You are on page 1of 12

~1~

ทำควำมรูจ้ กั เมฆ ชนิดของเมฆ สิง่ สวยงำมบนท้องฟ้ ำดีกว่ำ

สำหรับคนทีช ่ อบมองท้องฟ้ ำ
คงเคยสังเกตเห็นถึงศิลปะบนท้องฟ้ ำอย่ำงก้อนเมฆทีม ่ ห
ี ลำกหลำยรูปร่ำง
ซึง่ บรรดำก้อนเมฆนัน ้ ดูนุ่มและนิ่ม จนน่ ำจะกระโดดใส่เหลือเกิน
แต่รห ู ้ รือไม่วำ่ ก้อนเมฆนัน้ เกิดมำได้อย่ำงไร

เมฆ คือ
เมฆ คือ
ละอองน้ำและเกล็ดน้ำแข็งทีร่ วมตัวกันเป็ นกลุม ่ ก้อนลอยตัวอยูใ่ นชัน
้ บรรยำกำศทีเ่ รำสำมำ
รถมองเห็นได้ไอน้ำทีค ่ วบแน่ นเป็ นละอองน้ำ (โดยปกติแล้วจะมีขนำด 0.01 มม)
หรือเป็ นเกล็ดน้ำแข็ง ซึง่ เมือ่ เกำะตัวกันเป็ นกลุม
่ จะเห็นเป็ นก้อนเมฆ
ก้อนเมฆนี้จะสะท้อนคลืน ่ แสงในแต่ละควำมยำวคลืน ่ ในช่วงทีต
่ ำมองเห็นได้
ในระดับทีเ่ ท่ำๆ กัน จึงทำให้เรำมองเห็นก้อนเมฆนัน ้ เป็ นสีขำว
แต่ก็สำมำรถมองเห็นเป็ นสีเทำหรือสีดำถ้ำหำกเมฆนัน ้ มีควำมหนำแน่ นสูงมำกจนแสงผ่ำ
นไม่ได้

สิง่ ทีช
่ ว่ ยให้เกิดกำรกลั่นตัวของไอน้ำเป็ นก้อนเมฆคือ ฝุ่ นผงเล็กๆ
หรือเกลือในบรรยำกำศทีม ่ ค
ี ณ
ุ สมบัตด
ิ ด
ู น้ำในบรรยำกำศได้ดี
~2~
้ นี้วำ่ อนุภำคกลั่นตัว (Condensation nuclei)
เรำเรียกปฏิกริ ยิ ำทีเ่ กิดขึน
ซึง่ กำรกลั่นตัวของไอน้ำในบรรยำกำศจะไม่เกิดขึน ้ หำกบรรยำกำศปรำศจำกฝุ่ นผง
แม้วำ่ ไอน้ำจะอิม ่ ตัวแล้วก็ตำม

เมฆจำกมนุษย์
มนุษย์เรำก็สำมำรถสร้ำงเมฆได้เหมือนกัน
โดยเกิดจำกเครือ ่ งบินไอพ่นทีบ
่ น
ิ อยูใ่ นระดับสูงเหนือระดับควบแน่ น
ทำให้ไอน้ำซึง่ อยูใ่ นอำกำศร้อนทีพ่ น
่ ออกมำจำกเครือ ่ งยนต์ปะทะเข้ำกับอำกำศเย็นซึง่ อยูภ

ำยนอก เกิดกำรควบแน่ นเป็ นหยดน้ำ
เพรำะกำรจับตัวกับเขม่ำควันจำกเครือ ่ งยนต์จะทำหน้ำทีเ่ ป็ นแกนควบแน่ น
เรำจึงมองเห็นควันเมฆสีขำวถูกพ่นออกมำทำงท้ำยของเครือ ่ งยนต์เป็ นทำงยำว
มีชือ
่ เรียกว่ำ คอนเทรล (Contrails)

ซึง่ ก็เหมือนกับกำรสร้ำงฝนเทียม โดยเครือ


่ งบินจะทำกำรโปรยสำรเคมี
ซิลเวอร์ไอโอไดด์ (Silver Iodide)
เพือ
่ ทำหน้ำทีเ่ ป็ นแกนควบแน่ นในกำรให้ไอน้ำในอำกำศมำจับตัว และควบแน่ นเป็ นเมฆ

กำรแบ่งประเภทและ ชนิดของเมฆ

แบ่งตำมรูปร่ำง

เมฆนัน้ แบ่งเป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ แบบเป็ นชัน ้ (layered) ในแนวนอน


และ แบบลอยตัวสูงขึน ้ (convective) ในแนวตัง้ โดยจะมีชือ ่ เรียกว่ำ สเตรตัส (stratus
ซึง่ หมำยถึงลักษณะเป็ นชัน ้ ) และ คิวมูลสั (cumulus ซึง่ หมำยถึงทับถมกันเป็ นกอง)
ตำมลำดับ นอกจำกนี้แล้วยังมีคำทีใ่ ช้ในกำรบอกลักษณะของเมฆอีกด้วย

- สเตรตัส (stratus) หมำยถึง ลักษณะเป็ นชัน



- คิวมูลสั (cumulus) หมำยถึง ลักษณะเป็ นกองสุม
- เซอร์รสั (cirrus) หมำยถึง ลักษณะเป็ นลอนผม
- นิมบัส (nimbus) หมำยถึง ฝน

แบ่งตำมระดับควำมสูง
~3~
เมฆยังอำจแบ่งเป็ น 4 กลุม
่ ตำมระดับควำมสูงของเมฆ
โดยระดับควำมสูงของเมฆนี้จะวัดจำกฐำนของก้อนเมฆ ไม่ได้วดั จำกยอด โดย Luke
Howard เป็ นผูน
้ ำเสนอวิธีกำรแบ่งกลุม
่ แบบนี้ แก่ Askesian Society ในปี ค.ศ.
1802

ซึง่ กำรแบ่งตำมระดับควำมสูงจะใช้ในกำรตรวจและแบ่งชนิดของเมฆทำงอุตุนิย
มวิทยำ
สำหรับเป็ นมำตรฐำนเดียวกันเพือ ่ ผลทำงกำรวิเครำะห์สภำพลมฟ้ ำอำกำศในกำรพยำกรณ์
โดยใช้ควำมสูงของฐำนเมฆเป็ นหลักในกำรแบ่งชนิด
ซึง่ ลักษณะของเมฆแต่ละชนิดนัน ้ สำมำรถทีจ่ ะบอกให้ทรำบถึงแนวโน้มลักษณะของสภำว
้ ล่วงหน้ำได้ เช่น
ะอำกำศทีจ่ ะเกิดขึน
ถ้ำในท้องฟ้ ำมีเมฆก่อตัวในทำงแนวตัง้ แสดงว่ำอำกำศกำลังลอยตัวขึน ้ หมำยถึง
สภำวะของอำกำศก่อนทีจ่ ะเกิดลมพำยุ

หรือถ้ำเมฆในท้องฟ้ ำแผ่ตำมแนวนอนเป็ นชัน


้ ๆ หมำยถึง
สภำวะอำกำศทีส่ งบและจะมีกระแสลมทำงแนวตัง้ เล็กน้อย
หรือถ้ำเมฆในท้องฟ้ ำก่อตัวทำงแนวตัง้ สูงใหญ่ จะหมำยถึงลักษณะของเมฆพำยุฟ้ำคะนอง
ทีเ่ รียกว่ำ เมฆคิวมูโลนิมบัส ฝนจะตกหนักและมีฟ้ำแลบ ฟ้ ำร้อง
บำงครัง้ อำจมีฟ้ำผ่ำลงมำยังพืน้ ดินด้วย
ซึง่ เมฆพำยุฟ้ำคะนองนี้เป็ นอันตรำยต่อเครือ
่ งบินขนำดเล็กเป็ นอันมำก

เมฆเซอรัส (Cirrus)
~4~

เมฆเซอโรคิวมูลสั (Cirrocumulus)

เมฆเซอโรสเตรตัส (Cirrostratus)

เมฆระดับสูง (High Clouds)

ก่อตัวทีค่ วำมสูงมำกกว่ำ 16,500 ฟุต (5,000 เมตร)


ในบริเวณทีอ่ ณ ุ หภูมติ ่ำในชัน
้ บรรยำกำศโทรโพสเฟี ยร์
ทีค
่ วำมสูงระดับนี้น้ำส่วนใหญ่นน ้ ั จะแข็งตัว ดังนัน
้ เมฆจะประกอบด้วยผลึกน้ำแข็ง
เมฆในชัน ้ นี้สว่ นใหญ่ม ักจะมีลกั ษณะเป็ นก้อนเล็ก ๆ และ มักจะค่อนข้ำงโปร่งใส

- เมฆเซอรัส (Cirrus) มีฐำนสูงเฉลีย่ 10,000 เมตร


มีลกั ษณะเป็ นฝอยปุยสีขำวเหมือนขนนกบำงๆ หรือเป็ นทำงยำว และอำจมีวงแสง (Halo)
ด้วย

- เมฆเซอโรคิวมูลสั (Cirrocumulus) มีฐำนสูงเฉลีย่ 7,000 เมตร


มีลกั ษณะเป็ นเกล็ดบำงๆ สีขำว หรือเป็ นละอองคลืน
่ เล็กๆ อยูต
่ ด
ิ กัน
บำงตอนอำจแยกจำกกันแต่จะอยูเ่ รียงรำยกันอย่ำงมีระเบียบ โปร่งแสง
อำจมองเห็นดวงอำทิตย์หรือดวงจันทร์ได้

- เมฆเซอโรสเตรตัส (Cirrostratus) มีฐำนสูงเฉลีย่ 8,500 เมตร


มีลกั ษณะเป็ นแผ่นเยือ
่ บำงๆ โปร่งแสงเหมือนม่ำนติดต่อกันเป็ นแผ่นในระดับสูง
~5~
มีสขี ำวหรือน้ำเงินจำงปกคลุมเต็มท้องฟ้ ำหรือเพียงบำงส่วน
เป็ นเมฆทีท
่ ำให้เกิดวงแสงสีขำวหรือมีวงแสง (Halo) รอบดวงอำทิตย์หรือดวงจันทร์ได้

เมฆอัลโตคิวมูลสั (Altocumulus)

เมฆอัลโตสเตรตัส (Altostratus)

เมฆระดับกลำง (Medium Clouds)


ก่อตัวทีค่ วำมสูงระหว่ำง 6,500 และ 16,500 ฟุต (ระหว่ำง 2,000 และ 5,000
เมตร) เมฆจะประกอบด้วยละอองน้ำ และ ละอองน้ำเย็นยิง่ ยวด
- เมฆอัลโตคิวมูลสั (Altocumulus) มีลกั ษณะอยูเ่ ป็ นกลุม ่ ๆ คล้ำยฝูงแกะ
มีสข ี ำว บำงครัง้ สีเทำ มีกำรจัดตัวเป็ นแถวๆ หรือเป็ นคลืน
่ เป็ นชัน
้ ๆ มีเงำเมฆ
มีลกั ษณะเป็ นเกล็ดเป็ นก้อนม้วนตัว (roll) อำจมี 2 ชัน ้ หรือมำกกว่ำนัน ้
อำจมีแสงทรงกลด (Corona)
- เมฆอัลโตสเตรตัส (Altostratus) มีลกั ษณะเป็ นแผ่นหนำ
บำงสมำ่ เสมอในชัน ้ กลำงของบรรยำกำศ
มองดูเรียบเป็ นปุยหรือฝอยละเอียดแผ่ออกเป็ นพืด เป็ นลูกคลืน ่ ปกคลุมเต็มท้องฟ้ ำ
มีสเี ทำหรือน้ำเงินอ่อน
และอำจมีบำงส่วนทีบ ่ ำงจนแสงอำทิตย์จะส่องผ่ำนลงมำยังพื้นดินได้ อำจมีแสงทรงกลด
(Corona)
~6~

เมฆสเตรตัส (Stratus)

เมฆสเตรโตคิวมูลสั (Stratocumulus)

เมฆนิมโบสเตรตัส (Nimbostratus)

เมฆระดับต่ำ (Low Clouds)


ก่อตัวทีค
่ วำมสูงต่ำกว่ำ 6,500 ฟุต (2,000 เมตร) และ รวมถึงสเตรตัส
(Stratus) เมฆสเตรตัสทีล่ อยตัวอยูร่ ะดับพื้นดินเรียก หมอก
- เมฆสเตรตัส (Stratus) มีลกั ษณะเป็ นแผ่นหนำๆ
สมำ่ เสมอในชัน ้ ต่ำของบรรยำกำศ ใกล้ผวิ โลกเหมือนหมอก มีสเี ทำ
มองไม่เห็นดวงอำทิตย์หรือดวงจันทร์ ไม่ทำให้เกิดวงแสง (Halo)
เว้นแต่เมือ่ มีอณ
ุ หภูมต ิ ่ำมำกก็อำจเกิดได้
~7~
- เมฆสเตรโตคิวมูลสั (Stratocumulus) มีสเี ทำ ลักษณะอ่อนนุ่ม
เป็ นก้อนกลมเรียงติดๆ กัน
ทัง้ ทำงแนวตัง้ และทำงแนวนอนทำให้มองเห็นเป็ นลอนเชือ ่ มติดต่อกันไป
- เมฆนิมโบสเตรตัส (Nimbostratus) มีลกั ษณะเป็ นแผ่นหนำสีเทำดำ
เป็ นแนวยำวติดต่อกันแผ่กว้ำงออกไป ไม่เป็ นรูปร่ำง
เป็ นเมฆทีท่ ำให้เกิดฝนตกจึงเรียกกันว่ำ เมฆฝน เมฆชนิดนี้จะไม่มฟ
ี ้ ำแลบฟ้ ำร้อง
เกิดเฉพำะในเขตอบอุน ่ เท่ำนัน

เมฆคิวมูลสั (Cumulus)

เมฆคิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus)

เมฆแนวตัง้ (Vertical Clouds)


เป็ นเมฆทีม ี นวก่อตัวในแนวตัง้ ซึง่ ทำให้เมฆมีควำมสูงจำกฐำน
่ แ
โดยควำมสูงของฐำนเมฆเฉลีย่ 1,600 ฟุต หรือ 500 เมตร
ควำมสูงของยอดเมฆเฉลีย่ ถึงระดับสูงของเมฆเซอรัส
- เมฆคิวมูลสั (Cumulus)
ลักษณะเป็ นเมฆก้อนหนำมียอดมนกลมคล้ำยกะหล่ำดอก เห็นขอบนอกได้ชดั เจน
ส่วนฐำนมีสค ้ เป็ นหย่อมๆ
ี อ่ นข้ำงดำ ก่อตัวในทำงตัง้ กระจัดกระจำยเหมือนสำลี ถ้ำเกิดขึน
หรือลอยอยูโ่ ดดเดีย่ วแสดงถึงสภำวะอำกำศดี
ถ้ำมีขนำดก้อนเมฆใหญ่ก็อำจมีฝนตกภำยใต้กอ ้ นเมฆ ลักษณะเป็ นฝนเฉพำะแห่ง
- เมฆคิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus)
ลักษณะเป็ นเมฆก้อนใหญ่รูปร่ำงคล้ำยภูเขำใหญ่
~8~
มียอดเมฆแผ่ออกเป็ นรูปร่ำงคล้ำยทั่งทีใ่ ช้ในกำรตีเหล็ก (anvil) ฐำนเมฆต่ำมีสด
ี ำมืด
เป็ นเมฆหนำ มืดทึบ มีฟ้ำแลบ ฟ้ ำร้อง อำจอยูก ่ ระจัดกระจำยหรือรวมกันอยู่
มักมีฝนตกลงมำ เรียกเมฆชนิดนี้วำ่ “เมฆฟ้ ำคะนอง”

สีของเมฆ

สีของเมฆนัน
้ บ่งบอกถึงปรำกฏกำรณ์ ทเี่ กิดขึน้ ภำยในเมฆ
้ สูท
ซึง่ เมฆเกิดจำกไอน้ำลอยตัวขึน ่ ส
ี่ งู เย็นตัวลง และควบแน่ นเป็ นละอองน้ำขนำดเล็ก
ละอองน้ำเหล่ำนี้มคี วำมหนำแน่ นสูง
แสงอำทิตย์ไม่สำมำรถส่องทะลุผำ่ นไปได้ไกลภำยในกลุม ่ ละอองน้ำนี้
จึงเกิดกำรสะท้อนของแสงทำให้เรำเห็นเป็ นก้อนเมฆสีขำว

ในขณะทีก ่ อ
้ นเมฆกลั่นตัวหนำแน่ นขึน้
และเมือ่ ละอองน้ำเกิดกำรรวมตัวขนำดใหญ่ขน ึ้ จนในทีส่ ด ุ ตกลงมำเป็ นฝน
ในระหว่ำงกระบวนกำรนี้ละอองน้ำในก้อนเมฆซึง่ มีขนำดใหญ่ขน ึ้ จะมีชอ
่ งว่ำงระหว่ำงหย
ดน้ำมำกขึน ้ ทำให้แสงสำมำรถส่องทะลุผำ่ นไปได้มำกขึน ้
ซึง่ ถ้ำก้อนเมฆนัน ้ มีขนำดใหญ่พอ และช่องว่ำงระหว่ำงหยดน้ำนัน ้ มำกพอ
แสงทีผ ่ ำ่ นเข้ำไปก็จะถูกซึมซับไปในก้อนเมฆและสะท้อนกลับออกมำน้อยมำก

ซึงกำรซึมซับและกำรสะท้อนของแสงนี้สง่ ผลให้เรำเห็นเมฆตัง้ แต่ สีขำว สีเทำ ไปจนถึง
สีดำ

โดยสีของเมฆนัน
้ สำมำรถใช้ในกำรบอกสภำพอำกำศได้

- เมฆสีเขียวจำงๆ นัน ้ เกิดจำกกำรกระเจิงของแสงอำทิตย์เมือ่ ตกกระทบน้ำแข็ง


เมฆคิวมูโลนิมบัส ทีม่ ส
ี ีเขียวนัน
้ บ่งบอกถึงกำรก่อตัวของ พำยุฝน พำยุลกู เห็บ ลมทีร่ น
ุ แรง
หรือ พำยุทอร์นำโด

- เมฆสีเหลือง ไม่คอ่ ยได้พบเห็นบ่อยครัง้


แต่อำจเกิดขึน ้ ได้ในช่วงปลำยฤดูใบไม้ผลิไปจนถึงช่วงต้นของฤดูใบไม้รว่ ง
ซึง่ เป็ นช่วงทีเ่ กิดไฟป่ ำได้งำ่ ย โดยสีเหลืองนัน
้ เกิดจำกฝุ่ นควันในอำกำศ

- เมฆสีแดง สีสม้ หรือ สีชมพู นัน ึ้ และ


้ โดยปกติเกิดในช่วง พระอำทิตย์ขน
พระอำทิตย์ตก โดยเกิดจำกกำรกระเจิงของแสงในชัน ้ บรรยำกำศ
ไม่ได้เกิดจำกเมฆโดยตรง เมฆเพียงเป็ นตัวสะท้อนแสงนี้เท่ำนัน้
แต่ในกรณี ทม ี่ พ
ี ำยุฝนขนำดใหญ่ในช่วงเดียวกันจะทำให้เห็นเมฆเป็ นสีแดงเข้มเหมือนสีเลื
อด

ข้อที่ 1 ต้นสังเกตเห็นหยดน้ำบนใบไม้ในตอนเช้ำทัง้ ๆ ทีไ่ ม่มฝ


ี นตก
อยำกทรำบว่ำหยดน้ำนัน ้ คือสิง่ ใด
1 : แม่คะนิ้ง 2 : ลูกเห็บ 3 : หิมะ 4 : น้ำค้ำง
ข้อที่ 2: ปรำกฏกำรณ์ ใดทีม ่ ส
ี ถำนะเป็ นของแข็ง
~9~
1 : เมฆ 2 : ลูกเห็บ 3 : หมอก 4 : น้ำค้ำง
ข้อที่ 3: กำรทีไ่ อน้ำกลำยเป็ นหยดน้ำ เรียกว่ำอะไร
1 : กำรระเหย 2 : กำรหลอมเหลว 3 : กำรควบแน่ น 4:
กำรหลอมละลำย
ข้อที่ 4: กำรทดลองกำรเกิดลูกเห็บโดยใส่น้ำแข็งลงในกระป๋ องนม
เหตุใดจึงต้องใส่เกลือลงไปในกระป๋ องนมด้วย
1 : เพือ ่ ให้เกลือดูดควำมชื้นออกจำกน้ำแข็ง 2:
เพือ
่ ให้เกลือดูดควำมร้อนออกจำกน้ำแข็ง
3 : เพือ ่ ให้น้ำแข็งเกิดกำรหลอมละลำยเร็วขึน ้ 4:
เพือ่ ป้ องกันไม่ให้น้ำแข็งเกำะรวมกันเป็ นก้อน
ข้อที่ 5: ลมฟ้ ำอำกำศ หมำยถึงข้อใด
1 : สภำพอำกำศทีเ่ กิดขึน ้ ประจำถิน ่
2 : อำกำศทัง้ หมดทีห ่ อ่ หุม ้ โลกไว้
3 : ส่วนผสมของอนุภำค ฝุ่ นละออง ไอน้ำ และก๊ำซ
4 : สภำพอำกำศทีเ่ ป็ นอยู่ และมีกำรเปลีย่ นแปลงในระยะเวลำสัน ้ ๆ
ข้อที่ 6: สภำพอำกำศลักษณะใดทีม ่ กี ำรระเหยของน้ำได้มำก
1 : อำกำศชื้น 2 : อำกำศแห้ง 3 : อำกำศเปี ยก 4:
อำกำศอิม ่ ตัว
ข้อที่ 7 : บริเวณใดมีควำมดันอำกำศต่ำทีส่ ด ุ
1 : ภูเขำ 2 : ทะเล 3 : พื้นดิน 4 : ป่ ำไม้
ข้อที่ 8: ข้อใดไม่ใช่อป ุ กรณ์ ทน ี่ ำควำมรูเ้ รือ
่ งควำมดันอำกำศมำใช้ประโยชน์
1 : ปำกกำหมึกซึม 2 : หลอดฉี ดยำ
3 : ตุก ๊ ตำล้มลุก 4 : หลอดดูด
ข้อที่ 9: ข้อใดหมำยถึงอำกำศเคลือ ่ นที่
1 : ลม 2 : ไอน้ำ 3 : พำยุ 4:
ถูกทัง้ ข้อ ก. และ ค.
ข้อที่ 10: ลมในข้อใดทีเ่ กิดเวลำกลำงวัน
และเกิดจำกอำกำศบริเวณเหนือพื้นดินมีอณ ุ หภูมสิ งู กว่ำพืน้ น้ำ
1 : ลมบก 2 : ลมทะเล
3 : ลมมรสุมตะวันตกเฉี ยงใต้ 4 : ลมมรสุมตะวันออกเฉี ยงเหนือ
ข้อที่ 11: หำกลมมรสุมตะวันออกเฉี ยงเหนือพัดมำสูป ่ ระเทศไทย
จะส่งผลต่อสภำพอำกำศอย่ำงไร
1 : นำควำมหนำวเย็นมำให้ 2 : ทำให้เกิดควำมแห้งแล้ง
3 : ทำให้ฝนตกชุก 4 : ทำให้อำกำศร้อน
ข้อที่ 12: ลมชนิดใดทีก ่ อ่ ให้เกิดควำมเสียหำยต่อชีวต ิ และทรัพย์สน ิ อย่ำงรุนแรง
1 : ลมประจำฤดู 2 : ลมประจำเวลำ
3 : ลมประจำถิน ่ 4 : ลมพำยุหมุน
ข้อที่ 13: อำชีพในข้อใดทีต ่ อ
้ งอำศัยประโยชน์ จำกลมประจำเวลำ
1 : ชำวนำ 2 : ชำวสวน 3 : ชำวไร่ 4 : ชำวประมง
ข้อที่ 14เรำสำมำรถพบเห็นกำรใช้กงั หันลมสูบน้ำเข้ำนำเกลือได้ทจี่ งั หวัดใด
~ 10 ~
1 : สิงห์บรุ ี 2 : นครรำชสีมำ 3 : กำญจนบุรี 4:
สมุทรสงครำม
ข้อที่ 15: ข้อใดไม่ใช่หยำดน้ำฟ้ ำ
1 : น้ำฝน 2 : หิมะ 3 : น้ำค้ำง 4 : ลูกเห็บ

แบบฝึ กหัดเรือ
่ ง เมฆ และฝน

คำชี้แจง ให้นกั เรียนตอบคำถำมหรืออธิบำยสัน


้ ๆ ให้ได้ใจควำมทีส่ มบูรณ์

1. เมฆ คือ

2. เมฆเซอรัส มีลกั ษณะอย่ำงไร

3. เมฆอัลโตคิวมูลสั เป็ นเมฆชัน


้ ใดมีลกั ษณะอย่ำงไร

4. เมฆสเตรตัส เป็ นเมฆชัน


้ ใดมีลกั ษณะอย่ำงไร

5. เมฆทีก
่ อ
่ ตัวในแนวดิง่ ทีท
่ ำให้เกิดฝนตกหนัก ฟ้ ำแลบ ฟ้ ำร้องคือเมฆชนิดใด

6. ฝนเกิดจำกอะไร

7. ฝนมีกช
ี่ นิด อะไรบ้ำง

8. ให้นกั เรียนยกตัวอย่ำง เครือ


่ งมือวัดน้ำฝนมำ 2 ชนิด

9. ในประเทศไทยเกณฑ์กำรวัดน้ำฝน ถ้ำฝนตกหนัก จะมีปริมำณน้ำฝนกีม


่ ลิ ลิเมตร

10. จงอธิบำยวัฏจักรของน้ำมำพอเข้ำใจ

แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre – Test)


Posted on February 20, 2014 by sangjansc

1. แก๊สในข ้อใดไม่เกีย
่ วข ้องกับการเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก

ก. แก๊สไนตรัสออกไซด์ ข. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์

ค. แก๊สมีเทน ง. แก๊สออกซเิ จน

2. ข ้อใดเป็ นผลทีเ่ กิดจากการเคลือ


่ นทีข
่ องอากาศจากบริเวณทีม
่ ค
ี วามกดอากาศสูงไปยังบริเว
ณทีม
่ ค
ี วามกดอากาศตา่

ก. ลม ข. ฝน

ค. เมฆ ง. ไอน้ า

3. ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกีย
่ วกับทิศทางการหมุนของโลก
~ 11 ~
ก. หมุนจากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออก ข.
หมุนจากทิศตะวันออกไปยังทิศตะวันตก

ค. หมุนจากทิศเหนือไปยังทิศใต ้ ง. หมุนจากทิศใต ้ไปยังทิศเหนือ

4. อากาศในข ้อใดมีอณ
ุ หภูมส
ิ งู ทีส
่ ด

ก. อากาศในเวลากลางคืน ข. อากาศในเวลากลางวัน

ค. อากาศทีท
่ ้องฟ้ ามืดครึม
้ ง. อากาศทีม
่ เี มฆมาก

5. ข ้อใดเป็ นสาเหตุสาคัญของการเกิดลมบกลมทะเล

1) อุณหภูมข
ิ องอากาศเหนือพืน
้ ดินและพืน
้ น้ าแตกต่างกัน

2) พืน
้ ดินและพืน
้ น้ ารับและคายความร ้อนไม่เท่ากัน

3) ความกดอากาศเหนือพืน
้ ดินและพืน
้ น้ าแตกต่างกัน

ก. ข ้อ 1 ข. ข ้อ 2

ค. ข ้อ 3 ง. ข ้อ 1, 2 และ 3

6. ลักษณะอากาศในข ้อใด ถ ้าตากผ ้าแล ้วผ ้าจะแห ้งเร็วทีส


่ ด

ื้ อุณหภูมส
ก. อากาศชน ิ งู ข. อากาศแห ้ง อุณหภูมต
ิ า่

ค. อากาศแห ้ง อุณหภูมส
ิ งู ื้ อุณหภูมต
ง. อากาศชน ิ า่

7. เมฆในข ้อใดจัดเป็ นเมฆฝน

1) เมฆคิวมูลัส 2) เมฆเซอร์รัส 3) เมฆคิวมูโลนิมบัส

ก. ข ้อ 1 ข. ข ้อ 2

ค. ข ้อ 3 ง. ข ้อ 1, 2 และ 3

8. ถ ้าต ้องการศก ึ ษาและสงั เกตกลุม


่ ดาวบนท ้องฟ้ าในชว่ งเวลาต่างๆ
สงิ่ ใดจะชว่ ยค ้นหาตาแหน่งของกลุม ่ ดาวได ้ เหมาะสมทีส่ ดุ

ก. แผนทีด
่ าว ข. เข็มทิศ

ค. กล ้องโทรทรรศน์ ่ งทางไกล
ง. กล ้องสอ

9. ดาวเคราะห์มล
ี ักษณะอย่างไร

ก. มีแสงระยิบระยับตลอดเวลา ข.
มองเห็นได ้ด ้วยตาเปล่าทุกดวง

ค. มีแสงสว่างในตัวเอง ง. มีความสว่างไม่คงที่


10. ไซโครมิเตอร์เป็ นอุปกรณ์ทใี่ ชประโยชน์
ในด ้านใด
~ 12 ~
ก. วัดอุณหภูมข
ิ องอากาศ ื้ ในอากาศ
ข. วัดความชน

ค. วัดความดันอากาศ ง. วัดปริมาณน้ าฝน

ชุดที่ 1 1 4 2 2 3 3 4 2 54 62 71 83 94 10 2 11 1 12
4 13 4 14 4 15 3

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre -Test)

1. ง 2. ก 3. ก 4. ข 5. ง 6. ค 7. ค 8. ก 9.
ง 10.ข

You might also like