You are on page 1of 105

301 เสียงและการได้ยนิ

เสียงและการได้ยนิ
Step ความรู้ที่ 1 : การเกิดคลืน่ เสียงและการเคลือ่ นทีข่ องคลืน่ เสียง
1.1) การเกิดคลื่นเสียง

1.2) คลืน่ เสียงจัดเป็นคลืน่ กล

1.3) คลื่นเสียงจัดเป็นคลื่นตามยาว

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 302

1. ความถีข่ องคลืน่ เสียง (Frequency)


ความถี่ของเสียงจะใช้เป็นตัวบอกระดับเสียง
ถ้าเสียงใดมีความถีส่ งู จะมีระดับเสียงสูง
เสียงทีมคี วามถีต่ า่ จะมีระดับเสียงต่่า
 ความถี่ของเสียงโดยปกติที่มนุษย์ได้ยิน(audible sound)จะมีค่าอยู่ในช่วง
 ความถี่เสียงซึ่งต่่ากว่า 20 เฮิรตซ์ ลงไปเรียกว่า คลืน่ อินฟราโซนิก (infrasonic)หูมนุษย์จะไม่ได้ยิน
 ความถี่เสียงซึ่งสูงกว่า 20,000 เฮิรตซ์ ขึ้นไป เรียกว่า คลืน่ อุลตราโซนิก (ultrasonic)หูมนุษย์จะไม่ได้ยนิ
2. ความยาวคลืน่ เสียง (Wave Length)

Note. ความดันปกติคือความดันบรรยากาศ ทีค่ วามดันปกตินจี้ ะไม่ได้ยนิ เสียง


ความดันอากาศที่แตกต่างจากความดันปกติคือความดันเกจ ซึ่งเป็นตัวบ่งบอกถึงความดัง ของเสียง บริเวณทีเ่ ป็นส่วนอัดมี
ความดันเกจสูงหรือส่วนขยายจะมีความดันเกจทีต่ า่ สุด ทีส่ ว่ นอัดและส่วนขยายจะให้เสียงเสียงจะดังทีส่ ดุ
ความจริงทีพ่ บเกีย่ วกับส่วนอัดส่วนขยายและความดัน
1. อนุภาคของอากาศบริเวณส่วนอัดมีมากกว่าเดิม ท่าให้ความดันของอากาศบริเวณส่วนอัดมีค่าสูงขึ้นกว่าปกติ การ
เปลี่ยนแปลงความดันนี้จึงท่าให้เกิดเสียงดัง
2. อนุภาคของอากาศบริเวณส่วนขยายมีน้อยลง ท่าให้ความดันของอากาศบริเวณส่วนขยายมีค่าต่่าลงกว่าปกติ การ
เปลี่ยนแปลงความดันนี้จึงท่าให้เกิดเสียงดัง
3. ความดันของอากาศขณะไม่มีคลื่นเสียงเคลื่อนที่ผ่านเรียกว่า ความดันปกติ หรือ ความดันบรรยากาศ
4. บริเวณที่อากาศอัดตัวเข้าหากันจะมีความดันอากาศสูง ส่วนบริเวณที่โมเลกุลอากาศขยายตัวออกจากกัน จะมีความดันต่่า
ความดันของอากาศที่แตกต่างจากความดันปกตินี้ เรียกว่า ความดันเกจ (Gage Pressure) ซึ่งเป็นตัวแสดงถึงความ
ดังของเสียง ดังนั้นบริเวณที่เป็นส่วนอัดหรือส่วนขยาย จึงมีความดันเกจ สูง ซึ่งเป็นต่าแหน่งที่ให้เสียง ดัง และเป็น
ต่าแหน่งที่มีแอมพลิจูดของความดันมากที่สุด
5. จากกราฟ จะเห็นว่า คลื่นความดันและคลื่นการกระจัด จะมีเฟสต่างกัน 90 องศา เสมอ
6. จากจุดกึ่งกลางส่วนอัดถึงจุดกึ่งกลางส่วนอัดที่ติดกัน จะห่างกัน 
7. จากกึ่งกลางส่วนขยายถึงจุดกึ่งกลางส่วนขยายที่ติดกัน จะห่างกัน 

8. จากจุดกึ่งกลางส่วนอัดถึงจุดกึ่งกลาวส่วนขยายที่ติดกัน จะห่างกัน
2
9. เราสามารถเขียนกราฟระหว่างความดันกับระยะทางและ การกระจัดกับต่าแหน่งได้ ดังรูปด้านบน
จากกราฟ จะเห็นว่าคลื่นความดันและคลื่นการกระจัดจะมี เฟสต่างกัน 90 เสมอ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


303 เสียงและการได้ยนิ

Step ความรู้ที่ 2 : อัตราเร็วของคลืน่ เสียง(Speed of Sound)


เนื่องจากเสียงเป็นคลื่นกล ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ดังนั้นอัตราเร็วของเสียงจึงไม่คงที่
ขึ้นอยู่กับชนิดของตัวกลาง และสมบัตขิ องตัวกลางได้แก่ความหนาแน่น ความยืดหยุ่นของตัวกลางและ
อุณหภูมิของตัวกลางนั้น เป็นต้น

สมการอัตราเร็วคลืน่ ตัวกลาง อัตราเร็ว (m/s)


อากาศ 346
ไฮโดรเจน 1,339
ปรอท 1,450
น้่า 1,498
น้่าทะเล 1,531
Note.ส่าหรับตัวกลางชนิดเดียวกัน v จะมี แก้ว 4,540
ค่าเท่ากันเสมอ อะลูมิเนียม 5,000
เหล็ก 5,200

สมการอัตราเร็วของเสียงในตัวกลางต่างๆ อธิบายสมการ
ในของแข็ง v  อัตราเร็วของเสียงในของแข็ง (m/s)
𝑌
𝑣=√ Y  มอดูลัสความยืดหยุ่นของวัตถุ (N/m2)
𝜌
 ความหนาแน่นของวัตถุ (kg/ m3)
ในของของไหล v  อัตราเร็วของเสียงในของไหล (m/s)

𝐵 B  มอดูลัสความยืดหยุ่นของของไหล(N/m2)
𝑣=√
𝜌 (B มาจากค่าว่า Bulk’s Modulus)
  ความหนาแน่นของของไหล (kg/ m3)
ในแก๊ส(จ่า !!) เมื่อ คือ ค่าคงตัวส่าหรับแก๊ส
𝛾𝑃
𝑣=√
𝜌 (เป็นค่าเฉพาะตัวของแก๊แต่ละชนิดหนึ่ง)

𝛾𝑅𝑇
𝑣=√
𝑀

หมายเหตุ : ในระดับ ม.ปลายแล้วจะเน้นไปทีก่ ารหาความเร็วของเสียงในอากาศ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 304

อัตราเร็วเสียงในแก๊สอุดมคติ

 RT จากสมการที่ 4 ที่ t  0 oC  273K  จะได้อัตราเร็วของเสียงใน


v
M อากาศ(v0) = 331 m/s

จากสมการที่ 4 จะเห็นว่า v T ดังนั้น ดังนั้นสมการหาอัตราเร็วเสียงในอากาศเมื่อเทียบกับ v0 คือ

อัตราเร็วที่เปลี่ยนไปจากอุณหภูมิเปลี่ยนเทียบ กับ vt T
จากสมการที่ 5 
v0 T0
อัตราเร็วเดิม จะได้
vt 273  t

v2 T 331 273
 2
v1 T1
1
vt  t 2
 1  
331  273 

จากหลักคณิตศาสตร์ x มีค่าน้อย ;
1
x
จะได้ 1  x  2  1 
2

vt t
 1
331 2  273

331t
vt  331 
2  273

vt  331  0.6t

หมายเหตุ สมการนีจ้ ะใช้ได้กต็ อ่ เมือ่ t  45 oC เท่านั้น

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


305 เสียงและการได้ยนิ

Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


EXAM : 1
Step 2. วาดรูป
Step 1 - 2 Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้( )ค้างไว้

Ex1. คลื่นเสียงไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านบริเวณใด

1. ก่าแพงคอนกรีต 2. น้่า ทะเล 3. อากาศแปรปรวน 4. สุญญากาศ

Ex2. เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่านอากาศ กราฟระหว่างความดันของอากาศ ณ ต่าแหน่งต่าง ๆ ตามแนวการ


เคลื่อนที่ของเสียงและกราฟระหว่างการกระจัดของอนุภาคอากาศตามแนวการเคลื่อนที่ของเสียง จะเป็นดัง
รูปข้อใด

Ex3. อัตราเร็วของเสียงในอากาศนิ่งขึ้นอยู่กับข้อใด
1. ความถี่ของการสั่นของแหล่งก่าเนิด 2. อุณหภูมิ
3. ความเร็วของแหล่งก่าเนิด 4. ความเข้มของเสียง

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 306

Ex4. วางกระดิ่งไฟฟ้าที่ส่งเสียงดังตลอดเวลา และหลอดไฟฟ้าที่ให้แสงสว่างในครอบแก้วที่ภายใน เป็น


สุญญากาศ และสถานการณ์ข้อใดถูกต้อง
1. ไม่ได้ยินเสียงกระดิ่ง เห็นแสงจากหลอดไฟฟ้า
2. ไม่ได้ยินเสียงกระดิ่ง ไม่เห็นแสงจากหลอดไฟฟ้า
3. ได้ยินเสียงกระดิ่ง เห็นแสงจากหลอดไฟฟ้า
4. ได้ยินเสียงกระดิ่ง ไม่เห็นแสงจากหลอดไฟฟ้า

Ex5. ปล่อยก้อนหินลงไปในบ่อลึก 20 เมตร พบว่าอีก 2.06 วินาทีต่อมาได้ยินเสียงก้อนหินกระทบก้นบ่อ


อัตราเร็วของเสียงที่ได้จากข้อมูลนี้เป็นเท่าใด
1. 333 m/s

2. 340 m/s

3. 347 m/s

4. 352 m/s

Ex6. เมื่อเคาะรางอะลูมิเนียมที่ปลายข้างหนึ่ง ปรากฏว่าเสียงเดินทางผ่านอากาศมาถึงปลายอีกข้างหนึ่งช้ากว่า


เสียงที่เดินทางในอะลูมิเนียม 0.01 วินาที ถ้าเสียงเดินทางในอากาศมีความเร็ว 346 เมตรต่อวินาที และ
เดินทางในอะลูมิเนียมมีความเร็ว 5,000 เมตรต่อวินาที จงหาว่าแท่งอะลูมิเนียมนี้ยาวกี่เมตร

(ตอบ 3.7m)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


307 เสียงและการได้ยนิ

Ex7. แก๊สฮีเลียมมีความหนาแน่น 0.179 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร มีค่าคงที่สา่ หรับก๊าซ ( ) 1.67 ที่ความดัน 1


บรรยากาศ และอุณหภูมิ 0๐C จงหาอัตราเร็วของเสียงที่เคลื่อนที่ผ่าน ก๊าซฮีเลียมนี้ เป็นเท่าไร

(ความดัน 1 บรรยากาศ = 1.013x105 นิวตัน/ตารางเมตร)

(ตอบ 972 m/s)

Ex9. เมื่อคลื่นเสียงเคลื่อนที่ผ่านก๊าซไฮโดรเจนซึ่งมีค่าคงที่ ( ) 1.40 ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส


จะมีอตั ราเร็วเท่าใด (M = 2 g/mol, R = 8.31 J/mol.K) (ตอบ 1,321 m/s)

Ex10. แหล่งก่าเนิดเสียงอันหนึ่งสั่นด้วยความถี่ 200 Hz ปล่อยเสียงผ่านอากาศที่อุณหภูมิ 15 ๐C


ระยะห่างระหว่างส่วนอัดและขยายที่อยู่ติดกันที่สุด เป็นกี่เซนติเมตร
(ตอบ 85 cm)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 308

Ex11. ถ้าเห็นฟ้าแลบและได้ยินเสียงฟ้าร้องในเวลา 5 วินาทีต่อมา จงหาต่าแหน่งที่ฟ้าแลบอยู่ไกลเท่าไร


เมื่ออัตราเร็วเสียงในอากาศ 340 เมตร/วินาที (ตอบ 1,700 เมตร)

Ex12. จงหาอัตราส่วนของอัตราเร็วเสียงในอากาศที่อุณหภูมิ 927 ๐C ต่อ 27๐C มีค่าเป็นเท่าใด


(ตอบ 2 เท่า)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


309 เสียงและการได้ยนิ

การบ้านชุดที่ 1

1. แหล่งก่าเนิดเสียงอันหนึ่งสั่นด้วยความถี่ 692 Hz วางไว้ในอากาศที่อุณหภูมิ 25 ๐C อยากทราบว่าคลื่นเสียงที่


ออกจากแหล่งก่าเนิดนี้จะมีความยาวคลื่นเท่าไร

(ตอบ 0.5 m)

2. ส่วนอัดกับส่วนอัดที่ติดกันของคลื่นเสียงในอากาศวัดได้ 0.5 เมตร และแหล่งก่าเนิดเสียงมีความถี่


680 เฮิรตซ์ อยากทราบว่าอุณหภูมิของอากาศบริเวณนั้นเป็นเท่าใด
1. 10๐C
2. 15๐C
3. 20๐C
4. 25๐C

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 310

3. ชายคนหนึ่งก่าลังว่ายน้่า เห็นเรือบรรทุกก่าลังจะจม และเห็นแสงไฟจากการระเบิดของเรือ 1 ครั้ง


แต่ปรากฏว่าได้ยินเสียงระเบิดตามมา 2 ครั้ง ในเวลาห่างกัน 2.4 วินาที ถ้าขณะนั้นอัตราเร็ว
ของเสียงในอากาศ 340 เมตร/วินาที และอัตราเร็วเสียงในน้่า 1496 เมตร/วินาที อยากทราบ
ว่าต่าแหน่งที่เรือจมอยู่ห่างจากชายคนนั้นเท่าใด (ตอบ 1,056 m)

4. ไซเรนอันหนึ่ง มีส่วนประกอบของจานโลหะกลมที่เจาะรูเล็กๆไว้ 40 รู ขณะที่หมุนจานโลหะด้วย


อัตราเร็ว 17 รอบต่อวินาที ก็เป่าลมเข้าไปท่าให้เกิดเสียงไซเรนทุกครั้งที่ผ่านรูเล็กๆนี้
ถ้าขณะนั้นอากาศที่อุณหภูมิ 15 ๐C เสียงไซเรนมีความยาวคลื่นเท่าไร

(ตอบ 0.5 m)
ความถีข่ องเสียงไซเรนส์ = จ่านวนรู x ความถีใ่ นการหมุน

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


311 เสียงและการได้ยนิ

สมบัตขิ องเสียง
เสียงมีสมบัติเช่นเดียวกับคลื่นทั่ว ๆ ไป คือ มีสมบัติการสะท้อน การหักเห การแทรกสอด และการเลี้ยวแบน

Step ความรู้ที่ 3 : สมบัตกิ ารสะท้อนของคลืน่ เสียง (Reflection)

กฎการสะท้อน
1. มุมตกกระทบ ( 1 )=มุมสะท้อน ( 2 )
2. รังสีตกกระทบ ,รังสีสะท้อน และ เส้นแนวฉาก
ต้องอยู่ในระนาบเดียวกัน

ข้อควรจ่า !!
1. คลื่นเสียงสะท้อนได้ก็ต่อเมื่อสิ่งกีดขวางมีขนาดมากกว่าหรือเท่ากับ 𝝀
2. v , f ,  มีค่าคงที่เสมอ

 TRICK !! การแก้โจทย์

1. เขียนรูปทางเดินเสียงซะก่อน
2. ค่านวณทางเดินเสียงจากสูตร 𝑆 แทน ระยะทางที่เสียงเคลื่อนที่
𝑣 แทน อัตราเร็วเสียง
𝑡 แทน เวลาที่เสียงใช้ในการ
เคลื่อนที่
3.1) เสียงก้อง (echo)
เสียงก้อง (echo) คือ การได้ยินเสียงสะท้อนต่อเนื่องกันหลายครั้งถึงแม้ว่าแหล่งก่าเนิดเสียงจะหยุดแล้วก็ตาม
เสียงก้องเกิดจาก เสียงที่สะท้อนใช้เวลาเดินทาง
เวลาของเสี ยงสะท้อน(𝑡2) มาสู่หูมากกว่าเสียงที่เข้าหูโดยตรง 0.1 วินาที

𝑡1 t 2 – t 1 ≥ 0.1

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 312

EXAM :2 Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


Step 2. วาดรูป
การสะท้อนของเสียง Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้(....)ค้างไว้ก่อน

Ex1. ในตอนบ่ายวันหนึ่ง ชายคนหนึ่งเปล่งเสียงไปยังหน้าผาแห่งหนึ่ง ปรากฏว่าได้ยินเสียงของตัวเองสะท้อนกลับมา


หลังจากเปล่งเสียงไปแล้ว 8 วินาที ต่อมาชายคนนี้เดินเข้าหาหน้าผาเป็นระยะทาง 30 เมตร แล้วเปล่งเสียง
อีกปรากฏว่าได้ยินเสียงสะท้อนกลับมาหลังจากเปล่งเสียงไปแล้ว 5 วินาที อยากทราบว่าจุดแรกที่ชายคนนี้ยืนอยู่
ห่างจาหน้าผากี่เมตร
1. 80.0

2. 857.5

3. 1,324.0

4. 1,685.0

Ex2. ชายคนหนึ่งอยู่หน้าก่าแพง หันหน้าตะโกนเสียงเข้าหาก่าแพง ถ้าเขาต้องการให้เกิดเสียงก้องเขาต้องอยู่ห่าง จาก


ก่าแพงอย่างน้อยเท่าใด ก่าหนดให้เสียงมีอัตราเร็วในอากาศ 340 เมตร/วินาที

(ตอบ 17 m)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


313 เสียงและการได้ยนิ

Ex3. (Pat) นักเรียนคนหนึ่งยืนอยู่ห่างจากก่าแพง 102 เมตร ร้องตะโกนออกไป และได้ยินเสียง


ตะโกนของตนเองในเวลา 0.6 วินาที หลังจากตะโกน ถ้าความยาวคลื่นเสียงเป็น 0.5 เมตร ความถี่
ของเสียงที่ได้ยินเป็นกี่เฮิรตซ์
1. 85
2. 122
3. 170
4. 680

Ex4. ชายคนหนึ่งยืนอยู่ระหว่างผา 2 แห่ง แล้วยิงปืนออกไป เขาได้ยินเสียงครั้งแรก ครั้งสองและสามเมื่อ


เวลาผ่านไป 2 และ 3 วินาที นับจากเริ่มยิง จงหาระยะห่าง ระหว่างหน้าผาทั้งสอง ถ้า
ความเร็วเสียงในอากาศเป็น 340 เมตร/วินาที (ตอบ 850 m)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 314

Ex5. เรือล่าหนึ่งลอยอยู่ในทะเลลึก 300 เมตร ส่งคลื่นดลเสียง (sonic pulse) ออกและได้รับสัญญาณ


สะท้อนกลับจากก้นทะเลในเวลา 0.4 วินาที ความเร็วของคลื่นเสียงในน้่าเป็นเท่าใด
(ตอบ 1500 m/s)

Ex6. เรือหาปลาล่าหนึ่งตรวจหาฝูงปลาด้วยโซนาร์ โดยส่งคลื่นดลของเสียงความถี่สูงลงไปในน้่าทะเล ถ้าฝูงปลา


อยู่ห่างจากเครื่องก่าเนิดคลื่นไปทางหัวเรือเป็นระยะ 120 เมตรและอยู่ลึกจากผิวน้่าเป็นระยะ 90 เมตร
หลังจากส่งคลื่นดลจากโซนาร์ไปเป็นเวลาเท่าใด จึงจะได้รับคลื่นที่สะท้อนกลับมา ก่าหนดให้ความเร็ว
เสียงในน้่าทะเลเท่ากับ1,500 เมตร/วินาที
1. 0.1 s 2. 0.2 s
3. 0.3 s 4. 0.4 s

Ex7. เรือล่าหนึ่งวิ่งเข้าหาหน้าผาเรียบด้วยความเร็ว 10 เมตรต่อวินาที เมื่อเปิดหวูดขึ้น คนในเรือได้ยินเสียงหวูด


สะท้อนจากหน้าผาในเวลา 2.0 วินาที ถ้าขณะนั้นความเร็วเสียงในอากาศเป็น 350 เมตรต่อวินาที ขณะ
เปิดหวูดเรือห่างจากหน้าผาเป็นระยะเท่าใด
1. 340 m
2. 350 m
3. 360 m
4. 370 m

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


315 เสียงและการได้ยนิ

Ex8. บอลลูนเคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร็วสม่่าเสมอ 20 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่สูงจากพื้นดินระยะหนึ่งได้ส่งคลื่นเสียง


ความถี่ 1,000 เฮิรตซ์ ลงมา และได้รับสัญญาณเสียงสะท้อนกลับเมื่อเวลา 4 วินาที จงหาว่า ขณะที่ส่ง
คลื่นเสียงบอลลูนอยู่สูงจากพื้นดินเป็นระยะเท่าไร ถ้าความเร็วเสียง 350 เมตร/วินาที

1. 660 เมตร 2. 1,000 เมตร

3. 1,320เมตร 4. 1,400 เมตร

Ex9. เครื่องก่าเนิดเสียง ปล่อยคลื่นเสียงที่มีความถี่ 4 กิโลเฮิรตซ์ พบว่าก้อนหินผิวเรียบพื้นที่ 0.4x0.4 ตารางเมตร


ที่อยู่ใต้ทะเลสะท้อนคลื่นนี้พอดี และคลื่นสะท้อนมาถึงเครื่องรับหลังจากส่งสัญญาณออกไป 2.5 วินาที ถ้าถือว่า
วัตถุจะสะท้อนคลื่นได้ตอ้ งมีขนาดเท่าหรือโตกว่าความยาวคลืน่ นัน้ อยากทราบว่าก้อนหินอยู่ต่ากว่าผิวน้่ากี่เมตร
(ตอบ 2,000 m)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 316
การบ้านชุดที่ 2
1. ถ้าอุณหภูมิของอากาศในขณะนั้นมีค่าเท่ากับ 40 องศาเซลเซียส ชายคนหนึ่งจะได้ยินเสียงสะท้อนของ
เสียงที่เขาตะโกนออกไป เมื่อเขายืนห่างจากผนังตึกอย่างน้อยเท่าไร

(ตอบ 17.75 m)

2. เรือล่าหนึ่งจอดนิ่งอยู่ในทะเล ใช้เครื่องโซนาร์ตรวจพบ วัตถุที่ทิ้งจากเรือลงไปในน้่าโดยได้รับสัญญาณสะท้อนกลับ


จากวัตถุนั้นในเวลา 0.4 วินาที ในเวลา 30 วินาที ต่อมา สัญญาณจะสะท้อนกลับจากวัตถุเดิมในเวลา 0.6 วินาที
วัตถุนั้นจมน้่าด้วยความเร็วเท่าใด (อัตราเร็วของเสียงในน้่าทะเล = 1,531 เมตร/วินาที)

(ตอบ 5.1 m/s)

3. บอลลูนลูกหนึ่งเคลื่อนที่ขึ้นในแนวดิ่งด้วยอัตราเร็วคงที่ ขณะที่อยู่สูงจากพื้นดิน 660 เมตร ส่ง


คลื่นเสียงลงไป และได้รับสัญญาณเสียงสะท้อนกลับเมื่อเวลาผ่านไป 4 วินาที ขณะนั้นอัตราเร็ว
เสียงเท่ากับ 350 เมตร/วินาที จงหาอัตราเร็วเร็วของลูกบอลลูนเป็นกี่เมตร/วินาที
1. 5

2. 10

3. 15

4. 20

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


317 เสียงและการได้ยนิ

4. โรงงานผลิตผลไม้กระป๋องแห่งหนึ่งต้องการคัดขนาดของผลไม้ในขณะก่าลังไหลผ่านมาตามรางน้่าโดยอาศัยการ
สะท้อนของเสียงจากเครื่องโซนาร์ โดยต้องการแยกผลไม้ที่มีขนาดใหญ่กว่าและเล็กกว่า 7.5 เซนติเมตร ออก
จากกัน จงหาความถี่ที่เหมาะสมของคลื่นจากโซนาร์
(ความเร็วของเสียงในน้่า = 1,500 เมตร/วินาที)
1. 1 กิโลเฮิรตซ์
2. 2 กิโลเฮิรตซ์
3. 10 กิโลเฮิรตซ์
4. 20 กิโลเฮิรตซ์

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 318

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


319 เสียงและการได้ยนิ

Step ความรู้ที่ 3 : สมบัตกิ ารหักเหของคลืน่ เสียง (Reflection)


การหักเหของคลื่นเสียงคือการที่คลื่นเสียงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งแล้วท่าให้ความเร็ว
ความยาวคลืน่ ของคลืน่ เสียงเปลี่ยนแปลงไป แต่ความถีไ่ ม่เปลีย่ นแปลง(ทิศทางการเคลื่อนที่อาจเปลี่ยนหรือไม่ก็ได้)

1) บริเวณที่ T สูง ๆ v,  ,  จะมีค่ามาก

2) บริเวณที่ T ต่่า ๆ v,  ,  จะมีค่าน้อย

 1 แทน มุมที่ทศิ ทางการเคลื่อนที่ท่ากับเส้นปกติ(ตัวกลางที่ 1)


 2 แทน มุมที่ทิศทางการเคลื่อนที่ท่ากับเส้นปกติ(ตัวกลางที่ 2)
T1 แทน อุณหภูมิสมบูรณ์ (ตัวกลางที่ 1)
T2 แทน อุณหภูมิสมบูรณ์ (ตัวกลางที่ 2)
v1 แทน อัตราเร็ว (ตัวกลางที่ 1)
v 2 แทน อัตราเร็ว (ตัวกลางที่ 2)
1 แทน อัตราเร็ว (ตัวกลางที่ 1)
2 แทน อัตราเร็ว (ตัวกลางที่ 2)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 320

มุมวิกฤติ (Critical Angle)


และ การสะท้อนกลับหมดของเสียง (Total reflection)

เมื่อคลื่นเสียงเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีอุณหภูมิต่าไปสู่บริเวณที่มีอุณหภูมิสูงกว่าจะเกิดมุมหักเห  2  1 เสมอ
ถ้ามุม  1 โตจนกระทั่งท่าให้มุมหักเห  2 เท่ากับ 90๐ พอดี เราจะเรียกมุมตกกระทบที่ท่าให้มุมหักเหเป็นมุม
90๐ ว่า “มุมวิกฤติ (Critical Angle,  C )”

ซึ่งน้องจะหาค่าของมุมวิกฤติได้จากกฏการหักเห

sin 𝜃ต่า 𝑣ต่า 𝜆ต่า จาก 𝑇ต่า ต่ำ =


sin 90๐
=𝑣 =𝜆 = 𝑇สูง อุณหภูมิต่ำ
สู ง สู ง
สูง =

แทนมุมหักเห

ด้วย 90
ถ้ามุมตกกระทบมีค่ามากกว่ามุมวิกฤติจะไม่เกิดการหักเหอีกต่อไป จะมีแต่การสะท้อนกลับอย่างเดียวเท่านั้น เรา
เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า “การสะท้อนกลับหมด (Total Reflection)”

มุมวิกฤติ และการสะท้อนกลับหมดของเสียง
เกิดเมื่อคลื่นเสียงเคลื่อนที่จาก Tต่่า Tสูง เท่านั้น

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


321 เสียงและการได้ยนิ

ปรากฏการณ์การหักเหของเสียงในธรรมชาติ
1. การมองเห็นฟ้าแลบแต่ไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง
1. การเกิดฟ้าแลบแล้วไม่ได้ยนิ เสียงฟ้าร้อง เนื่ อ งจากคลื่ น เสี ย งที่ ผ่ า นอากาศร้ อ นได้ เ ร็ ว กว่ า
อากาศเย็น ดังนั้นเมื่อคลื่นเสียงที่ผ่านชั้นของอากาศที่อุณหภูมไิ ม่
เท่ากันจะเกิดการหักเหขึ้น ขณะที่เกิดฟ้าแลบจะมีความดันสูง
มาก ณ จุดที่ฟ้าแลบจึงเป็นแหล่งก่าเนิดเสียงที่มีพลังงานสูงมาก
คลื่นเสียงจะเคลื่อนที่จากอากาศตอนบนที่เย็นกว่า มาสู่อากาศ
บริเวณใกล้พื้นดินที่ร้อนกว่าท่าให้เกิดการหักเหของเสียงฟ้าร้อง
เส้นทางเดินของเสีย งจะค่อยๆ เบนออกจากเส้นปกติไ ปเรื่อยๆ
จนกระทั่งมุมตกกระทบโตกว่ามุมวิกฤติ เสียงจะสะท้อนกลับขึ้น
ไปในตอนบนทั้งหมด นี่จึงเป็นค่าตอบว่า ท่าไมบางครั้งเราเห็น
แลบแต่ไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง

2. การหักเหของเสียงตอนกลางวัน
ในเวลากลางวันเสียงจะเคลื่อนที่แถวพื้นดินได้เร็ว กว่าแถวระดับสูง ๆ
ขึ้นไปเนื่องจากอากาศบริเวณพื้นดินมีอุณหภูมิสูงกว่าอากาศเบื้องบน ท่าให้เสียง
หักเหขึ้นสู่บรรยากาศเบื้องบนโค้งออกจากผิวโลก

3. การหักเหของเสียงในเวลากลางคืน
ในเวลากลางคืนพื้นดินจะเย็นเร็วกว่าอากาศที่อยู่เหนือพื้นดินขึ้นไป ดังนั้นอากาศ
แถวพื้นดินจะเย็นกว่าแถวเบื้องบน จึงท่าให้เสียงเคลื่อนที่ในระดับสูงได้ดีกว่าใน
ระดับต่่า เสียงจึงเกิดการหักเหลงสู่เบื้องล่าง แนวทางที่เสียงเคลื่อนที่จึงปรากฏ
โค้งลง

3. การหักเหของเสียงที่เกิดจากลม

นอกจากนี้การหักเหของเสียงยังเกี่ยวข้องกับอัตราเร็วของตัวกลาง ด้วย
เช่น ลม ถ้าลมและคลื่นเสียงเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียงกัน คลื่นเสียง
จะเบนโค้งลงแต่ถ้าลม และคลื่นเสียงเคลื่อนที่สวนทางกัน คลื่นเสียงจะ
เบนโค้งขึ้น

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 322

EXAM : 3 Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


Step 2. วาดรูป
การหักเหของเสียง Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้(....)ค้างไว้

Ex1. เมื่อเสียงเดินทางจากแหล่งก่าเนิดเสียงที่หยุดนิ่งผ่านตัวกลางหนึ่งไปสู่อีกตัวกลางหนึ่ง ปริมาณใด


ของเสียงที่ไม่เปลี่ยนแปลง
1. ความถี่ 2. ความยาวคลื่น 3. อัตราเร็วคลื่น 4. ไม่มีปริมาณใดที่ไม่เปลี่ยนแปลง

Ex2. คลื่นเสียงเคลื่อนที่ในอากาศจากบริเวณที่มีอุณหภูมิ T1 สู่บริเวณที่มีอุณหภูมิ T2 โดย


T1 = 1.21T2 โดยมีมุมตกกระทบเท่ากับ 1 และมีมุมหักเหเท่ากับ 2 จงหาอัตราส่วนระหว่าง
sin 1 กับ sin 2

Ex3. ก่าหนดให้อากาศบริเวณ A มีอุณหภูมิเป็น 4 เท่าของอากาศ บริเวณ B (ในหน่วยเควิน) ถ้าเสียงเดินทาง


จากบริเวณ A ไปยังบริเวณ B แล้ว จงหาอัตราส่วน Sine ของมุมตกกระทบต่อ Sineของมุมหักเห

Ex4. การที่เกิดฟ้าแลบแล้วไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้องเป็นเพราะสมบัติใดของเสียง

1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


323 เสียงและการได้ยนิ

Ex5. ถ้าเสียงเดินทางจากตัวกลาง 1 ไปยังตัวกลาง 2 โดยความยาวคลื่นเสียงเพิ่มเป็น 2 เท่า ของ เดิมจงหามุม


วิกฤต
1. 30๐
2. 45 
3. 60
4. 90

Ex6. เสียงระเบิดใต้น้่า หักเหขึ้นสู่อากาศโดยมีมุมตกกระทบ 30๐ จงหามุมหักเหที่ออกสู่อากาศถ้า

อัตราเร็วเสียงในอากาศและในน้่าเป็น 350 และ 1400 เมตร/วินาที ตามล่าดับ

ตึ๊ม!!

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 324
การบ้านชุดที่ 3

1. จงหามุมตกกระทบที่น้อยที่สุด ซึ่งท่าให้เสียงสะท้อนกลับหมดที่ผิวรอยต่อระหว่างชั้นอากาศที่มี
อุณหภูมิ 8 ๐C กับ 9 ๐C

𝟐𝟖𝟏
(ตอบ 𝛉 = 𝐬𝐢𝐧−𝟏 )
𝟐𝟖𝟐

2. คลื่นเสียงเคลื่อนที่จากตัวกลางที่ 1 โดยเกิดมุมตกกระทบค่าหนึ่งไปสู่ตัวกลางที่ 2 ค่าอัตราส่วน


ความเร็วเสียงของตัวกลาง 1 กับ 2 เป็น 1 : 2 ข้อใดสรุปถูกต้อง
1. มุมวิกฤตในตัวกลางที่ 1 เป็น 30 องศา
2. ถ้ามุมตกกระทบเป็น , มุมหักเหจะได้ 2 
3. อัตราส่วนของความถี่ในตัวกลางที่ 1 เป็น 2 เท่า ของความถี่ในตัวกลางที่ 2
4. ข้อ 1 และ ข้อ 2 ถูก

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


325 เสียงและการได้ยนิ

Step ความรู้ที่ 5 : สมบัตกิ ารแทรกสอดของคลืน่ เสียง (Interference)


เมื่อมีคลื่นเสียง 2 ขบวนเคลื่อนที่มาพบกัน จะท่าให้เกิดการรวมกันของคลื่นเป็นคลื่นลัพธ์
ต่าแหน่งที่คลื่นเสริมกันเรียกว่า ปฏิบพั (Antinode) จะเป็นต่าแหน่งที่เกิดเสียงดัง
ต่าแหน่งที่คลื่นหักล้างกันเรียกว่า บัพ (Node) จะเป็นต่าแหน่งที่เสียงค่อย

แหล่งก่า เนิดอาพันธ์ (Coherent Source) เป็นแหล่งก่า เนิดคลื่นที่มีค วามถี่เท่า กัน และคลื่น ที่
ส่งออกมามีเฟสตรงกัน หรือมีความต่างเฟสคงที่

ถ้าเราต่อล่าโพง 2 ตัวเข้ากับเครื่องก่าเนิดแหล่งก่าเนิดอาพันธ์ เสียงที่กระจายออกจากล่าโพงทั้ง สอง


ตัวจะเกิดการแทรกสอดกัน เราอาจหาต่าแหน่งที่เสียงดังหรือเสียงค่อยได้โดย วิธีเดียวกับการแทรกสอดของ
คลื่นน้่า

แนวปฎิบัพ คือแนวที่ส่วนอัด(สันคลื่น) กับส่วนอัดมาพบกัน ท่า ให้ความดันสูงกว่าปกติ หรือส่วน


ขยาย(ท้องคลื่น) กับส่วนขยายมาพบกันท่าให้ความดันต่่ากว่าปกติ บริเวณแนวปฏิบัพนี้จะเป็นแนวที่ เกิด
เสียงดัง

แนวบัพ คือแนวที่ส่วนอัดกับส่วนขยายมาพบกันก็จะเกิดการหักล้างกันของคลื่นเสียง เกิดเสียงค่อย

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 326

สมการการแทรกสอดของคลืน่ เสียง
กรณีแหล่งก่าเนิดอาพันธ์เฟสตรงกัน กรณีแหล่งก่าเนิดอาพันธ์เฟสตรงข้ามกัน

1. ถ้า P เป็นจุดปฏิบัพ (เสียงดัง) 1. ถ้า P เป็นจุดปฏิบัพ (เสียงดัง)

Path diff = n Path diff = (𝒏 − 𝟎. 𝟓)

S1P –S2P  = 𝑛𝜆 S1P –S2P = (𝒏 − 𝟎. 𝟓)

𝑑 sin 𝛳 = 𝑛𝜆 𝑑 sin 𝛳 = (𝒏 − 𝟎. 𝟓)

เมื่อ n = 0,1,2,3,… เมื่อ n = 1,2,3,…


2. ถ้า P เป็นจุดบัพ (เสียงค่อย) 2. ถ้า P เป็นจุดบัพ (เสียงค่อย)

Path diff = (𝒏 − 𝟎. 𝟓) Path diff = 𝑛𝜆

S1P –S2P = (𝒏 − 𝟎. 𝟓) S1P –S2P  = 𝑛𝜆

𝑑 sin 𝛳 = (𝒏 − 𝟎. 𝟓) 𝑑 sin 𝛳 = 𝑛𝜆

เมื่อ n = 1,2,3,… เมื่อ n = 0,1,2,3,…


ทบทวน : 1) วิธีการหาสูตรสามารถทบทวนได้จากเรื่องคลื่น
X
2) ถ้าจุด P อยู่ไกลมาก ๆ sin   tan  =
L
3) Path diff หมายถึง ผลต่างทางเดินของคลื่น
4) ถ้าโจทย์ให้หาความถี่ต่าสุด ให้แทนค่า n = 1

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


327 เสียงและการได้ยนิ

EXAM : 4 Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


Step 2. วาดรูป
การแทรกสอดของเสียง Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้(.....)ค้างไว้

Ex1. ล่าโพงทั้งสองตัวหันหน้าไปทางเดียวกัน ให้คลื่นความถี่ 680 เฮิรตซ์ และเฟสตรงกัน A เป็นจุดๆ หนึ่งอยู่


หน้า ล่าโพงทั้งสอง ห่างจากล่าโพงเป็นระยะ 10 เมตร และ 13 เมตร ถ้าอัตราเร็วของเสียงในอากาศเท่ากับ
340 เมตร/วินาที อยากทราบว่าจุด A อยู่บนแนวบัพหรือปฏิบัพที่เท่าไร
10m

13m

Ex2. ล่าโพงอาพันธ์ 2 ตัววางห่างกัน 4 เมตร ให้สัญญาณเสียงความถี่ 510 เฮิรตซ์ เฟสตรงกัน


เมื่ออัตราเร็วเสียงขณะนั้นเป็น 340 เมตร/วินาที จงหา
1) แนวปฏิบัพและบัพที่เกิดขึ้นทั้งหมด
2) ระหว่างล่าโพงทั้งสองมีปฏิบัพและบัพกี่แนว

4m

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 328

Ex3. A และ B เป็นล่าโพง 2 ตัววางห่างกัน 2 เมตร ในที่โล่ง P เป็นผู้ฟังห่างจาก A 4 เมตร และห่างจาก B


3 เมตร เสียงความถี่ต่าสุดที่คลื่นหักล้างกันท่าให้ได้ยินเสียงเบาที่สุดเป็นเท่าไร ความเร็วเสียง 340 m/s
1. 85 Hz
2. 170 Hz A
3. 255 Hz 4m

4. 340 Hz 2m
P
B 3m

Ex4. อัตราเร็วเสียงในอากาศ 350 เมตร/วินาที ขณะท่าการทดลองการแทรกสอดของเสียง เมื่อรับฟังเสียง


ทางด้านหน้าล่าโพง ที่ต่าแหน่งต่างๆกัน ในแนวขนานที่ห่างจากล่าโพงประมาณ 2 เมตร โดยหยุดฟังทีละ
ต่าแหน่ง ผลจากการได้ยินเสียงดังรูปเป็นไปตามรูป แสดงว่าความถี่ของเสียงโดยประมาณจากล่าโพงมีค่ากี่
เฮิรตซ์ (ตอบ 2,000 Hz)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


329 เสียงและการได้ยนิ

Ex5. จากรูป A และ B เป็นล่าโพง 2 ตัวอยู่ห่างกัน 3 เมตร ผู้สังเกตยืนอยู่ที่จุด C ซึ่งระยะ BC = 4เมตร


และระยะ AC = 5 เมตร จะได้ยินเสียงชัดเจน อยากทราบว่าเมื่อเขาเดินเป็นเส้นตรงจาก C เข้าหา
B เขาจะรู้สึกว่าได้ยินเสียงจางหายกี่ครั้งก่าหนดความยาวคลื่นจากล่าโพงทั้งสองเป็น 0.5 เมตร และมีเฟส
ตรงกัน

1. 2 ครั้ง 2. 3 ครั้ง
3. 4 ครั้ง 4. 5 ครั้ง

Ex6. จากรูปเป็นท่อซึ่งตรงกลางทางแยกเป็นส่วนโค้งรูปครึ่งวงกลม รัศมี r เท่ากับ 14 เนติเมตร ถ้า


อัตราเร็วของเสียงในท่อเท่ากับ 344 เมตรต่อวินาที ให้คลื่นเสียงเข้าไปในท่อทางด้าน S
ความถี่ของเสียงที่ท่าให้ ผู้ฟังปลายด้าน D ได้ยินเสียงค่อยที่สุดมีค่าเท่าใด
1. 287 Hz
2. 574 Hz
3. 718 Hz
4. 1,076 Hz

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 330
การบ้านชุดที่ 4

1. A และ B เป็นล่าโพงวางห่างกัน 2 เมตร ในที่โล่ง P เป็นผู้ฟังห่างจาก A 4 เมตร และห่างจาก


B 3 เมตร เสียงความถี่ต่าที่หักล้างกันท่าให้ได้ยินเสียงเบาที่สุดเป็นเท่าไร ความเร็วเสียง 340 เมตรต่อวินาที
(ตอบ 170 Hz)
2. S1 และ S2 เป็นล่าโพงอาพันธ์สองตัว ซึ่งอยู่ห่างกัน 6 เมตร ให้เสียงมีเฟสตรงกัน ความถี่เท่ากัน 510 เฮิรตซ์
ปรากฏว่าผู้ที่ยืนอยู่ที่จุด P ได้ยินเสียงชัดเจน O เป็นจุดกึ่งกลางระหว่าง S1 กับ S2 โดย PQ = 20 เมตร และ
PO = 60 เมตร ณ จุด P เดินตรงมายัง Q จะพบว่าเสียงจางหายไปกี่ครั้ง (อัตราเร็วเสียงในอากาศเป็น 340
เมตร/วินาที)

(ตอบ 3 ครัง้ )

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


331 เสียงและการได้ยนิ

Step ความรู้ที่ 6 : การเลีย้ วเบนของคลืน่ เสียง(Diffraction of Sound)


การเลีย้ วเบนของคลืน่ เสียง คือ การที่คลื่นเสียงสามารถอ้อมสิ่งกีดขวางได้

เหตุการณ์ที่ยืนยันได้ว่าเสียงเลี้ยวเบนได้จริง ก็เช่น เสียงน้องๆที่ก่าลังเล่นส่งเสียงดังอยู่หน้าห้องเรียนของเรา


แต่เราอาจมองไม่เห็นนักเรียนเหล่านั้น ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่าเสียงมันเลี้ยวเบนเข้ามาในห้องเรานั่นเอง
หมายเหตุ: เสียงและแสงจัดเป็นคลืน่ ทีเ่ ลี้ยวเบนได้เหมือนกัน แต่เสียงมีความยาวคลืน่ มากกว่าจะเลี้ยวเบนได้ดกี ว่า
เราจึงได้ยินเสียงแต่ไม่เห็นต้นก่าเนิดเสียง )

ค่อย)สมการปฏิบพั (เสียง สมการบัพ(เสียงดัง)

d sin   (n  0.5) d sin   n


เมื่อ n  1,2,3,..... เมื่อ n  1,2,3,.....

Note. ถ้าโจทย์ให้ช่องเปิดที่ท่าให้เกิดเสียงชัดเจนที่สุดให้ใช้

สูตร 𝑑=𝝀 (ดังชัดเจนเมื่อ 𝛌 = ความกว้างของช่องเปิด)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 332

EXAM : 5 Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


Step 2. วาดรูป
การเลีย้ วเบนของเสียง Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้(....)ค้างไว้

Ex1. ในชีวิตประจ่าวัน เรามักเห็นแสงเดินทางเป็นเส้นตรง แต่พบว่าเสียงเดินทางเป็นเส้นโค้งอ้อมมุมตึกได้ เพราะว่า


1.เสียงเป็นคลื่นกล แต่แสงเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
2.เสียงเป็นคลื่นตามยาว แต่แสงเป็นคลื่นตามขวาง
3.ความเร็วของเสียงในอากาศน้อยกว่าความเร็วของแสงมาก
4.ความยาวคลื่นเสียงมีขนาดพอๆ กับขนาดวัตถุขณะที่ความยาวคลื่นของแสงมีขนาดสั้นกว่ามาก

Ex2. เสียงรถยนต์ซึ่งมีความยาวคลื่น 0.4 เมตร ผ่านเข้ามาทางหน้าต่างกว้าง 1 เมตร ในแนวตั้งฉาก จะได้ยิน


เสียงค่อยที่สุดกี่แนว

Ex3. ถ้าอัตราเร็วของเสียงในอากาศขณะหนึ่งเท่ากับ 340 เมตรต่อวินาที เสียงแตรรถยนต์มีความถี่ 68


เฮิร์ตซ์ ก่อนที่รถยนต์จะออกจากซอย คนขับรถบีบแตรเพื่อให้สัญญาณ ท่าให้คนซึ่งยืนอยู่บนทางเท้า ณ
มุมตึกปากซอยได้ยินเสียงสัญญาณแตรชัดเจน จงประมาณขนาดความกว้างของซอย

Ex4. คลื่นเสียงหนึ่งผ่านเข้าทางช่องหน้าต่างกว้าง 0.8 เมตร ในแนวตั้งฉาก ผู้ฟังที่อยู่ข้างหน้าต่างจะได้ยิน


ชัดเจน ถ้าขณะนั้นอุณหภูมิของอากาศ 25 องศาเซลเซียส จงหาความถี่ของเสียงนี้

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


333 เสียงและการได้ยนิ

Step ความรู้ที่ 7 : บีต (Beat)


บีตส์

ความถีบ่ ตี *
𝒇𝟏 , 𝒇𝟐 เป็นความถี่ของแหล่งก่าเนิดเสียง
𝑓b เป็นความถี่บีตส์(จังหวะเสียงดังหรือเสียง
ค่อยใน 1 วินำที)
ความถีข่ องเสียงทีไ่ ด้ยนิ
f เป็นความถี่ของคลื่นเสียงที่เราได้ยิน

การเพิ่มมวล เช่น เอาดินน้่ามันแปะลงไป จะไปมีผลให้ส้อมเสียงมีความถี่ลดลง


การลดมวลลง เช่น ใช้ตะไบเหล็กขูดเนื้อของส้อมเสียงออก จะไปมีผลให้ส้อมเสียงมีความถี่
เพิ่มขึ้น ทั้งหมดนี้สามารถวิเคราะห์ได้จากสมการ

1 k
𝑚 น้อย 𝑓มาก ( เสียงแหลม)
f  :
2 m
𝑚 มาก 𝑓น้อย ( เสียงทุ้ม )

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 334

พิสจู น์ 2 สมการด้านบีต

จากรูปที่ 1 ด้านบน Y1  A sin 1t  A sin 2 f1t

จากรูปที่ 2 ด้านบน Y2  A sin 2t  A sin 2 f2t

จากรูปที่ 3 คลื่นลัพธ์เกิดจาก Y  Y  Y1 2

 Asin 2 f1t  A sin 2 f2t


จากหลักตรีโกณมิติ
 A(sin 2 f1t  sin 2 f 2t ) A B A B
sin A  sin B  2sin cos
2 2

(2 f1t  2 f 2t ) (2 f1t  2 f 2t )


Y  A(2sin 2
cos
2
)

( f1  f 2 ) (f  f )
 2 A sin 2 t cos 2 1 2 t
2 2

( f1  f 2 ) (f  f )
หรือ Y  2 A cos 2 2
t sin 2 1 2 t
2

( f1  f 2 )
 At sin 2 t
2

( f1  f 2 )
ซึ่งมีความถี่เท่ากับ ได้แก่คลื่นเส้นเต็มดังรูปที่ 3
2
( f1  f 2 )
 ความถีข่ องเสียงทีผ่ สู้ งั เกตได้ยนิ ( f ) 
2

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


335 เสียงและการได้ยนิ

จะเห็นได้ว่าคลื่นลัพธ์ที่ได้จะมีแอมพลิจูดมากที่สุดเป็น 2 A (คือ มีแอมพลิจูดลัพธ์เป็น 2


เท่าของคลื่นเดิม) เพราะว่าค่าของ cos มีค่ามากที่สุดเท่ากับ 1

เนื่องจาก ความถี่บีตส์ คือจ่านวนครั้งที่เสียงดังในเวลา 1 วินาที ดังนั้นหนึ่งจังหวะของ


บีตส์ คือช่วงเวลาจากเสียงดังถึงเสียงดังที่ติดกัน จากรูปจะได้ว่า

จากรูป T ของคลื่นแอมพลิจูด = 2T ของบีตส์

1 2
แทนค่า 
ft fb

fb  2 ft

f f 
แทนค่า f t จะได้ว่า fb  2 1 2   f1  f 2
 2 

ดังนั้น จะสรุปได้ว่า

1. ความถี่ของบีตส์ f b  f1  f 2

f1  f 2
2. ความถี่ของเสียงที่ได้ยิน f 
2

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 336

EXAM : 6 Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


Step 2. วาดรูป
บีตส์(Beats) Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้(.....)ค้างไว้

Ex1. คลื่นเสียง 2 คลื่นมีความถี่ 248 เฮิรตซ์ และ 252 เฮิรตซ์ เคลื่อนที่มาพบกันท่าให้เกิดการ


รวมกันของคลื่นทั้งสอง จงหา
ก) ความถี่ของเสียงที่ได้ยิน
ข) จังหวะของการได้ยินเสียงดัง(ความถี่บีต)

Ex2. นักดนตรีคนหนึ่งเล่นไวโอลิน ความถี่ 507 เฮิรตซ์ และนักดนตรีอีกคนหนึ่งเล่นกีตาร์ ความถี่ 512


เฮิรตซ์ ถ้าทั้งสองเล่นพร้อมกันปรากฏการณ์บีตส์ที่ความถี่เท่าใด

1. 2.5 Hz 2. 5.0 Hz 3. 10 Hz 4. 509.5 Hz

Ex3. คลื่นเสียงจากแหล่งก่าเนิดเสียงสองแหล่ง เมื่อมาซ้อนทับกันแล้วเกิดบีตส์ 5 ครั้งต่อวินาทีถ้าคลื่นเสียงที่ทุ้ม


กว่ามีความถี่ 438 เฮิรตซ์ คลื่นเสียงอีกคลื่นหนึ่งจะมีความถี่กี่เฮิรตซ์
1. 433
2. 435.5
3. 440.5
4. 443

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


337 เสียงและการได้ยนิ

Ex4. ในการปรับเทียบเสียงของเปียโนระดับเสียง C โดยเทียบกับส้อมเสียงความถี่ 256.0 Hz ถ้าได้ยินเสียงบีตส์


ความถี่ 3.0 ครั้ง/วินาที ความถี่ที่เป็นไปได้ของเปียโนมีค่าเท่าใด
1. 256 Hz 2. 254.5 หรือ 257.5 Hz
3. 253 หรือ 259 Hz 4. 250 หรือ 262 Hz

Ex5. หูคนเราจะได้ยินเสียงบีตส์ชัดเจนก็ต่อเมือ่

ก. ความถี่ของคลื่นเสียงทั้งสองจะต้องต่างกันไม่เกิน 7 เฮิร์ตซ์
ข. แอมพลิจูดของคลื่นเสียงทั้งสองจะต้องไม่ต่างกันมาก
ค. ไม่จ่าเป็นต้องเกิดจากแหล่งก่าเนิดเสียงชนิดเดียวกัน
1. ก. และ ข. ถูก 2. ก.และ ค. ถูก 3. ข.และ ค. ถูก 4. ก. ,ข. และ ค

Ex6. ถ้าต้องการให้เกิดเสียงดังเป็นจังหวะๆ ห่างกันทุกครึ่งวินาทีจะต้องเคาะซ้อมเสียงซึ่งมีความถี่ 500


Hz พร้อมกับส้อมเสียงที่มีความถี่เท่าไหร่

(ตอบ 498 หรือ 502 Hz)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 338

Ex7. ส้อมเสียงที่ไม่รู้ค่าความถี่อันหนึ่งเกิดบีตส์ 4 ครั้ง/วินาที กับส้อมเสียงมาตรฐานความถี่ 375


เฮิรตซ์ เมื่อเอาขี้ผึ้งทาที่ปลายส้อมเสียงอันที่ไม่ทราบค่า ความถี่บีตส์จะเพิ่มขึ้นจงหาความถี่ของส้อมเสียงที่ไม่
ทราบค่านี้ (ตอบ 371 Hz)

𝑓1 = 375𝐻𝑧

Ex8. ส้อมเสียงที่ไม่รู้ค่าความถี่อันหนึ่งเกิดบีตส์ 5 ครั้ง/วินาที กับส้อมเสียงมาตรฐานความถี่ 500


เฮิรตซ์ เมื่อเอาขี้ผึ้งทาที่ปลายส้อมเสียงอันที่ไม่ทราบค่า ความถี่บีตส์จะลดลงจงหาความถี่ของส้อมเสียงที่ไม่
ทราบค่านี้
𝑓1 = 500𝐻𝑧

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


339 เสียงและการได้ยนิ
การบ้านชุดที่ 6

1. คลื่น 2 ขบวน A และ B มีแอมพลิจูดเท่ากัน คลื่นละ 2 เซนติเมตร มีความถี่ 200 และ 204 เฮิรตซ์
ตามล่าดับถ้าคลื่นทั้งสองเข้ารวมกันเป็นคลื่น C ความถี่ของคลื่น C และความถี่บีตส์ของคลื่น C มีค่าเท่าใด ใน
หน่วยของเฮิรตซ์

1. 200 และ 2 2. 202 และ 4 3. 204 และ 6 4. 206 และ 8

2. ส้อมเสียง 3 อัน มีความถี่เท่ากับ f1, f2 และ f3 ตามล่าดับโดยที่ f1 < f2 < f3 ถ้าเคาะส้อมเสียงอันแรกกับอันที่


สองพร้อมกันท่าให้เกิดบีตส์มีความถี่ 2 เฮิรตซ์ แต่ถา้ เคาะอันที่สองกับอันที่สามพร้อมกันจะเกิดบีตส์มีความถี่ 4
เฮิรตซ์ ถ้าเคาะอันที่หนึ่งกับอันที่สามพร้อมกันจะได้ยินเสียงดังกี่ครั้งใน 1 วินาที
(ตอบ 6 ครัง้ /วินาที)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 340

Step ความรู้ที่ 8 : การสัน่ พ้องของเสียง


8.1) กรณีที่ 1 การสัน่ พ้องในหลอดทีป่ รับความยาวได้ (ใช้เสียงที่มีความถี่คงที่ ,𝝀 คงที่)

ถ้าเราส่งคลื่นเสียงความถี่คงที่ค่าหนึ่งจากล่าโพงเข้าไปทางปากหลอดเรโซแนนซ์ เมือ่ ค่อยๆ เลือ่ นต่าแหน่ง


ของลูกสูบออกจากปากหลอดเพือ่ ปรับความยาวของหลอดให้พอเหมาะ จนเกิดเสียงดังกว่าปกติออกมาจากหลอด
(เกิดกำรสันพ้องของเสียง: ควำมถีจำกล่ำโพงเสียง = ควำมถีธรรมชำติของ
โมเลกุลอำกำศในหลอด)

การสัน่ พ้องครัง้ แรก



ความยาวของล่าอากาศในหลอด 
4
(มันมีควำมคลำดเคลือน
เกิดขึ้นที่ปลากหลอด) ในการค่านวณหาก
เลือกได้เราจะไม่ใช้ข้อมูลตรงนี้มาค่านวณ

การสัน่ พ้องครัง้ ต่อ ๆ ไป



ระยะเลื่อนของหลอด 
2

คลายโจทย์ >> การสะท้อนของคลืน


่ เสียง

Step1. วาดรูป Loop ที่เกิดขึ้นในหลอดเพื่อหา 

Step2. เข้าสมการ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


341 เสียงและการได้ยนิ

8.2) กรณีที่ 2 การสัน่ พ้องในหลอดทีม่ คี วามยาวคงที(่ ปรับความถีข่ องเสียง ,𝝀 เปลีย่ น)


ถ้าเราส่งคลื่นเสียงจากล่าโพงเข้าไปทางปากหลอดเรโซแนนซ์ เมือ่ ปรับความถีข่ องแหล่งก่าเนิดให้พอเหมาะ
จะเกิดการสั่นพ้องของเสียงขึ้น
1. การสัน่ พ้องในหลอดปลายปิด(เปิด 1 ด้าน) 2. การสัน่ พ้องในหลอดเปิด 2 ด้าน

𝐿 𝐿

ดัง1 ดัง2 ดัง3 ดัง1 ดัง2 ดัง3

เมือ่ ค่อยๆปรับความถีข่ องล่าโพงจะพบว่า เมือ่ ค่อยๆปรับความถีข่ องล่าโพงจะพบว่า


การสัน่ พ้องครัง้ แรก f ต่า่ สุด(ความถีม่ ลู ฐาน) การสัน่ พ้องครัง้ แรก f ต่า่ สุด(ความถีม่ ลู ฐาน)
 
ความยาวของล่าอากาศในหลอด  ความยาวของล่าอากาศในหลอด 
4 2
ดังครัง้ ต่อๆไป ให้วาดรูปเพิ่มทีละ 1 Loop ดังครัง้ ต่อๆไป ให้วาดรูปเพิ่มทีละ 1 Loop
 
หรือเพิ่มทีละ หรือเพิ่มทีละ
2 2

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 342

การเรียกความถีข่ องคลืน่ นิง่ ในหลอดเรโซแนนซ์


ความถีม่ ลู ฐาน หรือความถีห่ ลัก ความถีโ่ อเวอร์โทน ความถีฮ่ าร์มอนิก
(Fundamental) (Overtone) (Harmonic)
คือ ความถี่ต่าสุดของคลื่นนิ่งที่ คือ ความถี่ของคลื่นนิ่งที่ถัด คือ ตัวเลขที่บอกให้ทราบว่าความถี่
จะเกิ ด การสั่ น พ้ อ งได้ หรื อ ความถี่ จากความถี่มูลฐาน ขณะนั้นเป็นกี่เท่าของความถี่มูลฐาน
ของการเกิดสั่นพ้องครั้งแรก

ความถีท่ ที่ ่าให้หลอดปลายปิดสั่นพ้อง ความถีท่ ที่ ่าให้หลอดปลายเปิดสัน่ พ้อง

จะให้เสียงครบทุกฮาร์มอนิก
จะให้เสียงเฉพาะฮาร์มอนิกที่
เป็นเลขคีเ่ ท่านัน้

ข้อสังเกต: ข้อสังเกต:
กำรสันพ้องจะเกิดขึ้นได้ ก็ต่อเมือ กำรสันพ้องจะเกิดขึ้นได้ ก็ต่อเมือ
ปรับควำมถี(𝑓) ให้เพิมขึ้นเป็น 3 ,5,7… ปรับควำมถี(𝑓) ให้เพิมขึ้นเป็น 2 ,3,4…
เท่ำของควำมถีมูลฐำน เท่ำของควำมถีมูลฐำน
ควำมยำวคลืน(𝝀) จะสั้นลงโดยสั้นลง ควำมยำวคลืน(𝝀) จะสั้นลงโดยสั้นลง
ดังครัง้ ที่ ความถี่ ฮาร์มอนิก โอเวอร์โทน ดังครัง้ ที่ ความถี่ ฮาร์มอนิก โอเวอร์โทน
3,5 ,7….เท่ำ 2,3 ,4….เท่ำ
f1  1 f1 (ความถี่ มูล - f1  1 f1 (ความถี่ มูล -
1 ฐาน
1 ฐาน

f 2  3 f1 ฮาร์มอนิกที3่ โอเวอร์โทนที่ 1 f 2  2 f1 ฮาร์มอนิกที่2 โอเวอร์โทนที่ 1


2 2
(3เท่าของ f1) (2เท่าของ f1)

f3  5 f1 ฮาร์มอนิกที่5 โอเวอร์โทนที่ 2 f3  3 f1 ฮาร์มอนิกที่3 โอเวอร์โทนที่ 2


3 3
(5เท่าของ f1) (3เท่าของ f1)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


343 เสียงและการได้ยนิ

EXAM : 7 Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


Step 2. วาดรูป
การสัน่ พ้องของเสียง Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้(....)ค้างไว้

Ex1. ท่อทรงกระบอกปลายปิดข้างหนึ่งยาว 2 เมตร ความถี่ต่าที่สุดของคลื่นเสียงที่ท่าให้เกิดการสั่นพ้องในท่อนี้จะ


เท่ากับกี่เฮิรตซ์ ก่าหนดความเร็วของเสียงในอากาศเท่ากับ 340 เมตรต่อวินาที
(ไม่ต้องคิด end - correction)
1. 170
2. 85
3. 42.5
4. 21.25

Ex2. จากข้อ1 ถ้าค่อยๆ ปรับความถี่ให้สูงขึ้นจงหาความถี่ที่ท่าให้เกิดเสียงดังครั้งที่สอง และครั้งที่ 3

Ex3. กระบอกตวงใบหนึ่ง เมื่อเติมน้่าโดยผิวน้่าต่่าจากปากหลอด 50 เซนติเมตร และขณะนั้นอากาศ


มีอุณหภูมิ 25 ๐C จะต้องให้คลื่นเสียงที่มีความถี่ต่าสุดเท่าไร เข้าไปในกระบอกตวงนี้ แล้วเกิด
การสั่นพ้องของเสียงได้ (ตอบ 173 Hz)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 344

Ex4. หลอดปลายเปิดและหลอดปลายปิดยาวเท่ากัน 1 เมตร และขณะนั้นเสียงมีอัตราเร็ว 340 เมตร/วินาที จงหา


ความถี่ของเสียง 3 ล่าดับแรกที่ท่าให้เกิดการสั่นพ้องของเสียง (ไม่ต้องคิด end - correction)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


345 เสียงและการได้ยนิ

Ex5. จากการทดลองปรากฏว่า ถ้าเคาะส้อมเสียงซึ่งมีความถี่ 346 รอบต่อวินาที หน้าหลอดก่าทอนจะ


เกิด ก่าทอนขึ้นครั้งแรกที่ระยะ 25 เซนติเมตร อุณหภูมิของอากาศขณะนั้นกี่องศาเซลเซียส
(ไม่ต้องคิด end - correction)

1. 25
2. 24
3. 22
4. 20

Ex6. จากการทดลองปรากฏว่า ถ้าเคาะส้อมเสียงอันหนึ่งซึ่งมีความถี่ 346 เฮิรตซ์ หน้าหลอดเรโซแนนซ์จะเกิด


การสั่นพ้องของเสียงครั้งแรกที่ระยะ 25 เซนติเมตร อุณหภูมิของอากาศขณะนั้นกี่องศาเซลเซียส
(ไม่ต้องคิด end - correction)
(ตอบ 25oC)

Ex7. จงเลือกหลอดก่าทอนปรับความยาวได้โดยให้เลือกอันที่สั้นที่สุด เพื่อจะใช้กับคลื่นที่มีความถี่ 700 Hz แล้ว


เกิดก่าทอนได้ 3 ครั้ง ก่าหนดความเร็วเสียงเป็น 350 m/s
1. หลอดยาว 40 cm
2. หลอดยาว 50 cm
3. หลอดยาว 60 cm
4. หลอดยาว 70 cm

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 346

Ex8. จากการทดลองเรื่องการก่าทอนของเสียงโดยใช้หลอดก่าทอน พบว่าเกิดก่าทอนครั้งแรกและครั้งที่สองระยะ


0.15 เมตร และ 0.50 เมตร จากปากท่อตามล่าดับ ถ้าความเร็วของเสียงในขณะนั้นเท่ากับ 350 เมตรต่อ
วินาที จงหาความถี่ของคลื่นเสียงที่ใช้
1. 450 เฮิรตซ์
2. 500 เฮิรตซ์
3. 600 เฮิรตซ์
4. 1,000 เฮิรตซ์

Ex9. ส้อมเสียงอันหนึ่งเมื่อเคาะแล้วน่ามาจ่อที่ปากหลอดเรโซแนนซ์ ปรากฏว่าจะเกิดเสียงดังที่สดุ เมื่อลูกสูบอยู่ห่าง


จากปากหลอดเป็นระยะ 10, 30 และ 50 เซนติเมตร ตามล่าดับ ถ้าส้อมเสียงมีความถี่ 850 เฮิรตซ์ จง
หาอัตราเร็วของเสียงในอากาศขณะนั้น
(ตอบ 340 m/s)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


347 เสียงและการได้ยนิ

Ex10. หลอดปลายเปิด 2 ข้าง ปลายข้างหนึ่งจุ่มลงในน้่าให้อยู่ใต้ผิวน้่าส่วนหนึ่ง จัดระดับน้่าในหลอดให้ได้เสียงดัง


ที่สุด เมื่อน่าส้อมเสียงที่ก่าลังสั่นอยู่มาจ่อเหลือปากหลอด พบว่ามี 2 ต่าแหน่งที่เสียงดังที่สุด ต่าแหน่งแรกหลอด
จมลงในน้่าเป็นระยะ 10 เซนติเมตร และต่าแหน่งที่สอง หลอดจมลงในน้่าเป็นระยะ 35 เซนติเมตร ถ้า
ความเร็วของเสียงในอากาศเท่ากับ 340 เมตรต่อวินาที ถามว่าส้อมเสียงนั้นมีความถี่เท่าใด

Ex11. ในการทดลองเรื่องการสั่นพ้องของเสียงโดยใช้หลอดเรโซแนนซ์ยาว 110 เซนติเมตร พบว่าต่าแหน่งของ


ลูกสูบที่ท่าให้เกิดการสั่นพ้องของเสียงจะอยู่ห่างจากปลายหลอดด้านติดล่าโพง 20 เซนติเมตร ถามว่าถ้าเรา
เลื่อนลูกสูบออกไปจากล่าโพงจากต่าแหน่งปลายหลอดถึงปลายหลอดอีกด้านหนึ่ง จะเกิดการสั่นพ้องของเสียง
ทั้งหมดกี่ครั้ง (ตอบ 3 ครัง้ )

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 348

Ex12. ท่อออร์แกนปลายเปิดสองท่อ ซึ่งยาว 240 เซนติเมตร และ 242 เซนติเมตร ให้เสียงความถี่มูลฐานพร้อม


กันทั้งสองท่อ จะเกิดเสียงบีตส์กี่ครั้งในเวลา 10 วินาที ถ้าความเร็วเสียงในอากาศคือ 348 เมตรต่อวินาที

1. 2 ครั้ง
2. 3 ครั้ง
3. 4 ครัง้
4. 6 ครัง้

Ex13. หลอดก่าทอนปลายเปิดทั้ง 2 ข้าง เมื่อเกิดก่าทอนกับคลื่นเสียงที่มีความถี่ 350 เฮิรตซ์ ภายในหลอดจะมี


ต่าแหน่งบัพกี่บัพ ถ้าหลอดยาว 1.5 เมตร และความเร็วเสียงในอากาศขณะนั้นเท่ากับ 350 เมตร/วินาที

1. 1 บัพ
2. 2 บัพ
3. 3 บัพ
4. 4 บัพ

Ex14. ในการทดลองเรื่องการวัดความยาวคลื่นเสียง ถ้าต่าแหน่งลูกสูบใกล้ปากหลอดเรโซแนนซ์มากที่สุดที่ให้


เสียงดังมากมีระยะห่างจากปลายหลอดเรโซแนนซ์ x มีค่าเป็น 20 เซนติเมตร พบว่าความถี่ของ
สัญญาณเสียงมีค่า 520 เฮิรตซ์ การทดลองนี้จะได้ยินเสียงดังมากอีกครั้งเมื่อ
1. ลดความถี่เป็น 130 Hz 2. เพิ่มความถี่เป็น 1560 Hz
3. ลดระยะทาง x เป็น 10 cm 4. เพิ่มระยะทาง x เป็น 80 cm
ทบทวน

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


349 เสียงและการได้ยนิ

8.3) การสัน่ พ้องของสายกีตาร์


ตัวอย่ำง: การวาดรูปการสั่นพ้องที่เกิดขึ้นเพื่อใช้ค่านวณหา 𝝀

ความถีห่ ลักหรือความถีม่ ลู ฐาน 0.5𝜆 = 𝐿 (นิยมออก


สอบ)

𝐇𝐚𝐫𝐦𝐨𝐧𝐢𝐜 ที่ 2 1𝜆 = 𝐿

𝐇𝐚𝐫𝐦𝐨𝐧𝐢𝐜 ที่ 3 1.5𝜆 = 𝐿

คลายโจทย์ >> ความร็วคลืน่ ในเส้นเชือก

ความเร็วคลื่นในเส้นเชือกจะขึ้นกับความตึงเชือก (สายกีตาร์) ดังนี้

การหา 𝝀 ต้องวาดรู ปคลื่นนิ่งที่เกิดขึ้น

โดย 𝑣 แทน ความเร็วเสียงในเส้นเชือก(สายกีตาร์)


𝑓 แทน ความถี่ของคลื่นในเส้นเชือก ซึ่งมีค่าเท่ากับความถี่ของคลื่นเสียง(𝑓แหล่งก่าเนิด = 𝑓เสียง )
T แทน แรงตึง (N)
 แทน ความหนาแน่นเชิงเส้นของเชือก (kg/m) โดย µ = 𝑚𝐿

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 350

Ex15. สายกีตา้ ร์เส้นหนึ่งตรึงที่จุด 2 จุด ที่มีระยะ 50 เซนติเมตร ถ้าดีดสายกีต้าร์จะให้เสียงความถี่หลัก 440


เฮิรตซ์ จะต้องใช้นิ้วกดที่จุดซึ่งห่างจากจุดตรึงข้างหนึ่งเป็นระยะเท่าใดจึงจะให้เสียงความถี่หลัก 550 เฮิรตซ์
1. 6.3 cm
2. 7.5 cm
3. 10.0 cm
4. 15.0 cm

Ex16. ลวดยาว 100 เซนติเมตร ขึงให้ตรึงที่ปลายทั้งสองข้าง เมื่อดีดตรงกลางจะเกิดเสียงบีตส์ 4 ครั้ง/วินาที


กับส้อมเสียงอันหนึ่งและเมื่อเปลี่ยนความยาวของลวดเป็น 102 เซนติเมตร โดยไม่เปลี่ยนความตึง จะเกิด
เสียงบีสต์ 4 ครั้ง/วินาที กับส้อมเสียงอันเดิม จงหาความเร็วของคลื่นในเส้นลวด
1. 204 m/s
2. 404 m/s
3. 408 m/s
4. 816 m/s

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


351 เสียงและการได้ยนิ

Ex17. เส้นลวดยาว 1 เมตร ถูกดึงด้วยแรงดึงขณะหนึ่ง เมื่อดีดจะเกิดเสียงที่มีความถี่มูลฐานเป็น 200 Hz ถ้าเพิ่ม


แรงดึงอีก 900 นิวตัน จะท่าให้ความถี่มูลฐานของเสียงที่เกิดจากลวดเส้นนี้เปลี่ยนไปเป็น 400 Hz อยากทราบ
ว่า มวลของเส้นลวดนี้เท่ากับเท่าไรใด
1. 1.22 g
2. 1.44 g
3. 1.66 g
4. 1.88 g

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 352
การบ้านชุดที่ 7

1. โดยปกติคลื่นเสียงจะเข้าสู่ระบบการรับฟังเสียงของหูคนเราโดยผ่านช่องรูหู (ear canal) ไปตกกระทบเยื่อแก้วหู


ที่ปลายช่องรูหูซึ่งจะสั่นตามจังหวะของคลื่นเสียงนั้น ช่องรูหูจึงเป็นด่านแรกที่ช่วยขยายสัญญาณเสียงที่ผ่านเข้าไป
ถ้าความยาวของช่องรูหูของคนทั่วไปมีค่าประมาณ 2.5 เซนติเมตร แสดงว่าคนเราควรจะรับฟังเสียงความถี่
ประมาณกี่เฮิรตซ์ได้ไวเป็นพิเศษ (ความเร็วเสียง 350 m/s)

1. 3,000
2. 3,500
3. 4,600
4. 7,000

2. ถ้าหลอดเรโซแนนซ์ที่ใช้ในการทดลองเรื่องเสียงชุดหนึ่งจะให้ความดังสูงสุดสามครั้ง เมื่อเลื่อนต่าแหน่งลูกสูบไปตาม
ความยาวของหลอดเรโซแนนซ์ ถ้าต่าแหน่งสุดท้ายดังเมื่อลูกสูบห่างจากล่าโพงมากที่สุดและห่างจากปลายกระบอกสูบ
100 เซนติเมตร อยากทราบว่าล่าโพงสั่นด้วยความถี่กี่เฮิรตซ์ ก่าหนดให้ความเร็วเสียงในอากาศมีค่าเป็น 348
เมตร/วินาที (435 เฮิรตซ์)

3. ในการทดลองการเกิดการสั่นพ้องในหลอดเรโซแนนซ์ 4 หลอด จากการทดลองพบว่า ได้ยินเสียงดังที่สุด


ครั้งแรก เมื่อลูกสูบอยู่ที่ต่าแหน่ง จากปากหลอดเป็นระยะ 12.0, 13.0, 11.5, 11.5 เซนติเมตร ตามล่าดับ
และได้ยินเสียงดังที่สุดครั้งต่อไป เมื่อลูกสูบอยู่ที่ต่าแหน่งจากปากหลอด เป็นระยะ 36.0, 37.5, 35.5,
35.0 เซนติเมตร เมื่อลูกสูบอยู่ที่ต่าแหน่งจากปากหลอดเสียงที่ใช้ทดลอง ถ้าความเร็วเสียงในอากาศคือ
336 เมตร/วินาที จงหาความถี่ของแหล่งก่าเนิดเสียง (ตอบ 700 Hz)

4. จากการทดลองการสั่นพ้องของเสียง ถ้าแหล่งก่าเนิดเสียงมีความถี่ 100 เฮิรตซ์ และท่าการทดลองในขณะมี


อุณหภูมิ 15 ๐C อยากทราบว่าต่าแหน่งของลูกสูบที่ท่าให้เกิดการสั่นพ้องของเสียง 2 ครั้งต่อเนื่องกันจะห่าง

กันเท่าไร (ตอบ 0.17 m)

5. ในการทดลองเรื่องการสั่นพ้องของเสียง ได้ผลการทดลองดังนี้ จงหาอัตราเร็วเสียงในอากาศ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


353 เสียงและการได้ยนิ

ต่าแหน่งของลูกสูบขณะเกิดเสียงดังเพิม่ ขึน้
ความถี่ (kHz) x2-x1 (m)
x1 (m) x2 (m)

1 0.25 0.42

(ตอบ 340 m/s)

6. ในการทดลอง การสั่นพ้องของสียงท่าการทดลองสองครั้งโดยใช้เสียงที่มีความถี่ต่างกัน A และ B เมื่อ


เลื่อนลูกสูบออกอย่างช้าๆจะได้ยินเสียงที่ดังที่สุดสองครั้ง เมื่อใช้ความถี่ A และได้ยินเสียงดังที่สุดห้าครั้งเมื่อ
ใช้ความถี่ B โดยที่เสียงดังที่สุดครั้งสุดท้ายของทั้งสองความถี่เกิดที่ต่าแหน่งเดียวกันของกระบอกสูบ ถ้า
ความถี่ A เท่ากับ 900 เฮิรตซ์ ความถี่ B มีค่ากี่เฮิรตซ์
(ตอบ 2,700 Hz)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 354

7. เมื่อน่าล่าโพงที่ก่าลังส่งเสียงความถี่ 700 เฮิรตซ์ ไปจ่อที่ปลายเปิดของหลอดแก้วที่มีปลายอีกข้าง หนึ่งปิด


และตั้งอยู่บนพื้นราบ ถามว่าจะต้องเติมน้่าลงในหลอดแก้วที่ลูกบาศก์เซนติเมตรเพื่อท่าให้ได้ยินเสียงดัง
มากกว่าปกติออกมาจากหลอดแก้ว ก่าหนดให้ หลอดแก้วมีพื้นที่หน้าตัด 10 ตารางเซนติเมตร ยาว 13
เซนติเมตร และความเร็วเสียงในอากาศ 350 เมตร/วินาที
1. 1
2. 3
3. 5
4. ไม่มีโอกาสท่าได้

8. ส้อมเสียงอันหนึ่ง เมื่อเคาะเหนือท่อเรโซแนนซ์ เกิดเสียงดังครั้งแรกเมื่อน้่าอยู่ต่าจากปากท่อ 17 เซนติเมตร


และดังครั้งที่สองเมื่อน้่าอยู่ต่ากว่าปากท่อ 53 เซนติเมตร ส้อมเสียงอีกอันหนึ่งมีความถี่ 450 เฮิรตซ์ท่า
ให้เกิดเสียงดังครั้งที่สองเมื่อน้่าอยู่ต่าจากปากท่อ 59 เซนติเมตร และดังครั้งที่สามเมื่อน้า่ อยู่ต่าจากปากท่อ
99 เซนติเมตร ส้อมเสียงอันแรกมีความถี่กี่เฮิรตซ์
(ตอบ 500 Hz)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


355 เสียงและการได้ยนิ

9. ส้อมเสียง x ไม่ทราบความถี่ธรรมชาติและ ส้อมเสียง A มีความถี่ธรรมชาติ 90 Hz เมื่อท่าการเทียบ


เสียงส้อมเสียงทั้งสองกับสายกีต้าร์เสันหนึ่งพบว่าเกิดบีตส์ 5 ครั้ง/วินาที เหมือนกัน แต่ถ้าท่าการเทียบ
เสียงส้อมเสียง ทั้งสองกับหลอดก่าทอนจะพบว่า ต่าแหน่งการเกิดก่าทอนครั้งแรกของส้อมเสียง x ลูกสูบ
อยู่ต่าจากปากหลอด มากกว่าต่าแหน่งการเกิดก่าทอน ครั้งแรกของส้อมเสียง A ถามว่า ส้อมเสียง x มี
ความถี่ธรรมชาติเป็นเท่าไร
1. 80 Hz
2. 85 Hz
3. 90 Hz
4. 100 Hz
10. เคาะส้อมเสียงสองอันพร้อมกัน ปรากฏว่าเกิดบีตส์ 5 ครั้งต่อวินาที ส้อมเสียงอันที่เสียงทุ้มกว่ามีความถี่
505 Hz น่าส้อมเสียงอีกอันไปทดลองการสั่นพ้องที่ปากหลอดเรโซแนนซ์ จงหาว่าจะเกิดการสั่นพ้อง
ครั้งที่สองเมื่อลูกสูบห่างจากปากหลอดเรโซแนนซ์กี่เซนติเมตร
(ก่าหนด อัตราเร็วเสียงในอากาศเท่ากับ 340 เมตรต่อวินาที) (ตอบ 50cm)

11. ส้อมเสียงอันหนึ่งเกิดการสั่นพ้องของเสียงครั้งแรกและครั้งที่สองกับหลอดเรโซแนนซ์ยาว 32 เซนติเมตรและ 100


เซนติเมตร ตามล่าดับ ส้อมเสียงอีกอันหนึ่งเกิดการสั่นพ้องของเสียงครั้งแรกและครั้งที่สองกับหลอดเรโซแนนซ์ยาว
33 เซนติเมตร และ 99 เซนติเมตรตามล่าดับ เมื่อเคาะส้อมเสียงทั้งพร้อมกัน จะเกิดบีตส์กี่ครัง้ /วินาที เมื่อส้อม
เสียงอันแรกมีความถี่ 250 เฮิรตซ์

(ตอบ 7.58 ครัง้ /วินาที)

12. สมมติว่าขวด ก และ ข เป็นชนิดเดียวกัน ขนาดเท่ากัน แต่มีระดับน้า่ ในขวดต่างกัน


a) เมื่อใช้ไม้เคาะด้านข้างขวด ขวดใดมีระดับเสียงสูงกว่า
b) ถ้าเป่าที่ปากขวดท่าให้เกิดเสียงแทน เสียงจากขวดใดมีระดับเสียงสูงกว่า
1. ก, ก 2. ก, ข
3. ข, ก 4. ข, ข

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 356

Step ความรู้ที่ 9 : ความเข้มเสียง (Sound Intensity)


ความเข้มของเสียง (Intensity, I) คือ

ความเข้มเสียงน้อย 
ความเข้มเสียงมาก 

นิยามความเข้มเสียง ความเข้มเสียง ณ จุด


ใด ๆ คือ พลังงานของเสียงทีต่ กตัง้ ฉากกับ
พืน้ ทีห่ นึง่ ตารางหน่วยใน 1 วินาที

𝐼 แทน ความเข้มเสียง (W/m2)


เสียงเบาสุดที่คนปกติได้ยนิ
𝑃 แทน ก่าลังเสียงของแหล่งก่าเนิด (W)
𝐴 แทน พืน้ ที่ที่รองรับพลังงานเสียง
เสียงดังสุดที่คนปกติเริม่ ทนไม่ไหว
𝑅 แทน รัศมีทรงกลม (ระยะห่างจาก
แหล่งก่าเนิดถึงผู้ฟัง)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


357 เสียงและการได้ยนิ

Step ความรู้ที่ 10 : ระดับความเข้มเสียง


ระดับความเข้มของเสียง(  ) คือ ตัวบ่งบอกความดังของเสียงที่ได้ยิน โดยเทียบความเข้มที่ต้องการวัดกับ
ความเข้มเสียงที่เบาที่สุดที่หูคนปกติได้ยิน

โดย Io = 10-12 W/m2


เมื่อ 𝛽 แทน ระดับความเข้มเสียง มีหน่วยเป็น เดซิเบล (dB)
𝐼 แทน ระดับความเข้มเสียงที่ต้องการวัด มีหน่วยเป็น วัตต์ /ตารางเมตร ( W/m2 )
𝐼0 แทน ระดับความเข้มเสียงที่เบาที่สุดที่หูคนปกติได้ยิน มีหน่วยเป็น วัตต์ /ตารางเมตร (W/m2 )

𝐼 10-12 10-11 10-10 10-9 10-8 10-7 10-6 10-5 10-4 10-3 10-2 10-1 100
𝜷

การเปรียบเทียบระดับความเข้มเสียง
การเปรียบเทียบระดับความเข้มเสียง คือ การพิจารณาว่าเสียงหนึ่งจะดังกว่าอีกเสียงหนึ่งกี่เดซิเบล( Δ =  2 -  1)

คลายโจทย์ >> การเปรียบเทียบระดับความเข้มเสียง

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 358

10.1) มลภาวะของเสียง (Sound Pollution)


เสียงดังหรือเสียงที่มีความเข้มสูงๆ เกินไป ท่าให้คนเกิดความร่าคาญ หรืออาจส่งผลอันตรายต่อหูได้ เช่นเสียง
ท่อไอเสียรถยนต์ และจักรยานยนต์ เรือหางยาว เสียงดังจากโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น
ด้วยเหตุนี้ หน่วยงานที่รับรับผิดชอบในเรื่องมลภาวะของเสียงจึงได้ก่าหนดมาตรฐานระดับความเข้มเสียงจาก
ยานพาหนะ ณ ที่ระยะห่าง 7.5 เมตร จะต้องไม่เกิน 85 เดซิเบล
ตาราง แสดงประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ งความ วิธปี อ้ งกัน
ปลอดภัยเกีย่ วกับเสียง
ใช้วัสดุเก็บเสียง เช่น ใช้จุกอุดหู
เวลาในการท่างานต่อวัน ระดับความเข้มเสียงทีผ่ ทู้ า่ งานได้รบั อย่างต่อเนือ่ ง
หรือที่ครอบหู เพื่อช่วยลดระดับ
ต้องไม่เกิน (เดซิเบล)
(ชัว่ โมง) ความเข้มเสียง
น้อยกว่า 7 91

7–8 90

มากกว่า 8 80

ทีม่ าของรูป : หนังสือเรียนฟิสิกส์พื้นฐาน สสวท.

ตารางแสดงระดับความเข้มเสียงจากแหล่งก่าเนิดต่างๆ
พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์
359 เสียงและการได้ยนิ

แหล่งก่าเนิด ระดับความเข้มเสียง (dB) ผลการรับฟัง


เสียงเบาที่สุดที่มนุษย์ได้ยิน 0 แทบจะไม่ได้ยิน

การหายใจปกติ 10

ใบไม้กระทบกันเมื่อถูกลมพัด 20 เงียบมาก

การกระซิบแผ่วเบา, เสียงดนตรีที่แผ่วเบา 30

ส่านักงานที่เงียบ 50 เงียบ

การพูดคุยธรรมดา 60 ปานกลาง

เครื่องดูดฝุ่น 75 ดัง

โรงงานทั่วไป, ถนนที่มีการจราจรหนาแน่น 80

เครื่องเสียงสเตอริโอในห้อง, เครื่องเจาะถนน 90 รับฟังบ่อย ๆ การได้ยินจะเสื่อมอย่าง


แบบอัดลมเครื่องตัดหญ้า

ดิสโก้เธค, การแสดงดนตรีประเภทร๊อค, 100 ถาวร


เครื่องบินใบพัด

ขณะขึ้นจากสนามบิน 120 ไม่สบายหู

ฟ้าผ่าระยะใกล้ 130

เครื่องบินไอพ่นขึ้นระยะใกล้ 150 เจ็บปวดในหู

เครื่องยนต์จรวดขนาดใหญ่ในระยะใกล้ 180 แก้วหูช่ารุดทันที

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 360

10.2) หูกบั การได้ยนิ


จากการศึกษาพบว่าหูของคนไวต่อการรับรู้เสียงที่มีความถี่สูงมากกว่าเสียงที่มคี วามถี่ต่า เมื่อเสียงนั้นมีระดับความเข้ม
เสียงเท่ากัน ดังรูป

รูปแสดงส่วนประกอบของหูแบ่งออกเป็น 3 ส่วนดังรูป

1. หูสว่ นนอก (outer ear) ประกอบด้วยใบหู และรูหู โดยรูหูอยูล่ ึกเข้าไปในกะโหลกศีรษะไปสิ้นสุดที่เยือ้ แก้วหู

2. หูสว่ นกลาง (middle ear) เริ่มจากเยือ่ แก้วหู ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อแผ่นบาง ๆ ปิดช่องหูและเป็นส่วนแบ่งระหว่าง


หูส่วนนอกกับหูส่วนกลาง ถัดจากเยือ่ แก้วหูเข้าไปมีลักษณะเป็นโพรง ภายในโพรงนี้มีกระดูก 3 ชิน้ เรียงชิดติดกัน คือ
กระดูกค้อน กระดูกทั่ง และกระดูกโกลน ภายในหูส่วนกลางมีชอ่ งเล็ก ๆ ที่ตดิ ต่อกับหลอดลม ท่าหน้าที่ปรับความดันอากาศ
ทั้งสองด้านของแก้วหูให้เท่ากันตลอดเวลา ถ้าความดันทัง้ สองด้านของแก้วหูไม่เท่ากัน จะท่าให้เกิดอาการหูออื้ หรือปวดหู เช่น
ขณะขึ้นไปบนทีส่ ูงมาก ๆ หรือการขึ้น – ลงลิฟต์ในตึกสูง ๆ หรือการด่าน้า่ ลงไปลึก ๆ

3. หูสว่ นใน (inner ear) ประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนรับเสียง และ ส่วนทรงตัว ส่วนรับเสียงมีลกั ษณะเป็น
ท่อกลวงขดเป็นรูปคล้ายหอยโข่ง เรียกว่า คอเคลีย ภายในท่อนี้มี เซลล์ขน อยู่เป็นจ่านวนมาก ท่าหน้าที่รบั รู้การสัน่ ของคลื่น
เสียงที่ผ่านมาจากหูส่วนกลาง พร้อมกับส่งสัญญาณการรับรู้ผ่านโสตประสาทไปยังสมอง สมองจะท่าหน้าที่แปลสัญญาณที่ได้รับ ท่า
ให้เรารับรู้เกี่ยวกับเสียงที่ได้ยนิ ส่วนทรงตัวมีลักษณะเป็นหลอดครึ่งวงกลม 3 อันวางตั้งฉากกัน ทีป่ ลายหลอดมีเซลล์รับความรู้สกึ
ไวต่อการเปลี่ยนแปลงต่าแหน่งของศีรษะอยู่ภายใน ช่วยท่าให้เราสามารถควบคุมหรือปรับสภาพการทรงตัวได้

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


361 เสียงและการได้ยนิ

EXAM : 8 Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


Step 2. วาดรูป
ความเข้มเสียง & Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้(.....)ค้างไว้
ระดับความเข้มเสียง

Ex1. แหล่งก่าเนิดเสียงส่งพลังงานด้วยอัตรา  108 วัตต์ ผู้ฟังซึ่งอยู่ห่างจากแหล่งก่าเนิด 10 เมตร จะได้ยินเสียงมี


ความเข้มเสียงเท่าใด (ตอบ 2.5x10-11W/m2)

Ex2. ผึ้งตัวหนึ่งกระพือปีกกท่าให้เกิดเสียงมีก่าลัง 4 1011 วัตต์ ถ้าผึ้งตัวนั้นเกาะอยู่ที่ดอกไม้แล้วกระพือปีกและ


คนที่ยืนอยู่ห่างจากผึ้งอย่างน้อยเท่าใดจึงจะไม่ได้ยินเสียง
(ตอบ 3.16 m)

Ex3. แมลงตัวหนึ่งบินหนีในแนวเส้นตรงด้วยความเร็ว 0.1 เมตร/วินาที จากคนๆหนึ่ง ซึ่งยืนนิ่งในที่โล่ง อยาก


ทราบว่าคนนั้นจะได้ยินเสียงการบินของแมลงนั้นอยู่ได้นานกี่วินาที ก่าหนดให้ว่า อัตราที่พลังงานเสียงที่
แมลงนั้นส่งออกมา ในขณะที่บินมีค่าเท่ากับ 4  x10-12 วัตต์ ก่าหนดให้ เสียงที่เบาที่สุดทีม่ นุษย์ได้ยินมี
ความเข้มเสียง 10-12 วัตต์/เมตร2
(ตอบ 10 s)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 362

Ex4. ล่าโพงตัวหนึ่งให้เสียงที่มีความเข้ม I0 ที่ระยะห่างจากล่าโพง 10 เมตร ถ้าต้องการเสียงความเข้ม


2I0 จะต้องไปอยู่ที่ต่าแหน่ง ซึ่งห่างจากล่าโพงเท่าใด
1. 5 m
2. 7 m
3. 14 m
4. 20 m
Ex5. นาย ก. เห็นพลุแตกกลางอากาศเหนือศีรษะเขาขึ้นไป 40 เมตร ขณะเดียวกัน นาย ข. ซึ่งอยู่ห่างจาก
นาย ก. ตามแนวราบเป็นระยะ 30 เมตร ก็เห็นพลุแตกเช่นเดียวกัน ความเข้มของเสียงที่นาย ก. ได้รับจะเป็น
กี่เท่าของนาย ข. ได้รับ
ตึ๊ม!!
16
1.
25
40m
4
2.
5
30m
5
3.
4
25
4.
16

Ex6. แหล่งก่าเนิดเสียงก่าลัง 220 วัตต์ กระจายเสียงออกโดยรอบอย่างสม่่าเสมอจงหาความเข้มของเสียงที่จุดซึ่ง


ห่างจากแหล่งก่าเนิดเสียง 100 เมตร ถ้าการแพร่ของคลื่นเสียงในช่วง 100 เมตร พลังงานเสียงถูกดูดกลืนไป
10%
1. 7.9 10- 4 W/m2
2. 9.0 10- 4 W/m2
3. 15.8 10- 4 W/m2
4. 18.0 10- 4 W/m2

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


363 เสียงและการได้ยนิ

Ex7. ณ จุดหนึ่ง เสียงจากเครื่องจักรมีระดับความเข้มเสียงวัดได้ 50 เดซิเบล จงหาความเข้มเสียงจากเครื่องจักร


ณ จุดนั้น ก่าหนดให้ความเข้มเสียงที่เริ่มได้ยินเป็น 10-12 วัตต์ต่อตารางเมตร
1. 10-5 W/m2
2. 10-7 W/m2
3. 10-9 W/m2
4. 10-17 W/m2

Ex8. ประตูห้องหนึ่งมีขนาดความกว้าง 0.5 เมตร สูง 2.0 เมตร ที่หน้าประตูมีระดับความเข้มเสียง 60 เดซิเบล


จงหาก่าลังของเสียงในหน่วยวัตต์ที่ผ่านเข้าห้องนี้
1. 10 6
2. 6102
3. 60
4. 10– 6

Ex9. ต่าแหน่ง A และ B อยู่ห่างจากแหล่งก่าเนิดเสียงซึ่งมีก่าลังคงที่เป็นระยะทางไม่เท่ากัน ถ้าความเข้มของเสียงที่


ต่าแหน่ง A เป็น 1,000 เท่าของความเข้มเสียงที่ต่าแหน่ง B จงหาความแตกต่างของระดับความเข้มเสียง
ระหว่างต่าแหน่งทั้งสอง
1. 10 dB
2. 20 dB
3. 30 dB
4. 40 dB

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 364

Ex10. เครื่องเจาะถนนเครื่องหนึ่งอยู่ห่างจากนาย ก 10 เมตร เขาวัดระดับความเข้มเสียงได้เป็น 90 เดซิเบล ถ้า


มีเครื่องเจาะสามเครื่องที่เหมือนกันทุกประการอยู่ห่างจากเขา 10 เมตรเท่ากัน เมื่อเครื่องเจาะทั้งสาม
ท่างานพร้อมกัน เขาจะวัดระดับความเข้มเสียงได้เป็นเท่าใด
1. 93 dB
2. 95 dB
3. 120 dB
4. 270 dB

Ex11. สีไวโอลิน 1 ตัว วัดระดับความเข้มเสียงได้ 60 เดซิเบล ถ้าต้องการให้ได้ระดับความเข้มเสียง 70 เดซิเบล


ณ ต่าแหน่งเดิมต้องสีไวโอลินพร้อมกันกี่ตัว
(ตอบ 10 ตัว)

Ex12. มอเตอร์ไซด์เหมือนกัน 3 คัน แล่นมาจากปากซอย พอมาถึงกลางซอย คันหนึ่งจอดและดับเครื่องยนต์


นาย ก ซึ่งมีบ้านอยู่สุดซอยจะวัดความแตกต่างของระดับความเข้มเสียงจากมอเตอร์ ไซด์ที่ปากซอยกับที่
กลางซอยได้กี่เดซิเบล
1. 4.3 dB 2. 3.0 dB
3. 2.3 dB 4. 1.2 dB

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


365 เสียงและการได้ยนิ

Ex13. นายสั่งสอนยืนอยู่ ณ ต่าแหน่งที่มีระดับความเข้มเสียง 60 เดซิเบล ถ้าเขาใส่ที่ครอบหูซึ่งมีสมบัติดูดกลืนความ


เข้มเสียงได้ร้อยละ 90 เขาจะได้ยินเสียงที่ระดับความเข้มเสียงลดลงร้อยละเท่าไร

1. 17

2. 20

3. 83

4. 90

Ex14. นาย A เห็นพลุแตกกลางอากาศเหนือศีรษะเขาขึ้นไป 30 เมตร ขณะเดียวกัน นาย B ซึ่งอยู่ห่างจากนาย


A ตามแนวราบเป็นระยะทาง 40 เมตร ก็เห็นพลุแตกเช่นกัน ระดับความเข้มของเสียงที่ นายA ได้ยินคือ
120 เดซิเบล ระดับความเข้มของเสียงที่นาย B ได้ยินเป็นกี่เดซิเบล (log 6 = 0.77)

1. 43.2
ตึ๊ม!!
2. 67.5
3. 90
30m
4. 115.4
40m

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 366

Ex15. แหล่งก่าเนิดเสียงหนึ่ง วัดความดังของเสียงได้ 60 เดซิเบลที่ระยะห่าง 10 เมตร ถ้าหากนายสั่งสอนยืนอยู่ห่าง


จากแหล่งก่าเนิดเสียงนี้ 2 เมตร จะวัดความดังของเสียงได้กี่เดซิเบล(dB) ก่าหนด log 2 = 0.30
1. 12
2. 74
3. 300
4. 1,500

Ex16. จากกราฟแสดงช่วงความถี่และระดับความเข้มเสียง ที่หูปกติสามารถรับรู้ ส่าหรับเสียงที่ความถี่ 40 เฮิรตซ์


ความเข้มเสียงที่คนเริ่มได้ยินมีค่าเท่าใด (ถ้าความเข้มเสียงต่่าสุดที่คนได้ยินเท่ากับ 10-12 W/m2)

1. 10-12 W/m2

2. 10-10 W/m2

3. 10-8 W/m2

4. 10-6 W/m2

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


367 เสียงและการได้ยนิ

การบ้านชุดที่ 8

1. นาย A และนาย B เห็นพลุลูกหนึ่งแตกกลางอากาศเป็นมุมเงย 37 และ 53 องศา ตามล่าดับ ความเข้มของ


เสียงพลุทนี่ าย A ได้รับเป็นกี่เท่าของความเข้มของเสียงพลุที่นาย B ได้รบั
3
1.
4 ตึ๊ม!!
9
2.
16
16
3.
9 37° 53°

4
4.
3
2. ในการทดลองเรื่องความเข้มของเสียง วัดความเข้มของเสียงที่ต่าแหน่งที่อยู่ห่าง 10 เมตร จากล่าโพงได้
1.2 10- 2 วัตต์ต่อตารางเมตร ความเข้มเสียงที่ต่าแหน่ง 30 เมตร จากล่าโพงจะเป็นเท่าใด
1. 1.1 10- 2 W/m2
2. 0.6 10- 2 W/m2
3. 0.4 10- 2 W/m2
4. 0.13 10- 2 W/m2
3. การแสดงดนตรีในสถานที่แห่งหนึ่ง บริเวณรอบ ๆ สถานที่ได้ติดตั้งวัสดุที่สามารถดูดกลืนเสียงได้อย่างสมบูรณ์
ผู้ชมการแสดงคนหนึ่งอยู่ห่างจากผู้เล่นดนตรีเป็นระยะทาง r ถ้าต้องการให้เสียงที่ได้ยินมีความเข้มเพิ่มขึ้น 2
เท่า ผู้ชมดนตรีนี้จะต้องเปลี่ยนที่นั่งให้อยู่ห่างจากผู้แสดงเป็นระยะเท่าใด
1 1
1. r 2. r
2 2
1 1
3. r 4. r
2 2 4

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 368

4. หน้าต่างเป็นรูปช่องวงกลม มีพื้นที่ 2 ตารางเมตร มีแหล่งก่าเนิดเสียงมาตรงหน้าต่าง พอดีเมื่อวัดระดับความ


เข้มเสียงที่ผ่านช่องหน้าต่างนี้ได้เท่ากับ 100 เดซิเบล จงหาก่าลังของเสียงที่ผ่านหน้าต่างช่องนี้ว่าเป็นกี่วัตต์
1. 0.01
2. 0.02
3. 2
4. 10

5. เด็กชายสั่งสอนหลังจากเล่นซนมาแล้ว ปรากฏว่าถูกคุณแม่เอ็ดตะโร โดยเด็กชายสั่งสอนยืนห่างจากคุณแม่ 1


เมตร และเขาต้องฟังเสียงของคุณแม่ด้วยระดับเสียง 110 เดซิเบล แสดงว่าคุณแม่ก่าลังพูดด้วยก่าลังเสียงกี่วัตต์
เมื่อ I0 = 10-12 วัตต์ต่อตารางเมตร
1. 0.13
2. 1.3
3. 10
4. 13

6. ในการแสดงกลางแจ้งถ้าต้องการให้ผู้ทอี่ ยู่ห่างจากเวที 1 กิโลเมตร ได้ยินเสียงที่ระดับความเข้มเสียง 70 เดซิเบล


ควรใช้ล่าโพงที่มีก่าลังเสียงเท่าใด
1. 90.7 วัตต์
2. 100.5 วัตต์
3. 125.6 วัตต์
4. 150.5 วัตต์

7. เมื่อต้องการให้ผู้ฟังได้ยินเสียงจากเครื่องขยายเสียงเพิ่มขึ้น 10 เดซิเบล เราจะต้องเพิ่มก่าลังของเครื่องขยายเสียงเป็น


กี่เท่าของเดิม
1. 2 เท่า
2. 10 เท่า
3. 10 เท่า
4. 100 เท่า

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


369 เสียงและการได้ยนิ

8. เสียงจากกระดิ่ง 1 ลูก มีระดับความเข้มเสียง 40 เดซิเบล และเสียงระฆัง 1 ใบมีความเข้มเสียง 0.2 ไมโคร


วัตต์ต่อตารางเมตร จะต้องใช้กระดิ่งชนิดเดียวกันจ่านวนกี่ลูกจึงจะมีความเข้มเสียงเท่ากับระฆัง 1 ใบ โดยผู้ฟัง
อยู่ห่างจากกระดิ่งกับระฆังเท่ากัน ก่าหนดความเข้มของเสียงเบาที่สุดที่มนุษย์ได้ยินเท่ากับ 10 –12 วัตต์/ตาราง
เมตร
1. 20 ลูก
2. 32 ลูก
3. 45 ลูก
4. 53 ลูก

9. ยิงปืนด้วยอัตรา 5 นัดต่อวินาที ผู้ทอี่ ยู่ห่าง 100 เมตร ได้ยินเสียงปืนมีระดับความเข้มเสียง 100 เดซิเบล ถาม
ว่า ในการยิงปืนแต่ละนัดเกิดก่าลังเสียงโดยเฉลี่ยเท่าไร เมื่อสมมติว่าเสียงเป็นกระจายทุกทิศทางเท่ากัน
ก่าหนดความเข้มเสียงเบาที่สุดที่ได้ยินมีค่า 10 –12วัตต์/เมตร 2
1. 20  วัตต์
2. 40  วัตต์
3. 60  วัตต์
4. 80  วัตต์

10 . นาย ก ยืนอยู่บนสนามที่จุด A เมื่อรถตัดหญ้าท่างานอยู่จุดกึ่งกลางสนาม (จุด B) จะวัดระดับ


ความเข้มเสียงได้ 77.34 เดซิเบล ถ้ารถตัดหญ้าเลื่อนไปอยู่ที่จุด C จะวัดระดับความเข้มเสียง
ได้กี่เดซิเบล (ตอบ 71.32 dB)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 370

11. ในโรงงานผลิตเครื่องบินมีระดับความเข้มเสียง 80 เดซิเบล คนงานผู้หนึ่งใส่เครื่องครอบหูซึ่งสามรถลดระดับ


ความเข้มเสียงลงเหลือ 60 เดซิเบล เครื่องดังกล่าวลดความเข้มเสียงลงกี่เปอร์เซ็นต์
1. 80%
2. 88%
3. 98%
4. 99%

12. ถ้าสมมติว่าเครื่องบินโดยสารไอพ่นก่าลังบินขึ้นจากสนามบินก่อให้เกิดเสียงที่มีระดับความเข้มเสียง 120 เดซิเบล


ณ จุดที่ห่างจากเครื่องบิน 200 เมตร จะต้องปลูกบ้านห่างจากสนามไปไกลเท่าใด จึงจะได้ยินเสียงเครื่องบิน
ดังไม่เกิน 80 เดซิเบล
1. 1 กิโลเมตร
2. 2 กิโลเมตร
3. 5 กิโลเมตร
4. 10 กิโลเมตร
5. 20 กิโลเมตร
13. เมื่อวัดระดับความเข้มเสียง ณ จุดห่างจากเครื่องบินเจท 30 m สามารถวัดได้ 160 dB ถ้าย้ายจุดวัดเป็นอีกจุด
หนึ่ง สามารถวัดความเข้มเสียงได้ 120 dB ถามว่า จุดใหม่ที่ท่าการวัดความเข้มเสียงอยู่ห่างจากเครื่องบินเป็น
ระยะทางเท่าไร
1. 60 m
2. 300 m
3. 1,600 m
4. 3,000 m

14. แหล่งเสียง A และ B ที่เป็นจุดมีก่าลังเสียง 10 และ 40 วัตต์ ตามล่าดับ เอาแหล่งเสียงมาทดลองวัดระดับความ


เข้มเสียงทีละแหล่ง ระดับความเข้มเสียงที่ระยะห่างจาก B 2 เมตร ต่างจากระดับความเข้มเสียงที่ ระยะห่าง
A 1 เมตร เท่ากับกี่เดซิเบล
1. 0
2. 4
3. 10
4. 15

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


371 เสียงและการได้ยนิ

15. ก่าหนดให้ log 1.5 = 0.18, log 2.5 = 0.40

log 3.5 = 0.54, log 4.5 = 0.65

นักดนตรีก่าลังเล่นเปียโนอยู่ที่ด้านหน้าสุดของโรงละครซึ่งยาว 20 เมตร สูง 10 เมตร ถ้าเพดานของโรงละครนี้


สามารถสะท้อนเสียงได้ 80% ของความเข้มเสียงที่ตกกระทบ ส่วนพื้นและผนังด้านอื่นไม่สะท้อนเสียงเลย ระดับ
ความเข้มเสียงที่ผู้ฟังซึ่งนั่งอยู่หลังสุดได้รับโดยตรงกับเสียงที่สะท้อนจากเพดานจะมีความแตกต่างกันกี่ dB

1. 1.8 dB
2. 4.0 dB
3. 5.4 dB
4. 6.5 dB

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 372

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


373 เสียงและการได้ยนิ

Step ความรู้ที่ 11 : ระดับสูงต่า่ ของเสียง (Pitch)และเสียงดนตรี


ระดับสูงต่า่ ของเสียง คือ ความรู้สึกของมนุษย์ที่บอกได้ว่าเสียงที่ได้ยินเป็นเสียงแหลมหรือเสียงทุ้ม ระดับเสียงและ
ความถี่
เสียงมีความเกี่ยวข้องกัน
เสียงแหลม(trebel) คือ เสียงที่มคี วามถีม่ าก เสียงนั้นจะมีระดับเสียงสูง
เสียงทุม้ (bass) คือ เสียงที่มีความถีน่ อ้ ย เสียงนั้นจะมีระดับเสียงต่า่

แผนภาพแสดงช่วงความถีข่ องแหล่งก่าเนิดเสียง และช่วงความถีเ่ สียงทีม่ นุษย์-สัตว์ได้ยนิ

 ความถี่ของเสียงโดยปกติที่มนุษย์ได้ยิน(audible sound)จะมีค่าอยู่ในช่วง 20 ถึง 20,000 เฮิรตซ์


เสียงที่มีความถี่อยู่ในช่วงที่ต่ากว่า 20 เฮิรตซ์ลงไปเรียกว่า คลืน่ อินฟราโซนิค (Infrasonic Wave)
เสียงที่มีความถี่อยู่ในช่วงที่สูงกว่า 20,000 Hz ขึ้นไปเรียกว่า คลืน่ อัลทราโซนิค (Ultrasonic Wave)
Supersonic ความเร็วเหนือเสียง

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 374

เสียงดนตรี (Music Sound)


การจัดแบ่งระดับเสียงอาจท่าได้หลายวิธี เช่น แบ่งเป็นระดับเสียงดนตรีในทางวิทยาศาสตร์ดังตาราง

ตาราง การแบ่งระดับเสียงดนตรีในทางวิทยาศาสตร์ เสียงคูแ่ ปด(Octave)ของระดับเสียงใดๆ คือ

อัตราส่วนเทียบ เสียงที่ 8 ของเสียงนั้นโดยเสียงนั้นจะมีความถี่เป็น 2 เท่าของเสียงที่


เสียง เสียงทีใ่ ห้ ความถี่ (Hz)
กับ เสียง C เราน่าไปเทียบ

C โด 256 1

D เร 288 9/8

E มี 320 5/4

F ฟา 341 4/3

G ซอล 384 3/2

A ลา 427 5/3

B ที 480 15/8

C' โด' 512 2

ตาราง ความถีเ่ สียงของเสียงดนตรีในช่วงระดับเสียงคูแปดต่่า คูแ่ ปดกลางและคูแ่ ปดสูง

คู่แปดต่่า 1 ขัน้ C1 D1 E1 F1 G1 A1 B1 C
ความถี่
128 144 160 171 192 214 241 256

คู่แปดกลาง C D E F G A B C'

ความถี่ 256 288 320 341 384 427 480 512

คู่แปดสูง 1 ขั้น C' D' E' F' G' A' B' C''
ความถี่
512 576 640 682 768 854 960 1024

คูแ่ ปดต่า่ 1 ขัน้ คือ เสียงทีม่ ีความถี่ต่ากว่าความถี่ของคู่ 8 กลางอยู่ครึ่งหนึ่ง

คูแ่ ปดกลาง คือ เสียงที่มีความถี่ที่เราสนใจไว้ใช้เทียบ

คูแ่ ปดสูง 1 ขัน้ คือ เสียงที่มีความถี่เป็น 2 เท่า ของความถี่เสียงที่เราสนใจ(คู่แปดกลาง)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


375 เสียงและการได้ยนิ

Step ความรู้ที่ 12 : คุณภาพเสียง


แหล่งก่าเนิดเสียงต่างๆ ขณะสัน่ จะให้เสียงซึง่ มีความถีม่ ลู ฐานและฮาร์มอนิกต่างๆ กันออกมาเกิดการแทรก
สอดกัน โดยคลื่นลัพธ์ที่มาแทรกสอดกันจะมีลักษณะเฉพาะตัวของแหล่งก่าเนิดนัน้ หรือทีเ่ ราเรียกลักษณะ
เฉพาะตัวนี้วา่ “คุณภาพเสียง” (quality of sound )คุณภาพเสียงจะช่วยให้เราแยกประเภทของแหล่งก่าเนิด
เสียงได้ว่าเป็นเสียงกีตาร์ เสียงปี่ หรือเสียงที่ได้ยินเป็นเสียงของใคร เป็นต้น (คุณภำพเสียงไม่ได้บ่ง
บอกถึงควำมไพเรำะของเสียงนะครับ)

หมายเหตุ: ถึงแม้เครื่องดนตรี
จะเล่ น โน๊ ต ตั ว เดี ย วกั น แต่ ก็
สามารถแยกได้ว่าเป็นเสียงของ
เครื่องดนตรีชนิดใดเนื่องจาก
คุณภาพเสียง(รูปคลื่นลัพธ์) ที่
ต่างกันนั่นเอง

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 376

EXAM : 9 Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?

Step 2. วาดรูป
คุณภาพเสียง
Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้(.....)ค้างไว้

Ex1. วงดนตรีที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีหลายชนิด เมื่อเล่นพร้อมกันแต่เราสามารถแยกเสียงใดเป็นเสียงไวโอลิน


เสียงใดเป็นเสียงขลุ่ย และเสียงใดเป็นเสียงเปียโนเนื่องจากเสียงดนตรีแต่ละชนิดมีลักษณะเฉพาะตามข้อใดที่
ต่างกัน
1. ระดับเสียง 2. ระดับความเข้มเสียง 3. ความถี่เสียง 4. คุณภาพเสียง

Ex2. ในการดีดพิณ ระดับเสียง (pitch) จะเพิ่มขึ้นได้เมื่อ


ก. ความตึงของสายพิณเพิ่มขึ้น ข. สายพิณยาวขึ้น
ค. น้่าหนักต่อความยาวของสายพิณมีค่าเพิ่มขึ้น ง. จ่านวนคลื่นนิ่งที่เกิดขึ้นในสายพิณมี
จ่านวนมากขึ้น
1. ก และ ง 2. ข และ ค 3. ข เท่านั้น 4. ถูกทุกข้อ

Ex3. ถ้าเสียง C มีความถี่ 256 เฮิรตซ์และอัตราส่วนของเสียง D กับเสียง C เป็น 9/8 อยากทราบ


ว่าเสียง D' มีความถี่เท่าไร (ตอบ 576 Hz)

Ex4. X เป็นระดับเสียงดนตรีที่มีความถี่ 340 เฮิรตซ์ เสียง X' เป็นเสียงคู่แปดของเสียง X ขณะ


อากาศมีอุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส ความยาวคลื่นของเสียง X' ในอากาศนี้เป็นเท่าใด
(ตอบ 0.5 m)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


377 เสียงและการได้ยนิ

Step ความรู้ที่ 13 : ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์


ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์(Doppler Effect of Sound) คือ

สมการความยาวคลืน่ เสียงทีป่ รากฏต่อผู้ฟงั

 หลัง แทน ความยาวคลื่นที่ด้านหลัง


𝑣 แทน ความเร็วเสียง (m/s)
 หน้า แทน ความยาวคลื่นที่ด้านหน้า 𝑣𝑠 แทน ความเร็วของแหล่งก่าเนิด (m/s)
𝑓𝑠 แทน ความถีแ่ หล่งก่าเนิดเสียง (Hz)

สังเกตว่ำ 𝝀 ด้ำนหลังจะยำวสูตรจึงเป็น+, 𝝀
ด้ำนหน้ำสั้นสูตรจึงเป็น-
การใช้สมการ
สมการหาความถีท่ ปี่ รากฏต่อผูฟ้ งั
1. ก่าหนดทิศทางก่อน โดยการ ลากเวกเตอร์จากแหล่งก่าเนิด (S)
ไปหาผูฟ้ งั (L) โดยเราจะก่าหนดทิศนีเ้ ป็น + เสมอ
2. ถ้าความเร็วใดมีทิศตามที่ก่าหนดให้แทนค่าเป็น (+)
ถ้าความเร็วใดมีทิศตรงข้ามกับทีก่ ่าหนดให้แทนค่าเป็น (-)

𝑓𝐿 แทน ความถี่ที่ผู้ฟังได้ยิน (Hz)


𝑓𝑠 แทน ความถี่แหล่งก่าเนิดเสียง(Hz)
𝑣 แทน ความเร็วเสียง (m/s)
𝑣L แทน ความเร็วของผู้ฟัง (m/s)
𝑣𝑠 แทน ความเร็วของแหล่งก่าเนิดเสียง(m/s) บวก(+)
𝑣L , 𝑣𝑠 ต้องอยู่ในแนวของ s L
ห้อย L หมายถึง ผู้ฟัง (Listener)
ถ้าไม่อยูใ่ นแนวนี้ต้องแตกเวกเตอร์ของความเร็วเข้าแนวนี้ก่อน
ห้อย S หมายถึง แหล่งก่าเนิดเสียง(sorce)
ข้อสังเกต: ถ้าแหล่งก่าเนิดกับคนฟังวิ่งเข้าหากัน
ถ้าแหล่งก่าเนิดกับคนฟังวิ่งออกจากกัน
ถ้าแหล่งก่าเนิดกับคนฟังวิ่งตั้งฉากกัน

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 378

พิสจู น์สจู น์: การหาความยาวคลืน่ เสียงทีป่ รากฏต่อผูส้ งั เกต

ที่ด้านหลังแหล่งก่าเนิด ที่ด้านหน้าแหล่งก่าเนิด
เมื่ อ แหล่ ง ก่ า เนิ ดเคลื่อ นที่ไ ปเป็น เวลา t วิ น าที จะปล่ อ ยคลื่น เมื่อ แหล่ งก่ า เนิดเคลื่ อนที่ไปเป็ นเวลา t วิน าที จะปล่ อ ยคลื่น
ออกมาได้ทั้งหมด ƒSt ลูก ออกมาได้ทั้งหมด ƒSt ลูก
เนื่ อ งจ าก ค ลื่ น ƒot ลู ก จ ะ เค ลื่ อ นที่ ไ ด้ ร ะย ะทางด้ า นหลั ง เนื่ อ งจากคลื่ น ƒot ลู ก จะเคลื่ อ นที่ ไ ด้ ร ะยะทางด้ า นหน้ า
 vt  vs t  vt  vs t
ดังนั้นคลื่น 1 ลูก จะเคลื่อนที่ได้ ดังนั้นคลืน่ 1 ลูกจะเคลือ่ นที่ได้
vt  vs t v  vs ระยะทางด้านหน้า  vt  vs t  v  vs
ระยะทางด้านหลัง   fot fo
fo t fo
แต่ระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ได้ 1 ลูก เรียกว่า ความ
แต่ระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ได้ 1 ลูก เรียกว่า ความยาวคลื่น ( ) ( )
ยาวคลื่น
v  vs
ดังนั้น  หน้า  v  vs
fs ดังนั้น  หน้า 
fs

การหาความถีท่ ปี่ รากฏต่อผูส้ งั เกต (ความถีท่ ผี่ สู้ งั เกตได้รบั )

ถ้าให้ L เป็นความถี่ที่ผู้ฟังได้รับจากรูป ถ้าผูส้ ังฟังเคลือ่ นที่ด้วยความเร็ว vL


ออกจากแหล่งก่าเนิดไปทางขวา และแหล่งก่าเนิดเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว vs ไป
ทางขวาเข้าหาผู้สังเกต
ดังนั้นความเร็วของเสียงที่ปรากฏต่อผู้สังเกตจะ

เท่ากับ v' = V– VL
จาก v  f L . หน้า
 v  vs 
แทนค่า v  v L  f L  
 fs 
f L  v  vL 
ดังนั้น  
f S  v  v s 
ถ้าเป็นกรณีอื่นๆ เพียงแต่เปลี่ยนเครื่องหมายของv0 และ vs เท่านั้นเองครับ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


379 เสียงและการได้ยนิ

EXAM : 10 Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


Step 2. วาดรูป
Doppler Effect Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้( )ค้างไว้

Ex1. ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์ของเสียง แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลง


1. มลภาวะเสียง
2. ความเข้มเสียง
3. ความดังเสียง
4. ระดับเสียง

Ex2. ผู้โดยสารรถไฟสังเกตได้ว่าขณะที่เขาหยุดยืนอยู่บนชานชาลา เสียงหวูดรถไฟขณะที่จอดนิ่งมีความถี่ต่างจาก


เสียงหวูดขณะรถไฟวิ่งออกจากชานชาลา ปรากฏการณ์เช่นนี้เรียกว่า
1. การแทรกสอด
2. การเลี้ยวเบน
3. การหักเห
4. ดอปเปลอร์

Ex3. รถดับเพลิงเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 20 เมตร/วินาที แล้วเปิดไซเรนซึ่งมีความถี่ 1000 เฮิรตซ์ ออกมา


ตลอดเวลา ถ้าขณะนั้นอัตราเร็วของเสียงในอากาศเป็น 340 เมตร/วินที จงหาความยาวคลื่นเสียงบริเวณ
ด้านหน้า ด้านหลัง

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 380

Ex4. รถต่ารวจก่าลังแล่นไปด้วยอัตราเร็ว 25 เมตร/วินที เปิดหวอขอทางด้วยความถี่ 400 เฮิรตซ์ ผู้สังเกตอยู่ใน


รถอีกคันหนึ่งซึ่งก่าลังแล่นด้วยอัตราเร็ว 20 เมตร/วินาที จะได้ยินเสียงหวอมีความถี่เท่าใด ถ้าอัตราเร็วเสียงใน
อากาศ 340 เมตร/วินาที

1. แล่นอยู่ด้านหน้าสวนทางกับรถต่ารวจ 2. แล่นอยู่ด้านหลังสวนทางกับรถต่ารวจ

(ตอบ 457.14 Hz) (ตอบ 350.68 Hz)

3. แล่นอยู่ด้านหน้าไปทางเดียวกับรถต่ารวจ 4. แล่นอยู่ด้านหลังไปทางเดียวกับรถต่ารวจ

(ตอบ 406.35 Hz) (ตอบ 94.52 Hz)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


381 เสียงและการได้ยนิ

Ex5. รถไฟวิ่งด้วยความเร็ว 30 เมตร/วินาที ในอากาศนิ่งความถี่หวูดรถไฟมีค่า 500 Hz ถ้าเสียงมี


อัตราเร็ว 330 เมตร/วินาที จงหาความถี่เสียงที่ได้ยินจากคนบนรถไฟขบวนที่ 2 ที่วิ่งด้วยความเร็ว
15 m/s เมื่อ
ก. รถไฟวิ่งเข้าหากัน (575 Hz)
30m/s 15m/s

ข. รถไฟวิ่งออกจากกัน (437.5 Hz)


15m/s 30m/s

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 382

Ex7. เด็กคนหนึ่งยืนอยู่ที่ชานชาลาได้ยินเสียงหวูดรถไฟมีความถี่ 273 เฮิรตซ์ จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้


ก. รถไฟเปิดหวูดความถี่ 300 เฮิรตซ์ ก่าลังแล่นห่างออกไปจากเด็ก
ข. รถไฟเปิดหวูดความถี่ 300 เฮิรตซ์ ก่าลังแล่นเข้าหาเด็ก
ค. รถไฟเปิดหวูดความถี่ 250 เฮิรตซ์ ก่าลังแล่นห่างออกไปจากเด็ก
ง. รถไฟเปิดหวูดความถี่ 250 เฮิรตซ์ ก่าลังแล่นเข้าหาเด็ก
ข้อความที่เป็นไปได้คือ
1. ก. 2. ข. 3. ก. และ ง. 4. ข. และ ค.

Ex8. นายหน่อลุวิ่งผ่านล่าโพงที่ปล่อยความถี่ 1,000 Hz จงหาความถี่ที่นายหน่อลุได้ยิน ที่ต่าแหน่ง A B C

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


383 เสียงและการได้ยนิ

Ex9. ถ้าท่านนั่งอยู่ในรถยนต์ที่ก่าลังเคลื่นที่เป็นรูปวงกลมในทิศทางตามเข็มนาฬิกาด้วยอัตราเร็วคงที่และมีคลื่น
เสียงความถี่เดียวเคลื่อนเข้าหารถยนต์ตามรูป ท่านจะได้ยินเสียงความถี่สูงสุดเมื่อท่านอยูท่ ี่ต่าแหน่งใด
1. ก. 2. ข.
3. ค. 4. ง.

Ex10. ชายคนหนึ่งเคาะส้อมเสียงซึ่งมีความถี่ f แล้วน่าไปแกว่งเป็นวงกลมในระดับดังรูป ชายอีกคนหนึ่งซึ่งนั่งนิ่งอยู่


จะได้ยินเสียงขณะที่ส้อมเสียงอยู่ในต่าแหน่ง A, B, C และ D ดังรูป ด้วยความถี่ fA, fB , fC , และ fD
ตามล่าดับ ข้อต่อไปนี้ข้อใดถูก

1. fA < fB = fD < fC
2. fC < fB = fD < fA
3. fD < fA = fC < fB
4. fB < fA = fC < fD

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 384

Ex11. จากการพิจารณาการเคลื่อนที่ของผู้ฟังและแหล่งก่าเนิดเสียง พบว่า


11.1 ผู้ฟังจะได้ยินเสียงที่มีความถี่สูงที่สุดเมื่อ..................................................................................
11.2 ผู้ฟังจะได้ยินเสียงที่มีความถี่ต่าทีส่ ุดเมื่อ................................................................................
11.3 ผู้ฟังจะได้ยินเสียงที่มีความถี่ปกติและไม่เกิด Doppler Effect เมื่อ
.........................................................................................................................................
Ex12. ชายคนหนึ่งยืนอยู่ริมหน้าผา โยนแหล่งก่าเนิดเสียงความถี่ f0 ที่เวลา t0 ขึ้นตามแนวดิ่ง วัตถุขึ้นถึงจุดสูงสุดที่
เวลา t1 วัตถุตกผ่านชายคนนั้นที่เวลา t2 และตกถึงพื้นที่เวลา t3 อยากทราบว่าชายคนนั้นจะได้ยินเสียงที่มี
ความถี่ลักษณะอย่างไร

1. 2.

3. 4. ไม่มีค่าตอบที่ถูกต้อง

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


385 เสียงและการได้ยนิ

การบ้านชุดที่ 10

1. ในขณะที่แหล่งก่าเนิดเสียงเคลื่อนที่ในอากาศนิ่ง ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ความยาวคลื่นเสียงที่อยู่ด้านหน้าแหล่งก่าเนิดจะสั้นกว่าความยาวคลื่นสียงที่อยู่ด้านหลัง
2. ความถี่เสียงที่จุดด้านหน้าแหล่งก่าเนิดจะต่่ากว่าความถี่เสียงที่จุดด้านหลังแหล่งก่าเนิด
3. ความเร็วเสียงด้านหน้าแหล่งก่าเนิดจะสูงกว่าความเร็วเสียงด้านหลังแหล่งก่าเนิด
4. ความเร็วเสียงด้านหน้าแหล่งก่าเนิดจะต่่ากว่าความเร็วเสียงด้านหลังแหล่งก่าเนิด
2. รถพยาบาลแล่นด้วยอัตราเร็ว 25 เมตร/วินาที ส่งเสียงไซเรนมีความถี่ 400 เฮิรตซ์ ถ้าอัตราเร็วเสียงในอากาศ
เป็น 350 เมตร/วินาที ความยาวคลื่นเสียงไซเรนด้านหน้ารถพยาบาลเป็นเท่าใด

1. 76 cm

2. 81 cm

3. 87 cm

4. 94 cm

3. เมื่อแหล่งก่าเนิดเสียงเคลื่อนที่และผู้สังเกตเคลือ่ นที่ เหตุการณ์ในข้อใดที่เป็นจริง


1. เมื่อแหล่งก่าเนิดเสียงและผู้สังเกตเคลื่อนที่ตามกันด้วยอัตราเร็วเท่ากันได้ยินความถี่เสียงเป็นปกติ
2. เมื่อแหล่งก่าเนิดเสียงเคลื่อนที่ตามผู้สังเกตด้วยอัตราเร็วที่น้อยกว่าผู้สังเกตท่าให้ผู้สังเกตได้ยิน
ความถี่สูงขึ้น
3. ผู้สังเกตเคลื่อนที่ตามแหล่งก่าเนิดเสียงอัตราเร็วมากกว่าแหล่งก่าเนิดได้ยินเสียงความถี่ต่าลง
4. ผู้สังเกตเคลื่อนที่ตามแหล่งก่าเนิดด้วยอัตราเร็วเท่ากันได้ยินเสียงความถี่สูงขึ้น

4. รถไฟขบวนหนึ่ง ก่าลังเคลื่อนเข้าสู่ชานชาลาสถานี ด้วยอัตราเร็ว 10 เมตรต่อวินาที พร้อมทั้งเปิดหวูดซึ่งมีความถี่


100 เฮิรตซ์ รถยนต์คันหนึ่งก่าลังวิ่งสวนทางกับรถไปบนถนนขนานกับรางรถไฟด้วยอัตราเร็ว 30 เมตรต่อ
วินาที จงหาความถี่ปรากฏของเสียงหวูดต่อคนขับรถยนต์คันนั้น (ก่าหนดความเร็วเสียงในอากาศ 330 เมตร
ต่อวินาที)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 386

5.แหล่งก่าเนิดเสียงความถี่ 1000 เฮิรตซ์ เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 32 เมตร/วินาที และอัตราเร็วเสียงในอากาศนิ่งเป็น


340 เมตร/วินาที และผู้ฟังเคลื่อนที่เข้าหาแหล่งก่าเนิดในทิศทางสวนทางกันด้วยอัตราเร็ว 8 เมตร/วินาที จงหา
ความถี่ที่ผู้ฟังได้ยินและขณะนั้นมีลมพัดจากทิศทางแหล่งก่าเนิดเข้าหาผู้ฟังด้วยอัตราเร็ว 2 เมตร/วินาที

(ตอบ 1129.03 Hz)

6.นกหวีดชนิดหนึ่งผูกเชือกและเหวี่ยงให้แกว่งเป็นวงกลม ท่าให้เกิดเสียงมีความถี่ 660 เฮิรตซ์ จงหาว่าผู้ที่อยู่ใน


แนวเดียวกับระนาบของการหมุนจะได้ยินเสียงความถี่อยู่ในช่วงใดก่าหนดให้การ หมุนนี้เชือกยาว 1 เมตร หมุนด้วย
อัตราเร็ว 10 เมตร/วินาที ก่าหนดอัตราเร็วเสียงในอากาศเป็น 340 เมตร/วินาที
(ตอบ 641.14-680 Hz)

7. รถมอเตอร์ไซค์คันหนึ่งแล่นตามหลังรถยนต์คันหนึ่งไปบนถนนตรง ความเร็วของรถยนต์เป็นสองเท่าของ
มอเตอร์ไซค์ ถ้าคนขี่มอเตอร์ไซค์บีบแตรด้วยความถี่ 500 Hz
1. คนขับรถยนต์ได้ยินเสียงความถี่ต่ากว่า 500 Hz
แต่คนขี่มอเตอร์ไซค์ได้ยินเสียงความถี่ 500 Hz
2. คนขับรถยนต์ได้ยินเสียงความถี่สูงกว่า 500 Hz
แต่คนขี่มอเตอร์ไซค์ได้ยินเสียงความถี่ 500 Hz
3. คนขับรถยนต์ และคนขี่มอเตอร์ไซค์ได้ยินเสียงความถี่เดียวกัน
4. คนขับรถยนต์ ได้ยินเสียงความถี่สูงกว่าคนขี่มอเตอร์ไซค์ได้ยิน
8. ในการหาอัตราเร็วที่เม็ดเลือดวิ่งในเส้นเลือด เขาสามารถท่าได้โดยการส่งคลื่นเสียงอัลตราโซนิกที่มีความถี่หนึ่งเข้าไป
กระทบกับเม็ดเลือด แล้ววัดสมบัติของคลื่นที่สะท้อนออกมา สมบัติใดที่น่าไปค่านวณหาอัตราเร็วของเม็ดเลือดได้
1. ความถี่ของคลื่นที่เปลี่ยนไป
2. เฟสของคลื่นที่เปลี่ยนไป
3. แอมพลิจูดของคลื่นที่เปลี่ยนไป
4. ช่วงเวลาระหว่างคลื่นที่ส่งเข้าไปและสะท้อนออกมา

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


387 เสียงและการได้ยนิ

Step ความรู้ที่ 14 : คลืน่ กระแทก (Shock Wave)

𝑀 แทน เลขมัค(เลขที่บอกว่าเครื่องบินเร็วกว่าเสียงกี่เท่า)
𝜃 แทน มุมระหว่างหน้าคลื่นกระแทกกับเครื่องบิน
หรือ มุมที่ผู้ฟังเงยมองเครื่องบิน
𝑣𝑠 แทน อัตราเร็วของเครื่องบิน (m/s)

𝑣 แทน อัตราเร็วเสียง (m/s)


หมายเหตุ:ถ้าโจทย์บอกว่ามุมเงยเท่ากับ 30 องศาน้องควรรู้
ทันทีว่า M=2 (โจทย์พูดถึงบ่อย)
𝑥 แทน ระยะที่เครื่องบินห่างจากผู้ฟัง
ℎ แทน เพดานบิน (m)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 388

ค่าถาม ค่าตอบ
1.ปรากฏการณ์ดอปเปอร์กับคลื่นกระแทกต่างกันอย่างไร

2.รูปนี้แสดงการเกิดปรากฏการณ์ใด

รูป 1 รูป 2

3.เลขมัค(Mach Number) เท่ากับ 5 หมายความว่าอย่างไร

4. เลขมัค(Mach Number) มีสูตรหาอย่างไร

5.จากรูปเลขมัคมีค่าเท่าไร และจุดที่หน้าคลื่นซ้อนกันมีความดัน
เป็นอย่างไร

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


389 เสียงและการได้ยนิ

EXAM : 11 Step 1. จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


Step 2. วาดรูป
คลืน่ กระแทก Step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้(....)ค้างไว้

Ex1. เครื่องบินบินด้วยอัตราเร็ว 510 เมตรต่อวินาทีในแนวระดับ ซึ่งสูงจากพื้นดิน 6 กิโลเมตร ชายคนหนึ่งอยู่บน


ถนนจะได้ยินเสียงเครื่องบินเมื่อเครื่องบินอยู่ห่างชายผู้นั้นเป็นระยะทางเท่าใด
(ก่าหนดอัตราเร็วของเสียง = 340 เมตรต่อวินาที)

1. 6 กิโลเมตร
2. 6.7 กิโลเมตร
3. 9 กิโลเมตร
4. 12 กิโลเมตร
5. 13.5 กิโลเมตร

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 390

Ex2. เครื่องบินล่าหนึ่งก่าลังบินในแนวระดับด้วยอัตราเร็ว 2 มัค จงหา


o
1. มุมระหว่างหน้าคลื่นกระแทกกับแนวการเคลื่อนที่ของเครื่องบิน (ตอบ 30 )
o
2. ขณะผู้ฟังที่พื้นดินได้ยินเสียงเมื่อเครื่องบินผ่านแนวดิ่งไปแล้วเป็นมุมเท่าใด (ตอบ 60 )

5
Ex3. เครื่องบินล่าหนึ่งบินด้วยความเร็ว เท่า ของความเร็วเสียงในอากาศ ถ้าความเร็วเสียงในอากาศสม่า่ เสมอผู้ที่อยู่
3
ใต้ทางบินของเครื่องบินนั้นจะเริ่มได้ยินเสียงเมื่อเครื่องบินผ่านแนวดิ่งไปแล้วเป็นมุมเท่าไร
1. sin – 1(0.8)
2. sin – 1(0.6)
3. cos – 1 (0.8)
4. cos – 1 (0.75)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


391 เสียงและการได้ยนิ

Ex4. เครื่องบินความเร็วเหนือเสียง บินในแนวระดับผ่านเหนือศีรษะชายผู้หนึ่ง เมื่อเขาได้ยินเสียงของคลื่น


กระแทกเขาจะมองเห็นตัวเครื่องบินมีมุมเงยจากพื้น ดิน 30๐ เครื่องบินมีความเร็วเท่าใดในหน่วยเมตร/วินาที
ถ้าอัตราเร็วเสียงในอากาศเป็น 345 เมตร/วินาที (ตอบ 690 m/s)

Ex5. เครื่องบินล่านึ่งบินด้วยความเร็วเหนือเสียง ขนาด 2 มัคหรือเท่ากับสองเท่าของความเร็วเสียงในอากาศ ที่ระดับ


เพดานบิน 5,500 เมตร เป็นเวลานานกี่วินาที หลังจากที่เครื่องบินผ่านศีรษะของชายคนหนึ่ง ซึ่งยืนอยู่บน
พื้นดินไปแล้ว คลื่นกระแทกจึงจะเดินทางมาถึงเขา
ก่าหนดให้ ความเร็วของเสียงในอากาศเป็น 340 เมตร/วินาที

ให้ตอบเป็นเลขทศนิยม 2 ต่าแหน่ง ; 3 = 1.73 (ตอบ 14 s)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 392

Ex6. เครื่องบินโดยสารล่าหนึ่งบินเร็วกว่าเสียง บินผ่านบริเวณหนึ่งที่มีชาย 2 คนอยู่ ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนยอดเขา


สูง 300 เมตร ชายอีกคนหนึ่งยืนบนที่ราบห่างจากเชิงเขา 400 เมตร ถ้าปรากฏว่าชายทั้งสองคนได้ยินเสียง
เครื่องบินบินผ่านไปพร้อมกัน จงหาความเร็วของเครื่องบินเป็นกี่เท่าของความเร็วสียงในขณะนั้น
(ตอบ 5/3)

การบ้านชุดที่ 11

1. ในการศึกษาปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์โดยใช้ถาดคลื่น เมื่อนักเรียนจุ่มปลายดินสอที่ผิวน้่าด้วยจังหวะสม่่าเสมอ


พร้อมด้วยเคลื่อนปลายดินสอ ถ้าการทดลองของนักเรียนให้หน้าคลื่นดังรูป ข้อสรุปข้อใดต่อไปนี้เป็นข้อที่ถูกต้อง

1. การทดลองมีการเคลื่อนปลายดินสอไปทางซ้ายด้วยอัตราเร็วเท่ากับอัตราเร็วของคลื่น
2. การทดลองมีการเคลื่อนปลายดินสอไปทางขวาด้วยอัตราเร็วเท่ากับอัตราเร็วของคลื่น
3. การทดลองมีการเคลื่อนปลายดินสอไปทางซ้ายด้วยอัตราเร็วมากกว่าอัตราเร็วของคลื่น
4. การทดลองมีการเคลื่อนปลายดินสอไปทางขวาด้วยอัตราเร็วมากกว่าอัตราเร็วของคลื่น

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


393 เสียงและการได้ยนิ

3. เครื่องบินความเร็วเหนือเสียง บินเป็นแนวระดับผ่านเหนือศีรษะชายผู้หนึ่ง เมื่อเขาได้ยินเสียงของคลื่นกระแทก เขา


จะมองเห็นตัวเครื่องบินมีมุมเงยจากพื้นดิน 30๐ เครื่องบินมีความเร็วเท่าใดในหน่วยเมตร/วินาที ถ้าอัตราเร็วเสียง
ในอากาศเป็น 345 เมตร/วินาที
(ตอบ 690 m/s)

4. เรือเร็วล่าหนึ่งแล่นด้วยอัตราเร็ว 30 เมตร/วินาที ในแนวขนานฝั่งแม่น้่าห่างจากฝั่ง 90 เมตรคนที่อยู่ริม


แม่นา้่ จะสังเกตเห็นคลื่นจากเรือกระทบฝั่ง เมือ่ เรือแล่นผ่านไปแล้ว 4 วินาที จงหาอัตราเร็วของคลื่นน้่า
(ตอบ 18 m/s )

5. ชายคนหนึ่งอยู่ริมน้่า สังเกตเห็นเรือล่าหนึ่งแล่นอยู่ มีแนวหน้าคลื่นเป็นทางยาว 2 แนวท่ามุม 90๐ ต่อมา


สังเกตเห็นเป็นมุม 60๐ อยากทราบว่าในตอนหลังเรือแล่นเร็วขึ้นหรือช้าลงเป็นกี่เท่าของตอนแรก
(ตอบ 2 )

60°

6. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ความถี่ของเสียงที่ได้ยินเปลี่ยนไปจากเดิม เมื่อผู้ฟังเคลื่อนที่ออกจากต้นก่าเนิดเสียง
ข. คลื่นกระแทกเกิดเมื่อต้นก่าเนิดเสียงเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงมาก แต่ไม่เกินความเร็วเสียง
ค. การเกิดคลื่นด้านหลังของเสาสะพานในน้่าตามชายทะเลหรือในทะเลสาบ แสดงปรากฏการณ์
เลี้ยวเบนของคลื่น
ง. บีตส์ของเสียงเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเสียงทั้งสองคลื่นมีความถี่ต่างกันมากกว่า 7 เฮิรตซ์
ข้อความที่ถูกต้อง
1. ก. ข. และ ค.
2. ข. และ ค.
3. ก. และ ค.
4. ค่าตอบเป็นอย่างอื่น

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 394

การน่าความรูเ้ รื่องเสียงไปใช้ประโยชน์
นักวิทยาศาสตร์ได้น่าเอาความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ และสมบัติของเสียงมาประยุกต์ใช้ประโยชน์ต่างๆ ในชีวิตประจ่าวั นใน
หลายๆ ด้าน เช่น

1. ด้านสถาปัตยกรรม

ในการออกแบบอาคาร ห้องประชุมต่าง ๆ จะต้องค่านึงถึง


การสะท้อนของเสียง ถ้าต้องการลดเสียงสะท้อนก็ต้องออกแบบให้เกิด
เสียงสะท้อนกลับมาหักล้างกัน หรือใช้วัสดุที่ดูดกลืนเสียงบุผนังห้องและ
เพดาน แต่ถ้าต้องการให้มีเสียงสะท้อนกลับมา ก็ต้องออกแบบผนังห้อง
และเพดานในเกิดเสียงสะท้อนเสียงได้ดี

2. ด้านการประมง

ในปัจจุบันเรือประมงขนาดใหญ่จะมีเครื่อง โซนาร์ เพื่อใช้ในการหา


ต่าแหน่งของฝูงปลา

หลักการ โซนาร์จะปล่อยคลื่นเสียงความถี่สูงลงไปในน้่า
เมื่อคลื่นตกกระทบตัวปลาก็จะสะท้อนกับมายังเครื่องโซนาร์ ท่าให้ท
ราต่าแหน่งของฝูงปลา ในการส่ารวจความลึกของทะเลเพื่อท่าแผนที่
ทางทะเล หรือการค้นหาเรือด่าน้่าในด้านการทหารก็ใช้หลักการนี้

3. ด้านการแพทย์

ในด้านการแพทย์มีการน่าคลื่นเหนือเสียง ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยน
พลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานของคลื่นเสียงด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมี
ความถี่ในช่วง 1 – 10 เมกะเฮิรตซ์ มาใช้ในการตรวจอวัยวะภายใน
ของคนเรา เพื่อวินิจฉัยสาเหตุของความผิดปกติ เช่น ตรวจการ
ท่างานของลิ้นหัวใจ ตรวจมดลูก ตรวจครรภ์ ตรวจเนื้องอก ตับ
ม้าม และสมอง โดยส่งคลื่นดลของเสียงผ่านผิวหนังเข้าสู่ร่างกาย เมื่อ
ไปกระทบกับเนื้อเยื่อที่มีความหนาแน่นต่างกัน จะเกิดการสะท้อนได้ดี
ต่างกันเครื่องรับคลื่นสะท้อนจะเปลี่ยนคลื่นเสียงเป็นสัญญาณไฟฟ้าซึ่งเมื่อ
ผ่านเครื่องวิเคราะห์สัญญาณแล้วส่งไปยังคอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผลคลื่น
สะท้อนจากทิศทางต่าง ๆ เข้าด้วยกันแล้วส่งผลสรุปทีไ่ ด้ออกมาทาง
จอภาพ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


395 เสียงและการได้ยนิ

4.อุตสาหกรรม

ใช้คลื่นเสียงความถีส่ ูงเชื่อมพลาสตกให้ติดกัน

หลักการ เครื่องเชื่อมอัลตราโซนิกส์ จะส่งคลื่นเสียงความถี่สูง


ออกมา คลื่นเสียงจะถูกส่งไปยังพลาสติกที่ต้องการเชื่อม โมเลกุลของ
พลาสติกจะสั่นและเชื่อมติดกัน

ใช้คลื่นเสียงความถี่สูงท่าความสะอาดสิ่งสกปรกให้หลุดออกได้อย่างง่าย
เครื่องล้างชนิดนี้เรียกว่า

“เครือ่ งล้าง อัลตราโซนิกส์”

หลักการ คลื่นเสียงความถี่สูงจะท่าให้โมเลกุลของสิ่งสกปรกสั่นด้วย
ความถี่สูงและหลุดออก

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 396

แบบฝึกหัดเพิม่ เติม เสียง (Sound)

1. น้่ามีค่าบัคมอดูลัส 2.0x109 นิวตัน/ตารางเมตร และมีความหนาแน่น 103 กิโลกรัม/ลบ.เมตร จงหาอัตราเร็ว


ของเสียงในน้่ามีค่ากี่เมตร/วินาที

(ตอบ 1.414x 103 m/s)

2.ล่าโพง A และ B วางอยู่ในห้องประชุมที่มีอุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส ล่าโพง A ให้ก่าลังเสียง 4x10-2 วัตต์


ล่าโพง B ให้ก่าลังเสียง 3.5x10-2 วัตต์ โดยทั้งสองล่าโพงกระจายเสียงออกไปโดยรอบอย่างสม่่าเสมอ ถ้าล่าโพงทั้ง
สองสั่นในเฟสเดียวกันด้วยความถี่ 88 Hz จงหาความแตกต่างของสัญญาณจากล่าโพงทั้งสองทีก่ ลางห้อง ซึ่งห่าง
จาก A 17 เมตร และห่างจาก B 20 เมตร มีค่ากี่องศา

(ตอบ 270 องศา)

3. เรือเร็วล่าหนึ่งแล่นออกจากฝั่งซึ่งมีหน้าหน้าผาด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที เมื่อเปิดหวูดขึ้นหลังจากนั้น4 วินาที


จึงได้ยินเสียงสะท้อนจากหน้าผา ถ้าอัตราเร็วเสียงในอากาศ 350 เมตร/วินาที ในขณะเรือเปิดหวูดเรืออยู่ห่างจาก
หน้าผากี่เมตร (ตอบ 270 m)

4. คางค้าวบินในสวนส้ม ต้องการกินส้มให้ได้ทุกผล จึงปล่อยคลื่นเสียงที่มีความถี่ 4,250 Hz โดยที่ส้มผลเล็กที่สุด


มีเส้นรอบวง 25.12 ซม. จงวิเคราะห์ว่าอุณหภูมิในสวนขณะนั้นควรเป็นเท่าใด (ก่าหนด  = 3.14)

1. 12 ๐C 2. 13 ๐C 3. 14 ๐C 4. 15 ๐C

5.ล่าโพงอาพันธ์ S1 และ S2 ห่างกัน 6 เมตร ให้เสียงมีความถี่ 680 เฮิรตซ์ เฟสตรงกัน ถ้าเดินจาก P ไปยัง P
เป็นรูปครึ่งวงกลมโดยมี Q เป็นจุดศูนย์กลางรัศมี 40 เมตร และ OP ยาว 120 เมตร จะได้ยินเสียงค่อยลงไปกี่
ครั้ง ก่าหนดอัตราเร็วในอากาศเท่ากับ 340 เมตร/วินาที
𝑃 (ตอบ 8 ครัง้ )
𝑠1
40m

𝜃
6m

𝑠2
𝑃′

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


397 เสียงและการได้ยนิ

6. แหล่งก่าเนิดเสียงที่ให้ก่าลังเสียง  10 วัตต์ ผู้ฟังอยู่ไกลจากแหล่งก่าเนิดเสียงมากที่สุดเท่าใดจึงพอจะได้ยินเสียง


10

เมื่อความเข้มเสียงต่่าสุดที่ได้ยินเท่ากับ 10-12 วัตต์/ตารางเมตร

(ตอบ 5 m)
8
7. ณ ต่าแหน่งซึ่งอยู่ห่างจากแหล่งก่าเนิดเสียง 10 เมตร มีความเข้มเสียง 2 10 วัตต์/ตารางเมตร ถ้าอีกต่าแหน่ง
หนึ่งห่างจากแหล่งก่าเนิดเสียงเดียวกัน 5 เมตร จะมีความเข้มเสียงเท่าใด

(ตอบ 8x10-8 W/m2)

8. นายสั่งสอนอยู่ห่างจากแหล่งก่าเนิดเสียงอันหนึ่งได้ยินเสียงมีความเข้ม 10-6 วัตต์ต่อตารางเมตร เมื่อเขาเดินออกไป


อีกจนได้ยินเสียงค่อยที่สุดจึงหยุด อยากทราบว่าตอนหลังเขาอยู่ห่างจากแหล่งก่าเนิดเสียงเป็นกี่เท่าของระยะเดิม

(ตอบ 1,000)

9. แหล่งก่าเนิดเสียงให้เสียงมีพลังงาน 4 10 จูล ในเวลา 1 วินาที ถ้าอากาศดูดกลืนเสียง 20% ตลอดการ


4

เคลื่อนที่ จงหาความเข้มเสียงที่ต่าแหน่งห่างจากแหล่งก่าเนิดเสียง 20 เมตร

(ตอบ 0.5x10-7 W/m2)

10. ณ ต่าแหน่งซึ่งอยู่ห่างจากแหล่งก่าเนิดเสียงอันหนึ่งวัดค่าความเข้มเสียงได้ 10-10 วัตต์ต่อตารางเมตร ณ ต่าแหน่ง


นี้จะมีค่าระดับความเข้มเสียงเท่าใด (ตอบ 20 dB)

11. ณ จุดซึ่งอยู่ห่างจากแหล่งก่าเนิดเสียงแหล่งหนึ่งมีระดับความเข้มเสียง 60 เดซิเบล ณ จุดนัน้ จะมีค่าความเข้มเสียง


เท่าใด (ตอบ 1x10-6 W/m2)

12. จากข้อที่ผา่ นมา ถ้าจุดนั้นอยู่ห่างจากแหล่งก่าเนิดเสียง 5 เมตร แหล่งก่าเนิดส่งเสียงด้วยก่าลังเท่าใด

(ตอบ 3.14x10-4 W)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 398

13. วางเครื่องวัดระดับความเข้มเสียงห่างจากล่าโพง 10 เมตร พบว่าระดับความเข้มเสียงเท่ากับ 80 เดซิเบล ก่าลัง


เสียงของแหล่งก่าเนิดเป็นเท่าใด (  = 3.14)

(ตอบ 12.56x10-2 W)

14. ระดับเสียงจากการท่างานของเครื่องจักร 5 เครื่องมีค่าเป็น 100 เดซิเบล ถ้าเดินเครื่องจักรเพียง 1 เครื่อง


ระดับเสียงใหม่จะเป็นเท่าใด

1. 93 dB
2. 83 dB
3. 60 dB
4. 20 dB
15. นักร้องประสานเสียงกลุ่มหนึ่งมี 40 คน จะส่งเสียงมีระดับความเข้มเสียง 60 เดซิเบล ทีจ่ ุดห่างออกไป 40
เมตร อยากทราบว่าถ้ามีนักร้องประสารเสียงอีกกลุ่มหนึ่งมี 60 คน จะให้เสียงมีระดับความเข้มเสียงเท่าใดที่จุด
ห่างออกไป 60 เมตร (ถ้าถือว่านักร้องแต่ละคนให้ก่าลังเสียงออกมาเท่ากัน)

(ตอบ 58.239 dB)

16. แหล่งก่าเนิดเสียงหนึ่งส่งเสียงออกไปทุกทิศทางอย่างสม่่าเสมอ ณ ต่าแหน่งซึ่งห่างจากแหล่งก่าเนิดเสียง 10 เมตร


วัดระดับความเข้มเสียงได้ 60 เดซิเบล จงหาระดับความเข้มเสียง ณ ต่าแหน่งที่อยู่ห่าง จากแหล่งก่าเนิดเสียง
100 เมตร (ตอบ 40 dB)

17. ชายคนหนึ่ง สวมเครื่องป้องกันเสียงซึ่งลดความเข้มเสียงลงได้ 84.5% เมื่อเขาอยู่ห่างจากแหล่งก่าเนิดเสียง 3


เมตร พบว่าเสียงมีความเข้ม 120 เดซิเบล แหล่งก่าเนิดเสียงมีก่าลังกี่วัตต์(ก่าหนด  = 3.1)

(ตอบ 720 W)

18. แหล่งก่าเนิดให้เสียงมีระดับความเข้มเสียง 90 เดซิเบล ผ่านหน้าต่างซึ่งมีพื้นที่ 1.5 ตารางเมตรจงหาก่าลังของ


แหล่งก่าเนิดเสียง (ตอบ 1.5x10-3 W)

19. เสียงจากแหล่งก่าเนิด 2 แหล่ง ที่มายังจุดสังเกตหนึ่งพบว่ามีความเข้มสัมพัทธ์ 1/10จงหาผลต่างของระดับความ


เข้มเสียงทั้งสอง ณ จุดสังเกตนี้ (ตอบ 10 dB)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


399 เสียงและการได้ยนิ

20. วิทยุเครื่องหนึ่งใช้พลังงานจากถ่านไฟฉาย เมื่อเปิดวิทยุให้มีความเข้มเสียง 80 dB โดยวัดที่ระยะห่างจากวิทยุ 1


เมตร จะเปิดวิทยุได้นาน 1,000 ชั่วโมง ถ้าเปิดวิทยุให้มีระดับความเข้มของเสียง 100 dB โดยวัดที่ระยะห่างจาก
วิทยุ 1 เมตร จะเปิดวิทยุได้นานเท่าใด

(ก่าหนดความเข้มของเสียงที่เบาที่สุดที่มนุษย์ได้ยิน = 10-12 วัตต์/ตารางเมตร)

(ตอบ 10 hr)

21. ในโรงงานแก้วแหล่งหนึ่ง มีระดับความเข้มเสียง 100 เดซิเบล ถ้าคนงานใช้เครื่องกรองเสียงครอบหูปรากฏว่าลด


ความเข้มเสียงได้ 99.99% ของปริมาณความเข้มเสียงเดิม คนงานจะได้ยินเสียงมีระดับความเข้มเสียงเท่าใด
(ตอบ 60 dB)

22. แหล่งก่าเนิดเสียงอันหนึ่งมีก่าลัง 20 วัตต์ วัดระดับความเข้มเสียงที่ต่าแหน่งหนึ่งได้ 80 dB ถ้าเพิ่มก่าลังของ


แหล่งก่าเนิดเป็น 30 วัตต์ แล้วรับฟังเสียงที่ต่าแหน่งเดิมจะได้ยินเสียงมีระดับความเข้มเท่าไร

(ตอบ 81.761 dB)

23. เสียงจากเครื่องจักรเครื่องหนึ่งมีระดับความเข้มเสียงที่ระยะห่าง 1 เมตร เป็น 90 เดซิเบล ถ้ามีเครื่องจักรแบบ


เดียวกันเดินเครื่องพร้อมกัน 2 เครื่อง พนักงานที่สวมเครื่องกรองเสียงจะลดความเข้มเสียงได้ 75% จะได้ยินเสียง
จากเครื่องจักรทั้งสอง มีระดับความเข้มเสียงเท่าใด เมื่อเขายืนอยู่ห่างจากเครื่องจักรเป็นระยะ 4 เมตร

(log2 = 0.3010) (ตอบ 74.95 dB)

24. เสียงรบกวนบนถนนวัดระดับความเข้มของเสียงได้ 90 dB แต่ภายในรถยนต์ที่ปิดมิดชิดระดับความเข้มของ


เสียงลดเหลือ 70 dB ถามว่าความเข้มเสียงภายในรถยนต์เป็นเปอร์เซ็นต์ ของความเข้มเสียงนอกรถยนต์
1. 77%
2. 70%
3. 20%
4. 1%

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 400

25. แหล่งก่าเนิดเสียงเท่ากัน A และ B ผลิตคลื่นเสียงที่มีความถี่ f และ 2f เฮิรตซ์ ตามล่าดับ ผู้สังเกต C อยู่


กึ่งกลางระหว่าง A กับ B เมื่อถือว่าไม่มีลมพัด และ A และ B ผลิตคลื่นเสียงที่เวลาเดียวกัน ข้อสรุปของผู้
สังเกต C ต่อไปนี้ ข้อใดถูก
ก. คลื่นเสียงจากแหล่งทั้งสองมาถึงเขาพร้อมกัน
ข. ความเข้มเสียงจาก A เป็นสองเท่าของจาก B
ค. ความยาวคลื่นจาก A เป็นสองเท่าของจาก B
1. ก และ ข 2. ก และ ค 3. ข และ ค 4. ก เท่านั้น

26. จงหาความถี่เสียง ซึ่งเป็นคู่แปดสูง และคู่แปดต่่าของเสียง 400 Hz

(ตอบ 800 และ 200 Hz)

27. เมื่อเคราะห์ส้อมเสียง A ความถี่ 506 Hz พร้อมกับซ่อมเสียง B จะเกิดเสียงดังขึ้น 8 ครั้งใน 4 วินาที เสียง


ที่ได้ยินจะมีความถี่เท่าใด
1. 503 Hz
2. 504 Hz
3. 505 Hz
4. 510 Hz
28. ส้อมเสียงสองอันให้คลื่นเสียงมีความยาวคลื่น 2 เมตร และ 2.05 ตามล่าดับ เมื่อเคาะส้อมเสียงทั้งสองพร้อมกัน
ท่าให้เกิดบีตส์ 4 ครั้ง/วินาที จงหาอัตราเร็วของ คลื่นเสียงในขณะนั้น

(ตอบ 328 m/s)

29. เมื่อเคาะส้อมเสียง 2 อัน พร้อมกัน เกิดเสียงบีตส์มีความถี่ 6 เฮิรตซ์ โดยส้อมเสียงอันหนึ่งรู้ค่าว่ามีความถี่ 470


เฮิรตซ์ เมื่อน่าเทปกาวแผ่นเล็กๆ มาติดที่ส้อมเสียงอันนี้ แล้วเคาะพร้อมกันใหม่ ปรากฏว่าความถี่บีตส์ลดลงเหลือ
3 เฮิรตซ์ จงหาความถี่ของส้อมเสียงอีกอันหนึ่งว่ามีค่ากี่เฮิรตซ์

(ตอบ 464 Hz)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


401 เสียงและการได้ยนิ

30. หลอดเทียบเสียง A, B และ C ให้เสียงที่มีความถี่ต่างกันโดย B ให้เสียงที่มีความถี่สูงที่สุด และให้ A มีความถี่


440 เฮิรตซ์ เมื่อหลอด A และ B ให้เสียงพร้อมกันจะเกิดบีตส์ 11 ครั้ง ใน 2 วินาที และเมื่อหลอด B และ
หลอด C ให้เสียงพร้อมกัน จะเกิดบีตส์ 7 ครั้ง ใน 2 วินาที หลอด C ให้เสียงที่มีความถี่กี่เฮิรตซ์
(ตอบ 442 Hz)

31. ส้อมเสียง 10 อัน เรียงความถี่จากน้อยไปมาก ส้อมเสียงที่ติดกันจะเกิดเสียงบีตส์ 7 ครั้ง/วินาที


ส้อมเสียงอันที่ 5 เป็นเสียงคู่แปดของเสียงอันที่ 1 ส้อมเสียงอันที่ 8 จะมีความถี่กี่ Hz
1. 70
2. 77
3. 84
4. 91

32. ในการทดลองการสั่นพ้องของเสียงโดยใช้หลอดเรโซแนนซ์ ถ้าความถี่เสียงเท่ากับ 500 เฮิรตซ์ และความเร็วของ


คลื่นเสียงเท่ากับ 340 เมตร/วินาที ขณะค่อยๆเลื่อนต่าแหน่งของลูกสูบ พบว่าเกิดเสียงดังที่สุดครั้งแรกที่ 16
เซนติเมตร จากปากหลอดตามหลักการคาดว่าเสียงดังที่สุดครั้งที่สองจะเกิดเมื่อลูกสูบอยู่ห่างจากปากหลอดเป็น
ระยะเท่าใด
1. 48 cm
2. 50 cm
3. 51 cm
4. 84 cm
33. หลอดก่าทอนยาว 20 cm ให้เสียงที่มีความถี่ต่างๆออกมาหลายค่า คนปกติจะได้ยินเสียงจากหลอดก่าทอนนี้
ในช่วงความถี่เท่าไร ถ้าระดับความเข้มเสียงที่แต่ละความถี่สูงพอที่คนจะได้ยินและช่วงความถี่ของเสียงคือ 20 –
20,000 Hz และความเร็วเสียงในอากาศเป็น 360 m/s

1. 450 – 19,350 Hz

2. 450 – 19,800 Hz

3. 900 – 18,900 Hz

4. 900 – 19,800 Hz

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 402

34. ในการทดลองเรื่องการวัดความยาวคลื่นเสียงถ้าต่าแหน่งลูกสูบใกล้ปากหลอดเรโซแนนซ์มากที่สุดที่ให้เสียงดังมาก
มีระยะห่างจากปากหลอดเรโซแนนซ์ x มีค่าเป็น 20 เซนติเมตร พบว่าความถี่ของสัญญาณเสียงมีค่า 520
เฮิรตซ์ การทดลองนี้จะได้ยินเสียงดังมากอีกครั้ง
1. ลดความถี่ 130 เฮิรตซ์ 2. ลดระยะทาง x เป็น 10 เซนติเมตร
3. เพิ่มความถี่เป็น 1,560 เฮิรตซ์ 4. เพิ่มระยะทาง x เป็น 10 เซนติเมตร
35. ถ้าความเร็วของเสียงในอากาศเท่ากับ 340 เมตร/วินาที ส้อมเสียงจะต้องสั่นด้วยความถี่เท่าใดจึงจะท่าให้เกิดก่า
ทอนได้เมื่อจ่อใกล้ปากกระบอกตวงซึ่งยาว 20 เซนติเมตร (ตอบ 425 Hz)

36. ในการทดลองหาอัตราเร็วของเสียงโดยใช้หลอดก่าทอน เมื่อใช้แหล่งก่าเนิดเสียงความถี่ 800 เฮิรตซ์ ต่าแหน่งที่


เสียงดังมากสองครั้งถัดกันห่างกันเป็นระยะ 21.5 เซนติเมตร จงหาอัตราร็วของเสียงนี้

(ตอบ 344 m/s)

37. หลอดแก้วรูปทรงกระบอกปลายปิดข้างหนึ่ง ถ้าน่ามาใส่น้่าให้มีระดับต่างๆกัน แล้วน่าส้อมเสียงที่ก่าลังสั่นให้เกิด


เสียงไปไว้ใกล้ปากหลอดแก้วสูง 15 เซนติเมตร ครั้งที่ 2 มีน้่าในหลอดแก้วสูง 47 เซนติเมตร ส้อมเสียงสั่นด้วย
ความถี่กี่เฮิรตซ์ ถ้าอัตราเร็วเสียงในอากาศขณะนั้นมีค่า 352 เมตรต่อวินาที

(ตอบ 550 Hz)

38. ในการทดลองเรื่องการสั่นพ้องของเสียง ใช้ส้อมเสียงความถี่ค่าหนึ่ง ท่าให้เกิดการสั่นพ้องที่ต่าแหน่ง 115, 365


และ 615 มิลลิเมตรตามล่าดับ ถ้าอัตราเร็วเสียงเท่ากับ 340 เมตร/วินาที ความถี่ของส้อมเสียงที่ใช้มีค่ากี่เฮิรตซ์
(ตอบ 680 Hz)

39. ท่อปลายเปิดทั้งสองข้างยาว 5.9 เมตร และท่อปลายปิดข้างหนึ่งเปิดยาว 3.0 เมตร ความถี่มูลฐานของเสียงที่เกิด


จากท่อทั้งสองนี้เมื่อรวมกันจะเกิดบีสต์ที่มีความถี่ 5 Hzจะหาความถี่มูลฐานของท่อปลายปิดข้างหนึ่งในหน่วย Hz
(ตอบ 295 Hz)

40. ส้อมเสียงที่มีความถี่ 256 Hz จะท่าให้ท่อปลายปิดข้างเดียวแท่งหนึ่งเกิดก่าทอน ถ้าความเร็วของเสียงในอากาศ


นั้นเท่ากับ 330 เมตรต่อวินาที จะต้องตัดท่อด้านปลายเปิดให้สั้นลงเท่าไรจึงจะเกิดเสียงความถี่สูงขึ้น 4 Hz
(ไม่ต้องคิด end - correction)
1. 0.2 cm
2. 0.3 cm
3. 0.4 cm
4. 0.5 cm

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


403 เสียงและการได้ยนิ

41. ลวดยาว 100 เซนติเมตร ขึงให้ตรึงที่ปลายทั้งสองข้าง เมื่อดีดตรงกลางจะเกิดเสียงบีตส์ 4 ครั้ง/วินาที กับส้อม


เสียงอันหนึ่งและเมื่อเปลี่ยนความยาวของลวดเป็น 102 เซนติเมตร โดยไม่เปลี่ยนความตึง จะเกิดเสียงบีสต์ 4
ครั้ง/วินาที กับส้อมเสียงอันเดิม จงหาความเร็วของคลื่นในเส้นลวด
1. 204 m/s
2. 404 m/s
3. 408 m/s
4. 816 m/s

42. เทอร์โมมิเตอร์อันหนึ่งท่างานโดยใช้หลักการก่าทอนและการที่ความเร็วเสียงเปลี่ยนไปกับอุณหภูมิที่เป็นองศา
เซลเซียสตามความสัมพันธ์ Vt = 331+0.6t เมตรต่อวินาที ถ้าสมมติว่าหลอดก่าทอนมีการขยายตัวเนื่องจาก
อุณหภูมิน้อยมาก และการก่าทอนที่ความถี่ 500 เฮิรตซ์เกิดที่อุณหภูมิ 31.7 C จงหาอุณหภูมิที่เทอร์โมมิเตอร์
นี้วัดได้ขณะเกิดการก่าทอนด้วยความถี่ 600 เฮิรตซ์

(ตอบ 148 oC)

43. S เป็นแหล่งก่าเนิดซึ่งอยู่นิ่งๆในอากาศ และส่งคลื่นเสียงออกมาเต็มบริเวณไปหมด อยากทราบว่า เราต้องวิ่ง


อย่างไรจึงจะพอดีที่จะไม่ได้ยินเสียงที่ส่งออกมาจาก S ทั้งนี้ก่าหนดให้ว่า ความเร็วของคลื่นเสียงเท่ากับ v และ
ความถี่ที่เราไม่สามารถได้ยินนั้นมีค่าเท่ากับศูนย์พอดี
1. วิ่งรอบ S เป็นวงกลมตามแนวของหน้าคลื่นด้วยอัตราเร็ว v
2. วิ่งเข้าหา S ด้วยอัตราเร็ว v
3. วิ่งกลับไปกลับมาในแนวผ่านจุด S ด้วยอัตราเร็ว v
4. วิ่งหนีจาก S ด้วยความเร็ว v

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสกิ ส์ 404

44. ค้างคาวตัวหนึ่งบินเข้าหาก่าแพงด้วยความเร็ว 20 เมตร/วินาที ขณะบินค้างคาวส่งเสียงร้องด้วยความถี่


20,000 เฮิรตซ์ตลอดเวลา ถ้าอัตราเร็วเสียงในอากาศเป็น 340 เมตร/วินาที จงหา

1. ความยาวคลื่นด้านหน้าและด้านหลังค้างคาว 2. เสียงจากค้างคาวกระทบก่าแพงด้วยความถี่เท่าใด

(ตอบ 0.016 m, 0.018 m) (ตอบ 21,250 Hz)

3. เสียงสะท้อนจากก่าแพงท่าให้ค้างคาวได้ยิน

เสียงมีความถี่เท่าใด (ตอบ 22,500 Hz)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


405 เสียงและการได้ยนิ

45. ท่อประปาท่าด้วยโลหะมีความหนาและขนาดสม่่าเสมอ ยาวมาก ภายในท่อมีน้่าอยู่เต็ม ช่างประปาคนหนึ่งเคาะท่อ


ด้วยคีมเหล็กอย่างแรง 2 ครั้ง ในช่วงเวลาห่างกัน 1 วินาที คลื่นเสียงที่เกิดขึ้นจะเดินทางไปในโลหะด้วยความเร็ว
4,500 เมตร/วินาที และในน้่า 1,500 เมตรต่อวินาที จงหาต่าแหน่งบนท่อน้่าที่จะเกิดเสียงดังมากกว่าปกติ โดย
วัดจากจุดเคาะ
1. 1,500 เมตร
2. 1,750 เมตร
3. 2,250 เมตร
4. 3,000 เมตร

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์

You might also like