่ออนุรักษ์
การเขียนจดหมายส่วนตัว ภูมิปัญญาไทย
การเขียนจดหมายธุรกิจ
29

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 หนูเอยจะบอกให้และดวงจันทร์ของลาเจียก จานวน 14 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

อ่านเรื่อง ประโยค
อ่านคาชี้แจง เขียนสื่อความ
อ่านบทอ่านเสริม เขียนเรื่องสร้างสรรค์

อ่าน เขียน

หนูเอยจะบอกให้และดวงจันทร์ของลาเจียก

ฟัง,ดู,พูด วรรณคดี วรรณกรรม


หลักภาษา

ฟังการพูด การสนทนา หนูเอยจะบอกให้


ดูภาพในบทเรียน ประโยค เจ้าสีทอง
พูดสนทนา,พูดอภิปราย การบันทึกความรู้ ดวงจันทร์ของลาเจียก
เล่าประสบการณ์การแก้ปัญหา การเขียนย่อความ
เวลาที่เกิดเหตุการณ์คับขัน การเลือกอ่านหนังสือ
30

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 11 คนดีศรีโรงเรียน จานวน 11 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

อ่านเรื่อง ประโยค,เขียนประโยค
อ่านคาชี้แจง เขียนสื่อความ
อ่านบทอ่านเสริม เขียนเรื่องสร้างสรรค์

อ่าน เขียน

คนดีศรีโรงเรียน

ฟัง,ดู,พูด วรรณคดี วรรณกรรม


หลักภาษา

ฟังการพูด การสนทนา คนดีศรีโรงเรียน


ดูภาพในบทเรียน การพูดแนะนาตัว เด็กที่มีความต้องการพิเศษ
พูดสนทนา,พูดอภิปราย การพูดสนทนา
การพูดโน้มน้าวใจ
การพูดโต้แย้ง
31

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 12 สารพิษในชีวิตประจาวันและห้องสมุดป่า จานวน 10 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

อ่านเรื่อง ประโยค,คาควบกล้า
อ่านคาชี้แจง เขียนสื่อความ
อ่านบทอ่านเสริม เขียนเรื่องสร้างสรรค์
การปลูกพืชผักปลอด
สารพิษ

อ่าน เขียน

สารพิษในชีวิตประจาวันและห้องสมุดป่า

ฟัง,ดู,พูด วรรณคดี วรรณกรรม


หลักภาษา

ฟังการพูด การสนทนา สารพิษในชีวิตประจาวัน


ดูภาพในบทเรียน คาควบกล้า และการผจญภัย
พูดสนทนา,พูดอภิปราย คาที่มีอักษร ซ ศ ส
ควบ ร,ท ควบ ร
คาที่มีอักษร นา
คาที่มีไม้ทัณฑฆาตกากับ
การผันอักษร
คาเป็น คาตาย
32

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 13 อย่างนี้ดีควรทา จานวน 11 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

อ่านเรื่อง ประโยค,ชนิดของคา
อ่านคาชี้แจง เขียนสื่อความ
อ่านบทอ่านเสริม เขียนเรื่องสร้างสรรค์

อ่าน เขียน

อย่างนี้ดีควรทา

ฟัง,ดู,พูด วรรณคดี วรรณกรรม


หลักภาษา

ฟังการพูด การสนทนา อย่างนี้ดีควรทา


ดูภาพในบทเรียน ประโยค เมตตาธรรมนาสุข
พูดสนทนา,พูดอภิปราย การฟังและการดู
พูดแสดงความคิดเห็น การอ่านกราฟ
พูดเรื่องการดารงชีวิตอย่าง ประโยคสื่อสาร
พอเพียง
33

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 14 กระดาษนี้มีที่มาและเที่ยวเมืองพระร่วง จานวน 14 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

อ่านเรื่อง ประโยค,เขียนสะกด
อ่านคาชี้แจง เขียนย่อหน้า
อ่านบทอ่านเสริม เขียนบรรยายเรื่องการใช้
ของอย่างรู้คุณค่า
ประหยัด
และเกิดประโยชน์สูงสุด

อ่าน เขียน

กระดาษนี้มีที่มาและเที่ยวเมืองพระร่วง

ฟัง,ดู,พูด วรรณคดี วรรณกรรม


หลักภาษา

ฟังการพูด การสนทนา กระดาษนี้มีที่มา


ดูภาพในบทเรียน การเขียนรายงาน เที่ยวเมืองพระร่วง
พูดสนทนา,พูดอภิปราย การพูดรายงาน
34

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 15 รักที่คุ้มภัย จานวน 12 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

ภาษาพูด,ภาษาเขียน
อ่านเรื่อง ประโยค
อ่านคาชี้แจง ภาษาถิ่น
อ่านบทอ่านเสริม คาที่มาจาก
ภาษาต่างประเทศ

อ่าน เขียน

รักที่คุ้มภัย

ฟัง,ดู,พูด วรรณคดี วรรณกรรม


หลักภาษา

ฟังการพูด การสนทนา รักที่คุ้มภัย


ดูภาพในบทเรียน ภาษาพูด ความรักในบ้าน
สนทนาถึงโทษของสิ่งเสพติด ภาษาเขียน
และวิธีการป้องกันตนเอง ภาษาถิ่น
ให้พ้นจากสิ่งเสพติด คาที่มาจากภาษาต่างประเทศ
การใช้พจนานุกรม
35

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 16 ธรรมชาตินี้มีคุณ จานวน 12 ชั่วโมง

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

เขียนประโยค
อ่านเรื่อง เขียนคาราชาศัพท์
อ่านคาชี้แจง เขียนคาสัมผัสเขียนกลอน
อ่านบทอ่านเสริม เขียนบอกวิธีการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างประหยัดและ
เกิดประโยชน์สูงสุด

อ่าน เขียน

ธรรมชาตินี้มีคุณ

ฟัง,ดู,พูด วรรณคดี วรรณกรรม


หลักภาษา

ฟังการพูด การสนทนา ธรรมชาตินี้มีคุณ


ดูภาพในบทเรียน การแต่งประโยค ทรัพยากรธรรมชาติ
พูดสนทนา,พูดอภิปราย การใช้ประโยคสื่อสาร
คาประพันธ์ประเภทร้อยกรอง
คาราชาศัพท์
36

หน่วยการจัดการเรียนรู้ที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระการอ่าน/เขียน/ฟัง/หลักภาษา/วรรณคดี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

เรื่อง ขนมไทยไร้เทียมทาน เวลา 11 ชั่วโมง

มาตรฐาน ท.1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา


ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
มาตรฐาน ท.2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่างๆเขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า
มาตรฐาน ท.3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
ความรู้สกึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณอย่างสร้างสรรค์
มาตรฐาน ท.4.1 เข้าใจธรรมชาติของหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
มาตรฐาน ท 4.2 สามารถใช้ภาษาแสวงหาความรู้ เสริมสร้างลักษณะนิสัย บุคลิกภาพและ
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรม อาชีพ สังคม และชีวิตประจาวัน
มาตรฐาน ท.5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น
คุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด
ท.1.1 การอ่าน
ป.4/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.4/2 อธิบายความหมายของคา ประโยคและสานวนจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/3 อ่านเรื่องสั้น ตามเวลาที่กาหนด และตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/4 แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/5 คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
ป.4/6 สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/7 อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
เรื่องที่อ่าน
ป.4/8 มีมารยาทในการอ่าน
ท.2.1 การเขียน
ป.4/1 คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.4/2 เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม
ป.4/3 เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.4/4 เขียนย่อความจากเรื่องสั้น
ป.4/5 เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา
ป.4/6 เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
ป.4/7 เขียนเรื่องจากจินตนาการ
ป.4/8 มีมารยาทในการเขียน
37

ท.3.1 การฟัง การดู และการพูด


ป.4/1 จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/2 พูดสรุปการฟังและดู
ป.4/3 พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/4 ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/5 รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
ป.4/6 มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด

ท.4.1 หลักการใช้ภาษาไทย
ป.4/1 สะกดคาและบอกความหมายของคาในบริบทต่างๆ
ป.4/2 ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค
ป.4/3 ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา
ป.4/4 แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
ป.4/5 แต่งบทร้อยกรองและคาขวัญ
ป.4/6 บอกความหมายของสานวน
ป.4/7 เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

ท.5.1 วรรณคดีและวรรณกรรม
ป.4/1 ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม
ป.4/2 อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/3 ร้องเพลงพื้นบ้าน
ป.4/4 ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ
สาระสาคัญ
1. การอ่านที่ดีจะต้องสามารถจับใจความสาคัญของเรื่องได้
2. การอ่านอย่างพินิจพิจารณา ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง คิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลเป็นเครื่องชี้ถึง
ความสาเร็จของการอ่าน
3. การคัดลายมือเป็นการฝึกทักษะการเขียนและส่งเสริมให้นักเรียนรักภาษาไทย
4. การแต่งประโยคเป็นการเพิ่มทักษะการอ่าน และเขียนข้อความต่างๆได้ถูกต้อง
5. การเรียนรู้คา คายาก สานวน เป็นพัฒนาทักษะทางภาษาที่ควรได้รับการฝึกฝน
6. การแต่งคาคล้องจองและกาพย์ยานี 11 เป็นศิลปะทางภาษาที่ต้องเรียนรู้แผนผังหรือ
ฉันทลักษณ์ สามารถนาไปใช้ได้ถูกต้อง
7. ประสบการณ์การฟังช่วยให้มีความรู้ในการสนทนา เล่าเรื่อง
8. การพูดมีส่วนช่วยให้กิจกรรมต่างๆ สนุกสนาน
9. มารยาทในการฟังและการพูด ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล
10. สนทนาถึงคุณค่าของขนมไทยที่เป็นภูมิปัญญาของคนไทย
11. บทร้อยกรองช่วยส่งเสริมประสบการณ์ทางภาษา
38

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถตั้งคาถาม ตอบคาถาม จากเรื่องที่อ่านได้
2. นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทเรียนแล้วสรุปข้อคิดเห็นได้
3. นักเรียนสามารถคัดลายมือได้สวยงามและถูกต้อง
4. นักเรียนสามารถใช้คาในบทเรียนมาแต่งประโยคได้ถูกต้อง
5. นักเรียนสามารถอ่านเขียนคา คายาก ข้อความ และสานวนในบทเรียนได้ถูกต้อง
6. นักเรียนสามารถบอกลักษณะสัมผัสคล้องจอง และบอกลักษณะฉันทลักษณ์ของกาพย์ยานี 11
สามารถแต่งคาคล้องจองง่าย ๆ และแต่งกาพย์ยานี 11 ได้
7. นักเรียนมีมารยาทในการฟัง ดู พูด อ่าน และเขียน
8. นักเรียนบอกคุณค่าของขนมไทยที่เป็นภูมิปัญญาของคนไทยได้

สาระการเรียนรู้
หน่วยการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ขนมไทยไร้เทียมทาน

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์ สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

การวัดผลและประเมินผล
1 วิธีการวัดผล
1.1 สังเกต
1.2 สนทนา สัมภาษณ์
1.3 ตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
1.4 ทาแบบทดสอบ
39

2 เครื่องมือวัด
2.1 แบบสังเกต
2.2 แบบสัมภาษณ์
2.3 แบบประเมินการตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
2.4 แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การวัด
นักเรียนทากิจกรรมร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์การประเมิน

กิจกรรมการเรียนรู้
1. นักเรียนร้องเพลงขนมไทย
2. นักเรียนบอกชื่อขนมไทยที่นักเรียนรู้จักและคุณค่าของขนมไทยที่เป็นภูมิปัญญาของคนไทย
3. นักเรียนเขียนแผนภาพความคิดแสดงกรรมวิธีการทาขนมไทย
4. นักเรียนเขียนคายากในบทเรียน
5. นักเรียนแต่งประโยคจากคาในบทเรียน
6. นักเรียนเขียนคาคล้องจอง และแต่งกาพย์ยานี 11
7. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด
8. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะภาษา บทที่ 1
9. นักเรียนทาแบบทดสอบ
สื่อ / แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนภาษาไทย ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
2. หนังสือเรียนภาษาไทย วรรณคดีลานา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
3. แบบฝึกทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
4. ภาพขนมไทย
5. แผ่นซีดีรอม
6. ใบตอง
7. ไม้กลัด
8. มุมหนังสือในห้องเรียน
9. ห้องสมุดโรงเรียน
10. ศูนย์ภาษาไทย
11. ปราชญ์ท้องถิ่น
40

หน่วยการจัดการเรียนรู้ที่ 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระการอ่าน/เขียน/ฟัง/หลักภาษา/วรรณคดี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

เรื่อง ออมไว้กาไรชีวิตและการผจญภัยของสุดสาคร เวลา 13 ชั่วโมง

มาตรฐาน ท.1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา


ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
มาตรฐาน ท.2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่างๆเขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า
มาตรฐาน ท.3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
ความรู้สกึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณอย่างสร้างสรรค์
มาตรฐาน ท.4.1 เข้าใจธรรมชาติของหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
มาตรฐาน ท 4.2 สามารถใช้ภาษาแสวงหาความรู้ เสริมสร้างลักษณะนิสัย บุคลิกภาพและ
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรม อาชีพ สังคม และชีวิตประจาวัน
มาตรฐาน ท.5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น
คุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด
ท.1.1 การอ่าน
ป.4/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.4/2 อธิบายความหมายของคา ประโยคและสานวนจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/3 อ่านเรื่องสั้น ตามเวลาที่กาหนด และตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/4 แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/5 คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
ป.4/6 สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/7 อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
เรื่องที่อ่าน
ป.4/8 มีมารยาทในการอ่าน
ท.2.1 การเขียน
ป.4/1 คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.4/2 เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม
ป.4/3 เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.4/4 เขียนย่อความจากเรื่องสั้น
ป.4/5 เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา
ป.4/6 เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
ป.4/7 เขียนเรื่องจากจินตนาการ
ป.4/8 มีมารยาทในการเขียน
41

ท.3.1 การฟัง การดู และการพูด


ป.4/1 จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/2 พูดสรุปการฟังและดู
ป.4/3 พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/4 ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/5 รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
ป.4/6 มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด
ท.4.1 หลักการใช้ภาษาไทย
ป.4/1 สะกดคาและบอกความหมายของคาในบริบทต่างๆ
ป.4/2 ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค
ป.4/3 ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา
ป.4/4 แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
ป.4/5 แต่งบทร้อยกรองและคาขวัญ
ป.4/6 บอกความหมายของสานวน
ป.4/7 เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

ท.5.1 วรรณคดีและวรรณกรรม
ป.4/1 ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม
ป.4/2 อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/3 ร้องเพลงพื้นบ้าน
ป.4/4 ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ
สาระสาคัญ
1. การอ่านที่ดีจะต้องสามารถจับใจความของเรื่อง
2. การอ่านอย่างพินิจพิจารณา ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง คิดวิเคราะห์ อย่างมีเหตุผล
เป็นเครื่องชี้ถึงความสาเร็จของการอ่าน
3. การคัดลายมือ เป็นการฝึกทักษะการเขียน และส่งเสริมให้นักเรียนรักภาษาไทย
4. การแต่งประโยคเป็นการเพิ่มทักษะการอ่านและเขียนข้อความต่าง ๆ ได้ถูกต้อง
5. การเรียนรู้คา คายาก เป็นพัฒนาทักษะทางภาษาที่ควรได้รับการฝึกฝน
6. สานวนภาษาเป็นถ้อยคาที่ใช้พูดหรือเขียนที่สั้น กะทัดรัด มีคติเตือนใจ มีความสละสลวย ไพเราะ
7. ปริศนาคาทาย เป็นการนาคามาแต่งประโยคเพื่อใช้ทายเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เป็นการส่งเสริม
ทักษะการใช้ภาษา
8. การพูดมีส่วนช่วยทาให้กิจกรรมต่าง ๆ สนุกสนาน
9. มารยาทในการฟัง และการพูด ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล
10. เขียนเรื่องเกี่ยวกับการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวัน
11. บทร้อยกรอง เป็นการนาคามาเรียงร้อยตามรูปแบบฉันทลักษณ์ให้สัมผัสคล้องจอง
ได้ความหมาย
42

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถตั้งคาถาม ตอบคาถาม จากเรื่องที่อ่านได้
2. นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทเรียนและสรุปข้อคิดเพิ่มได้
3. นักเรียนสามารถเขียนสื่อความจากเรื่องที่อ่านได้ถูกต้อง
4. นักเรียนสามารถคัดลายมือได้สวยงามถูกต้อง
5. นักเรียนสามารถใช้สานวน หรือคาพังเพยได้ถูกต้อง นาสานวนคาพังเพย
ไปแต่งประโยคต่าง ๆ ได้
6. นักเรียนสามารถอ่านบทร้อยกรองได้ และสรุปข้อคิดจากบทร้อยกรองได้
7. นักเรียนมีมารยาทในการฟัง ดู พูด อ่านและเขียน
8. นักเรียนสามรถนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม
สาระการเรียนรู้
1. หน่วยการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ออมไว้กาไรชีวิต
2. วรรณคดีลานาเรื่อง การผจญภัยของสุดสาคร

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์ สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

การวัดผลและประเมินผล
1 วิธีการวัดผล
1.1 สังเกต
1.2 สนทนา สัมภาษณ์
1.3 ตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
1.4 ทาแบบทดสอบ
43

2 เครื่องมือวัด
2.1 แบบสังเกต
2.2 แบบสัมภาษณ์
2.3 แบบประเมินการตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
2.4 แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การวัด
นักเรียนทากิจกรรมร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์การประเมิน
กิจกรรมการเรียนรู้
1. นักเรียนอ่านกลอนสุภาษิตสอนหญิงมีสลึงพึงประจบให้ครบบาท
2. นักเรียนอภิปรายความหมายของการอดออม
3. นักเรียนยกตัวอย่างการกระทาของนักเรียนที่แสดงถึงการรู้จักประหยัดอดออม
4. นักเรียนเขียนแผนภาพความคิดประโยชน์ของการออม
5. นักเรียนคัดลายมือจากบทกลอนมีสลึงพึ่งประจบให้ครบบาท
6. นักเรียนแต่งประโยคจากคาในบทเรียน
7. นักเรียนเขียนคายากในบทเรียน
8. นักเรียนนาสานวน คาพังเพย ไปแต่งเป็นประโยค
9. นักเรียนเขียนเรื่องเกี่ยวกับการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวัน
10. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะภาษาบทที่ 2
สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนภาษาไทย ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
2. หนังสือเรียนภาษาไทย วรรณคดีลานา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
3. แบบฝึกทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
4. บัตรคา กระเป๋าผนัง
5. แผนภูมิ
6. มุมหนังสือในห้องเรียน
7. ห้องสมุดโรงเรียน
8. ศูนย์ภาษาไทย
9. ปราชญ์ท้องถิ่น
44

หน่วยการจัดการเรียนรู้ที่ 3
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระการอ่าน/เขียน/ฟัง/หลักภาษา/วรรณคดี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

เรื่อง ผักสมุนไพรใบหญ้ามีคุณค่าทั้งนั้น เวลา 11 ชั่วโมง

มาตรฐาน ท.1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา


ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
มาตรฐาน ท.2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่างๆเขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า
มาตรฐาน ท.3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
ความรู้สกึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณอย่างสร้างสรรค์
มาตรฐาน ท.4.1 เข้าใจธรรมชาติของหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
มาตรฐาน ท 4.2 สามารถใช้ภาษาแสวงหาความรู้ เสริมสร้างลักษณะนิสัย บุคลิกภาพและ
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรม อาชีพ สังคม และชีวิตประจาวัน
มาตรฐาน ท.5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น
คุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด
ท.1.1 การอ่าน
ป.4/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.4/2 อธิบายความหมายของคา ประโยคและสานวนจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/3 อ่านเรื่องสั้น ตามเวลาที่กาหนด และตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/4 แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/5 คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
ป.4/6 สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/7 อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
เรื่องที่อ่าน
ป.4/8 มีมารยาทในการอ่าน
ท.2.1 การเขียน
ป.4/1 คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.4/2 เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม
ป.4/3 เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.4/4 เขียนย่อความจากเรื่องสั้น
ป.4/5 เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา
ป.4/6 เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
ป.4/7 เขียนเรื่องจากจินตนาการ
ป.4/8 มีมารยาทในการเขียน
45

ท.3.1 การฟัง การดู และการพูด


ป.4/1 จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/2 พูดสรุปการฟังและดู
ป.4/3 พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/4 ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/5 รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
ป.4/6 มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด

ท.4.1 หลักการใช้ภาษาไทย
ป.4/1 สะกดคาและบอกความหมายของคาในบริบทต่างๆ
ป.4/2 ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค
ป.4/3 ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา
ป.4/4 แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
ป.4/5 แต่งบทร้อยกรองและคาขวัญ
ป.4/6 บอกความหมายของสานวน
ป.4/7 เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

ท.5.1 วรรณคดีและวรรณกรรม
ป.4/1 ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม
ป.4/2 อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/3 ร้องเพลงพื้นบ้าน
ป.4/4 ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ
สาระสาคัญ
1. การอ่านที่ดีต้องสามารถจับใจความของเรื่อง
2. การอ่านอย่างพินิจพิจารณา ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง คิดวิเคราะห์ อย่างมีเหตุผล เป็นเครื่องชี้
ถึงความสาเร็จของการอ่าน
3. การคัดลายมือ เป็นการฝึกทักษะการเขียน และส่งเสริมให้นักเรียนรักภาษาไทย
4. การแต่งประโยคเป็นการเพิ่มทักษะการอ่านและเขียนข้อความต่าง ๆ ได้ถูกต้อง
5. มาตราตัวสะกด การสะกดคาด้วยมาตราแม่สะกดต่าง ๆ เป็นการเพิ่มทักษะทางการเรียน
ภาษาไทย
6. การเรียนรู้คาประวิสรรชนีย์ และไม่ประวิสรรชนีย์เป็นการเพิ่มทักษะการเรียนภาษาไทย
7. การเรียนรู้คาที่ใช้ไม้ยมก ( ๆ ) เป็นการเพิ่มทักษะทางการเรียนภาษาไทย
8. การพูดมีส่วนช่วยทาให้กิจกรรมต่าง ๆ สนุกสนาน
9. มารยาทในการฟัง และการพูด ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล
10. เขียนเรื่องการใช้สมุนไพรรักษาโรค
11. บทร้อยกรอง เป็นการนาคามาเรียงร้อยตามรูปแบบฉันทลักษณ์ให้สัมผัสคล้องจองให้
มีความหมาย
46

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถ ตั้งคาถาม ตอบคาถามจากเรื่องที่อ่านได้
2. นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทเรียน และสรุปข้อคิดเห็นได้
3. นักเรียนอ่านเขียนคายากในบทเรียนได้อย่างถูกต้อง
4. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดได้สวยงามถูกต้อง
5. นักเรียนสะกดคาตามมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ได้ถูกต้อง
6. นักเรียนแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ถูกต้อง
7. นักเรียนอ่านและเขียนคาหรือกลุ่มคาที่ประวิสรรชนีย์ และไม่ประวิสรรชนีย์ได้ถูกต้อง
8. นักเรียนระบุคาที่ใช้ไม้ยมก ( ๆ ) ได้ถูกต้อง
9. นักเรียนอ่านบทร้อยกรองที่กาหนดได้ และสรุปข้อคิดจากบทร้อยกรองได้
10. นักเรียนมีมารยาทในการฟัง ดู พูด และการเขียน
11. นักเรียนสามารถเขียนบรรยายสรรพคุณของสมุนไพรในการรักษาโรคต่างๆ ได้
สาระการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ผักสมุนไพรใบหญ้ามีคุณค่าทั้งนั้น

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์ สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

การวัดผลและประเมินผล
1 วิธีการวัดผล
1.1 สังเกต
1.2 สนทนา สัมภาษณ์
1.3 ตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
1.4 ทาแบบทดสอบ
47

2 เครื่องมือวัด
2.1 แบบสังเกต
2.2 แบบสัมภาษณ์
2.3 แบบประเมินการตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
2.4 แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การวัด
นักเรียนทากิจกรรมร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์การประเมิน
กิจกรรมการเรียนรู้
1. นักเรียนนาตัวอย่างผักสมุนไพรมาคนละ 1 ชนิด แล้วนามาอภิปรายร่วมกัน
2. นักเรียนสรุปข้อคิดจากเรื่อง ผักสมุนไพรใบหญ้ามีคุณค่าทั้งนั้น
3. นักเรียนอ่านออกเสียงเรื่อง ผักสมุนไพรใบหญ้ามีคุณค่าทั้งนั้น เป็นรายบุคคล และเป็นกลุ่ม
4. นักเรียนเขียนบรรยายสรรพคุณของสมุนไพรในการรักษาโรคต่างๆ
5. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด
6. นักเรียนเขียนคาตามมาตราตัวสะกด และแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกด
7. นักเรียนเขียนคาที่ใช้ไม้ยมก ( ๆ )
8. นักเรียนอ่านบทร้อยกรอง
9. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะภาษาบทที่ 3

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือภาษาไทย ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
2. หนังสือเรียน วรรณคดีลานา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
3. แบบฝึกทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
4. บัตรคา กระเป๋าผนัง
5. แผนภูมิ
6. ผักสมุนไพร
7. มุมหนังสือในห้องเรียน
8. ห้องสมุดโรงเรียน
9. ศูนย์ภาษาไทย
10. ปราชญ์ท้องถิ่น
48

หน่วยการจัดการเรียนรู้ที่ 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระการอ่าน/เขียน/ฟัง/หลักภาษา/วรรณคดี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
เรื่อง ภูมิใจมรดกโลกและน้าผึ้งหยดเดียว เวลา 13 ชั่วโมง

มาตรฐาน ท.1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา


ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
มาตรฐาน ท.2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่างๆเขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
ความรู้สกึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณอย่างสร้างสรรค์
มาตรฐาน ท.4.1 เข้าใจธรรมชาติของหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
มาตรฐาน ท 4.2 สามารถใช้ภาษาแสวงหาความรู้ เสริมสร้างลักษณะนิสัย บุคลิกภาพและ
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรม อาชีพ สังคม และชีวิตประจาวัน
มาตรฐาน ท.5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น
คุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด
ท.1.1 การอ่าน
ป.4/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.4/2 อธิบายความหมายของคา ประโยคและสานวนจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/3 อ่านเรื่องสั้น ตามเวลาที่กาหนด และตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/4 แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/5 คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
ป.4/6 สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/7 อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.4/8 มีมารยาทในการอ่าน
ท.2.1 การเขียน
ป.4/1 คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.4/2 เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม
ป.4/3 เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.4/4 เขียนย่อความจากเรื่องสั้น
ป.4/5 เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา
ป.4/6 เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
ป.4/7 เขียนเรื่องจากจินตนาการ
ป.4/8 มีมารยาทในการเขียน
49

ท.3.1 การฟัง การดู และการพูด


ป.4/1 จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/2 พูดสรุปการฟังและดู
ป.4/3 พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/4 ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/5 รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
ป.4/6 มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด
ท.4.1 หลักการใช้ภาษาไทย
ป.4/1 สะกดคาและบอกความหมายของคาในบริบทต่างๆ
ป.4/2 ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค
ป.4/3 ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา
ป.4/4 แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
ป.4/5 แต่งบทร้อยกรองและคาขวัญ
ป.4/6 บอกความหมายของสานวน
ป.4/7 เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้
ท.5.1 วรรณคดีและวรรณกรรม
ป.4/1 ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม
ป.4/2 อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/3 ร้องเพลงพื้นบ้าน
ป.4/4 ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ
สาระสาคัญ
1. การอ่านที่ดีจะต้องสามารถจับใจความของเรื่อง
2. การอ่านอย่างพินิจพิจารณา ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง คิดวิเคราะห์ อย่างมีเหตุผล
เป็นเครื่องชี้ถึงความสาเร็จของการอ่าน
3. อักษรควบ เป็นคาที่มีพยัญชนะ 2 ตัว ร่วมสระเดียวกัน และออกเสียงพยัญชนะพร้อมกัน
ทั้งสองตัว
4. อักษรนา คืออักษรสูงหรืออักษรกลางที่นาหน้าอักษรต่า แล้วทาให้เสียงของคานั้น
เปลี่ยนไปตามตัวนา
5. การฝึกอ่านผันคา เป็นการเพิ่มทักษะการอ่าน และเขียนได้อย่างถูกต้อง
6. คาเป็น คือคาที่ผสมกับสระเสียงยาว ไม่มีตัวสะกด หรือมีตัวสะกดในมาตรา กง กน กม
เกย และ เกอว คาตาย คือคาที่ผสมสระเสียงสั้นไม่มีตัวสะกด หรือ คาที่มีตัวสะกด
ในมาตรา กก กบ กด
7. การพูดมีส่วนช่วยให้กิจกรรมต่าง ๆ สนุกสนาน
8. ประสบการณ์การฟังช่วยให้มีความรู้ในการสนทนาเล่าเรื่อง
9. มารยาทในการฟัง และพูด ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล
10. บทร้อยกรอง ช่วยส่งเสริมประสบการณ์ทางภาษาและความคิดทาให้เกิดความสนุกสนาน
11. ความภาคภูมิใจในมรดกล้าค่าของท้องถิ่น
50

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. นักเรียนสามารถฟังคาถาม ตอบคาถาม จากเรื่องที่อ่านได้


2. นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทเรียน และสรุปข้อคิดเห็นได้
3. นักเรียนอ่าน และเขียนคาควบกล้า ร ล ว ได้ถูกต้อง
4. นักเรียนอ่าน และเขียนคาอักษรนาได้ถูกต้อง
5. นักเรียนอ่าน และผันคาเป็น คาตายได้ถูกต้อง
6. นักเรียนแยกคาเป็น คาตาย ได้ถูกต้อง
7. นักเรียนมีมารยาทในการฟัง ดู พูด อ่าน และเขียน
8. นักเรียนสามารถเขียนบรรยายความภาคภูมิใจในมรดกล้าค่าของท้องถิ่นได้

สาระการเรียนรู้
1. หน่วยการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องภูมิใจมรดกโลก
2. วรรณคดีลานา น้าผึ้งหยดเดียว

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์ สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

การวัดผลและประเมินผล
1 วิธีการวัดผล
1.1 สังเกต
1.2 สนทนา สัมภาษณ์
1.3 ตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
1.4 ทาแบบทดสอบ
51

2 เครื่องมือวัด
2.1 แบบสังเกต
2.2 แบบสัมภาษณ์
2.3 แบบประเมินการตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
2.4 แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การวัด
นักเรียนทากิจกรรมร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์การประเมิน

กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอภาพโบราณสถานของจังหวัดสุโขทัย แล้วให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับโบราณสถาน
2. นักเรียนร่วมกันเสนอแนวทางการอนุรักษ์ โบราณสถาน และโบราณวัตถุในท้องถิ่น
3. นักเรียนร่วมกันร้องเพลงมาร์ชเมืองจันท์
4. นักเรียนอ่านออกเสียงเรื่องภูมิใจมรดกโลกเป็นรายบุคคล และเป็นกลุ่ม
5. นักเรียนอ่าน และเขียน คาควบกล้า ร ล ว
6. นักเรียนอ่าน และเขียนคาที่มีอักษรนา
7. นักเรียนร่วมกันผันอักษร ใส่ตารางเทียบการผันอักษร
8. นักเรียนยกตัวอย่างคาเป็น คาตาย
9. นักเรียนทาแบบฝึกหัดทักษะภาษาบทที่ 4
10. นักเรียนเขียนบรรยายความภาคภูมิใจในมรดกล้าค่าของท้องถิ่น

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
2. หนังสือเรียนภาษาไทยวรรณคดีลานา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
3. แบบฝึกทักษะภาษา
4. บัตรคา กระเป๋าผนัง
5. รูปภาพ
6. แผนภูมิ
7. แผ่นซีดีรอม
8. มุมหนังสือในห้องเรียน
9. ห้องสมุดโรงเรียน
10. ศูนย์ภาษาไทย
11. ปราชญ์ท้องถิ่น
52

หน่วยการจัดการเรียนรู้ที่ 5
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระการอ่าน/เขียน/ฟัง/หลักภาษา/วรรณคดี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

เรื่อง ชีวิตที่ถูกเมิน เวลา 11 ชั่วโมง

มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา


ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่างๆเขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า มาตรฐาน
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
ความรู้สกึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณอย่างสร้างสรรค์
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
มาตรฐาน ท 4.2 สามารถใช้ภาษาแสวงหาความรู้ เสริมสร้างลักษณะนิสัย บุคลิกภาพและ
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรม อาชีพ สังคม และชีวิตประจาวัน
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น
คุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด
ท.1.1 การอ่าน
ป.4/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.4/2 อธิบายความหมายของคา ประโยคและสานวนจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/3 อ่านเรื่องสั้น ตามเวลาที่กาหนด และตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/4 แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/5 คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
ป.4/6 สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/7 อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
เรื่องที่อ่าน
ป.4/8 มีมารยาทในการอ่าน
ท.2.1 การเขียน
ป.4/1 คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.4/2 เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม
ป.4/3 เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.4/4 เขียนย่อความจากเรื่องสั้น
ป.4/5 เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา
ป.4/6 เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
ป.4/7 เขียนเรื่องจากจินตนาการ
ป.4/8 มีมารยาทในการเขียน
53

ท.3.1 การฟัง การดู และการพูด


ป.4/1 จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/2 พูดสรุปการฟังและดู
ป.4/3 พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/4 ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/5 รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
ป.4/6 มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด

ท.4.1 หลักการใช้ภาษาไทย
ป.4/1 สะกดคาและบอกความหมายของคาในบริบทต่างๆ
ป.4/2 ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค
ป.4/3 ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา
ป.4/4 แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
ป.4/5 แต่งบทร้อยกรองและคาขวัญ
ป.4/6 บอกความหมายของสานวน
ป.4/7 เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

ท.5.1 วรรณคดีและวรรณกรรม
ป.4/1 ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม
ป.4/2 อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/3 ร้องเพลงพื้นบ้าน
ป.4/4 ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

สาระสาคัญ
1. การอ่านที่ดีต้องสามารถจับใจความของเรื่อง
2. การอ่านอย่างพินิจพิจารณา ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง คิดวิเคราะห์ อย่างมีเหตุผล เป็นเครื่องชี้
ถึงความสาเร็จของการอ่าน
3. การคัดลายมือ เป็นการฝึกทักษะการเขียน และส่งเสริมให้นักเรียนรักภาษาไทย
4. การแต่งประโยคเป็นการเพิ่มทักษะการอ่านและเขียนข้อความต่าง ๆ ได้ถูกต้อง
5. มาตราตัวสะกด การสะกดคาด้วยมาตราแม่สะกดต่าง ๆ เป็นการเพิ่มทักษะทางการเรียน
ภาษาไทย
6. ชนิดของคา คานาม คาสรรพนาม คากริยา คาวิเศษณ์ เป็นการเพิ่มทักษะการใช้ภาษาได้
ถูกต้อง
7. การพูดมีส่วนช่วยทาให้กิจกรรมต่าง ๆ สนุกสนาน
8. มารยาทในการฟัง และการพูด ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล
9. บทร้อยกรอง เป็นการนาคามาเรียงร้อยตามรูปแบบฉันทลักษณ์ให้สัมผัสคล้องจองได้
ความหมาย
10. การมีสติในการดารงชีวิต
54

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. นักเรียนสามารถ ตั้งคาถาม ตอบคาถามจากเรื่องที่อ่านได้


2. นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทเรียน และสรุปข้อคิดเห็นได้
3. นักเรียนอ่านเขียนคายากในบทเรียนได้อย่างถูกต้อง
4. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดได้สวยงามถูกต้อง
5. นักเรียนสะกดคาตามมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ได้ถูกต้อง
6. นักเรียนแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ถูกต้อง
7. นักเรียนนาชนิดของคาต่างๆ มาใช้ในชีวิตประจาวันได้ถูกต้อง
8. นักเรียนอ่านบทร้อยกรองที่กาหนดได้ และสรุปข้อคิดจากบทร้อยกรองได้
9. นักเรียนมีมารยาทในการฟัง ดู พูด และการเขียน
10. นักเรียนสามารถเขียนบรรยายการดารงชีวิตอย่างมีสติได้อย่างเหมาะสม

สาระการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง ชีวิตที่ถูกเมิน

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์ สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

การวัดผลและประเมินผล
1 วิธีการวัดผล
1.1 สังเกต
1.2 สนทนา สัมภาษณ์
1.3 ตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
1.4 ทาแบบทดสอบ
55

2 เครื่องมือวัด
2.1 แบบสังเกต
2.2 แบบสัมภาษณ์
2.3 แบบประเมินการตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
2.4 แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การวัด
นักเรียนทากิจกรรมร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์การประเมิน

กิจกรรมการเรียนรู้

1. นักเรียนบอกชื่อสัตว์มาคนละ 1 ชนิด แล้วนามาอภิปรายร่วมกัน


2. นักเรียนสรุปข้อคิดจากเรื่อง ชีวิตที่ถูกเมิน
3. นักเรียนอ่านออกเสียงเรื่อง ชีวิตที่ถูกเมิน เป็นรายบุคคล และเป็นกลุ่ม
4. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด
5. นักเรียนเขียนคาตามมาตราตัวสะกด และแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกด
6. นักเรียนแต่งประโยคโดยใช้คานาม คาสรรพนาม คากริยา และคาวิเศษณ์
7. นักเรียนอ่านบทร้อยกรอง
8. นักเรียนเขียนบรรยายการดารงชีวิตอย่างมีสติ
9. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะภาษาบทที่ 5

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือภาษาไทย ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
2. แบบฝึกทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
3. บัตรคา กระเป๋าผนัง
4. แผนภูมิ
5. ภาพสัตว์
6. มุมหนังสือในห้องเรียน
7. ห้องสมุดโรงเรียน
8. ศูนย์ภาษาไทย
9. ปราชญ์ท้องถิ่น
56

หน่วยการจัดการเรียนรู้ที่ 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระการอ่าน/เขียน/ฟัง/หลักภาษา/วรรณคดี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

เรื่อง โอม! พินิจมหาพิจารณาและระบาสายฟ้า เวลา 14 ชั่วโมง

มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา


ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่างๆเขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
ความรู้สกึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณอย่างสร้างสรรค์
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
มาตรฐาน ท 4.2 สามารถใช้ภาษาแสวงหาความรู้ เสริมสร้างลักษณะนิสัย บุคลิกภาพและ
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรม อาชีพ สังคม และชีวิตประจาวัน
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น
คุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด
ท.1.1 การอ่าน
ป.4/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.4/2 อธิบายความหมายของคา ประโยคและสานวนจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/3 อ่านเรื่องสั้น ตามเวลาที่กาหนด และตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/4 แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/5 คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
ป.4/6 สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/7 อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.4/8 มีมารยาทในการอ่าน

ท.2.1 การเขียน
ป.4/1 คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.4/2 เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม
ป.4/3 เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.4/4 เขียนย่อความจากเรื่องสั้น
ป.4/5 เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา
ป.4/6 เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
ป.4/7 เขียนเรื่องจากจินตนาการ
ป.4/8 มีมารยาทในการเขียน
57

ท.3.1 การฟัง การดู และการพูด


ป.4/1 จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/2 พูดสรุปการฟังและดู
ป.4/3 พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/4 ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/5 รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
ป.4/6 มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด

ท.4.1 หลักการใช้ภาษาไทย
ป.4/1 สะกดคาและบอกความหมายของคาในบริบทต่างๆ
ป.4/2 ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค
ป.4/3 ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา
ป.4/4 แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
ป.4/5 แต่งบทร้อยกรองและคาขวัญ
ป.4/6 บอกความหมายของสานวน
ป.4/7 เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

ท.5.1 วรรณคดีและวรรณกรรม
ป.4/1 ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม
ป.4/2 อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/3 ร้องเพลงพื้นบ้าน
ป.4/4 ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

สาระสาคัญ
1. การอ่านที่ดีต้องสามารถจับใจความของเรื่อง
2. การอ่านอย่างพินิจพิจารณา ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง คิดวิเคราะห์ อย่างมีเหตุผล เป็นเครื่องชี้
ถึงความสาเร็จของการอ่าน
3. การคัดลายมือ เป็นการฝึกทักษะการเขียน และส่งเสริมให้นักเรียนรักภาษาไทย
4. การแต่งประโยคเป็นการเพิ่มทักษะการอ่านและเขียนข้อความต่าง ๆ ได้ถูกต้อง
5. มาตราตัวสะกด การสะกดคาด้วยมาตราแม่สะกดต่าง ๆ เป็นการเพิ่มทักษะทางการเรียน
ภาษาไทย
6. การแสดงความคิดเห็นเชิงวิจารณ์ การแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น การสรุปเรื่อง
7. การเว้นวรรค เครื่องหมายวรรคตอน และการเขียนย่อหน้า
8. การพูดมีส่วนช่วยทาให้กิจกรรมต่าง ๆ สนุกสนาน
9. มารยาทในการฟัง และการพูด ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล
10. การแต่งคาคล้องจองและกาพย์ยานี 11 เป็นศิลปะทางภาษาที่ต้องเรียนรู้แผนผังหรือฉันทลักษณ์ได้
58

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. นักเรียนสามารถ ตั้งคาถาม ตอบคาถามจากเรื่องที่อ่านได้


2. นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทเรียน และสรุปข้อคิดเห็นได้
3. นักเรียนอ่านเขียนคายากในบทเรียนได้อย่างถูกต้อง
4. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดได้สวยงามถูกต้อง
5. นักเรียนสะกดคาตามมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ได้ถูกต้อง
6. นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นเชิงวิจารณ์ การแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น
การสรุปเรื่องได้
7. นักเรียนเขียนเว้นวรรค เครื่องหมายวรรคตอน และการเขียนย่อหน้าได้ถูกต้อง
8. นักเรียนอ่านบทร้อยกรองที่กาหนดได้ และสรุปข้อคิดจากบทร้อยกรองได้
9. นักเรียนสามารถร่วมอภิปรายแสดงความคิดเห็นเรื่องการดารงชีวิตอย่างมีเหตุผลและการอยู่
อย่างพอเพียง

สาระการเรียนรู้
1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง โอม! พินิจมหาพิจารณา
2 วรรณคดีลานา เรื่องระบาสายฟ้า

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์ สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
59

การวัดผลและประเมินผล
1 วิธีการวัดผล
1.1 สังเกต
1.2 สนทนา สัมภาษณ์
1.3 ตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
1.4 ทาแบบทดสอบ
2 เครื่องมือวัด
2.1 แบบสังเกต
2.2 แบบสัมภาษณ์
2.3 แบบประเมินการตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
2.4 แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การวัด
นักเรียนทากิจกรรมร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์การประเมิน

กิจกรรมการเรียนรู้

1. นักเรียนและครู ร่วมกันอภิปรายความหมายของจดหมายลูกโซ่และปรากฏการณ์
ทางธรรมชาติ
2. นักเรียนสรุปข้อคิดจากเรื่อง โอม พินิจมหาพิจารณาและระบาสายฟ้า
3. นักเรียนอ่านออกเสียงเรื่องโอม พินิจมหาพิจารณาและระบาสายฟ้า เป็นรายบุคคล และเป็นกลุ่ม
4. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด
5. นักเรียนเขียนคาตามมาตราตัวสะกด และแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกด
6. นักเรียนแสดงความคิดเห็นเชิงวิจารณ์ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น และสรุปเรื่องได้
7. นักเรียนร่วมอภิปรายแสดงความคิดเห็นเรื่องการดารงชีวิตอย่างมีเหตุผลและการอยู่
อย่างพอเพียง สมเหตุสมผล
8. นักเรียนอ่านบทร้อยกรอง
9. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะภาษาบทที่ 6

สื่อ / แหล่งเรียนรู้

1. หนังสือภาษาไทย ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4


2. แบบฝึกทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
3. บัตรคา กระเป๋าผนัง
4. แผนภูมิ
5. ข่าวหรือภาพเกี่ยวกับภัยธรรมชาติ
6. มุมหนังสือในห้องเรียน
7. ห้องสมุดโรงเรียน
8. ศูนย์ภาษาไทย
9. ปราชญ์ท้องถิ่น
60

หน่วยการจัดการเรียนรู้ที่ 7
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระการอ่าน/เขียน/ฟัง/หลักภาษา/วรรณคดี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

เรื่อง แรงพิโรธจากฟ้าดิน เวลา 11 ชั่วโมง

มาตรฐาน ท.1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา


ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
มาตรฐาน ท.2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่างๆเขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า
มาตรฐาน ท.3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
ความรู้สกึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณอย่างสร้างสรรค์
มาตรฐาน ท.4.1 เข้าใจธรรมชาติของหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
มาตรฐาน ท.5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น
คุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

ตัวชี้วัด
ท.1.1 การอ่าน
ป.4/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.4/2 อธิบายความหมายของคา ประโยคและสานวนจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/3 อ่านเรื่องสั้น ตามเวลาที่กาหนด และตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/4 แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/5 คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
ป.4/6 สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/7 อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
เรื่องที่อ่าน
ป.4/8 มีมารยาทในการอ่าน

ท.2.1 การเขียน
ป.4/1 คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.4/2 เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม
ป.4/3 เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.4/4 เขียนย่อความจากเรื่องสั้น
ป.4/5 เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา
ป.4/6 เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
ป.4/7 เขียนเรื่องจากจินตนาการ
ป.4/8 มีมารยาทในการเขียน
61

ท.3.1 การฟัง การดู และการพูด


ป.4/1 จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/2 พูดสรุปการฟังและดู
ป.4/3 พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/4 ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/5 รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
ป.4/6 มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด

ท.4.1 หลักการใช้ภาษาไทย
ป.4/1 สะกดคาและบอกความหมายของคาในบริบทต่างๆ
ป.4/2 ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค
ป.4/3 ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา
ป.4/4 แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
ป.4/5 แต่งบทร้อยกรองและคาขวัญ
ป.4/6 บอกความหมายของสานวน
ป.4/7 เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

ท.5.1 วรรณคดีและวรรณกรรม
ป.4/1 ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม
ป.4/2 อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/3 ร้องเพลงพื้นบ้าน
ป.4/4 ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

สาระสาคัญ
1. การอ่านที่ดีต้องสามารถจับใจความของเรื่อง
2. การอ่านอย่างพินิจพิจารณา ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง คิดวิเคราะห์ อย่างมีเหตุผล เป็นเครื่องชี้
ถึงความสาเร็จของการอ่าน
3. อ่านเรื่องภัยพิบัติและสาเหตุการเกิดภัยพิบัติคิดวิเคราะห์ อย่างสมเหตุสมผล
4. การคัดลายมือ เป็นการฝึกทักษะการเขียน และส่งเสริมให้นักเรียนรักภาษาไทย
5. การสังเกต การอ่าน และการเขียนคาพ้องเสียง คาพ้องรูป และคาพ้องความ
6. มาตราตัวสะกด การสะกดคาด้วยมาตราแม่สะกดต่าง ๆ เป็นการเพิ่มทักษะทางการเรียน
ภาษาไทย
7. การแต่งประโยคเป็นการเพิ่มทักษะการอ่านและเขียนข้อความต่าง ๆ ได้ถูกต้อง
8. การพูดมีส่วนช่วยทาให้กิจกรรมต่าง ๆ สนุกสนาน
9. มารยาทในการฟัง และการพูด ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล
10. บทร้อยกรอง เป็นการนาคามาเรียงร้อยตามรูปแบบฉันทลักษณ์ให้สัมผัสคล้องจองได้
ความหมาย
62

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถ ตั้งคาถาม ตอบคาถามจากเรื่องที่อ่านได้
2. นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทเรียน และสรุปข้อคิดเห็นได้
3. นักเรียนอ่านเขียนคายากในบทเรียนได้อย่างถูกต้อง
4. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดได้สวยงามถูกต้อง
5. นักเรียนสะกดคาตามมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ได้ถูกต้อง
6. นักเรียนแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ถูกต้อง
7. นักเรียนสังเกต อ่าน และเขียนคาพ้องเสียง คาพ้องรูป และคาพ้องความ ได้ถูกต้อง
8. นักเรียนอ่านบทร้อยกรองที่กาหนดได้ และสรุปข้อคิดจากบทร้อยกรองได้
9. นักเรียนมีมารยาทในการฟัง ดู พูด และการเขียน

สาระการเรียนรู้
1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่องแรงพิโรธจากฟ้าดิน
2 วรรณคดีลานา

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์ สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

การวัดผลและประเมินผล
1 วิธีการวัดผล
1.1 สังเกต
1.2 สนทนา สัมภาษณ์
1.3 ตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
1.4 ทาแบบทดสอบ
63

2 เครื่องมือวัด
2.1 แบบสังเกต
2.2 แบบสัมภาษณ์
2.3 แบบประเมินการตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
2.4 แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การวัด
นักเรียนทากิจกรรมร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์การประเมิน

กิจกรรมการเรียนรู้

1. นักเรียนหาภาพภัยธรรมชาติมาคนละ 1 ชนิด แล้วนามาอภิปรายร่วมกัน


2. นักเรียนสรุปข้อคิดจากเรื่อง แรงพิโรธจากฟ้าดิน
3. นักเรียนอ่านออกเสียงเรื่องแรงพิโรธจากฟ้าดิน เป็นรายบุคคล และเป็นกลุ่ม
4. นักเรียนอ่านเรื่องภัยพิบัติและสาเหตุการเกิดภัยพิบัติคิดวิเคราะห์ อย่างสมเหตุสมผล
5. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด
6. นักเรียนเขียนคาตามมาตราตัวสะกด และแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกด
7. นักเรียนสังเกต อ่าน และเขียนคาพ้องเสียง คาพ้องรูป และคาพ้องความ
8. นักเรียนอ่านบทร้อยกรอง
9. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะภาษาบทที่ 7

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือภาษาไทย ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
2. แบบฝึกทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
3. บัตรคา กระเป๋าผนัง
4. แผนภูมิ
5. ภาพภัยธรรมชาติ
6. มุมหนังสือในห้องเรียน
7. ห้องสมุดโรงเรียน
8. ศูนย์ภาษาไทย
9. ปราชญ์ท้องถิ่น
64

หน่วยการจัดการเรียนรู้ที่ 8
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระการอ่าน/เขียน/ฟัง/หลักภาษา/วรรณคดี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

เรื่อง ไวรัสวายร้ายและเรื่องเล่าจากพัทลุง เวลา 14 ชั่วโมง

มาตรฐาน ท.1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา


ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
มาตรฐาน ท.2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่างๆเขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า มาตรฐาน
ท.3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
ความรู้สกึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณอย่างสร้างสรรค์
มาตรฐาน ท.4.1 เข้าใจธรรมชาติของหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
มาตรฐาน ท.5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น
คุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

ตัวชี้วัด
ท.1.1 การอ่าน
ป.4/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.4/2 อธิบายความหมายของคา ประโยคและสานวนจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/3 อ่านเรื่องสั้น ตามเวลาที่กาหนด และตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/4 แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/5 คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
ป.4/6 สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/7 อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
เรื่องที่อ่าน
ป.4/8 มีมารยาทในการอ่าน

ท.2.1 การเขียน
ป.4/1 คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.4/2 เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม
ป.4/3 เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.4/4 เขียนย่อความจากเรื่องสั้น
ป.4/5 เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา
ป.4/6 เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
ป.4/7 เขียนเรื่องจากจินตนาการ
ป.4/8 มีมารยาทในการเขียน
65

ท.3.1 การฟัง การดู และการพูด


ป.4/1 จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/2 พูดสรุปการฟังและดู
ป.4/3 พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/4 ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/5 รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
ป.4/6 มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด

ท.4.1 หลักการใช้ภาษาไทย
ป.4/1 สะกดคาและบอกความหมายของคาในบริบทต่างๆ
ป.4/2 ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค
ป.4/3 ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา
ป.4/4 แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
ป.4/5 แต่งบทร้อยกรองและคาขวัญ
ป.4/6 บอกความหมายของสานวน
ป.4/7 เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

ท.5.1 วรรณคดีและวรรณกรรม
ป.4/1 ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม
ป.4/2 อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/3 ร้องเพลงพื้นบ้าน
ป.4/4 ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

สาระสาคัญ
1. การอ่านที่ดีต้องสามารถจับใจความของเรื่อง
2. การอ่านอย่างพินิจพิจารณา ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง คิดวิเคราะห์ อย่างมีเหตุผล เป็นเครื่องชี้
ถึงความสาเร็จของการอ่าน
3. การอ่านเขียนและบอกความหมายของคาภาษาก็อย
4. การคัดลายมือ เป็นการฝึกทักษะการเขียน และส่งเสริมให้นักเรียนรักภาษาไทย
5. การเขียนเรียงความ ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
6. มาตราตัวสะกด การสะกดคาด้วยมาตราแม่สะกดต่าง ๆ เป็นการเพิ่มทักษะทางการเรียน
ภาษาไทย
7. การแต่งประโยคเป็นการเพิ่มทักษะการอ่านและเขียนข้อความต่าง ๆ ได้ถูกต้อง
8. การพูดมีส่วนช่วยทาให้กิจกรรมต่าง ๆ สนุกสนาน
9. มารยาทในการฟัง และการพูด ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล
10. บทร้อยกรอง เป็นการนาคามาเรียงร้อยตามรูปแบบฉันทลักษณ์ให้สัมผัสคล้องจองได้
ความหมาย
66

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. นักเรียนสามารถ ตั้งคาถาม ตอบคาถามจากเรื่องที่อ่านได้


2. นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทเรียน และสรุปข้อคิดเห็นได้
3. นักเรียนอ่านเขียนคายากในบทเรียนได้อย่างถูกต้อง
4. นักเรียนอ่านเขียนและบอกความหมายของคาภาษาก็อยได้ถูกต้อง
5. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดได้สวยงามถูกต้อง
6. นักเรียนสะกดคาตามมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ได้ถูกต้อง
7. นักเรียนแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ถูกต้อง
8. นักเรียนเขียนเรียงความ ตามขั้นตอนการเขียนเรียงความ ได้ถูกต้อง
9. นักเรียนอ่านบทร้อยกรองที่กาหนดได้ และสรุปข้อคิดจากบทร้อยกรองได้
10. นักเรียนมีมารยาทในการฟัง ดู พูด และการเขียน

สาระการเรียนรู้

1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เรื่องไวรัสวายร้าย
2 วรรณคดีลานา เรื่องเล่าจากพัทลุง

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์ สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
67

การวัดผลและประเมินผล
1 วิธีการวัดผล
1.1 สังเกต
1.2 สนทนา สัมภาษณ์
1.3 ตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
1.4 ทาแบบทดสอบ
2 เครื่องมือวัด
2.1 แบบสังเกต
2.2 แบบสัมภาษณ์
2.3 แบบประเมินการตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
2.4 แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การวัด
นักเรียนทากิจกรรมร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์การประเมิน
กิจกรรมการเรียนรู้
1. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส และเรื่องเงาะป่า
2. นักเรียนสรุปข้อคิดจากเรื่องไวรัสวายร้ายและเรื่องเล่าจากพัทลุง
3. นักเรียนอ่านออกเสียงเรื่องไวรัสวายร้ายและเรื่องเล่าจากพัทลุง เป็นรายบุคคล และเป็นกลุ่ม
แล้ววิเคราะห์สาเหตุ และวิธีป้องกันโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส
4. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด
5. นักเรียนเขียนคาตามมาตราตัวสะกด และแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกด
6. นักเรียนเขียนเรียงความ ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
7. นักเรียนอ่านบทร้อยกรอง
8 นักเรียนทาแบบฝึกทักษะภาษาบทที่ 8

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือภาษาไทย ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
2. แบบฝึกทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
3. บัตรคา กระเป๋าผนัง
4. มุมหนังสือในห้องเรียน
5. ห้องสมุดโรงเรียน
6. ศูนย์ภาษาไทย
7. ปราชญ์ท้องถิ่น
68

หน่วยการจัดการเรียนรู้ที่ 9
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระการอ่าน/เขียน/ฟัง/หลักภาษา/วรรณคดี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

เรื่อง สนุกสนานกับการเล่น เวลา 11 ชั่วโมง

มาตรฐาน ท.1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา


ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
มาตรฐาน ท.2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่างๆเขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า
มาตรฐาน ท.3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
ความรู้สกึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณอย่างสร้างสรรค์
มาตรฐาน ท.4.1 เข้าใจธรรมชาติของหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
มาตรฐาน ท.5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น
คุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

ตัวชี้วัด
ท.1.1 การอ่าน
ป.4/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.4/2 อธิบายความหมายของคา ประโยคและสานวนจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/3 อ่านเรื่องสั้น ตามเวลาที่กาหนด และตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/4 แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/5 คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
ป.4/6 สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/7 อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
เรื่องที่อ่าน
ป.4/8 มีมารยาทในการอ่าน

ท.2.1 การเขียน
ป.4/1 คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.4/2 เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม
ป.4/3 เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.4/4 เขียนย่อความจากเรื่องสั้น
ป.4/5 เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา
ป.4/6 เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
ป.4/7 เขียนเรื่องจากจินตนาการ
ป.4/8 มีมารยาทในการเขียน
69

ท.3.1 การฟัง การดู และการพูด


ป.4/1 จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/2 พูดสรุปการฟังและดู
ป.4/3 พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/4 ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/5 รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
ป.4/6 มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด

ท.4.1 หลักการใช้ภาษาไทย
ป.4/1 สะกดคาและบอกความหมายของคาในบริบทต่างๆ
ป.4/2 ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค
ป.4/3 ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา
ป.4/4 แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
ป.4/5 แต่งบทร้อยกรองและคาขวัญ
ป.4/6 บอกความหมายของสานวน
ป.4/7 เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

ท.5.1 วรรณคดีและวรรณกรรม
ป.4/1 ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม
ป.4/2 อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/3 ร้องเพลงพื้นบ้าน
ป.4/4 ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

สาระสาคัญ

1. การอ่านที่ดีต้องสามารถจับใจความของเรื่อง
2. การอ่านอย่างพินิจพิจารณา ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง คิดวิเคราะห์ อย่างมีเหตุผล เป็นเครื่องชี้
ถึงความสาเร็จของการอ่าน
3. การคัดลายมือ เป็นการฝึกทักษะการเขียน และส่งเสริมให้นักเรียนรักภาษาไทย
4. การเขียนจดหมาย
5. มาตราตัวสะกด การสะกดคาด้วยมาตราแม่สะกดต่าง ๆ เป็นการเพิ่มทักษะทางการเรียน
ภาษาไทย
6. การแต่งประโยคเป็นการเพิ่มทักษะการอ่านและเขียนข้อความต่าง ๆ ได้ถูกต้อง
7. การพูดมีส่วนช่วยทาให้กิจกรรมต่าง ๆ สนุกสนาน
8. มารยาทในการฟัง และการพูด ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล
9. บทร้อยกรอง เป็นการนาคามาเรียงร้อยตามรูปแบบฉันทลักษณ์ให้สัมผัสคล้องจองได้
ความหมาย
70

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถ ตั้งคาถาม ตอบคาถามจากเรื่องที่อ่านได้
2. นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทเรียน ตระหนักถึงคุณค่าการละเล่นแบบไทยและ
สรุปข้อคิดเห็นได้
3. นักเรียนอ่านเขียนคายากในบทเรียนได้อย่างถูกต้อง
4. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดได้สวยงามถูกต้อง
5. นักเรียนสะกดคาตามมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ได้ถูกต้อง
6. นักเรียนแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ถูกต้อง
7. นักเรียนเขียนจดหมายได้ถูกต้อง
8. นักเรียนอ่านบทร้อยกรองที่กาหนดได้ และสรุปข้อคิดจากบทร้อยกรองได้
9. นักเรียนมีมารยาทในการฟัง ดู พูด และการเขียน

สาระการเรียนรู้
1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องสนุกสนานกับการเล่น
2 วรรณคดีลานา

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์ สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

การวัดผลและประเมินผล
1 วิธีการวัดผล
1.1 สังเกต
1.2 สนทนา สัมภาษณ์
1.3 ตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
1.4 ทาแบบทดสอบ
71

2 เครื่องมือวัด
2.1 แบบสังเกต
2.2 แบบสัมภาษณ์
2.3 แบบประเมินการตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
2.4 แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การวัด
นักเรียนทากิจกรรมร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์การประเมิน
กิจกรรมการเรียนรู้
1. นักเรียนเล่าเรื่องการละเล่นพื้นบ้านของไทย แล้วนามาอภิปรายร่วมกัน
2. นักเรียนสรุปข้อคิดจากเรื่อง สนุกสนานกับการเล่น
3. นักเรียนอ่านออกเสียงเรื่องสนุกสนานกับการเล่น เป็นรายบุคคล และเป็นกลุ่ม
4. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด
5. นักเรียนเขียนคาตามมาตราตัวสะกด และแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกด
6. นักเรียนเขียนจดหมายตามรูปแบบที่ถูกต้อง
7. นักเรียนอ่านบทร้อยกรอง
8 นักเรียนทาแบบฝึกทักษะภาษาบทที่ 9

สื่อ / แหล่งเรียนรู้

1. หนังสือภาษาไทย ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4


2. แบบฝึกทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
3. บัตรคา กระเป๋าผนัง
4. แบบฟอร์มการเขียนจดหมาย
5. ภาพการละเล่นของเด็กไทย
6. มุมหนังสือในห้องเรียน
7. ห้องสมุดโรงเรียน
8. ศูนย์ภาษาไทย
9. ปราชญ์ท้องถิ่น
72

หน่วยการจัดการเรียนรู้ที่ 10
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระการอ่าน/เขียน/ฟัง/หลักภาษา/วรรณคดี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

เรื่อง หนูเอยจะบอกให้ และดวงจันทร์ของลาเจียก เวลา 14 ชั่วโมง

มาตรฐาน ท.1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา


ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
มาตรฐาน ท.2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่างๆเขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า มาตรฐาน
มาตรฐาน ท.3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
ความรู้สกึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณอย่างสร้างสรรค์
มาตรฐาน ท.4.1 เข้าใจธรรมชาติของหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
มาตรฐาน ท.5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น
คุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

ตัวชี้วัด
ท.1.1 การอ่าน
ป.4/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.4/2 อธิบายความหมายของคา ประโยคและสานวนจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/3 อ่านเรื่องสั้น ตามเวลาที่กาหนด และตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/4 แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/5 คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
ป.4/6 สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/7 อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
เรื่องที่อ่าน
ป.4/8 มีมารยาทในการอ่าน

ท.2.1 การเขียน
ป.4/1 คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.4/2 เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม
ป.4/3 เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.4/4 เขียนย่อความจากเรื่องสั้น
ป.4/5 เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา
ป.4/6 เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
ป.4/7 เขียนเรื่องจากจินตนาการ
ป.4/8 มีมารยาทในการเขียน
73

ท.3.1 การฟัง การดู และการพูด


ป.4/1 จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/2 พูดสรุปการฟังและดู
ป.4/3 พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/4 ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/5 รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
ป.4/6 มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด

ท.4.1 หลักการใช้ภาษาไทย
ป.4/1 สะกดคาและบอกความหมายของคาในบริบทต่างๆ
ป.4/2 ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค
ป.4/3 ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา
ป.4/4 แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
ป.4/5 แต่งบทร้อยกรองและคาขวัญ
ป.4/6 บอกความหมายของสานวน
ป.4/7 เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

ท.5.1 วรรณคดีและวรรณกรรม
ป.4/1 ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม
ป.4/2 อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/3 ร้องเพลงพื้นบ้าน
ป.4/4 ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

สาระสาคัญ
1. การอ่านที่ดีต้องสามารถจับใจความของเรื่อง
2. การอ่านอย่างพินิจพิจารณา ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง คิดวิเคราะห์ อย่างมีเหตุผล เป็นเครื่องชี้
ถึงความสาเร็จของการอ่าน
3. การคัดลายมือ เป็นการฝึกทักษะการเขียน และส่งเสริมให้นักเรียนรักภาษาไทย
4. การบันทึกความรู้ การเขียนย่อความ และการเลือกอ่านหนังสือ
5. มาตราตัวสะกด การสะกดคาด้วยมาตราแม่สะกดต่าง ๆ เป็นการเพิ่มทักษะทางการเรียน
ภาษาไทย
6. การแต่งประโยคเป็นการเพิ่มทักษะการอ่านและเขียนข้อความต่าง ๆ ได้ถูกต้อง
7. การพูดมีส่วนช่วยทาให้กิจกรรมต่าง ๆ สนุกสนาน
8. มารยาทในการฟัง และการพูด ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล
9. บทร้อยกรอง เป็นการนาคามาเรียงร้อยตามรูปแบบฉันทลักษณ์ให้สัมผัสคล้องจองได้
ความหมาย
74

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. นักเรียนสามารถ ตั้งคาถาม ตอบคาถามจากเรื่องที่อ่านได้


2. นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทเรียน และสรุปข้อคิดเห็นได้
3. นักเรียนสามารถเล่าประสบการณ์ การแก้ปัญหาเวลาที่เกิดเหตุการณ์ต่างๆได้
4. นักเรียนอ่านเขียนคายากในบทเรียนได้อย่างถูกต้อง
5. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดได้สวยงามถูกต้อง
6. นักเรียนสะกดคาตามมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ได้ถูกต้อง
7. นักเรียนแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ถูกต้อง
8. นักเรียนบันทึกความรู้ เขียนย่อความ และเลือกอ่านหนังสือ ได้
9. นักเรียนอ่านบทร้อยกรองที่กาหนดได้ และสรุปข้อคิดจากบทร้อยกรองได้
10. นักเรียนมีมารยาทในการฟัง ดู พูด และการเขียน

สาระการเรียนรู้
1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องหนูเอยจะบอกให้
2 วรรณคดีลานา ดวงจันทร์ของลาเจียก

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์ สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
75

การวัดผลและประเมินผล
1 วิธีการวัดผล
1.1 สังเกต
1.2 สนทนา สัมภาษณ์
1.3 ตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
1.4 ทาแบบทดสอบ
2 เครื่องมือวัด
2.1 แบบสังเกต
2.2 แบบสัมภาษณ์
2.3 แบบประเมินการตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
2.4 แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การวัด
นักเรียนทากิจกรรมร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์การประเมิน

กิจกรรมการเรียนรู้
1. นักเรียนเล่าเรื่องเกี่ยวกับประสบการณ์ที่พบเหตุการณ์ตื่นเต้น ตกใจ แล้วนามาอภิปราย
ร่วมกัน
2. นักเรียนสรุปข้อคิดจากเรื่อง หนูเอยจะบอกให้ และดวงจันทร์ของลาเจียก
3. นักเรียนอ่านออกเสียงเรื่องหนูเอยจะบอกให้ และดวงจันทร์ของลาเจียก เป็นรายบุคคล และ
เป็นกลุ่ม
4. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดหรือเต็มบรรทัด
5. นักเรียนเขียนคาตามมาตราตัวสะกด และแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกด
6. นักเรียนเขียนบันทึกความรู้ เขียนย่อความ และเลือกอ่านหนังสือ ตามความเหมาะสม
7. นักเรียนอ่านบทร้อยกรอง
8 นักเรียนทาแบบฝึกทักษะภาษาบทที่ 10

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือภาษาไทย ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
2. แบบฝึกทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
3. บัตรคา กระเป๋าผนัง
4. ภาพเกี่ยวกับประเพณีลอยกระทง
5. มุมหนังสือในห้องเรียน
6. ห้องสมุดโรงเรียน
7. ศูนย์ภาษาไทย
8. ปราชญ์ท้องถิ่น
76

หน่วยการจัดการเรียนรู้ที่ 11
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระการอ่าน/เขียน/ฟัง/หลักภาษา/วรรณคดี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

เรื่อง คนดีศรีโรงเรียน เวลา 11 ชั่วโมง

มาตรฐาน ท.1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา


ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
มาตรฐาน ท.2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่างๆเขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า มาตรฐาน
มาตรฐาน ท.3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
ความรู้สกึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณอย่างสร้างสรรค์
มาตรฐาน ท.4.1 เข้าใจธรรมชาติของหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
มาตรฐาน ท.5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น
คุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

ตัวชี้วัด
ท.1.1 การอ่าน
ป.4/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.4/2 อธิบายความหมายของคา ประโยคและสานวนจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/3 อ่านเรื่องสั้น ตามเวลาที่กาหนด และตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/4 แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/5 คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
ป.4/6 สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/7 อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
เรื่องที่อ่าน
ป.4/8 มีมารยาทในการอ่าน

ท.2.1 การเขียน
ป.4/1 คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.4/2 เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม
ป.4/3 เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.4/4 เขียนย่อความจากเรื่องสั้น
ป.4/5 เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา
ป.4/6 เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
ป.4/7 เขียนเรื่องจากจินตนาการ
ป.4/8 มีมารยาทในการเขียน
77

ท.3.1 การฟัง การดู และการพูด


ป.4/1 จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/2 พูดสรุปการฟังและดู
ป.4/3 พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/4 ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/5 รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
ป.4/6 มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด

ท.4.1 หลักการใช้ภาษาไทย
ป.4/1 สะกดคาและบอกความหมายของคาในบริบทต่างๆ
ป.4/2 ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค
ป.4/3 ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา
ป.4/4 แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
ป.4/5 แต่งบทร้อยกรองและคาขวัญ
ป.4/6 บอกความหมายของสานวน
ป.4/7 เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

ท.5.1 วรรณคดีและวรรณกรรม
ป.4/1 ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม
ป.4/2 อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/3 ร้องเพลงพื้นบ้าน
ป.4/4 ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

สาระสาคัญ
1. การอ่านที่ดีต้องสามารถจับใจความของเรื่อง
2. การอ่านอย่างพินิจพิจารณา ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง คิดวิเคราะห์ อย่างมีเหตุผล เป็นเครื่องชี้
ถึงความสาเร็จของการอ่าน
3. การคัดลายมือ เป็นการฝึกทักษะการเขียน และส่งเสริมให้นักเรียนรักภาษาไทย
4. การพูดแนะนาตัว การพูดสนทนา การพูดโน้มน้าวใจ และการพูดโต้แย้ง
5. มาตราตัวสะกด การสะกดคาด้วยมาตราแม่สะกดต่าง ๆ เป็นการเพิ่มทักษะทางการเรียน
ภาษาไทย
6. การแต่งประโยคเป็นการเพิ่มทักษะการอ่านและเขียนข้อความต่าง ๆ ได้ถูกต้อง
7. การพูดมีส่วนช่วยทาให้กิจกรรมต่าง ๆ สนุกสนาน
8. มารยาทในการฟัง และการพูด ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล
9. บทร้อยกรอง เป็นการนาคามาเรียงร้อยตามรูปแบบฉันทลักษณ์ให้สัมผัสคล้องจองได้
ความหมาย
78

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. นักเรียนสามารถ ตั้งคาถาม ตอบคาถามจากเรื่องที่อ่านได้


2. นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทเรียน และสรุปข้อคิดเห็นได้
3. นักเรียนอ่านเขียนคายากในบทเรียนได้อย่างถูกต้อง
4. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดได้สวยงามถูกต้อง
5. นักเรียนสะกดคาตามมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ได้ถูกต้อง
6. นักเรียนแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ถูกต้อง
7. นักเรียนพูดแนะนาตัว พูดสนทนา พูดโน้มน้าวใจ และพูดโต้แย้งได้ถูกต้อง
8. นักเรียนอ่านบทร้อยกรองที่กาหนดได้ และสรุปข้อคิดจากบทร้อยกรองได้
9. นักเรียนมีมารยาทในการฟัง ดู พูด และการเขียน

สาระการเรียนรู้
1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องคนดีศรีโรงเรียน
2 วรรณคดีลานา

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์ สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

การวัดผลและประเมินผล
1 วิธีการวัดผล
1.1 สังเกต
1.2 สนทนา สัมภาษณ์
1.3 ตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
1.4 ทาแบบทดสอบ
79

2 เครื่องมือวัด
2.1 แบบสังเกต
2.2 แบบสัมภาษณ์
2.3 แบบประเมินการตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
2.4 แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การวัด
นักเรียนทากิจกรรมร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์การประเมิน
กิจกรรมการเรียนรู้
1. นักเรียนและครูร่วมกันร้องเพลงหน้าที่เด็กดีแล้วอภิปรายเกี่ยวกับคนดีศรีโรงเรียน
2. นักเรียนสรุปข้อคิดจากเรื่อง คนดีศรีโรงเรียน
3. นักเรียนอ่านออกเสียงเรื่อง คนดีศรีโรงเรียน เป็นรายบุคคล และ เป็นกลุ่ม
4. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดหรือเต็มบรรทัด
5. นักเรียนเขียนคาตามมาตราตัวสะกด และแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกด
6. นักเรียนพูดแนะนาตัว พูดสนทนา พูดโน้มน้าวใจ และพูดโต้แย้งได้เหมาะสม
7. นักเรียนอ่านบทร้อยกรอง
8 นักเรียนทาแบบฝึกทักษะภาษาบทที่ 11

สื่อ / แหล่งเรียนรู้

1. หนังสือภาษาไทย ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4


2. แบบฝึกทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
3. บัตรคา กระเป๋าผนัง
4. เพลงหน้าที่เด็กดี
5. มุมหนังสือในห้องเรียน
6. ห้องสมุดโรงเรียน
7. ศูนย์ภาษาไทย
8. ปราชญ์ท้องถิ่น
80

หน่วยการจัดการเรียนรู้ที่ 12
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระการอ่าน/เขียน/ฟัง/หลักภาษา/วรรณคดี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

เรื่อง สารพิษในชีวิตประจาวันและห้องสมุดป่า เวลา 10 ชั่วโมง

มาตรฐาน ท.1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา


ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
มาตรฐาน ท.2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่างๆเขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า มาตรฐาน
มาตรฐาน ท.3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
ความรู้สกึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณอย่างสร้างสรรค์
มาตรฐาน ท.4.1 เข้าใจธรรมชาติของหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
มาตรฐาน ท.5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น
คุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

ตัวชี้วัด
ท.1.1 การอ่าน
ป.4/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.4/2 อธิบายความหมายของคา ประโยคและสานวนจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/3 อ่านเรื่องสั้น ตามเวลาที่กาหนด และตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/4 แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/5 คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
ป.4/6 สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/7 อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
เรื่องที่อ่าน
ป.4/8 มีมารยาทในการอ่าน

ท.2.1 การเขียน
ป.4/1 คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.4/2 เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม
ป.4/3 เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.4/4 เขียนย่อความจากเรื่องสั้น
ป.4/5 เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา
ป.4/6 เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
ป.4/7 เขียนเรื่องจากจินตนาการ
ป.4/8 มีมารยาทในการเขียน
81

ท.3.1 การฟัง การดู และการพูด


ป.4/1 จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/2 พูดสรุปการฟังและดู
ป.4/3 พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/4 ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/5 รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
ป.4/6 มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด

ท.4.1 หลักการใช้ภาษาไทย
ป.4/1 สะกดคาและบอกความหมายของคาในบริบทต่างๆ
ป.4/2 ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค
ป.4/3 ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา
ป.4/4 แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
ป.4/5 แต่งบทร้อยกรองและคาขวัญ
ป.4/6 บอกความหมายของสานวน
ป.4/7 เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

ท.5.1 วรรณคดีและวรรณกรรม
ป.4/1 ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม
ป.4/2 อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/3 ร้องเพลงพื้นบ้าน
ป.4/4 ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

สาระสาคัญ
1. การอ่านที่ดีต้องสามารถจับใจความของเรื่อง
2. การอ่านอย่างพินิจพิจารณา ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง คิดวิเคราะห์ อย่างมีเหตุผล เป็นเครื่องชี้
ถึงความสาเร็จของการอ่าน
3. การคัดลายมือ เป็นการฝึกทักษะการเขียน และส่งเสริมให้นักเรียนรักภาษาไทย
4. การโฆษณา สุภาษิต
5. มาตราตัวสะกด การสะกดคาด้วยมาตราแม่สะกดต่าง ๆ เป็นการเพิ่มทักษะทางการเรียน
ภาษาไทย
6. การแต่งประโยคเป็นการเพิ่มทักษะการอ่านและเขียนข้อความต่าง ๆ ได้ถูกต้อง
7. การพูดมีส่วนช่วยทาให้กิจกรรมต่าง ๆ สนุกสนาน
8. มารยาทในการฟัง และการพูด ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล
9. บทร้อยกรอง เป็นการนาคามาเรียงร้อยตามรูปแบบฉันทลักษณ์ให้สัมผัสคล้องจองได้
ความหมาย
82

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. นักเรียนสามารถ ตั้งคาถาม ตอบคาถามจากเรื่องที่อ่านได้


2. นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทเรียน และสรุปข้อคิดเห็นได้
3. นักเรียนอ่านเขียนคายากในบทเรียนได้อย่างถูกต้อง
4. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดได้สวยงามถูกต้อง
5. นักเรียนสะกดคาตามมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ได้ถูกต้อง
6. นักเรียนแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ถูกต้อง
7. นักเรียนเขียนคาโฆษณา และคาสุภาษิตได้
8. นักเรียนอ่านบทร้อยกรองที่กาหนดได้ และสรุปข้อคิดจากบทร้อยกรองได้
9. นักเรียนมีมารยาทในการฟัง ดู พูด และการเขียน

สาระการเรียนรู้

1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องสารพิษในชีวิตประจาวัน
2 วรรณคดีลานา ห้องสมุดป่า

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์ สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
83

การวัดผลและประเมินผล
1 วิธีการวัดผล
1.1 สังเกต
1.2 สนทนา สัมภาษณ์
1.3 ตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
1.4 ทาแบบทดสอบ
2 เครื่องมือวัด
2.1 แบบสังเกต
2.2 แบบสัมภาษณ์
2.3 แบบประเมินการตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
2.4 แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การวัด
นักเรียนทากิจกรรมร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์การประเมิน

กิจกรรมการเรียนรู้
1. นักเรียนเล่าเรื่องเกี่ยวกับประสบการณ์ที่พบเหตุการณ์ตื่นเต้น ตกใจ แล้วนามาอภิปราย
ร่วมกัน
2. นักเรียนสรุปข้อคิดจากเรื่อง สารพิษในชีวิตประจาวันและห้องสมุดป่า
3. นักเรียนอ่านออกเสียงเรื่อง สารพิษในชีวิตประจาวันและห้องสมุดป่า เป็นรายบุคคล และ
เป็นกลุ่ม
4. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดหรือเต็มบรรทัด
5. นักเรียนเขียนคาตามมาตราตัวสะกด และแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกด
6. นักเรียนเขียนคาโฆษณา คาสุภาษิต และคาขวัญ
7. นักเรียนอ่านบทร้อยกรอง
8 นักเรียนทาแบบฝึกทักษะภาษาบทที่ 12

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือภาษาไทย ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
2. แบบฝึกทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
3. บัตรคา กระเป๋าผนัง
4. ภาพการโฆษณา
5. มุมหนังสือในห้องเรียน
6. ห้องสมุดโรงเรียน
7. ศูนย์ภาษาไทย
8. ปราชญ์ท้องถิ่น
84

หน่วยการจัดการเรียนรู้ที่ 13
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระการอ่าน/เขียน/ฟัง/หลักภาษา/วรรณคดี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

เรื่อง อย่างนี้ดีควรทา เวลา 11 ชั่วโมง

มาตรฐาน ท.1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา


ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
มาตรฐาน ท.2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่างๆเขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า
มาตรฐาน ท.3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
ความรู้สกึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณอย่างสร้างสรรค์
มาตรฐาน ท.4.1 เข้าใจธรรมชาติของหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
มาตรฐาน ท.5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น
คุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

ตัวชี้วัด
ท.1.1 การอ่าน
ป.4/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.4/2 อธิบายความหมายของคา ประโยคและสานวนจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/3 อ่านเรื่องสั้น ตามเวลาที่กาหนด และตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/4 แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/5 คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
ป.4/6 สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/7 อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
เรื่องที่อ่าน
ป.4/8 มีมารยาทในการอ่าน

ท.2.1 การเขียน
ป.4/1 คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.4/2 เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม
ป.4/3 เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.4/4 เขียนย่อความจากเรื่องสั้น
ป.4/5 เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา
ป.4/6 เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
ป.4/7 เขียนเรื่องจากจินตนาการ
ป.4/8 มีมารยาทในการเขียน
ท.3.1 การฟัง การดู และการพูด
85

ป.4/1 จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/2 พูดสรุปการฟังและดู
ป.4/3 พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/4 ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/5 รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
ป.4/6 มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด

ท.4.1 หลักการใช้ภาษาไทย
ป.4/1 สะกดคาและบอกความหมายของคาในบริบทต่างๆ
ป.4/2 ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค
ป.4/3 ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา
ป.4/4 แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
ป.4/5 แต่งบทร้อยกรองและคาขวัญ
ป.4/6 บอกความหมายของสานวน
ป.4/7 เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

ท.5.1 วรรณคดีและวรรณกรรม
ป.4/1 ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม
ป.4/2 อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/3 ร้องเพลงพื้นบ้าน
ป.4/4 ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

สาระสาคัญ
1. การอ่านที่ดีต้องสามารถจับใจความของเรื่อง
2. การอ่านอย่างพินิจพิจารณา ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง คิดวิเคราะห์ อย่างมีเหตุผล เป็นเครื่องชี้
ถึงความสาเร็จของการอ่าน
3. การคัดลายมือ เป็นการฝึกทักษะการเขียน และส่งเสริมให้นักเรียนรักภาษาไทย
4. มารยาทการฟัง การดุ และการพูด
5. มาตราตัวสะกด การสะกดคาด้วยมาตราแม่สะกดต่าง ๆ เป็นการเพิ่มทักษะทางการเรียน
ภาษาไทย
6. การแต่งประโยคเป็นการเพิ่มทักษะการอ่านและเขียนข้อความต่าง ๆ ได้ถูกต้อง
7. การพูดมีส่วนช่วยทาให้กิจกรรมต่าง ๆ สนุกสนาน
8. มารยาทในการฟัง และการพูด ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล
9. บทร้อยกรอง เป็นการนาคามาเรียงร้อยตามรูปแบบฉันทลักษณ์ให้สัมผัสคล้องจองได้
ความหมาย
86

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. นักเรียนสามารถ ตั้งคาถาม ตอบคาถามจากเรื่องที่อ่านได้


2. นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทเรียน และสรุปข้อคิดเห็นได้
3. นักเรียนอ่านเขียนคายากในบทเรียนได้อย่างถูกต้อง
4. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดได้สวยงามถูกต้อง
5. นักเรียนสะกดคาตามมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ได้ถูกต้อง
6. นักเรียนแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ถูกต้อง
7. นักเรียนมีในมารยาทการฟัง การดู และการพูด
8. นักเรียนอ่านบทร้อยกรองที่กาหนดได้ และสรุปข้อคิดจากบทร้อยกรองได้
9. นักเรียนมีมารยาทในการฟัง ดู พูด และการเขียน

สาระการเรียนรู้
1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องอย่างนี้ดีควรทา
2 วรรณคดีลานา

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์ สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

การวัดผลและประเมินผล
1 วิธีการวัดผล
1.1 สังเกต
1.2 สนทนา สัมภาษณ์
1.3 ตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
1.4 ทาแบบทดสอบ
87

2 เครื่องมือวัด
2.1 แบบสังเกต
2.2 แบบสัมภาษณ์
2.3 แบบประเมินการตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
2.4 แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การวัด
นักเรียนทากิจกรรมร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์การประเมิน
กิจกรรมการเรียนรู้
1. นักเรียนเล่าประสบการณ์การทาความดีที่น่าภูมิใจ แล้วนามาอภิปรายร่วมกัน
2. นักเรียนสรุปข้อคิดจากเรื่อง อย่างนี้ดีควรทา เน้นเรื่องการดารงชีวิตอย่างพอเพียง
3. นักเรียนอ่านออกเสียงเรื่อง อย่างนี้ดีควรทา เป็นรายบุคคล และ เป็นกลุ่ม
4. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดหรือเต็มบรรทัด
5. นักเรียนเขียนคาตามมาตราตัวสะกด และแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกด
6. นักเรียนมีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
7. นักเรียนอ่านบทร้อยกรอง
8 นักเรียนทาแบบฝึกทักษะภาษาบทที่ 13

สื่อ / แหล่งเรียนรู้

1. หนังสือภาษาไทย ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4


2. แบบฝึกทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
3. บัตรคา กระเป๋าผนัง
4. แผนภูมิมารยาทการฟัง การดู และการพูด
5. มุมหนังสือในห้องเรียน
6. ห้องสมุดโรงเรียน
7. ศูนย์ภาษาไทย
8. ปราชญ์ท้องถิ่น
88

หน่วยการจัดการเรียนรู้ที่ 14
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระการอ่าน/เขียน/ฟัง/หลักภาษา/วรรณคดี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

เรื่อง กระดาษนี้มีที่มาและเที่ยวเมืองพระร่วง เวลา 14 ชั่วโมง

มาตรฐาน ท.1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา


ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
มาตรฐาน ท.2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่างๆเขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า
มาตรฐาน ท.3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
ความรู้สกึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณอย่างสร้างสรรค์
มาตรฐาน ท.4.1 เข้าใจธรรมชาติของหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
มาตรฐาน ท.5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น
คุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

ตัวชี้วัด
ท.1.1 การอ่าน
ป.4/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.4/2 อธิบายความหมายของคา ประโยคและสานวนจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/3 อ่านเรื่องสั้น ตามเวลาที่กาหนด และตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/4 แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/5 คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
ป.4/6 สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/7 อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
เรื่องที่อ่าน
ป.4/8 มีมารยาทในการอ่าน

ท.2.1 การเขียน
ป.4/1 คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.4/2 เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม
ป.4/3 เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.4/4 เขียนย่อความจากเรื่องสั้น
ป.4/5 เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา
ป.4/6 เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
ป.4/7 เขียนเรื่องจากจินตนาการ
ป.4/8 มีมารยาทในการเขียน
ท.3.1 การฟัง การดู และการพูด
89

ป.4/1 จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/2 พูดสรุปการฟังและดู
ป.4/3 พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/4 ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/5 รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
ป.4/6 มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด

ท.4.1 หลักการใช้ภาษาไทย
ป.4/1 สะกดคาและบอกความหมายของคาในบริบทต่างๆ
ป.4/2 ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค
ป.4/3 ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา
ป.4/4 แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
ป.4/5 แต่งบทร้อยกรองและคาขวัญ
ป.4/6 บอกความหมายของสานวน
ป.4/7 เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

ท.5.1 วรรณคดีและวรรณกรรม
ป.4/1 ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม
ป.4/2 อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/3 ร้องเพลงพื้นบ้าน
ป.4/4 ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

สาระสาคัญ
1. การอ่านที่ดีต้องสามารถจับใจความของเรื่อง
2. การอ่านอย่างพินิจพิจารณา ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง คิดวิเคราะห์ อย่างมีเหตุผล เป็นเครื่องชี้
ถึงความสาเร็จของการอ่าน
3. การคัดลายมือ เป็นการฝึกทักษะการเขียน และส่งเสริมให้นักเรียนรักภาษาไทย
4. การเขียนรายงานและการพูดรายงาน
5. มาตราตัวสะกด การสะกดคาด้วยมาตราแม่สะกดต่าง ๆ เป็นการเพิ่มทักษะทางการเรียน
ภาษาไทย
6. การแต่งประโยคเป็นการเพิ่มทักษะการอ่านและเขียนข้อความต่าง ๆ ได้ถูกต้อง
7. การพูดมีส่วนช่วยทาให้กิจกรรมต่าง ๆ สนุกสนาน
8. มารยาทในการฟัง และการพูด ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล
9. บทร้อยกรอง เป็นการนาคามาเรียงร้อยตามรูปแบบฉันทลักษณ์ให้สัมผัสคล้องจองได้
ความหมาย
90

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถ ตั้งคาถาม ตอบคาถามจากเรื่องที่อ่านได้
2. นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทเรียน และสรุปข้อคิดเห็นได้
3. นักเรียนอ่านเขียนคายากในบทเรียนได้อย่างถูกต้อง
4. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดได้สวยงามถูกต้อง
5. นักเรียนสะกดคาตามมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ได้ถูกต้อง
6. นักเรียนแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ถูกต้อง
7. นักเรียนเขียนรายงานและพูดรายงานได้ตามรูปแบบที่กาหนด
8. นักเรียนอ่านบทร้อยกรองที่กาหนดได้ และสรุปข้อคิดจากบทร้อยกรองได้
9. นักเรียนมีมารยาทในการฟัง ดู พูด และการเขียน

สาระการเรียนรู้

1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 14 เรื่องกระดาษนี้มีที่มาและเที่ยวเมืองพระร่วง
2 วรรณคดีลานา เที่ยวเมืองพระร่วง

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์ สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

การวัดผลและประเมินผล
1 วิธีการวัดผล
1.1 สังเกต
1.2 สนทนา สัมภาษณ์
1.3 ตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
1.4 ทาแบบทดสอบ
91

2 เครื่องมือวัด
2.1 แบบสังเกต
2.2 แบบสัมภาษณ์
2.3 แบบประเมินการตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
2.4 แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การวัด
นักเรียนทากิจกรรมร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์การประเมิน
กิจกรรมการเรียนรู้
1. นักเรียนแบ่งกลุ่มพับหรือคิดประดิษฐ์ผลงานจากกระดาษที่เป็นวัสดุเหลือใช้ และเขียน
ขั้นตอนการทา แล้วช่วยกันเลือกผลงานที่มีความคิดสร้างสรรค์
2. นักเรียนสรุปข้อคิดจากเรื่อง กระดาษนี้มีที่มาและเที่ยวเมืองพระร่วง
3. นักเรียนอ่านออกเสียงเรื่อง กระดาษนี้มีที่มาและเที่ยวเมืองพระร่วง เป็นรายบุคคล และ
เป็นกลุ่ม
4. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดหรือเต็มบรรทัด
5. นักเรียนเขียนคาตามมาตราตัวสะกด และแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกด
6. นักเรียนเขียนเรื่องการใช้สิ่งของต่างๆอย่างรู้คุณค่า ประหยัดและเกิดประโยชน์สูงสุด
7. นักเรียนเล่นบทบาทสมมุติ เกี่ยวกับการเป็นมัคคุเทศก์
7. นักเรียนอ่านบทร้อยกรอง
8 นักเรียนทาแบบฝึกทักษะภาษาบทที่ 14

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือภาษาไทย ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
2. แบบฝึกทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
3. บัตรคา กระเป๋าผนัง
4. กระดาษ หรือวัสดุเหลือใช้
5. มุมหนังสือในห้องเรียน
6. ห้องสมุดโรงเรียน
7. ศูนย์ภาษาไทย
8. ปราชญ์ท้องถิ่น
92

หน่วยการจัดการเรียนรู้ที่ 15
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระการอ่าน/เขียน/ฟัง/หลักภาษา/วรรณคดี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

เรื่อง รักที่คุ้มภัย เวลา 12 ชั่วโมง

มาตรฐาน ท.1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา


ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
มาตรฐาน ท.2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่างๆเขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า
มาตรฐาน ท.3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
ความรู้สกึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณอย่างสร้างสรรค์
มาตรฐาน ท.4.1 เข้าใจธรรมชาติของหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
มาตรฐาน ท.5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น
คุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

ตัวชี้วัด
ท.1.1 การอ่าน
ป.4/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.4/2 อธิบายความหมายของคา ประโยคและสานวนจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/3 อ่านเรื่องสั้น ตามเวลาที่กาหนด และตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/4 แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/5 คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
ป.4/6 สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/7 อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
เรื่องที่อ่าน
ป.4/8 มีมารยาทในการอ่าน

ท.2.1 การเขียน
ป.4/1 คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.4/2 เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม
ป.4/3 เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.4/4 เขียนย่อความจากเรื่องสั้น
ป.4/5 เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา
ป.4/6 เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
ป.4/7 เขียนเรื่องจากจินตนาการ
ป.4/8 มีมารยาทในการเขียน
93

ท.3.1 การฟัง การดู และการพูด


ป.4/1 จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/2 พูดสรุปการฟังและดู
ป.4/3 พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/4 ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/5 รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
ป.4/6 มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด

ท.4.1 หลักการใช้ภาษาไทย
ป.4/1 สะกดคาและบอกความหมายของคาในบริบทต่างๆ
ป.4/2 ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค
ป.4/3 ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา
ป.4/4 แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
ป.4/5 แต่งบทร้อยกรองและคาขวัญ
ป.4/6 บอกความหมายของสานวน
ป.4/7 เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

ท.5.1 วรรณคดีและวรรณกรรม
ป.4/1 ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม
ป.4/2 อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/3 ร้องเพลงพื้นบ้าน
ป.4/4 ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

สาระสาคัญ

1. การอ่านที่ดีต้องสามารถจับใจความของเรื่อง
2. การอ่านอย่างพินิจพิจารณา ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง คิดวิเคราะห์ อย่างมีเหตุผล เป็นเครื่องชี้
ถึงความสาเร็จของการอ่าน
3. การคัดลายมือ เป็นการฝึกทักษะการเขียน และส่งเสริมให้นักเรียนรักภาษาไทย
4. การใช้ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาถิ่น คาที่มาจากภาษาต่างประเทศ และการใช้พจนานุกรม
5. มาตราตัวสะกด การสะกดคาด้วยมาตราแม่สะกดต่าง ๆ เป็นการเพิ่มทักษะทางการเรียน
ภาษาไทย
6. การแต่งประโยคเป็นการเพิ่มทักษะการอ่านและเขียนข้อความต่าง ๆ ได้ถูกต้อง
7. การพูดมีส่วนช่วยทาให้กิจกรรมต่าง ๆ สนุกสนาน
8. มารยาทในการฟัง และการพูด ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล
9. บทร้อยกรอง เป็นการนาคามาเรียงร้อยตามรูปแบบฉันทลักษณ์ให้สัมผัสคล้องจองได้
ความหมาย
94

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถ ตั้งคาถาม ตอบคาถามจากเรื่องที่อ่านได้
2. นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทเรียน และสรุปข้อคิดเห็นได้
3. นักเรียนอ่านเขียนคายากในบทเรียนได้อย่างถูกต้อง
4. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดได้สวยงามถูกต้อง
5. นักเรียนสะกดคาตามมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ได้ถูกต้อง
6. นักเรียนแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ถูกต้อง
7. นักเรียนสามารถใช้ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาถิ่น คาที่มาจากภาษาต่างประเทศ และ
ใช้พจนานุกรมได้ถูกต้อง
8. นักเรียนอ่านบทร้อยกรองที่กาหนดได้ และสรุปข้อคิดจากบทร้อยกรองได้
9. นักเรียนมีมารยาทในการฟัง ดู พูด และการเขียน

สาระการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15 เรื่องรักที่คุ้มภัย

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์ สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

การวัดผลและประเมินผล
1 วิธีการวัดผล
1.1 สังเกต
1.2 สนทนา สัมภาษณ์
1.3 ตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
1.4 ทาแบบทดสอบ
95

2 เครื่องมือวัด
2.1 แบบสังเกต
2.2 แบบสัมภาษณ์
2.3 แบบประเมินการตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
2.4 แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การวัด
นักเรียนทากิจกรรมร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์การประเมิน
กิจกรรมการเรียนรู้
1. นักเรียนเขียนชื่อสัตว์ต่างๆ ที่อาศัยอยู่ในบ้านของนักเรียนทั้งที่เป็นสัตว์เลี้ยงและที่มาอาศัย
ให้ได้มากที่สุด แล้วนามาสนทนาแลกเปลี่ยนกัน
2. นักเรียนสรุปข้อคิดจากเรื่อง รักที่คุ้มภัย
3. นักเรียนพูดสนทนาถึงโทษของสิ่งเสพติด และการป้องกันตนเองให้พ้นจากสิ่งเสพติด
3. นักเรียนอ่านออกเสียงเรื่อง รักที่คุ้มภัย เป็นรายบุคคล และ เป็นกลุ่ม
4. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดหรือเต็มบรรทัด
5. นักเรียนเขียนคาตามมาตราตัวสะกด และแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกด
6. นักเรียนใช้ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาถิ่น คาที่มาจากภาษาต่างประเทศ และการใช้
พจนานุกรม
7. นักเรียนอ่านบทร้อยกรอง
8. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะภาษาบทที่ 15

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือภาษาไทย ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
2. แบบฝึกทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
3. บัตรคา กระเป๋าผนัง
4. ชื่อสัตว์
5. หนังสือพจนานุกรม
6. มุมหนังสือในห้องเรียน
7. ห้องสมุดโรงเรียน
8. ศูนย์ภาษาไทย
9. ปราชญ์ท้องถิ่น
96

หน่วยการจัดการเรียนรู้ที่ 16
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระการอ่าน/เขียน/ฟัง/หลักภาษา/วรรณคดี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

เรื่อง ธรรมชาตินี้มีคุณ เวลา 12 ชั่วโมง

มาตรฐาน ท.1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา


ในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
มาตรฐาน ท.2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่างๆเขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า
มาตรฐาน ท.3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
ความรู้สกึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณอย่างสร้างสรรค์
มาตรฐาน ท.4.1 เข้าใจธรรมชาติของหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
มาตรฐาน ท.5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น
คุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

ตัวชี้วัด
ท.1.1 การอ่าน
ป.4/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.4/2 อธิบายความหมายของคา ประโยคและสานวนจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/3 อ่านเรื่องสั้น ตามเวลาที่กาหนด และตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/4 แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.4/5 คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผลประกอบ
ป.4/6 สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/7 อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
เรื่องที่อ่าน
ป.4/8 มีมารยาทในการอ่าน

ท.2.1 การเขียน
ป.4/1 คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.4/2 เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม
ป.4/3 เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.4/4 เขียนย่อความจากเรื่องสั้น
ป.4/5 เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา
ป.4/6 เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
ป.4/7 เขียนเรื่องจากจินตนาการ
ป.4/8 มีมารยาทในการเขียน
97

ท.3.1 การฟัง การดู และการพูด


ป.4/1 จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/2 พูดสรุปการฟังและดู
ป.4/3 พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/4 ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.4/5 รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา
ป.4/6 มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด

ท.4.1 หลักการใช้ภาษาไทย
ป.4/1 สะกดคาและบอกความหมายของคาในบริบทต่างๆ
ป.4/2 ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค
ป.4/3 ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา
ป.4/4 แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา
ป.4/5 แต่งบทร้อยกรองและคาขวัญ
ป.4/6 บอกความหมายของสานวน
ป.4/7 เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่นได้

ท.5.1 วรรณคดีและวรรณกรรม
ป.4/1 ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม
ป.4/2 อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.4/3 ร้องเพลงพื้นบ้าน
ป.4/4 ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

สาระสาคัญ
1. การอ่านที่ดีต้องสามารถจับใจความของเรื่อง
2. การอ่านอย่างพินิจพิจารณา ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง คิดวิเคราะห์ อย่างมีเหตุผล เป็นเครื่องชี้
ถึงความสาเร็จของการอ่าน
3. การคัดลายมือ เป็นการฝึกทักษะการเขียน และส่งเสริมให้นักเรียนรักภาษาไทย
4. คาประพันธ์ประเภทร้อยกรอง กลอนสี่ กลอนแปด กาพย์ยานี 11 และคาราชาศัพท์
5. มาตราตัวสะกด การสะกดคาด้วยมาตราแม่สะกดต่าง ๆ เป็นการเพิ่มทักษะทางการเรียน
ภาษาไทย
6. การแต่งประโยคเป็นการเพิ่มทักษะการอ่านและเขียนข้อความต่าง ๆ ได้ถูกต้อง
7. การพูดมีส่วนช่วยทาให้กิจกรรมต่าง ๆ สนุกสนาน
8. มารยาทในการฟัง และการพูด ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล
9. บทร้อยกรอง เป็นการนาคามาเรียงร้อยตามรูปแบบฉันทลักษณ์ให้สัมผัสคล้องจองได้
ความหมาย
98

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถ ตั้งคาถาม ตอบคาถามจากเรื่องที่อ่านได้
2. นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทเรียน และสรุปข้อคิดเห็นได้
3. นักเรียนอ่านเขียนคายากในบทเรียนได้อย่างถูกต้อง
4. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดได้สวยงามถูกต้อง
5. นักเรียนสะกดคาตามมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ได้ถูกต้อง
6. นักเรียนแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกดที่กาหนดให้ถูกต้อง
7. นักเรียนอ่านและเขียนคาประพันธ์ประเภทร้อยกรอง กลอนสี่ กลอนแปด กาพย์ยานี 11 และ
คาราชาศัพท์ ได้
8. นักเรียนอ่านบทร้อยกรองที่กาหนดได้ และสรุปข้อคิดจากบทร้อยกรองได้
9. นักเรียนมีมารยาทในการฟัง ดู พูด และการเขียน

สาระการเรียนรู้
1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 16 ธรรมชาตินี้มีคุณ
2 วรรณคดีลานา

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์ สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

การวัดผลและประเมินผล
1 วิธีการวัดผล
1.1 สังเกต
1.2 สนทนา สัมภาษณ์
1.3 ตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
1.4 ทาแบบทดสอบ
99

2 เครื่องมือวัด
2.1 แบบสังเกต
2.2 แบบสัมภาษณ์
2.3 แบบประเมินการตรวจผลงาน / ชิ้นงาน
2.4 แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การวัด
นักเรียนทากิจกรรมร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์การประเมิน
กิจกรรมการเรียนรู้
1. แบ่งกลุ่มนักเรียน แข่งขันกันหาคาราชาศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยคาว่า “พระ และทรง” ให้ได้มาก
ที่สุดพร้อมหาความหมาย
2. นักเรียนสรุปข้อคิดจากเรื่อง ธรรมชาตินี้มีคุณ
3. นักเรียนเขียนวิธีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างประหยัด คุ้มค่า และเกิดประโยชน์สูงสุด
3. นักเรียนอ่านออกเสียงเรื่องธรรมชาตินี้มีคุณ เป็นรายบุคคล และ เป็นกลุ่ม
4. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดหรือเต็มบรรทัด
5. นักเรียนเขียนคาตามมาตราตัวสะกด และแต่งประโยคจากมาตราตัวสะกด
6. นักเรียนอ่านและเขียนคาประพันธ์ประเภทร้อยกรอง กลอนสี่ กลอนแปด กาพย์ยานี 11 และ
คาราชาศัพท์
7. นักเรียนอ่านบทร้อยกรอง
8 นักเรียนทาแบบฝึกทักษะภาษาบทที่ 16
สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือภาษาไทย ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
2. แบบฝึกทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
3. บัตรคา กระเป๋าผนัง
4. คาราชาศัพท์
5. พจนานุกรม
6. มุมหนังสือในห้องเรียน
7. ห้องสมุดโรงเรียน
8. ศูนย์ภาษาไทย
9. ปราชญ์ท้องถิ่น
100

เกณฑ์การวัดและประเมินผล
แบบประเมินการอ่านออกเสียง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการอ่านออกเสียง และให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรม
ของนักเรียน
เกณฑ์การประเมิน ผู้ผ่านการประเมิน ต้องได้คะแนนรวมร้อยละ 60 ขึ้นไป

น้าเสียงเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน
การจับหนังสือ/พลิกหนังสือ/

ไม่อ่านข้าม/อ่านเพิ่ม/ตู่คา
ท่าทางในการอ่านถูกต้อง

การเว้นวรรคตอนถูกต้อง
อ่านถูกต้องตามอักขรวิธี

อ่านเสียงดังเหมาะสม
สรุปผล
รวม
เลขที่ ชื่อ - สกุล การประเมิน

3 3 3 3 3 3 18 ผ่าน ไม่ผ่าน

ผู้ผ่านเกณฑ์การประเมิน ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 11 คะแนน ขึ้นไป


ลงชื่อ...........................................................ผู้ประเมิน
(...........................................................)
101

รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการอ่านออกเสียง (rubrics)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
เกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการประเมิน
3 2 1
1. การจับหนังสือ/ ลักษณะท่าทาง การวาง ลักษณะท่าทาง การวาง ลักษณะท่าทาง การวาง
พลิกหนังสือ/ท่าทาง และการจับหนังสือถูกต้อง และการจับหนังสือ และการจับหนังสือ
ในการอ่านถูกต้อง ไม่ถูกต้อง 1 อย่าง ไม่ถูกต้อง 2 อย่างขึ้นไป
2. อ่านถูกต้องตาม อ่านถูกต้องตามอักขรวิธี อ่านถูกต้องตามอักขรวิธี อ่านไม่ถูกต้อง
อักขรวิธี ออกเสียงชัดเจน ออกเสียงชัดบ้าง ตามอักขรวิธี
ไม่ชัดบ้าง ออกเสียงไม่ชัดเจนเลย
3. การเว้นวรรคตอน อ่านเว้นวรรคตอนได้ อ่านเว้นวรรคตอนผิดบ้าง อ่านเว้นวรรคตอนผิด
ถูกต้อง ถูกต้องตลอดทั้งเรื่อง เป็นบางครั้ง ตลอดทั้งเรื่อง ตั้งแต่ต้น
ตั้งแต่ต้นจนจบเรื่อง จนจบเรื่อง
4. น้าเสียงเหมาะสมกับ อ่านเสียงดังชัดเจน อ่านเสียงดังชัดเจน อ่านเสียงไม่ชัดเจน
เรื่องที่อ่าน น้าเสียงเหมะสมกับเรื่องที่ น้าเสียงเหมาะสมบ้างเป็น น้าเสียงไม่เหมาะสมกับ
อ่าน บางครั้ง เรื่องที่อ่านตลอดทั้งเรื่อง
5. ไม่อ่านข้าม/อ่านเพิ่ม/ อ่านออกเสียงได้ถูกต้อง อ่านออกเสียงได้ถูกต้อง อ่านออกเสียงไม่ถูกต้อง
ตู่คา ชัดเจนทุกคา ทุกข้อความ ชัดเจนเป็นบางคา ไม่ชัดเจน อ่านข้ามคา
ทุกประโยค มีการอ่านตู่คา เพิ่มคา อ่านเพิ่มคา และตู่คามาก
และตู่คาเป็นบางครั้ง
6. อ่านเสียงดังเหมาะสม อ่านเสียงดัง ชัดเจน อ่านเสียงดังบ้าง อ่านเสียงเบา
ได้ยินทั่วถึงกันทั้งห้อง เป็นบางครั้ง ได้ยินไม่ทั่วถึง
เสียงดังสม่าเสมอ เสียงไม่สม่าเสมอ
102

แบบสังเกตการอ่านสะกดคา
คาชี้แจง ให้เขียนคะแนนในช่องที่ตรงกับพฤติกรรมของนักเรียน
เกณฑ์การสังเกต การผ่านการสังเกตต้องผ่านทุกรายการ และได้คะแนนร้อยละ 60 ขึ้นไป
คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการสะกดคาและให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรมของ
นักเรียน
เกณฑ์การประเมิน ผู้ผ่านการประเมิน ต้องได้คะแนนรวมร้อยละ 60 ขึ้นไป

การวาง/การจับหนังสือถูกต้อง

ไม่ส่ายหน้าไปมาในขณะอ่าน
ไม่ใช้มือชี้ตามตัวอักษร
สรุปผล

อ่านไม่ตะกุกตะกัก
รวม

การกวาดสายตา
เลขที่ ชื่อ - สกุล การประเมิน

3 3 3 3 3 15 ผ่าน ไม่ผ่าน

ผู้ผ่านเกณฑ์การประเมิน ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 9 คะแนน ขึ้นไป


ลงชื่อ...........................................................ผู้ประเมิน
(...........................................................)
ระดับคุณภาพ 13-15 คะแนน หมายถึง ดีมาก
10-12 คะแนน หมายถึง ดี
7-9 คะแนน หมายถึง ปานกลาง
4-6 คะแนน หมายถึง พอใช้
0-3 คะแนน หมายถึง ต้องปรับปรุง
ลงชื่อ...........................................................ผู้ประเมิน
(...........................................................)
103

รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการอ่านออกเสียง (rubrics)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
เกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการประเมิน
3 2 1
1. การจับหนังสือ/ ลักษณะท่าทาง การวาง ลักษณะท่าทาง การวาง ลักษณะท่าทาง การวาง
พลิกหนังสือ/ท่าทาง และการจับหนังสือถูกต้อง และการจับหนังสือ และการจับหนังสือ
ในการอ่านถูกต้อง ไม่ถูกต้อง 1 อย่าง ไม่ถูกต้อง 2 อย่างขึ้นไป
2. การกวาดสายตา กวาดสายตาจาก กวาดสายตาจาก กวาดสายตาจาก
ซ้ายไปขวาได้ถูกต้อง ซ้ายไปขวาได้ถูกต้อง ซ้ายไปขวาได้ถูกต้อง
สม่าเสมอและรวดเร็ว แต่ช้า แต่ช้ามาก
3. ไม่ใช้มือชี้ตาม ไม่ใช้มือชี้ตามตัวอักษร ไม่ใช้มือชี้ตามตัวอักษร ใช้มือชี้ตามตัวอักษร
ตัวอักษร ขณะที่อ่านในใจ บ้างในบางครั้งขณะที่อ่าน
ตลอดทั้งเรื่อง ในใจ
ตั้งแต่ต้นจนจบ
4. ไม่ส่ายหน้าไปมา ไม่ส่ายหน้าไปมา ในขณะ ส่ายหน้าไปมา ส่ายหน้าในขณะ
ในขณะอ่าน อ่านในใจ เป็นบางครั้ง อ่านในใจตลอดเวลา
ตลอดทั้งเรื่อง ในขณะอ่านในใจ
ตั้งแต่ต้นจนจบ
5. อ่านไม่ตะกุกตะกัก อ่านไม่ตะกุกตะกัก อ่านไม่ตะกุกตะกัก อ่านตะกุกตะกักมาก
ทุกคาที่อ่าน เป็นส่วนใหญ่
104

แบบประเมินการเขียนคาและแต่งประโยค
คาชี้แจง เขียนคะแนนในช่องที่ตรงกับพฤติกรรมของนักเรียน
เกณฑ์การประเมิน การผ่านการประเมินต้องผ่านทุกรายการ
เกณฑ์การผ่านการประเมิน ต้องได้คะแนนร้อยละ 60 ขึ้นไป

เขียนสะกดคาถูกต้อง
สรุปผล

แต่งประโยคถูกต้อง
รวม
เลขที่ ชื่อ - สกุล การประเมิน

ความสะอาด
ความตั้งใจ

ทันเวลา
3 3 3 3 3 15 ผ่าน ไม่ผ่าน

ระดับคุณภาพ 13-15 คะแนน หมายถึง ดีมาก


10-12 คะแนน หมายถึง ดี
7-9 คะแนน หมายถึง ปานกลาง
6-8 คะแนน หมายถึง พอใช้
0-5 คะแนน หมายถึง ต้องปรับปรุง
ลงชื่อ...........................................................ผู้ประเมิน
(...........................................................)
105

รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการเขียนคาและแต่งประโยค (rubrics)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

............................................................................................................................. ................................
เกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการประเมิน
3 2 1
1. ความตั้งใจ ตั้งใจ สนใจในการเรียน สนใจในเรื่องที่เรียน มีความสนใจน้อยมาก
การทากิจกรรม เป็นส่วนใหญ่
ตลอดเวลาที่เรียน
2. เขียนสะกดคาถูกต้อง 1. เขียนสะกดถูกต้อง บกพร่องข้อใดข้อหนึ่ง บกพร่องตั้งแต่ 2 ข้อขึ้น
ตามอักขรวิธี ไป
2. เขียนคาควบกล้า
ถูกต้องทุกคา
3. เขียนคาอักษรนา
ถูกต้องทุกคา
3. แต่งประโยคถูกต้อง แต่งประโยคถูกต้อง แต่งประโยคถูกต้อง แต่งประโยคผิดมาก
ทุกประโยคที่ครูกาหนดให้ เป็นส่วนใหญ่
แต่ง
4. ความสะอาด ทางาน/กิจกรรม ทางาน/กิจกรรม ทางาน/กิจกรรม
ผลงานสะอาดดีมาก ผลงานสะอาดบ้าง ผลงานไม่สะอาด
5. ทันเวลา ทางาน/กิจกรรม ทางาน/กิจกรรม ทางาน/กิจกรรม
ทันเวลาที่กาหนด ทันเวลาเป็นส่วนใหญ่ ไม่ทันเวลา
ทุกรายการ
106

แบบประเมินการพูดเล่าเรื่อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการพูดเล่าเรื่องของนักเรียน และให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับ
พฤติกรรมของนักเรียน
เกณฑ์การประเมิน ผู้ผ่านการประเมิน ต้องได้คะแนนรวมร้อยละ 60 ขึ้นไป

ลาดับเหตุการณ์ถูกต้อง เหมาะสม
ภาษา การใช้ภาษาเหมาะสมกับ

พูดออกเสียง ร ล คาควบกล้า

การใช้เวลาในการพูดเหมาะสม
สรุปเรื่อง/ข้อคิด/คติเตือนใจได้
เนื้อหา การพูดตรงกับชื่อเรื่อง

ร ล ว เสียงดัง ชัดเจน
สรุปผล
รวม

เรื่องและกาลเทศะ
เลขที่ ชื่อ - สกุล การประเมิน
กลวิธีการนาเสนอ

3 3 3 3 3 3 3 21 ผ่าน ไม่ผ่าน

ผู้ผ่านเกณฑ์การประเมิน ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 13 คะแนน ขึ้นไป


ลงชื่อ...........................................................ผู้ประเมิน
(...........................................................)
107

รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการพูดเล่าเรื่อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
เกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการประเมิน
3 2 1
1. กลวิธีการนาเสนอ 1. กล่าวทักทายผู้ฟัง แนะนาตัว บกพร่องเกณฑ์ใด บกพร่องเกณฑ์
และกล่าวสวัสดีตอนจบ เกณฑ์หนึ่งในข้อ ในข้อ 1, 2 และ 3
2. พูดได้คล่องแคล่ว 1, 2 และ 3 ตั้งแต่ 2 เกณฑ์ขึ้นไป
เว้นจังหวะการพูดเหมาะสม
ไม่ตะกุกตะกัก
3. พูดเสียงดังชัดเจน
แสดงท่าทาง สีหน้า
ประกอบการพูดเหมาะสม
เป็นธรรมชาติ
2. เนื้อหา การพูด 1. พูดได้สอดคล้องตรงกับ บกพร่องเกณฑ์ใด บกพร่องทั้งข้อ 1 และ
ตรงกับชื่อเรื่อง ชื่อเรื่อง เกณฑ์หนึ่งในข้อ 1 และ ข้อ 2
2. เนื้อหามีความต่อเนื่อง 2
3. ภาษา การใช้ภาษา 1. ออกเสียงได้ถูกต้องตาม อักขรวิธี บกพร่องเกณฑ์ใด บกพร่องเกณฑ์
เหมาะสมกับเรื่อง 2. ใช้ภาษาเข้าใจง่าย เกณฑ์หนึ่งในข้อ ในข้อ 1, 2 และ 3
และกาลเทศะ 3. น้าเสียงไพเราะ สุภาพ 1, 2 และ 3 ตั้งแต่ 2 เกณฑ์ขึ้นไป
เหมาะสมกับกาลเทศะ
4. พูดออกเสียง ร ล 1. ออกเสียงถูกต้องตามอักขรวิธี บกพร่องเกณฑ์ใด บกพร่องเกณฑ์
คาควบกล้า ร ล ว 2. ใช้ภาษาเข้าใจง่าย เกณฑ์หนึ่งในข้อ ในข้อ 1, 2 และ 3
เสียงดังชัดเจน 3. พูดเสียงดังฟังชัดเจน 1, 2 และ 3 ตั้งแต่ 2 เกณฑ์ขึ้นไป
5. ลาดับเหตุการณ์ พูดได้ตามลาดับเนื้อเรื่องเหตุการณ์ พูดได้ตามลาดับ พูดไม่ลาดับเหตุการณ์
ถูกต้องเหมาะสม อย่างต่อเนื่อง เหมาะสม เนื้อเรื่องเหตุการณ์อย่าง พูดสับสน วกวนไปมา
ต่อเนื่องเป็นบางครั้ง
6. สรุปเรื่อง/ข้อคิด/ พูดสรุปเรื่องข้อคิดและ บกพร่องในประเด็นใด บกพร่องในทุกประเด็น
คติเตือนใจได้ คติเตือนใจได้ ประเด็นหนึ่ง
7. การใช้เวลา พูดจบภายในเวลาที่กาหนด ใช้เวลามาก/น้อยจาก ใช้เวลามาก/น้อยจาก
ในการพูดเหมาะสม ที่กาหนดให้ ที่กาหนดให้
ไม่เกิน 2 นาที ไม่เกิน 3 นาที
108

แบบประเมินการเขียนสื่อความ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการพูดเล่าเรื่องของนักเรียน และให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับ
พฤติกรรมของนักเรียน
เกณฑ์การประเมิน ผู้ผ่านการประเมิน ต้องได้คะแนนรวมร้อยละ 60 ขึ้นไป
เขียนสื่อความได้เนื้อหาครบถ้วนสมบูรณ์ตาม

เขียนสื่อความได้ตรงประเด็นคาถาม และ
การใช้ภาษาได้ถูกต้องตามหลักภาษา ไม่

ความสะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ


เขียนแสดงความคิดแปลกใหม่

การเขียนสะกดการันต์ถูกต้อง
เสนอทัศนะที่ไม่ซ้าแบบใคร
สรุปผล

การเว้นวรรคตอนถูกต้อง
รวม
เลขที่ ชื่อ - สกุล การประเมิน

ครอบคลุมเนื้อหา
วกวนไปมา

เรียบร้อย
ข้อคาถาม

3 3 3 3 3 3 3 21 ผ่าน ไม่ผา่ น

ผู้ผ่านเกณฑ์การประเมิน ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 13 คะแนน ขึ้นไป


ลงชื่อ...........................................................ผู้ประเมิน
(...........................................................)
109

รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการเขียนสื่อความ (rubrics)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
เกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการประเมิน
3 2 1
1. เขียนสื่อความ เขียนสื่อความ เขียนสื่อความ เขียนสื่อความ
ได้ครบถ้วนสมบูรณ์ ได้ครบถ้วนสมบูรณ์ ได้ครบถ้วน ไม่ครบถ้วน
ตามข้อคาถาม ตามข้อคาถาม แต่ไม่สมบูรณ์ และไม่สมบูรณ์
2. การใช้ภาษาได้ถูกต้อง การใช้ภาษาได้ถูกต้อง การใช้ภาษาได้ถูกต้อง การใช้ภาษาไม่ชัดเจน
ตามหลักภาษา ตามหลักภาษา ตามหลักภาษา และวกวนไปมา
ไม่วกวนไปมา ไม่วกวนไปมา แต่วกวนบ้าง
3. เขียนแสดงความคิด เขียนแสดงความคิดแปลก เขียนแสดงความคิดแปลก เขียนแสดงความคิด
แปลกใหม่ ใหม่ เสนอทัศนะไม่ซ้า ใหม่ แต่ซ้าแบบคนอื่น ไม่แปลกใหม่
เสนอทัศนะ แบบใคร และซ้าแบบคนอื่น
ไม่ซ้าแบบใคร
4. เขียนสื่อความ เขียนสื่อความ เขียนสื่อความ เขียนสื่อความ
ได้ตรงประเด็นคาถาม ได้ตรงประเด็นคาถาม ได้ตรงประเด็นคาถาม ไม่ตรงประเด็นคาถาม
ครอบคลุมเนื้อหา ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมด แต่ไม่ครอบคลุมเนื้อหา และไม่ครอบคลุม
ทั้งหมด ทั้งหมด
5. การเขียนสะกด เขียนสะกดการันต์ถูกต้อง เขียนสะกดการันต์ผิด 2 เขียนสะกดการันต์ผิด
การันต์ถูกต้อง ทุกคา ตลอดทั้งเรื่อง ตาแหน่ง ตั้งแต่ 2 ตาแหน่งขึ้นไป
6. การเว้นวรรคตอน เขียนเว้นวรรคตอนถูกต้อง เขียนเว้นวรรคตอน เขียนเว้นวรรคตอน
ถูกต้อง ตลอดทั้งเรื่อง ถูกต้องเป็นบางส่วน ไม่ถูกต้องตลอดทั้งเรื่อง
7. ความสะอาด ทางานสะอาด สวยงาม ทางานสะอาด สวยงาม ทางานไม่สะอาด
สวยงาม เป็นระเบียบ และเป็นระเบียบเรียบร้อย และเป็นระเบียบ ไม่สวยงามและ
เรียบร้อย เรียบร้อยเป็นบางส่วน ไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย
110

แบบประเมินมารยาทในการฟัง
............................................................................................................................. ................................
คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนเรื่องมารยาทในการฟัง และให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรม
ของนักเรียน
เกณฑ์การประเมิน ผู้ผ่านการประเมิน ต้องได้คะแนนรวมร้อยละ 30 ขึ้นไป

ยกมือขึ้นถามเมื่อต้องการถาม

ให้เกียรติผู้พดโดยการปรบมือ
ถามเมื่อผู้พูดให้โอกาสถาม
ไม่พูดคุยกันขณะที่ฟัง
สรุปผล
รวม
เลขที่ ชื่อ – สกุล การประเมิน

ตั้งใจฟัง
3 3 3 3 3 15 ผ่าน ไม่ผ่าน

ผู้ผ่านเกณฑ์การประเมิน ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 9 คะแนน ขึ้นไป


ลงชื่อ...........................................................ผู้ประเมิน
(...........................................................)
111

รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินมารยาทในการฟัง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
เกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการประเมิน
3 2 1
1. ไม่พูดคุยกันขณะที่ฟัง ไม่พูดคุยเลยในขณะฟัง พูดคุย 2 ครั้งในขณะฟัง พูดคุยตั้งแต่ 3 ครั้งขึ้นไป
ตลอดระยะเวลาที่ฟัง
2. ตั้งใจฟัง มีสมาธิ ตั้งใจจดจ่อ ตั้งใจจดจ่อเรื่องที่ฟัง ไม่มีสมาธิ ไม่สนใจ
เรื่องที่ฟัง แต่ขาดสมาธิ ไม่มองหน้าผู้พูด
3. ยกมือขึ้นถาม เมื่อมีข้อสงสัยยกมือ ก่อน เมื่อมีข้อสงสัยยกมือ ก่อน ซักถามโดยไม่ยกมือ
เมื่อต้องการถาม ถามทุกครั้ง ถามบางครั้ง ทุกครั้ง
4. ถามเมื่อผู้พูด ซักถามเมื่อผู้พูด ซักถามเมื่อผู้พูด ซักถามทุกเมื่อ
ให้โอกาสถาม เปิดโอกาสให้ถามทุกครั้ง เปิดโอกาสให้ถาม ตามที่ต้องการ
เป็นบางครั้ง
5. ให้เกียรติผู้พูด ปรบมือทุกครั้งก่อนฟัง ปรบมือบางครั้งก่อนฟัง ไม่ปรบมือทั้งก่อนฟังหรือ
โดยการปรบมือ หรือขณะฟัง หรือขณะฟัง ขณะฟังหรือหลังจบ
หรือหลังจบการฟัง หรือหลังจบการฟัง การฟัง
112

แบบประเมินการเขียนตามคาบอก
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการเขียนตามคาบอก และให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับ
พฤติกรรมของนักเรียน
เกณฑ์การประเมิน ผู้ผ่านการประเมิน ต้องได้คะแนนรวมร้อยละ 60 ขึ้นไป

ตามหลักภาษา ไม่วกวนไปมา

เขียนเสร็จทันเวลากาหนด
เขียนสะกดคาได้ถูกต้อง

เขียนถูกต้องด้วยตนเอง
ความสะอาด สวยงาม
การใช้ภาษาได้ถูกต้อง รวม
สรุปผล
เลขที่ ชื่อ – สกุล การประเมิน

3 3 เป็นระเบียบ
3 3 3 15 ผ่าน ไม่ผ่าน

ผู้ผ่านเกณฑ์การประเมิน ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 9 คะแนน ขึ้นไป


ลงชื่อ...........................................................ผู้ประเมิน
(...........................................................)
113

รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการเขียนตามคาบอก
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
เกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการประเมิน
3 3 1
1. การใส่สระ วรรณยุกต์ ใส่สระ วรรณยุกต์ ใส่สระ วรรณยุกต์ ใส่สระ วรรณยุกต์
ตรงตาแหน่ง ถูกต้อง ตรงตาแหน่งทุกตาแหน่ง ผิด 2 ตาแหน่ง ผิดมากกว่า 2 ตาแหน่ง
2. เขียนสะกดคา เขียนสะกดคาได้ถูกต้อง เขียนสะกดคา เขียนสะกดคา
ได้ถูกต้อง ทุกคา ผิด 2 ตาแหน่ง มากกว่า 2 ตาแหน่ง
3. ความสะอาด ทางานสะอาด สวยงาม ทางานสะอาด สวยงาม ทางานไม่สะอาด
สวยงาม เป็นระเบียบ เป็นระเบียบ เป็นระเบียบเป็นบางครั้ง ไม่สวยงาม
และไม่เป็นระเบียบ
3. เขียนเสร็จทันเวลา เขียนเสร็จทันตามเวลา เขียนเสร็จทันตามเวลา เขียนไม่เสร็จทันตามเวลา
กาหนด กาหนด กาหนดเป็นบางครั้ง กาหนด
5. เขียนถูกต้อง เขียนสะกดคาถูกต้อง เขียนสะกดคาถูกต้อง เขียนสะกดคาถูกต้อง
ด้วยตนเอง ด้วยตนเองทุกคา ด้วยตนเองบางคา ด้วยการมองเพื่อนคนอื่น ๆ
และดูเพื่อนเป็นบางคา
114

แบบประเมินการเขียนคัดลายมือ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการเขียนคัดลายมือ และให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรม
ของนักเรียน
เกณฑ์การประเมิน ผู้ผ่านการประเมิน ต้องได้คะแนนรวมร้อยละ 60 ขึ้นไป

ท่าทางในการคัด

เขียนตัวอักษรถูกต้อง วางสระ
(วางสมุดให้ขนานกับขอบโต๊ะ

ความเป็นระเบียบเรียบร้อย

เขียนเสร็จทันเวลากาหนด
แขนทั้งสองข้างวางบนโต๊ะ
นั่งตัวตรง ใบหน้าห่างจากสมุด สรุปผล
รวม
เลขที่ ชื่อ – สกุล ประมาณ 30 เซนติเมตร การประเมิน

วรรณยุกต์ถูกต้อง
จับดินสอด้วยนิว้ ชี้ และ

ความสะอาด
นิ้วหัวแม่มือ เท้าทั้งสองข้าง
วางราบกับพื้น)

3 3 3 3 3 15 ผ่าน ไม่ผ่าน

ผู้ผ่านเกณฑ์การประเมิน ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 9 คะแนน ขึ้นไป


ระดับคุณภาพ 12-15 คะแนน หมายถึง ดีมาก
9-11 คะแนน หมายถึง ดี
4-8 คะแนน หมายถึง พอใช้
0-4 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
ลงชื่อ...........................................................ผู้ประเมิน
(...........................................................)
115

รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการเขียนคัดลายมือ (rubrics)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
เกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการประเมิน
3 2 1
1. ท่าทางในการคัด ปฏิบัติได้ถูกต้องครบถ้วน ปฏิบัติได้ถูกต้องครบถ้วน ปฏิบัติได้ไม่ครบถ้วนตาม
(วางสมุดให้ขนานกับ ตั้งแต่เริ่มต้นจนคัดเสร็จ แต่ไม่ตลอดการทางาน กาหนด
ขอบโต๊ะ แขนทั้งสอง
ข้างวางบนโต๊ะ
นั่งตัวตรง ใบหน้า
ห่างจากสมุดประมาณ
30 เซนติเมตร
จับดินสอด้วยนิ้วชี้
และหัวแม่มือ
เท้าทั้งสองข้างวางราบ
กับพื้น)
2. เขียนตัวอักษรถูกต้อง วางสระ วรรณยุกต์ วางสระ วรรณยุกต์ถูกที่ มีข้อผิดพลาด
วางสระ วรรณยุกต์ ถูกที่ทั้งหมด ผิดพลาดไม่เกิน 3 แห่ง ในการเขียนตัวอักษร
ถูกที่ การวางสระ วรรณยุกต์
เกิน 3 แห่ง
3. ความเป็นระเบียบ เว้นช่องไฟพองาม ระดับ เว้นช่องไฟพองาม ช่องไฟไม่เป็นระเบียบ
เรียบร้อย บรรทัด ระดับบรรทัด ตัวอักษรหัวบอด
เป็นระเบียบเสมอกัน เป็นระเบียบเสมอกัน ตัวเอียงไม่สวยงาม
ตัวอักษรหัวไม่บอด ตัวอักษรหัวไม่บอด เป็นตัวใหญ่
ตัวตรง สวยงาม ตัวตรง สวยงาม
เป็นบางส่วน
4. ความสะอาด ไม่มีรอยลบ ขีด ฆ่า ไม่มีรอยลบ ขีด ฆ่า มีรอยลบ ขีด ฆ่า
หรือมีไม่เกิน 2 แห่ง เกิน 2 แห่ง
5. เขียนเสร็จทันเวลา เขียนเสร็จทันเวลากาหนด เขียนเสร็จเกินเวลากาหนด เขียนเสร็จเกินเวลากาหนด
กาหนด 2 นาที มากกว่า 2 นาที
116

แบบประเมินการแต่งประโยค
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการเขียนคัดลายมือ และให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรม
ของนักเรียน
เกณฑ์การประเมิน ผู้ผ่านการประเมิน ต้องได้คะแนนรวมร้อยละ 60 ขึ้นไป

ท่าทางในการเขียน

องค์ประกอบประโยคถูกต้อง

เขียนเสร็จทันเวลากาหนด
(วางสมุดให้ขนานกับขอบโต๊ะ

ใช้คาถูกต้องตามหน้าที่
แขนทั้งสองข้างวางบนโต๊ะ
นั่งตัวตรง ใบหน้าห่างจากสมุด สรุปผล
รวม
เลขที่ ชื่อ – สกุล ประมาณ 30 เซนติเมตร การประเมิน

ความสะอาด
จับดินสอด้วยนิว้ ชี้ และ
นิ้วหัวแม่มือ เท้าทั้งสองข้าง
วางราบกับพื้น)

3 3 3 3 3 15 ผ่าน ไม่ผ่าน

ผู้ผ่านเกณฑ์การประเมิน ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 9 คะแนน ขึ้นไป


ระดับคุณภาพ 12-15 คะแนน หมายถึง ดีมาก
9-11 คะแนน หมายถึง ดี
5-8 คะแนน หมายถึง พอใช้
1-4 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
ลงชื่อ...........................................................ผู้ประเมิน
(...........................................................)
117

รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการแต่งประโยค (rubrics)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
เกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการประเมิน
3 2 1
1. ท่าทางในการเขียน ปฏิบัติได้ถูกต้องครบถ้วน ปฏิบัติได้ถูกต้องครบถ้วน ปฏิบัติได้ไม่ครบถ้วนตาม
(วางสมุดให้ขนานกับ ตั้งแต่เริ่มต้นจนเขียนเสร็จ แต่ไม่ตลอดการทางาน กาหนด
ขอบโต๊ะ แขนทั้งสอง
ข้างวางบนโต๊ะ
นั่งตัวตรง ใบหน้า
ห่างจากสมุดประมาณ
30 เซนติเมตร
จับดินสอด้วยนิ้วชี้
และหัวแม่มือ
เท้าทั้งสองข้างวางราบ
กับพื้น)
2. องค์ประกอบประโยค 1. มีประธาน บกพร่องข้อใดข้อหนึ่ง บกพร่องตั้งแต่
ถูกต้อง 2. มีกริยา 2 ข้อขึ้นไป
3. มีส่วนประกอบ
สมบูรณ์
3. ใช้คาถูกต้องตาม ใช้คาถูกต้องตามหน้าที่ ใช้คาถูกต้อง ใช้คาไม่ถูกต้อง
หน้าที่ ทั้งหมดที่ให้แต่ง เป็นส่วนใหญ่ ตามหน้าที่มาก
3. ความสะอาด สะอาดเรียบร้อย มีรอยลบ ขีด มีรอยลบ ขีดฆ่ามาก
ไม่มีรอยลบ ขีด ฆ่า ฆ่าเล็กน้อย
5. แต่งประโยค แต่งประโยค แต่งประโยค แต่งประโยค
ได้ทันเวลากาหนด ได้ทันเวลากาหนด เลยเวลาเล็กน้อย เลยเวลาไปมาก
118

แบบประเมินคุณธรรม (rubrics)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรมของนักเรียนในการทากิจกรรม
และให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรมของนักเรียน
เกณฑ์การประเมิน ผู้ผ่านการประเมิน ต้องได้คะแนนรวมร้อยละ 60 ขึ้นไป

มีความสนใจและตั้งใจเรียน
มีน้าใจ ให้อภัย เสียสละ

ขยัน อดทน อดกลั้น


สรุปผล
รวม
เลขที่ ชื่อ – สกุล การประเมิน

สามัคคี มีวินัย
3 3 ร่วมกับเพื่อน
3 3 12 ผ่าน ไม่ผ่าน

ผู้ผ่านเกณฑ์การประเมิน ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 7 คะแนน ขึ้นไป


ลงชื่อ...........................................................ผู้ประเมิน
(...........................................................)
119

รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินคุณธรรม (rubrics)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
เกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการประเมิน
3 2 1
1. มีความสนใจและ มีความสนใจ มีความสนใจ มีความสนใจน้อยมาก
ตั้งใจเรียน และตั้งใจเรียนตลอดเวลา เป็นส่วนใหญ่
ที่เรียน
2. มีน้าใจ ให้อภัย มีคุณธรรมครบ บกพร่องคุณธรรม บกพร่องคุณธรรม
เสียสละ สามัคคี ข้อใดข้อหนึ่ง ตั้งแต่ 3 ข้อขึ้นไป
มีวินัย
3. ร่วมมือกับเพื่อน ให้ความร่วมมือกับเพื่อน ให้ความร่วมมือกับเพื่อน ให้ความร่วมมือกับเพื่อน
ตลอดเวลาทากิจกรรม เป็นส่วนใหญ่ น้อยมาก
4. ขยัน อดทน อดกลั้น มีความขยัน อดทน บกพร่องในคุณธรรม บาง บกพร่องในคุณธรรม เป็น
ใฝ่เรียนใฝ่รู้ อดกลั้น ใฝ่เรียนใฝ่รู้ ประการ ส่วนใหญ่
120

แบบประเมินความสนใจการเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมความสนใจในการเรียนของนักเรียนและให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรม
ของนักเรียน
เกณฑ์การประเมิน ผู้ผ่านการประเมิน ต้องได้คะแนนรวมร้อยละ 60 ขึ้นไป

มีความกระตือรือร้นในการเรียน

ตั้งใจทางานที่รับมอบหมาย
มีความสนใจในการเรียน

ทางานทันเวลาที่กาหนด
สรุปผล
รวม
เลขที่ ชื่อ – สกุล การประเมิน

3 3 3 3 12 ผ่าน ไม่ผ่าน

ผู้ผ่านเกณฑ์การประเมิน ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 7 คะแนน ขึ้นไป


ลงชื่อ...........................................................ผู้ประเมิน
(...........................................................)
121

รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินความสนใจการเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
เกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการประเมิน
3 2 1
1. มีความสนใจ 1. มีความสนใจ บกพร่อง 2 ข้อขึ้นไป บกพร่อง 3 ข้อขึ้นไป
ในการเรียน ในการเรียนตลอด
ระยะเวลาที่เรียน
2. ตั้งใจเรียน
3. ตั้งใจฟังคาสอน
คาชี้แจง
4. ไม่หยอกล้อเล่นกัน
5. ซักถามเรื่องที่สงสัย
6. ปรึกษาเพื่อนในเรื่องที่
เรียน
2. มีความกระตือรือร้น 1. มีความกระตือรือร้น บกพร่อง 1 ข้อขึ้นไป บกพร่อง 2 ข้อขึ้นไป
ในการเรียน ในการเรียนตลอดเวลา
ที่เรียน
2. สนใจซักถาม
หาความรู้ และคาตอบจาก
เรื่องที่เรียน
3. สนใจศึกษา หาความรู้
เพิ่มเติมจากเรื่องที่เรียน
3. ตั้งใจทางาน 1. ทางานที่ได้รับ ขาดขั้นตอน 1 ขั้นตอน ขาดขั้นตอน 2 ขั้นตอน
ที่ได้รับมอบหมาย มอบหมายอย่างดี หรือไม่ชัดเจน ขึ้นไปหรือไม่ชัดเจน
2. มีความรับผิดชอบต่อ
งานที่ได้รับมอบหมาย
3. ทางานที่ได้รับ
มอบหมายด้วยความตั้งใจ
4. ทางานทันเวลา ทางานทันเวลาที่กาหนด ทางานเลยเวลาหรือ ทางานเลยเวลาหรือ
ที่กาหนด ไม่ทันเวลาเล็กน้อย ไม่ทันเวลามาก
122

แบบประเมินการฟัง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมการฟังของนักเรียน และให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับ
พฤติกรรมของนักเรียน
เกณฑ์การประเมิน ผู้ผ่านการประเมิน ต้องได้คะแนนรวมร้อยละ 60 ขึ้นไป

ยกมือขึ้นถามเมื่อต้องการถาม

ให้เกียรติผู้พูดโดยการปรบมือ
ถามเมื่อผู้พูดให้โอกาสถาม
ไม่พูดคุยกันขณะที่ฟัง

หมายเหตุ
สรุปผล
รวม
เลขที่ ชื่อ – สกุล การประเมิน
ตั้งใจฟัง

3 3 3 3 3 15 ผ่าน ไม่ผ่าน

ผู้ผ่านเกณฑ์การประเมิน ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 9 คะแนน ขึ้นไป


ลงชื่อ...........................................................ผู้ประเมิน
(...........................................................)
123

รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการฟัง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
เกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการประเมิน
3 2 1
1. ไม่พูดคุยกันขณะที่ฟัง ไม่พูดคุยเลยในขณะฟัง พูดคุย 2 ครั้ง พูดคุยตั้งแต่ 3 ครั้งขึ้นไป
ตลอดระยะเวลาที่ฟัง ในขณะฟัง ในขณะฟัง
2. ตั้งใจฟัง มีสมาธิ ตั้งใจจดจ่อเรื่อง ตั้งใจจดจ่อเรื่องที่ฟัง ไม่มีสมาธิ ไม่สนใจ
ที่ฟัง แต่ขาดสมาธิ ไม่มองหน้าผู้พูด
3. ยกมือขึ้นถาม เมื่อมีข้อสงสัยยกมือ ก่อน เมื่อมีข้อสงสัยยกมือ ก่อน ซักถามโดยไม่ยกมือ
เมื่อต้องการถาม ถามทุกครั้ง ถามบางครั้ง ทุกครั้ง
3. ถามเมื่อผู้พูด ซักถามเมื่อผู้พูด ซักถามเมื่อผู้พูด ซักถามทุกเมื่อ
ให้โอกาสถาม เปิดโอกาสให้ถามทุกครั้ง เปิดโอกาสให้ถาม ตามที่ต้องการ
เป็นบางครั้ง
5. ตอบคาถามจากเรื่อง ตอบคาถามจากเรื่องที่ฟัง ตอบคาถามจากเรื่องที่ฟัง ตอบคาถามจากเรื่องที่ฟัง
ที่ฟัง ได้ทุกข้อ ได้เป็นบางข้อ ไม่ได้
124

แบบประเมินการเล่นเกม
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนเรื่องการแสดงบทบาทสมมุติ และให้คะแนน ลงใน
ช่องที่ตรงกับพฤติกรรมของนักเรียน
เกณฑ์การประเมิน ผู้ผ่านการประเมิน ต้องได้คะแนนรวมร้อยละ 60 ขึ้นไป

การเตรียมพร้อมด้านการแต่งกาย

เล่นถูกต้องตามกฎกติกา

หมายเหตุ
สรุปผล
รวม

อารมณ์สนุกสนาน
เลขที่ ชื่อ – สกุล การประเมิน

ความร่วมมือ
ความสนใจ

3 3 3 3 3 15 ผ่าน ไม่ผ่าน

ผู้ผ่านเกณฑ์การประเมิน ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 9 คะแนน ขึ้นไป


ลงชื่อ...........................................................ผู้ประเมิน
(...........................................................)
125

รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการเล่นเกม
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
เกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการประเมิน
3 2 1
1. การเตรียมพร้อม แต่งกายพร้อมและ แต่งกายพร้อม แต่งกายไม่พร้อม
ด้านการแต่งกาย เหมาะสมกับกิจกรรม แต่ไม่เหมาะสม และไม่เหมาะสม
กับกิจกรรม กับกิจกรรม
2. ความสนใจ มีความสนใจ มีความสนใจ ไม่มีความสนใจ
ตลอดระยะเวลาที่เล่นเกม เป็นส่วนใหญ่
3. เล่นถูกต้อง เล่นถูกต้องตามกฎกติกา เล่นถูกต้องตามกฎกติกา เล่นไม่ถูกต้อง
ตามกฎกติกา ทุกขั้นตอน เป็นส่วนใหญ่ ตามกฎกติกา
4. ความร่วมมือ มีความร่วมมือ มีความร่วมมือ ให้ความร่วมมือ
ในการร่วมกิจกรรม ในการร่วมกิจกรรม ในการร่วมกิจกรรม
ตลอดเวลา เป็นส่วนใหญ่ น้อยมาก
5. อารมณ์ สนุกสนาน เล่นอย่างมีอารมณ์ เล่นอย่างมีอารมณ์ ไม่มีอารมณ์ และไม่แสดง
สนุกสนาน สนุกสนานเป็นส่วนใหญ่ ความสนุกสนาน
ตลอดระยะเวลาที่เล่น ในการเล่น
126

แบบประเมินการร้องเพลง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมการร้องเพลงของนักเรียน และให้คะแนนลงในช่อง ที่
ตรงกับพฤติกรรมของนักเรียน
เกณฑ์การประเมิน ผู้ผ่านการประเมิน ต้องได้คะแนนรวมร้อยละ 60 ขึ้นไป

ท่วงทานอง ถูกต้อง ไม่คร่อมจังหวะ


น้าเสียงน่าฟัง ชัดเจน ถูกต้อง

สีหน้า อารมณ์ตามเนื้อเพลง
ลีลา ท่าทางประกอบเพลง

มีความมั่นใจ ไม่ประหม่า

หมายเหตุ
สรุปผล
รวม
เลขที่ ชื่อ – สกุล การประเมิน

3 3 3 3 3 15 ผ่าน ไม่ผ่าน

ผู้ผ่านเกณฑ์การประเมิน ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 9 คะแนน ขึ้นไป


ลงชื่อ...........................................................ผู้ประเมิน
(...........................................................)
127

รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการร้องเพลง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
เกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการประเมิน
3 2 1
1. ลีลา ท่าทาง ลีลาท่าทาง ลีลาท่าทาง ลีลาท่าทาง
ประกอบเพลง ประกอบเพลงดี ถูกต้อง ประกอบเพลงดี ถูกต้อง ประกอบเพลง เหมาะสม
เหมาะสม สอดคล้อง สอดคล้องกลมกลืน
กลมกลืนตลอด
2. น้าเสียงน่าฟัง ชัดเจน 1. น้าเสียงน่าฟัง บกพร่องข้อใดข้อหนึ่ง บกพร่องตั้งแต่ 2 ข้อขึ้น
ถูกต้อง 2. น้าเสียงชัดเจน ไป
3. ถูกต้องตามอักขรวิธี
ตลอดทั้งเพลง
3. แสดงสีหน้าอารมณ์ แสดงสีหน้า อารมณ์ แสดงสีหน้า อารมณ์ แสดงสีหน้า อารมณ์
ตามเนื้อเพลง ตามเนื้อเพลงได้ดี ตามเนื้อเพลงได้ดี ตามเนื้อเพลงไม่ดี
ตลอดเวลาที่ร้อง เป็นส่วนใหญ่
4. ท่วงทานองถูกต้อง ท่วงทานองถูกต้อง ท่วงทานองถูกต้อง ท่วงทานองถูกต้อง
ไม่คร่อมจังหวะ ไม่คร่อมจังหวะ ไม่คร่อมจังหวะ แต่คร่อมจังหวะมาก
ตลอดเวลาที่ร้อง เป็นส่วนใหญ่
5. มีความมั่นใจ 1. มีความมั่นใจ บกพร่องข้อใดข้อหนึ่ง บกพร่องตั้งแต่ 2 ข้อขึ้น
ไม่ประหม่า 2. ไม่ประหม่า ไป
3. ยิ้มแย้มแจ่มใส
128

แบบประเมินการอ่านในใจ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการอ่านใจใจ และให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรมของ
นักเรียน
เกณฑ์การประเมิน ผู้ผ่านการประเมิน ต้องได้คะแนนรวมร้อยละ 60 ขึ้นไป

จับใจความสาคัญของเรื่องที่อ่าน
ตั้งคาถาม/ตอบคาถามจากเรื่อง
การวาง/การจับหนังสือถูกต้อง

ไม่ส่ายหน้าไปมาในขณะอ่าน
ไม่ใช้มือชี้ตามตัวอักษร
สรุปผล
รวม
เลขที่ ชื่อ – สกุล การประเมิน
การกวาดสายตา

3 3 3 3 3 3 18 ผ่าน ไม่ผ่าน

ผู้ผ่านเกณฑ์การประเมิน ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 11 คะแนน ขึ้นไป


ลงชื่อ...........................................................ผู้ประเมิน
(...........................................................)
129

รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการอ่านในใจ (rubrics)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
เกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการประเมิน
3 2 1
1. การวาง/การจับหนังสือ ลักษณะท่าทาง การวาง ลักษณะท่าทาง การวาง ลักษณะท่าทาง การวาง
ถูกต้อง และการจับหนังสือถูกต้อง และการจับหนังสือ และการจับหนังสือ
ไม่ถูกต้อง 1 อย่าง ไม่ถูกต้อง 2 อย่างขึ้นไป
2. การกวาดสายตา กวาดสายตา กวาดสายตา กวาดสายตา
จากซ้ายไปขวาได้ถูกต้อง จากซ้ายไปขวาได้ถูกต้อง จากซ้ายไปขวาได้ถูกต้อง
สม่าเสมอและรวดเร็ว แต่ช้า แต่ช้ามาก
3 ไม่ใช้มือชี้ตาม ไม่ใช้มือชี้ตามตัวอักษร ไม่ใช้มือชี้ตามตัวอักษร ใช้มือชี้ตามตัวอักษร
ตัวอักษร ขณะที่อ่านในใจ บ้างในบางครั้งขณะที่อ่าน
ตลอดทั้งเรื่อง ในใจ
ตั้งแต่ต้นจนจบ
4. ไม่ส่ายหน้าไปมา ไม่ส่ายหน้าไปมาในขณะ ส่ายหน้าไปมา ส่ายหน้าในขณะอ่านในใจ
ในขณะอ่าน อ่านในใจ ตลอดทั้งเรื่อง เป็นบางครั้ง ตลอดเวลา
ตั้งแต่ต้นจนจบ ในขณะอ่านในใจ
5. จับใจความสาคัญของ จับใจความสาคัญของ จับใจความสาคัญของ จับใจความสาคัญของ
เรื่องที่อ่าน เรื่องที่อ่านได้ทุกประเด็น เรื่องที่อ่านได้ เรื่องที่อ่านไม่ได้เลย
ครบสมบูรณ์ เป็นบางประเด็น
ตั้งแต่ต้นจนจบเรื่อง ไม่สมบูรณ์
6. ตั้งคาถาม/ตอบคาถาม อ่านในใจแล้วตั้งคาถาม อ่านในใจแล้วตั้งคาถาม อ่านในใจแล้วตั้งคาถาม
จากเรื่อง และตอบคาถามจากเรื่อง และตอบคาถามจากเรื่อง และตอบคาถามจากเรื่อง
ที่อ่านได้ถูกต้อง ทุกเรื่อง ที่อ่านได้ถูกต้อง ที่อ่านไม่ได้
ทุกประเด็น บางเรื่อง บางประเด็น และไม่ถูกต้อง
130

แบบประเมินการแต่งคาคล้องจอง (บทร้อยกรอง)
คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการแต่งบทร้อยกรองและให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรม
ของนักเรียน
เกณฑ์การประเมิน ผู้ผ่านการประเมิน ต้องได้คะแนนรวมร้อยละ 60 ขึ้นไป

สื่อความชัดเจน-ใจความสมบูรณ์
ถูกต้องตามฉันทลักษณ์
สรุปผล

สะกดการันต์ถูกต้อง
รวม

ใช้ภาษาเหมาะสม
เลขที่ ชื่อ – สกุล การประเมิน

ความสนใจ

3 3 3 3 3 15 ผ่าน ไม่ผ่าน

ผู้ผ่านเกณฑ์การประเมิน ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 9 คะแนน ขึ้นไป


ลงชื่อ...........................................................ผู้ประเมิน
(...........................................................)
ระดับคุณภาพ 13-15 คะแนน หมายถึง ดีมาก
10-12 คะแนน หมายถึง ดี
7-9 คะแนน หมายถึง ปานกลาง
4-6 คะแนน หมายถึง พอใช้
0-3 คะแนน หมายถึง ต้องปรับปรุง
ลงชื่อ...........................................................ผู้ประเมิน
(...........................................................)
131

รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการแต่งบทร้อยกรอง (rubrics)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
เกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการประเมิน
3 2 1
1. ความสนใจ มีความสนใจ กระตือรือร้น มีความสนใจ ไม่สนใจ ไม่กระตือรือร้น
ตลอดเวลาเรียน แต่ขาดความกระตือรือร้น
2. ถูกตามฉันทลักษณ์ แต่งได้ถูกต้องตามลักษณะ ถูกต้องตามลักษณะ ไม่ถูกต้องตามลักษณะ
ของฉันทลักษณ์นั้น ๆ ฉันทลักษณ์เป็นส่วนใหญ่ ฉันทลักษณ์เลย
3. ใช้ภาษาเหมาะสม ใช้ภาษาเหมาะสมกับ ใช้ภาษาเหมาะสม ใช้ภาษาไม่เหมาะสม
เนื้อหาตลอดเรื่อง เป็นส่วนใหญ่
4. สื่อความชัดเจน สื่อความชัดเจน สื่อความชัดเจน สื่อความไม่ชัดเจน
ได้ใจความสมบูรณ์ ได้ใจความสมบูรณ์ ตลอด ใจความไม่สมบูรณ์ ใจความไม่สมบูรณ์
เรื่อง
5. สะกดการันต์ถูกต้อง สะกดการันต์ถูกต้อง สะกดการันต์ถูกต้อง สะกดการันต์ไม่ถูกต้อง
ตลอดเรื่อง เป็นส่วนใหญ่ ผิดมาก
บกพร่องเล็กน้อย
132

แบบประเมินการทางานกลุ่ม
กลุ่มที่............... ชื่อกลุ่ม...............................................................................................
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
คาชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการร่วมกิจกรรมกลุ่ม และให้คะแนนลงในช่องที่ตรงกับ
พฤติกรรมของนักเรียน
เกณฑ์การประเมิน ผู้ผ่านการประเมิน ต้องได้คะแนนรวมร้อยละ 60 ขึ้นไป

การร่วมงานกลุ่มอย่างมีความสุข
ความร่วมมือในการทางาน
ความรับผิดชอบต่อหน้าที่
สรุปผล
รวม

ขั้นตอนการทางาน
เลขที่ ชื่อ – สกุล การประเมิน
คณะทางาน

เวลา
3 3 3 3 3 3 18 ผ่าน ไม่ผ่าน

ผู้ผ่านเกณฑ์การประเมิน ต้องได้คะแนนตั้งแต่ 11 คะแนน ขึ้นไป


ลงชื่อ...........................................................ผู้ประเมิน
(...........................................................)
133

รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการทางานกลุ่ม (rubrics)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
............................................................................................................................. ................................
เกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการประเมิน
3 2 1
1. คณะทางาน มีประธาน เลขานุการ ขาดองค์ประกอบ ขาดองค์ประกอบ
ผู้นาเสนอ ผู้ร่วมงาน 1 อย่าง 2 อย่างขึ้นไป
2. ความรับผิดชอบต่อ ทุกคนทาหน้าที่ และ มีผู้ที่มีหน้าที่ มีผู้ที่มีหน้าที่
หน้าที่ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ แต่ไม่รับผิดชอบ 1 คน แต่ไม่รับผิดชอบ
ของตนเอง 2 คนขึ้นไป
3. ขั้นตอนการทางาน 1. คัดเลือกเรื่องตาม ขาดขั้นตอน 1 ขั้นตอน ขาดขั้นตอน 2 ขั้นตอน
ความสนใจของกลุ่ม หรือไม่ชัดเจน ขึ้นไปหรือไม่ชัดเจน
2. มีการวางแผนงาน
3. เตรียมวัสดุอุปกรณ์
4. ปฏิบัติตามแผนและ
พัฒนางาน
4. ความร่วมมือ ทุกคนมีส่วนร่วมและ ร้อยละ 80 ของกลุ่ม ร้อยละ 60 ของกลุ่ม
ในการทางาน ให้ความร่วมมือ มีส่วนร่วม และ มีส่วนร่วม และ
อย่างเต็มที่ ให้ความร่วมมือ ให้ความร่วมมือ
5. การร่วมงานกลุ่ม ทุกคนร่วมกิจกรรมกลุ่ม ร้อยละ 80 ของกลุ่ม ร้อยละ 60 ของกลุ่ม
อย่างมีความสุข อย่างมีความสุข ร่วมกิจกรรมกลุ่ม ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
อย่างมีความสุข อย่างมีความสุข
6. เวลา เสร็จตามกาหนด และ เสร็จไม่ทันตามกาหนด เสร็จไม่ทันตามกาหนด
งานมีคุณภาพ แต่งานมีคุณภาพ และงานไม่มีคุณภาพ
134

ภาคผนวก
135

ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดเพื่อการออกแบบการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
นาไปสู่
สาระสาคัญ/ความคิด แนวการจัดกิจกรรมการ
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญของ คุณลักษณะอันพึง ชิ้นงาน/ภาระงาน
รวบยอด เรียนรู้
ผู้เรียน ประสงค์
มาตรฐาน ท 1.1 การอ่านจับใจความจาก การอ่าน 1ความสามารถใน 1รักชาติ ศาสน์กษัตริย์ -การอ่าน ตั้งคาถาม ตอบคาถาม
(การอ่าน) สื่อต่างๆเช่นเรื่องสั้น ความหมายของ การสื่อสาร 2 ซื่อสัตย์ สุจริต -ความหมายของคา อภิปรายและสรุปข้อคิดจาก
1 สามารถอ่านอย่าง เรื่องเล่าจาก คา 2 ความสามารถใน 3 มีวินัย -สานวนโวหาร เรื่องที่อ่าน
มีสมรรถภาพและ ประสบการณ์นิทาน สานวนโวหาร การคิด 4 ใฝ่เรียนรู้ -การบรรยาย
อ่านได้เร็วเข้าใจ บทความ บทโฆษณา การบรรยาย 3 ความสามารถใน 5 อยู่อย่างพอเพียง -การพรรณนา
ความหมายของ คา งานเขียนข่าวเหตุการณ์ การพรรณนา การแก้ปัญหา 6 มุ่งมั่นในการทางาน -การเปรียบเทียบ
สานวน โวหาร การ สารคดี และบันเทิงคดี การเปรียบเทียบ 4 ความสามารถใน 7 รักความเป็นไทย -การใช้บริบท
บรรยายการ การใช้บริบท การใช้ทักษะชีวิต 8 มีจิตสาธารณะ -ความหมายของ
พรรณนา การ ความหมายของ 5 ความสามารถใน ถ้อยคา สานวน
เปรียบเทียบ การใช้ ถ้อยคา สานวน การใช้เทคโนโลยี -เนื้อเรื่อง
บริบท เข้าใจ เนื้อเรื่อง -การใช้แหล่งเรียนรู้
ความหมายถ้อยคา การใช้แหล่ง พัฒนาการอ่าน
สานวน และเนื้อเรื่อง ความรู้พัฒนาการ
และใช้แหล่งความรู้ อ่าน
พัฒนาความสามารถ
การอ่าน
136

แนวการจัดกิจกรรมการ
นาไปสู่ ชิ้นงาน/ภาระงาน
สาระสาคัญ/ความคิด เรียนรู้
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
รวบยอด สมรรถนะสาคัญของ คุณลักษณะอันพึง
ผู้เรียน ประสงค์
2 สามารถแยก แยกข้อเท็จจริง
ข้อเท็จจริง และ ข้องคิดเห็น
ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ วิเคราะห์ความ
ความ ตีความ สรุป ตีความ
ความหาคาที่สาคัญ สรุปความ
ในเรื่องที่อ่าน และใช้ หาคาสาคัญใน
แผนภาพโครงเรื่อง เรื่องที่อ่าน
หรือแผนภาพ แผนภาพโครง
ความคิดพัฒนา เรื่อง
ความสามารถการ แผนภาพความคิด
อ่าน นาความรู้ พัฒนา
ความคิดจากการ ความสามารถการ
อ่านไปใช้แก้ปัญหา อ่าน
ตัดสินใจคาดการณ์ นาความรู้
และใช้การอ่านเป็น ความคิดจากการ
เครื่องมือการพัฒนา อ่านไปใช้
ตน การตรวจสอบ แก้ปัญหา
ความรู้และค้นคว้า ตัดสินใจ
เพิ่มเติม คาดการณ์
137

แนวการจัดกิจกรรมการ
นาไปสู่ ชิ้นงาน/ภาระงาน
สาระสาคัญ/ความคิด เรียนรู้
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
รวบยอด สมรรถนะสาคัญของ คุณลักษณะอันพึง
ผู้เรียน ประสงค์
3 สามารถอ่านในใจและ อ่านในใจ
อ่านออกเสียงบทร้อย อ่านออกเสียง
แก้วร้อยกรอง ได้คล่อง อ่านบทร้อยแก้วและ
และรวดเร็วถูกต้องตาม ร้อยกรองได้คล่อง
ลักษณะประพันธ์และ และรวดเร็วถูกต้อง
อักขรวิธี และจาบทร้อง ตามลักษณะคา
กรองที่มีคุณค่าทาง ประพันธ์และ
ความคิดและความงดงาม อักขรวิธีจาบกร้อย
ทางภาษา สามารถ กรองที่มีคุณค่าทาง
อธิบายความหมายและ ความคิดและความ
คุณค่านาไปใช้อ้างอิง งดงามทางภาษา
เลือกอ่านหนังสือและ อธิบายความหมาย
สื่อสารสนเทศทั้งสื่อ และคุณค่าใช้อ้างอิง
สิ่งพิมพ์และ เลือกอ่านหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ตาม สื่อสารสนเทศ สื่อ
จุดประสงค์อย่าง สิ่งพิมพ์ สื่อ
กว้างขวางมีมารยาทการ อิเล็กทรอนิกส์
อ่านและนิสัยรักการ
อ่าน
138

ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดเพื่อการออกแบบการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
นาไปสู่
สาระสาคัญ/ แนวการจัดกิจกรรม
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญ คุณลักษณะอันพึง ชิ้นงาน/ภาระงาน
ความคิดรวบยอด การเรียนรู้
ของผู้เรียน ประสงค์
มาตรฐาน ท 2.1 การเขียนเรียงความ มารยาทการเขียน 1ความสามารถใน 1รักชาติ ศาสน์ การเขียนเรียงความ การเขียนเรียงความ
( การเขียน ) การเขียนย่อความ นิสัยรักการเขียน การสื่อสาร กษัตริย์ การเขียนย่อความ การเขียนย่อความ
1 สามารถเขียน การเขียนรายงาน การศึกษาค้นคว้า 2 ความสามารถใน 2 ซื่อสัตย์ สุจริต การเขียนรายงาน การเขียนรายงาน
เรียงความ ย่อความ เขียนจดหมาย ใช้ทักษาการเขียน การคิด 3 มีวินัย เขียนจดหมาย เขียนจดหมาย
ชี้แจงการปฏิบัติงาน สื่อสารได้เหมาะกับ จดบันทึกข้อมูล 3 ความสามารถใน 4 ใฝ่เรียนรู้ สื่อสารได้เหมาะกับ สื่อสารได้เหมาะกับ
การรายงาน เขียน โอกาสและตาม ประสบการณ์ การแก้ปัญหา 5 อยู่อย่างพอเพียง โอกาสและตาม โอกาสและตาม
จดหมาย สื่อสารได้ จุดประสงค์ เหตุการณ์ 4 ความสามารถใน 6 มุ่งมั่นในการ จุดประสงค์ จุดประสงค์
เหมาะกับโอกาส เขียนเรื่องราวจาก สังเกตอย่างเป็น การใช้ทักษะชีวิต ทางาน เขียนเรื่องราวจาก เขียนเรื่องราวจาก
และจุดประสงค์ จินตนาการ ระบบ 5 ความสามารถใน 7 รักความเป็นไทย จินตนาการ จินตนาการ
เขียนเรื่องราวจาก นาวิธีการของแผน การใช้เทคโนโลยี 8 มีจิตสาธารณะ
จินตนาการหรือ ความคิดมาพัฒนา
เรื่องราวที่สัมพันธ์ งานเขียน
กับชีวิตจริงรวมทั้ง เขียนรายงาน และ
ใช้กระบวนการ เขียนสื่อสารตาม
เขียนพัฒนางาน จุดประสงค์
เขียน มารยาททางสังคม
139

นาไปสู่
สาระสาคัญ/ แนวการจัดกิจกรรม
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญ คุณลักษณะอันพึง ชิ้นงาน/ภาระงาน
ความคิดรวบยอด การเรียนรู้
ของผู้เรียน ประสงค์
2 มีมารยาท มารยาทการเขียน มารยาทการเขียน
การขียนและนิสัยรัก นิสัยรักการเขียน นิสัยรักการเขียน รัก
การเขียนและ รักการศึกษาค้นคว้า การศึกษาค้นคว้า
การศิกษาค้นคว้า นาวิธีการแผนภาพ นาวิธีการแผนภาพ
โดยใช้ทักษะการ ความคิดมาพัฒนา ความคิดมาพัฒนา
เขียนจดบันทึก งานเขียน งานเขียน
ข้อมูลความรู้
ประสบการณ์
เหตุการณ์ และการ
สังเกตอย่างเป็น
ระบบนาวิธีการของ
แผนภาพความคิด
มาพัฒนางานเขียน
และการรายงาน
และเขียนสื่อสารได้
ตามจุดประสงค์
อย่างมีมารยาททาง
สังคม
140

นาไปสู่
สาระสาคัญ/ แนวการจัดกิจกรรม
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญ คุณลักษณะอันพึง ชิ้นงาน/ภาระงาน
ความคิดรวบยอด การเรียนรู้
ของผู้เรียน ประสงค์
มาตรฐาน ท 3.1 จับประเด็นสาคัญ จับประเด็นสาคัญ 1ความสามารถใน 1รักชาติ ศาสน์ จับประเด็นสาคัญ จับประเด็นสาคัญ
( การฟัง การดู และรายละเอียด และรายละเอียด การสื่อสาร กษัตริย์ และรายละเอียด และรายละเอียด
การพูด ) แยกข้อเท็จจริง แยกข้อเท็จจริง 2 ความสามารถใน 2 ซื่อสัตย์ สุจริต แยกข้อเท็จจริง แยกข้อเท็จจริง
1 สามารถจับ แสดงความคิดเห็น แสดงความคิดเห็น การคิด 3 มีวินัย แสดงความคิดเห็น แสดงความคิดเห็น
ประเด็นสาคัญเละ สรุปความ สรุปความ 3 ความสามารถใน 4 ใฝ่เรียนรู้ สรุปความ สรุปความ
รายละเอียดแยก วิเคราะห์เรื่องตาม วิเคราะห์เรื่องตาม การแก้ปัญหา 5 อยู่อย่างพอเพียง วิเคราะห์เรื่องตาม วิเคราะห์เรื่องตาม
ข้อเท็จจริงและ ข้อเท็จจริง ข้อเท็จจริง 4 ความสามารถใน 6 มุ่งมั่นในการ ข้อเท็จจริง ข้อเท็จจริง
ข้อคิดเห็นสรุปความ เข้าใจจุดประสงค์ เข้าใจจุดประสงค์ การใช้ทักษะชีวิต ทางาน เข้าใจจุดประสงค์ เข้าใจจุดประสงค์
วิเคราะห์เรื่องตาม ของเรื่องและของผู้ ของเรื่องและของผู้ 5 ความสามารถใน 7 รักความเป็นไทย ของเรื่องและของผู้ ของเรื่องและของผู้
ข้อเท็จจริงเข้าใจ พูด พูด การใช้เทคโนโลยี 8 มีจิตสาธารณะ พูด พูด
จุดประสงค์ของเรื่อง นาความรู้จากการ นาความรู้จากการ นาความรู้จากการ นาความรู้จากการ
และของผู้พูดเข้าใจ ฟังและดูใช้สังเกต ฟังและดูใช้สังเกต ฟังและดูใช้สังเกต ฟังและดูใช้สังเกต
ถ้อยคา การใช้ เปรียบเทียบกับ เปรียบเทียบกับ เปรียบเทียบกับ เปรียบเทียบกับ
น้าเสียงกริยาท่าทาง ประสบการณ์ใน ประสบการณ์ใน ประสบการณ์ใน ประสบการณ์ใน
ของผู้พูด สามารถ ชีวิตจริง ชีวิตจริง ชีวิตจริง ชีวิตจริง
รับสารจากการฟัง แสดงความรู้ความ แสดงความรู้ความ แสดงความรู้ความ แสดงความรู้ความ
และการดู โดยตั้ง คิดเห็นจากเรื่องที่ คิดเห็นจากเรื่องที่ คิดเห็นจากเรื่องที่ คิดเห็นจากเรื่องที่
ข้อสังเกต ฟังและดูอย่าง ฟังและดูอย่าง ฟังและดูอย่าง ฟังและดูอย่าง
เปรียบเทียบกับใน กว้างขวาง กว้างขวาง กว้างขวาง กว้างขวาง
ชีวิตจริง
141

นาไปสู่
สาระสาคัญ/ แนวการจัดกิจกรรม
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญ คุณลักษณะอันพึง ชิ้นงาน/ภาระงาน
ความคิดรวบยอด การเรียนรู้
ของผู้เรียน ประสงค์
แสดงความรู้ความ
คิดเห็นจากเรื่องที่
ฟังและดูอย่าง
กว้างขวาง
2 สามารถสนทนา พูดโต้ตอบ พูดแสดง พูดโต้ตอบ พูดแสดง พูดโต้ตอบ พูดแสดง พูดโต้ตอบ พูดแสดง
โต้ตอบพูดแสดง ความรู้ ความคิด ความรู้ ความคิด ความรู้ ความคิด ความรู้ ความคิด
ความรู้ความคิด พูด พูดวิเคราะห์ พูดวิเคราะห์ พูดวิเคราะห์ พูดวิเคราะห์
วิเคราะห์เรื่องราว เรื่องราว เรื่องราว เรื่องราว เรื่องราว
พูดต่อหน้าชุมชน พูดต่อหน้าชุมชน พูดต่อหน้าชุมชน พูดต่อหน้าชุมชน พูดต่อหน้าชุมชน
และรูดรายงาน โดย พูดรายงาน พูดรายงาน พูดรายงาน พูดรายงาน
ใช้ถ้อยคาเหมาะสม ใช้ถ้อยคาเหมาะแก่ ใช้ถ้อยคาเหมาะแก่ ใช้ถ้อยคาเหมาะแก่ ใช้ถ้อยคาเหมาะแก่
แก่เรื่องและ เรื่องและ เรื่องและ เรื่องและ เรื่องและ
จุดประสงค์ตาม จุดประสงค์ตาม จุดประสงค์ตาม จุดประสงค์ตาม จุดประสงค์ตาม
หลักการพูดมี หลักการพูด หลักการพูด หลักการพูด หลักการพูด
มารยาทการฟัง มารยาทการฟัง การ มารยาทการฟัง การ มารยาทการฟัง การ มารยาทการฟัง การ
การดู การฟูด ดู การพูด ดู การพูด ดู การพูด ดู การพูด
142

ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดเพื่อการออกแบบการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
นาไปสู่
สาระสาคัญ/ แนวการจัดกิจกรรม
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญ คุณลักษณะอันพึง ชิ้นงาน/ภาระงาน
ความคิดรวบยอด การเรียนรู้
ของผู้เรียน ประสงค์
มาตรฐาน ท 4.1 อ่านและเขียนคาในวง อ่านและเขียนคาในวง 1ความสามารถในการ 1รักชาติ ศาสน์กษัตริย์ อ่านและเขียนคาในวง อ่านและเขียนคาในวง
( หลักการใช้ภาษา ) คาศัพท์ที่กว้างและ คาศัพท์ที่กว้างและ สื่อสาร 2 ซื่อสัตย์ สุจริต คาศัพท์ที่กว้างและ คาศัพท์ที่กว้างและ
1 สามารถกะกดคาในวง ยาก ยาก 2 ความสามารถในการ 3 มีวินัย ยาก ยาก
คาศัพท์ที่กว้างและ อ่านและเขียนคาได้ อ่านและเขียนคาได้ คิด 4 ใฝ่เรียนรู้ อ่านและเขียนคาได้ อ่านและเขียนคาได้
ยากขึ้น อ่านเละเขียน ถูกต้อง ถูกต้อง 3 ความสามารถในการ 5 อยู่อย่างพอเพียง ถูกต้อง ถูกต้อง
คาได้ถูกต้อง แก้ปัญหา 6 มุ่งมั่นในการทางาน
คล่องแคล่ว 4 ความสามารถในการ 7 รักความเป็นไทย
2 สามารถใช้คากลุ่มคา ใช้คาและกลุ่มคาตาม ใช้คาและกลุ่มคาตาม ใช้ทักษะชีวิต 8 มีจิตสาธารณะ ใช้คาและกลุ่มคาตาม ใช้คาและกลุ่มคาตาม
ตามชนิดและหน้าที่มา จุดประสงค์ จุดประสงค์ 5 ความสามารถในการ จุดประสงค์ จุดประสงค์
เรียบเรียงเป็นประโยค นาคาและกลุ่มคามา นาคาและกลุ่มคามา ใช้เทคโนโลยี นาคาและกลุ่มคามา นาคาและกลุ่มคามา
ใช้ประโยคสื่อสารได้ แต่งประโยค แต่งประโยค แต่งประโยค แต่งประโยค
ชัดเจนรู้จักใช้คาที่มี ใช้ประโยค ใช้ประโยค ใช้ประโยค ใช้ประโยค
ความหมายโดยตรงเละ ติดต่อสื่อสาร ติดต่อสื่อสาร ติดต่อสื่อสาร ติดต่อสื่อสาร
ความหมายโดยนัย ใช้คาที่มีความหมาย ใช้คาที่มีความหมาย ใช้คาที่มีความหมาย ใช้คาที่มีความหมาย
3 สามารถใช้ภาษาใน โดยตรงและความหมาย โดยตรงและความหมาย โดยตรงและความหมาย โดยตรงและความหมาย
การสนทนาเชื้อเชิญ โดยนัย โดยนัย โดยนัย โดยนัย
ชักชวน ปฏิเสธ ชี้แจง .ใช้ภาษาในการสนทนา .ใช้ภาษาในการสนทนา .ใช้ภาษาในการสนทนา .ใช้ภาษาในการสนทนา
ด้วยถ้อยคาที่ เชื้อเชิญ ชักชวน เชื้อเชิญ ชักชวน เชื้อเชิญ ชักชวน เชื้อเชิญ ชักชวน
ปฏิเสธ ชี้แจงใน ปฏิเสธ ชี้แจงใน ปฏิเสธ ชี้แจงใน ปฏิเสธ ชี้แจงใน
143

นาไปสู่
สาระสาคัญ/ แนวการจัดกิจกรรม
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญ คุณลักษณะอันพึง ชิ้นงาน/ภาระงาน
ความคิดรวบยอด การเรียนรู้
ของผู้เรียน ประสงค์
สุภาพและใช้ ชีวิตประจาวัน ชีวิตประจาวัน ชีวิตประจาวัน ชีวิตประจาวัน
คาราชาศัพท์ได้ถูกต้อง ใช้คาราชาศัพท์ ใช้คาราชาศัพท์ ใช้คาราชาศัพท์ ใช้คาราชาศัพท์
รู้จักคิดไตร่ตรองก่อน รู้จักคิดไตร่ตรองก่อน รู้จักคิดไตร่ตรองก่อน รู้จักคิดไตร่ตรองก่อน รู้จักคิดไตร่ตรองก่อน
พูดและเขียน พูดและเขียน พูดและเขียน พูดและเขียน พูดและเขียน
4 เข้าใจลักษณะของคา เข้าใจลักษณะของคา เข้าใจลักษณะของคา เข้าใจลักษณะของคา เข้าใจลักษณะของคา
ไทย คาภาษาถิ่น คา ไทย คาภาษาถิ่น ไทย คาภาษาถิ่น ไทย คาภาษาถิ่น ไทย คาภาษาถิ่น
ภาษาต่างประเทศที่ ภาษาต่างประเทศที่ ภาษาต่างประเทศที่ ภาษาต่างประเทศที่ ภาษาต่างประเทศที่
ปรากฏในภาษาไทยซึ่ง ปรากฏในภาษาไทย ปรากฏในภาษาไทย ปรากฏในภาษาไทย ปรากฏในภาษาไทย
ทาให้มีคาใช้มากขึ้น
5 สามารถแต่งบทร้อย แต่งบทร้อยกรอง แต่งบทร้อยกรอง แต่งบทร้อยกรอง แต่งบทร้อยกรอง
กรองประเภทกาพย์และ ประเภท กาพย์และ ประเภท กาพย์และ ประเภท กาพย์และ ประเภท กาพย์และ
กลอน โดยแสดง กลอน กลอน กลอน กลอน
ความคิดเชิงสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นเชิง แสดงความคิดเห็นเชิง แสดงความคิดเห็นเชิง แสดงความคิดเห็นเชิง
6 สามารถเล่นนิทาน สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ สร้างสรรค์
พื้นบ้านและตานาน เล่านิทานพ้นบ้าน เล่านิทานพ้นบ้าน เล่านิทานพ้นบ้าน เล่านิทานพ้นบ้าน
พื้นบ้านในท้องถิ่น ตานานพ้นบ้านใน ตานานพ้นบ้านใน ตานานพ้นบ้านใน ตานานพ้นบ้านใน
อย่างเห็นคุณค่า ท้องถิ่นอย่างเห็น ท้องถิ่นอย่างเห็น ท้องถิ่นอย่างเห็น ท้องถิ่นอย่างเห็น
คุณค่า คุณค่า คุณค่า คุณค่า
144

ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดเพื่อการออกแบบการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
นาไปสู่
สาระสาคัญ/ แนวการจัดกิจกรรม
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญ คุณลักษณะอันพึง ชิ้นงาน/ภาระงาน
ความคิดรวบยอด การเรียนรู้
ของผู้เรียน ประสงค์
มาตรฐาน ท 4.1 เลือกอ่านหนังสือ เลือกอ่านหนังสือ 1ความสามารถใน 1รักชาติ ศาสน์ เลือกอ่านหนังสือ เลือกอ่านหนังสือ
(วรรณคดีและ ตามจุดประสงค์ของ ตามจุดประสงค์ของ การสื่อสาร กษัตริย์ ตามจุดประสงค์ของ ตามจุดประสงค์ของ
วรรณกรรม) การอ่าน การอ่าน 2 ความสามารถใน 2 ซื่อสัตย์ สุจริต การอ่าน การอ่าน
1 สามารถเลือกอ่าน หลักการพิจารณา หลักการพิจารณา การคิด 3 มีวินัย หลักการพิจารณา หลักการพิจารณา
หนังสือได้ หนังสือ หนังสือ 3 ความสามารถใน 4 ใฝ่เรียนรู้ หนังสือ หนังสือ
หลากหลายทั้ง เห็นคุณค่าและ เห็นคุณค่าและ การแก้ปัญหา 5 อยู่อย่างพอเพียง เห็นคุณค่าและ เห็นคุณค่าและ
นิทาน ตานานเรื่อง นาไปใช้ในชีวิตจริง นาไปใช้ในชีวิตจริง 4 ความสามารถใน 6 มุ่งมั่นในการ นาไปใช้ในชีวิตจริง นาไปใช้ในชีวิตจริง
สั้น สารคดี การใช้ทักษะชีวิต ทางาน
บทความ บทร้อย 5 ความสามารถใน 7 รักความเป็นไทย
กรอง บทละคร การใช้เทคโนโลยี 8 มีจิตสาธารณะ
ตามจุดประสงค์ของ
การอ่าน ใช้หลักการ
พิจารณาหนังสือ
พิจารณาให้เห็น
คุณค่า และนาไปใช้
ในชีวิตจริง
145

คาศัพท์
บทที่ 1

ตั่ง นิ่ง บรรพบุรุษ ประดิดประดอย ผิง ภูมิปัญญา รื่นรมย์ ละมุน วัฒนธรรม ห่าม

บทที่ 2

กตัญญู เงินแป ดารงชีวิต ตกแต่ง ธนบัตร พดด้วง ลูกไม้หล่นไม่ไกลต้น สังสรรค์ สุขนิสัย


หมาย หุ้น เหรียญ เห่อ กรรมฐาน กฤดาการ กลอย กษิรา กสิณ การุณัง กาดัดแดด กิจกรม
บังเหียน บาทบงสุ์ เบญจขันธ์ ใบเสมา ปลิวต่าย ประรางควาน ปัถพิณ ผ้าคากรอง พาน พายัพ
ฟายน้าตา ภพไตร ภาษาไสย ภิญโญ ภูวไนย มหาอุจ เมาลี เมืองเทศ โม่งโค่ง ยมทูต ยมนา
ยักขินี ยามสามตา ระเห็จ ลัคนา วายุภัส ศิวาโมกข์ สกัดสแกง สมาบาป สโมสร สวาหะ
สาเภาเลากา สิทธา สินธพ สิบรู้ หน้าฉาน ห่างแห เหล็กเพชร อนุกูล อภิญญาณ อรินทร์
อสงไขย อัปภาคย์ อายุก อิศโร อุณาโลม

บทที่ 3

เกษตรกรรม ตีรวน ทะมัดทะแมง ทาหูทวนลม ปากนกกระจอก ไผ่ตง ไผ่รอก ไผ่สีสุก ฝีในท้อง


พระราชนิพนธ์ ฟัก แฟง โภชนาการ มะงั่ว มังสวิรัติ โยชน์ ริดสีดวงทวาร

บทที่ 4

กายภาพ เกษม เกียรติภูมิ ชีวภาพ ทัศนา ธรณีวทิ ยา ธานี โบราณสถาน ประจักษ์


ปัญญาท้องถิ่น มรดกโลก ระบบนิเวศ สยาม สืบสาน หัตถกรรม อาณาจักร อารยธรรม อุดม
ฉกรรจ์ ฉุกเฉียว ชันสูตร ต้นสายปลายเหตุ ต่อสู้บ่รู้ความ ตานาน ทิฐิ ที่หลังคน ร้อยแปด
พันเก้า ล่าม เหตุเกรียว เห้า เกิดเป็นศึกขึ้นกลางเมือง

บทที่ 5

เกื้อกูล ขยะแขยง ใจเสีย ชอบกล ระรวย สบประมาท

บทที่ 6

เครื่องมือ ใคร่ครวญ จดหมายลูกโซ่ เดินสายกลาง เตลิด พิเคราะห์ เพริด ภัยพิบัติ ยล ลม ๆ


แล้ง หม่นหมองหมาง หลังขดหลังแข็ง กินรี คิมหันต์ จักรราศี จินดา ปัจฉิม เฝ้ารักษาสินธู
เมขลา รามสูร เลียบรอบขอบทวีป เลี้ยวรอบขอบพระเมรุ วสันตฤดู อินทนิล
146

บทที่ 7

คร่าคร่า โครมครืน เชี่ยวกราก ตายดาบหน้า ทุพภิกขภัย ธรณีพิบัติภัย วาตภัย สึนามิ


อัคคีภัย อุทกภัย ป่วยกระเสาะกระแสะ

บทที่ 8

ไข้สมองอักเสบอี ไข้หวัดนก จ้าว เจ้า พริบตา พิทักษ์ ภูมิคุ้มกัน ยกเล้า ยานอวกาศ ยุ่มย่าม
ไวรัส สัญญาณ เหินหาว อุโมงค์ กระมล กรา กลใด กล้อง ก้อนดิน กะเจ๊ก กาเบอะ กายัง
กุลียุค เก่งแก๋ เกษมศานต์ ไกพ็อก โกวัล ขนัด ขัณฑ์ แขกไทร คนขยัน คนัง ครรไล
คุกพาทย์และกลม คูหา จอเฮ็ด ชัฏ ช้าปี่ ชุด เชิด เชิดฉิ่ง ซ้องซ้อ เซ่นเหล้า เซเรยา
แซ็ดแซ็ด ดงดาน ดับสังขาร์ ดาขาว ดิ๊กดิ๊ก ดึงเถาวัลย์พันผูก กล้องแทนคาน ตองตง ต้องไฟ
ตะพดมะพร้าว ตัวเต็ง ตากบ ตายก ตาเอ๊ช เตาโว๊ะ ไต่เหราะ ทะยาน นางควาก บอเลา บาซิง
บาวัด ปั๊วปั๊ว ปีนตลิ่ง เป่าปักษา เป่าฮุก ผงาด พนาวัน พนาวา มอเจน มุเตียว ไม้ไผ่ ยด
ยวัง ระเห็จ ราคิน ร่าย ลดพัดชายเขา ลวาย ละหาน ลาเต๊าะ ลิงยด ลิงโลด ลูกกกเกาะ เลเล
เอเลลา เลาะเตี๊ยะ วานร เวหา สกนธ์ สนาน สระบุหร่งนอก สังขาร์ เสมอ หมัด หลอดไม้
เหล็กไฟ เหิน อเวย์ อ้ายแค เองแอ๊ง ฮอยะ ฮังวิช

บทที่ 9

จานบิน ดินสอพอง ทอด ประสานสัมพันธ์ พลิกแพลง พังพาบ มนุษย์อวกาศ เม็ด ลูกข่าง


สมดุล หมากเก็บ

บทที่ 10

ญาณ บริกรรมคาถา บารมีบุญ เปล่งประกาย พระดาบส รปภ. ลัดเลาะ สถานการณ์


กรรณิการ์ กรวด กุมาร ขมา ฉวัดเฉวียง ชัชวาล ชาวพารา โชตืชว่ ง เทศนามหาชาติ นกบิน
นมแมว นาฎ พยับ พิภพ ภัคินี มิตร ยุพิน เยาวมาลย์ รัญจวน ราศี ราหู ลาเจียก ลาดวน
วิโยค โศกศัลย์ สัปบุรุษ สาคร สายหยุด หน้าทับ อนงค์ อรชร อร่าม อสุรี อ้ายตื้อ
บทที่ 11

กระทกชาย กิตติศัพท์ เซลล์ ทุ่มสุดตัว น้าผึ้งรดหัวใจ ประสิทธิภาพ รางวัลเกียรติยศ วอกแวก


สมาธิ
147

บทที่ 12

กลางคัน เกษตรกร ขยุ้ม พร่าเพื่อ พิถีพิถัน มะเร็ง กัลยาณชน กาสร กุญชร จตุบท ฉาบ ตรา
ตรี ทนต์ ทวิบาท โท นรชาติ พระนิพนธ์ พฤษภ มนตร์ วิญญูชน วิโยค เวี่ย สถิต สังวร สี
กรัก สุภาพชน เสน่ง อัชฌาสัย อินทรีย์

บทที่ 13

กรรโชก ทิด นิติกร บาทหลวง โบสถ์ ภาวนา มนุษยชาติ มัสยิด ศาสดา ศาสนสถาน สัญลักษณ์
อาฆาตพยาบาท อิหม่าน

บทที่ 14

ข่อย คริสตกาล รถซาเล้ง โลกไร้พรมแดน สมุดไทย สลัก สา ครองราชย์ ชะลอม เถลิง ทนาย
นิกร บวงสรวง ประศาสน์ ปลาต พรหมจรรย์ พฤฒาจารย์ เพลงมาร์ช ภูบาล มัคคุเทศก์
รัฐสีมา ฤษยา สโมสร เสมา อาสน์ อิสริยยศ

บทที่ 15

เคลิ้ม เฉียวฉุน ปราการ เปรมใจ แปล้ มั่วสุม สร่าง สานฝัน เสพ เหลือเฟือ

บทที่ 16

ครรลอง เทพารักษ์ ธัญญาหาร นภากาศ พนาดร พิภพ มลพิษ ราเพย สถาพร สรรพสัตว์
อัญมณี
148

ตารางวิเคราะห์ตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
สาระที่๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ
แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน

ตัวชี้วัด ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรียนทาอะไรได้


๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว หลักการอ่านออกเสียง อ่านออกเสียงได้ถูกต้องตามอักขรวิธี
และบทร้อยกรองได้ถูกต้อง บทร้อยแก้วและร้อยกรองที่ดี เว้นวรรคตอนได้ถูกต้อง และมีลีลา
น้าเสียงถูกต้องตามฉันทลักษณ์ของ
บทประพันธ์และเนื้อหา ลีลา
น้าเสียงเหมาะสม
๒. อธิบายความหมายของคา รู้หลักการใช้บริบทหรือคาแวดล้อม อธิบายความหมายของคาประโยค
ประโยค และสานวน ช่วยในการตีความ แปลความ ขยาย และสานวนจากเรื่องที่อ่านถูกต้อง
จากเรื่องที่อ่าน ความได้กว้างขวางสามารถสร้าง ชัดเจนขึ้น
ความเข้าใจได้ลึก
๓. อ่านเรื่องสั้น ๆ ตามเวลา หลักการอ่านคล่องและเร็ว ๑.อ่านคล่องและเร็ว
ที่กาหนดและตอบคาถาม การอ่านสารวจและบันทึกข้อความ ๒.ตอบคาถามจากเรื่องที่อ่านได้
จากเรื่องที่อ่าน สาคัญของเรื่อง ๓.บันทึกข้อความจากเรื่องที่อ่าน
๔. แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น การแยกแยะข้อเท็จจริงและ ๑.แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
จากเรื่องที่อ่าน ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน ๒.เลือกข้อมูลจากการอ่านไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
๕. คาดคะเนเหตุการณ์ หลักการอ่านจับใจความจากเรื่อง คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผล ต่าง ๆ อย่างเข้าใจ ได้อย่างมีเหตุผล
ประกอบ
๖. สรุปความรู้และข้อคิด หลักการสรุปใจความสาคัญและ ๑.สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่อง
จากเรื่องที่อ่านเพื่อนาไปใช้ ข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน ที่อ่าน
ในชีวิตประจาวัน ๒.นาข้อคิดไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวัน
๗. อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตาม หลักการเลือกหนังสือที่มีคุณค่า ๑.ใช้กระบวนการอ่านสร้าง
ความสนใจอย่างสม่าเสมอและ ความรู้และความคิด
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ๒.วิเคราะห์เปรียบเทียบความ
เรื่องทีอ่ ่าน เหมือนกันของสถานการณ์ใน
หนังสือกับชีวิตจริง
๓.แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
การอ่านได้
149

ตัวชี้วัด ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรียนทาอะไรได้


๘. มีมารยาทในการอ่าน มารยาทในการอ่าน มีมารยาทในการอ่าน

หมายเหตุ
ตัวชี้วัดตัวนี้ให้จัด
กิจกรรมรวมกับตัวชี้วัดที่ ๑ - ๗
150

สาระที่๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศ และรายงานการศึกษาค้นคว้า
อย่างมีประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัด ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรียนทาอะไรได้


๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด หลักการคัดลายมือต้องบรรจง คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
และครึ่งบรรทัด เต็มบรรทัด
๒. เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ หลักการ วัตถุประสงค์ลักษณะ เขียนคาขวัญ และ คาแนะนาได้
ถูกต้อง ชัดเจน และเหมาะสม สาคัญ กระบวนการ เทคนิค
การเขียนประเภทคาขวัญและ
คาแนะนา
๓.เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และ หลักการ วัตถุประสงค์ลักษณะ ๑.เขียนแผนภาพโครงเรื่อง/
แผนภาพความคิด เพื่อใช้พัฒนา สาคัญ กระบวนการ เทคนิคการ แผนภาพความคิด
งานเขียน เขียนแผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพ ๒.เขียนเรื่องโดยใช้แผนภาพ
และพัฒนางานเขียน โครงเรื่องแผนภาพความคิด
เป็นเครื่องมือพัฒนางานเขียน
๔. เขียนย่อความจากเรื่องสั้นๆ หลักการและวิธีการเขียนย่อความ เขียนย่อความได้

๕.เขียนจดหมายถึงเพื่อนและ หลักการและวิธีการเขียนจดหมาย ๑.เขียนจดหมายถึงเพื่อน


บิดามารดา แต่ละประเภท ๒.เขียนจดหมายถึงบิดา มารดา
๖.เขียนบันทึกและเขียนรายงาน หลักการ วิธีการและความสาคัญ เขียนบันทึก และ จากเขียน
จากการศึกษาค้นคว้า ของการเขียนบันทึก รายงานการศึกษาค้นคว้า
๗. เขียนเรื่องตามจินตนาการ หลักการ/ลักษณะและเทคนิค เขียนตามเรื่องจินตนาการ
การเขียนเรื่องตามจินตนาการ
๘.เขียนเรื่องตามจินตนาการ หลักการ / ลักษณะและวิธี เขียนเรื่องจากจินตนาการได้
การเขียนเรื่องตามจินตนาการ
๙.มีมารยาทในการเขียน ข้อสรุปเกี่ยวกับการปฏิบัติตนอย่าง มีมารยาทในการเขียน
มีมารยาทในการเขียน
151

สาระที่๓ การฟัง ดู และพูด


มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึก
ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

ตัวชี้วัด ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรียนทาอะไรได้


๑. จาแนกข้อเท็จจริงและ หลักการสังเกต ข้อคิดเห็น จาแนกข้อคิดเห็น ข้อเท็จจริงจาก
ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู ข้อเท็จจริง เรื่องที่ฟัง ที่ดู
๒. พูดสรุปความจากการฟังและดู หลักการพูดสรุปความจากการฟัง ๑.การพูดสรุปความรู้จากการฟัง
และการดู การดูเป็นการหาคาสาคัญ
ประโยคสาคัญ โดยการทา
แผนภาพความคิดหรือการจด
บันทึก
๒.พูดสรุปความจากการฟัง
และดู
๓. พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น หลักการพูดแสดง ความคิดเห็น พูดแสดง ความคิดเห็น และ
และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ และความรู้สึกจากที่ฟังและดู ความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ฟัง
และดู

๔. ตั้งคาถามและตอบคาถาม หลักการการตั้งคาถามและการ ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิง


เชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู ตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่อง เหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
ที่ฟังและดู
๕. รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ หลักการรายงานเรื่องหรือประเด็น พูดรายงานหรือประเด็นที่ศึกษา
ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู ที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู ค้นคว้าจากเรื่องที่ฟังและดู ผู้พูด
และการสนทนา และการสนทนา ต้องศึกษาเรื่องที่ฟัง การดูและ
การสนทนา
๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และ สรุปหลักเกี่ยวกับมารยาทใน มีมารยาทในการฟัง การดู และ
การพูด การฟัง การดู และการพูด การพูด
152

สาระที่๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และ
พลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ

ตัวชี้วัด ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรียนทาอะไรได้


๑. สะกดคาและบอกความหมาย หลักการสะกดคาในแต่ละมาตรา ๑. สรุปหลักการเกี่ยวกับการ
ของคาในบริบทต่างๆ การผันวรรณยุกต์คาเป็น คา สะกดคา แม่ ก กา ,คาที่สะกด
ตาย คาพ้อง ความหมายของคา ในแต่ละมาตรา,การผัน
จากบริบท วรรณยุกต์,คาเป็นคาตาย,
คาพ้อง,ความหมายของคาจาก
บริบท
๒. ผลงานสร้างคาโดยใช้หลักการ
สะกดคา แม่ ก กา ,คาที่สะกด
ในแต่ละมาตรา,การผัน
วรรณยุกต์,คาเป็น คาตาย,
คาพ้อง
๓.บอกความหมายของคาใน
บริบทต่าง ๆ
๒. ระบุชนิดและหน้าที่ของคาใน รู้จักชนิดของคาและหน้าที่ของ แต่งประโยคและวิเคราะห์หน้าที่ของ
ประโยค คาในประโยค คาในประโยค
๓ ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมาย หลักการใช้พจนานุกรม ๑.สรุปหลักการใช้พจนานุกรม
ของคา ๒.ใช้พจนานุกรมเพื่อค้นหา
ความหมายของคาได้ถูกต้อง
และรวดเร็ว
๔.แต่งประโยคได้ถูกต้อง หลักการเขียนประโยค ๑. เขียนประโยค
ตามหลักภาษา ๒. เปรียบเทียบประโยคสองส่วน
และประโยคสามส่วน
๕. แต่งบทร้อยกรองและคาขวัญ ๑.หลักการแต่งบทร้อยกรอง ๑. การเขียนบทร้อยกรอง
๒.หลักการเขียนคาขวัญ ๒. การเขียนคาขวัญ

๖. บอกความหมายของสานวน ความหมายของสานวนที่เป็น บอกความหมายของสานวน


สุภาษิตและคาพังเพย
153

ตัวชี้วัด ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรียนทาอะไรได้


๗. ใช้สานวน ได้ถูกต้อง ความหมายและหลักการใช้สุภาษิต ๑. สรุปหลักการใช้ สานวน
คาพังเพย สุภาษิต คาพังเพย
๒. นาสานวน สุภาษิต ไปใช้ใน
การพูด การเขียน ได้ถูกต้อง
154

สาระที่๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า
และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

ตัวชี้วัด ผู้เรียนรู้อะไร ผู้เรียนทาอะไรได้


๑. ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้าน ๑.องค์ประกอบของนิทานพื้นบ้าน วิเคราะห์ข้อคิดจากนิทานพื้นบ้าน
หรือนิทานคติธรรม หรือนิทานคติธรรม หรือนิทานคติธรรมและระบุข้อคิด
๒.ความหมายและลักษณะ ได้
ของข้อคิดในนิทาน
๒. อธิบายข้อคิดจากการอ่าน ลักษณะภาษาถิ่นกับภาษาไทย อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อ
เพื่อนาไปใช้ในชีวิตจริง ข้อคิดจากการอ่านวรรณกรรม นาไปใช้ในชีวิตจริง
๓. ร้องเพลงพื้นบ้าน ๑.ประเภทและลักษณะของ ๑.ร้องเพลงพื้นบ้านได้
เพลงพื้นบ้าน ๒.วิเคราะห์คุณค่าของ
๒.เนื้อหา ประเพณี วัฒนธรรม เพลงพื้นบ้านได้
ความเชื่อ ค่านิยม ข้อคิด ที่แฝง
ไว้ในเพลงพื้นบ้าน
๔. ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด ๑.หลักการอ่านบทร้อยกรอง ท่องจาบทอาขยานได้
และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตาม ๒.หลักการวิเคราะห์คุณค่า
ความสนใจ บทร้อยกรอง
155

You might also like