You are on page 1of 38

1.

กระแสไฟฟ้า
ขั้วบวก ขั้วลบ
สนามไฟฟ้า

e Q

กระแสไฟฟ้า เป็นเพียงกระแสสมมติที่มีทิศทางตรงข้ามกับกระแสอิเล็กตรอน (ไหลทิศทางเดียวกับประจุบวก)


มีทิศทางเดียวกับสนามไฟฟ้า สามารถหากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวนาได้จากสมการ
Q ne
I   NevA (1)
t t
เมื่อ I คือ กระแสไฟฟ้า (แอมแปร์, A )
Q คือ ประจุไฟฟ้าที่ไหลผ่านพื้นที่หน้าตัดตัวนา (คูลอมบ์, C )
t คือ เวลาที่ประจุไฟฟ้าไหลผ่าน (วินาที, s )
n คือ จานวนอิเล็กตรอนที่ไหลผ่าน(ภายในปริมาตรของตัวนาที่กาหนด)
e คือ ประจุของอิเล็กตรอน มีค่า 1.6  10 19 คูลอมบ์
N คือ ความหนาแน่นของอิเล็กตรอน (จานวนอิเล็กตรอนต่อลบ.เมตร)(เมตร-3, m-3)
v คือ ความเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอน (เมตร/วินาที, m s)
A คือ พื้นที่หน้าตัดของตัวนา (เมตร2, m 2 )

ตัวอย่างที่ 1 จากกราฟความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านลวดตัวนากับเวลา จงหา


(1) ประจุไฟฟ้าที่ไหลผ่านลวดตัวนาในช่วงวินาทีที่ 5 ถึงวินาที่ที่ 20
(2) จานวนอิเล็กตรอนในช่วงเวลาเดียวกับข้อ (1)
กระแสไฟฟ้า (แอมแปร์)
5

2
เวลา (วินาที)
5 20
ตัวอย่างที่ 2 ลวดโลหะสม่าเสมอมีพื้นที่หน้าตัด 0.5 ตารางมิลลิเมตร มีมวล 50 กรัม และมีความหนาแน่น 8 กรัม/
ลูกบาศก์เซนติเมตร เมื่อปล่อยกระแสผ่านลวด 5 แอมแปร์ ทาให้เกิดการไหลผ่านพื้นที่หน้าตัดหนึ่งของอิเล็กตรอน
6.0  10 23 อนุภาค จงหาอัตราเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนในหน่วย cm s
2

2. กฎของโอห์ม
กฎของโอห์มกล่าวไว้ว่า “ปริมาณประแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวนาหนึ่ง จะแปรผันตรงกับความต่างศักย์” สามารถ
เขียนความสัมพันธ์ได้เป็น
I V
หรือ I  kV
V
จะได้ I (2)
R
เมื่อ I คือ กระแสไฟฟ้า (แอมแปร์, A )
V คือ ความต่างศักย์ (โวลต์, V )
R คือ ความต้านทาน (โอห์ม,  )
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์หลายชนิดต่างก็มีความต้านทาน ยกตัวอย่างเช่น
1. ตัวต้านทานค่าคงตัว ค่าความต้านทานจากตัวต้านทานนี้สามารถอ่านได้จากแถบสีบนตัวต้านทาน โดยทั่วไป
มี 4 แถบ แต่ละแถบสีใช้แทนตัวเลขอันมีความหมายดังนี้
แถบที่ 1 บอกเลขตัวแรก
แถบที่ 2 บอกเลขตัวที่สอง
แถบที่ 3 บอกเลขยกกาลังของสิบ และคูณกับเลขสองตัวแรก
แถบที่ 4 บอกความคลาดเคลื่อนเป็นร้อยละ
และแต่ละแถบสีมีความหมายเป็นตัวเลขดังนี้
แถบสี แถบที่ 1 แถบที่ 2 แถบที่ 3 แถบที่ 4
แทนเลข แทนเลข คูณด้วย ความคลาดเคลื่อน
ดา 0 0 1 -
น้าตาล 1 1 10 1 ± 1%
แดง 2 2 10 2 ± 2%
ส้ม 3 3 103 -
เหลือง 4 4 10 4 -
เขียว 5 5 105 -
น้าเงิน 6 6 10 6 -
ม่วง 7 7 - -
เท่า 8 8 - -
ขาว 9 9 - -
ทอง - - 10 -1 ± 5%
เงิน - - 10-2 ± 10%
ตัวต้านทานค่าคงตัวจึงทาหน้าที่จากัดค่ากระแสไฟฟ้าในวงจร
2. ตัวต้านทานแปรค่า สามารถแปรค่าได้จากการหมุนหรือเลื่อนหน้าสัมผัส ตัวต้านทานแปรค่าจึงทาหน้าที่
ควบคุมกระแสไฟฟ้าในวงจร
3

3. แอลดีอาร์ เป็นตัวต้านทานที่ความต้านทานขึ้นกับความสว่างของแสง นั่นคือ มีความต้านทานสูงในที่มืด แต่


มีความต้านทานต่าในที่สว่าง
4. เทอร์มิสเตอร์ เป็นตัวต้านทานที่ความต้านทานขึ้นกับอุณหภูมิของสภาพแวดล้อม เทอร์มิสเตอร์แบบ NTC
มีความต้านทานสูงเมื่ออุณหภูมิต่า แต่มีความต้านทานต่าเมื่ออุณหภูมิสูง เทอร์มิสเตอร์จึงทาหน้าที่รับรู้อุณหภูมิในเทอร์
มอมิเตอร์บางชนิด
5. ไดโอด ทาจากสารกึ่งตัวนา มีขาต่อ 2 ข้างที่ทาด้วยลวดโลหะแสดงขั้วไฟฟ้าบวกและขั้วไฟฟ้าลบเมื่อต่อ
ไดโอดกับวงจร ไดโอดจะยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน เรียกการต่อลักษณะนี้ว่า ไบแอสตรง นั่นคือ ไดโอดมีความ
ต้านทานน้อย แต่เมื่อสลับขั้วของไดโอด ไดโอดจะกั้นไม่ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน เรียกการต่อลักษณะนี้ว่า ไบแอสกลับ
นั่นคือ ไดโอดมีความต้านทานสูงมาก ไดโอดจึงทาหน้าที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ทิศทางเดียว

ตัวอย่างที่ 3 จงอ่านค่าความต้านทานที่มีแถบสี คือ น้าตาล ดา น้าตาล และทอง

จากสมการ (2) จะพบว่าความต้านทาน ( R ) มีผลต่อการนากระแสไฟฟ้า ( I ) สาหรับตัวนาใด ๆ จะได้ว่า


L
R
A
L
หรือ R (3)
A
เมื่อ R คือ ความต้านทานของตัวนา (โอห์ม,  )
 คือ สภาพต้านทาน (โอห์ม – เมตร,   m )
L คือ ความยาวของตัวนา (เมตร, m )
A คือ พื้นที่หน้าตัดของตัวนา (เมตร2, m 2 )

ตัวอย่างที่ 4 ลวดที่มีความต้านทานเส้นหนึ่ง เมื่อต่อความต่างศักย์ 4.0 10 3 โวลต์ จะมีกระแสไหลผ่าน 2.0


มิลลิแอมแปร์ ถ้าต่อด้วยความต่างศักย์ 1.6 โวลต์ จะมีกระแสไหลผ่านเท่าใด

ตัวอย่างที่ 5 ลวดเหล็กมีเส้นผ่านศูนย์กลางเป็นสองเท่าของลวดทองแดงและมีสภาพต้านทานเป็น 6 เท่า ของ


ลวดทองแดง ถ้าต้องการให้ลวดทองแดงและลวดเหล็กมีความต้านทานเท่ากัน จะต้องใช้ลวดทองแดงและลวดเหล็กที่มี
อัตราส่วนความยาวเท่าใด
4

ตัวอย่างที่ 6 ในการทดลองหาค่าสภาพต้านทานของสารแท่งสี่เหลี่ยมผืนผ้ายาว 5 เซนติเมตร และมีพื้นที่หน้าตัด


0.2 ตารางเซนติเมตร ถ้าผ่านกระแสไฟฟ้า 1 มิลลิแอมแปร์ แล้ววัดความต่างศักย์ระหว่างปลายทั้งสองข้างได้ 0.25
โวลต์ จงหาค่าสภาพต้านทานของสารนี้

ตัวอย่างที่ 7 สายไฟสองเส้นทาจากโลหะชนิดเดียวกัน โดยที่เส้นที่สองมีพื้นที่หน้าตัดเป็น 3 เท่าของเส้นแรก และมี


ความยาวเป็น 5 เท่าของเส้นแรก ถ้าให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านสายไฟทั้งสองในปริมาณเท่ากัน อยากทราบว่าความต่าง
ศักย์ระหว่างปลายทั้งสองของสายไฟเส้นที่สองจะเป็นกี่เท่าของเส้นแรก

3. พลังงานไฟฟ้า และกาลังไฟฟ้า

พลังงานไฟฟ้า คือ พลังงานในการนาพาประจุ Q ให้เคลื่อนที่ครบวงจร สามารถหาได้จากสมการ


W  QV
V 2t
จากกฎของโอห์ม จะได้ W  IVt  I Rt 
2
(4)
R
พลังงานไฟฟ้าอาจแยกพิจารณาได้ ดังนี้
1. พลังงานไฟฟ้าจากแหล่งกาเนิดไฟฟ้า
2. พลังงานไฟฟ้าที่สูญเสียให้แก่ตัวต้านทาน
กาลังไฟฟ้า คือ พลังงานไฟฟ้าที่ถูกใช้ไปในหนึ่งหน่วยเวลา สามารถหาได้จาก
V2
P  IV  I 2 R  (5)
R
เมื่อ W คือ พลังงานไฟฟ้า (จูล, J )
P คือ กาลังไฟฟ้า (วัตต์, W )

ตัวอย่างที่ 8 เตาไฟฟ้าหนึ่งประกอบด้วยลวดให้ความร้อนซึ่งมีความต้านทาน 100 โอห์ม เมื่อต่อเข้ากับความต่าง


ศักย์ 220 โวลต์ เป็นเวลา 5 นาที จะมีความร้อนเกิดขึ้นเท่าใด หากไม่คิดประสิทธิภาพของเตาไฟฟ้า
5

ตัวอย่างที่ 9 หลอดไฟหลอดแรกมีความต้านทาน 4 โอห์ม ต่อกับแบตเตอรี่ 12 โวลต์ หลอดไฟที่สองมีความ


ต้านทาน 5 โอห์ม ต่อกับแบตเตอรี่ 15 โวลต์ กาลังไฟฟ้าที่หลอดทั้งสองใช้ต่างกันอยู่เท่าใด

ตัวอย่างที่ 10 ลวดตัวนายาว 50 เซนติเมตร มีพื้นที่หน้าตัด 0.4 มิลลิเมตร ถ้ามีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวด


1 แอมแปร์ จะเกิดอัตราการเปลี่ยนแปลงพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน 50 มิลลิวัตต์ จงหาสภาพต้านทานของ
ลวดตัวนานี้

ตัวอย่างที่ 11 เตารีดไฟฟ้าขนาด 1000 วัตต์ สามารถใช้กับไฟบ้านได้ 220 โวลต์ ถ้าไฟตกเหลือ 200 โวลต์ เตารีดนี้
จะกาลังไฟฟ้าได้เท่าใด

ตัวอย่างที่ 12 ถ้าตัวทาให้เกิดความร้อนทาให้อุณหภูมิของน้าจานวน 1.5 กิโลกรัม เปลี่ยนอุณหภูมิจาก 15 องศา


เซลเซียส เป็น 90 องศาเซลเซียส ภายในเวลา 4 นาที จงหากาลังของตัวทาให้เกิดความร้อนนี้ (ความจุความร้อน
จาเพาะของน้ามีค่า 4200 จูล/กิโลกรัม.เคลวิน)

ตัวอย่างที่ 13 ถ้าผ่านกระแสไฟฟ้าขนาด 5 แอมแปร์ ความต่างศักย์ 220 โวลต์ ไปยังกาต้มน้าไฟฟ้าแบบขดลวดซึ่งมี


น้าบรรจุอยู่ 500 กรัม จงคานวณหาเวลาที่ใช้ในการต้มน้าจากอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส เป็น 100 องศาเซลเซียส ถ้า
พลังงานไฟฟ้าเปลี่ยนเป็นความร้อนได้ 80%
6

4. วงจรไฟฟ้ากระแสตรง และแรงเคลือ่ นไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า

วงจรไฟฟ้ากระแสตรง ประกอบด้วยอุปกรณ์ ดังนี้


1. แหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง คือ แบตเตอรี่ แทนด้วยรูป บ่งบอกถึงด้านยาวเป็นขั้วบวกและด้าน
สั้นเป็นขั้วลบ
2. ตัวต้านทาน แทนด้วยรูป แบ่งตัวต้านทานออกเป็น
2.1 ตัวต้านทานภายใน เป็นตัวต้านทานภายในแหล่งกาเนิดไฟฟ้า
2.2 ตัวต้านทานภายนอก เป็นตัวต้านทานที่ต่อกับแบตเตอรี่
วงจรไฟฟ้ากระแสตรงอย่างง่ายเป็นไปดังรูป
R

E r

 
แรงเคลื่อนไฟฟ้า คือ พลังงานไฟฟ้าที่ทาให้ประจุ Q เคลื่อนที่ครบวงจรต่อประจุหนึ่งหน่วย
เมื่อประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ภายในวงจร ย่อมมีความต่างศักย์ไฟฟ้าภายในวงจร ดังนี้
1. ความต่างศักย์ภายในตัวต้านทาน ( VR )
2. ความต่างศักย์ภายในแบตเตอรี่ ( Vr )
จากกฎการอนุรักษ์พลังงาน พลังงานไฟฟ้าที่ประจุได้รับจากแบตเตอรี่จะเท่ากับพลังงานไฟฟ้าที่ประจุใช้ไปใน
วงจร สามารถเขียนสมการได้เป็น
QE  QVR  QVr
และจากกฎของโอห์ม สามารถหาแรงเคลื่อนไฟฟ้าได้เป็น
E  I R  r (6)
เมื่อ E คือ แรงเคลื่อนไฟฟ้า (โวลต์, J )
I คือ กระแสไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ (แอมแปร์, A )
R คือ ความต้านทานของตัวต้านทาน (ความต้านทานภายนอก) (โอห์ม,  )
r คือ ความต้านทานของแบตเตอรี่ (ความต้านทานภายใน) (โอห์ม,  )

ตัวอย่างที่ 14 แบตเตอรี่ก้อนหนึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 1.5 โวลต์ ความต้านทานภายใน 1 โอห์ม นามาต่อวงจรร่วมกับ


ตัวต้านทานขนาด 3 โอห์ม จงหา
(1) กระแสไฟฟ้าในวงจร
(2) ความต่างศักย์ภายในตัวต้านทาน
(3) ความต่างศักย์ภายในแบตเตอรี่
(4) พลังงานไฟฟ้าที่ตัวต้านทานใช้ไปใน 5 วินาที
7

(5) กาลังไฟฟ้าภายในตัวต้านทาน

ตัวอย่างที่ 15 เมื่อเอาตัวต้านทานขนาด 4 และ 8 โอห์ม มาต่อเข้ากับแบตเตอรี่ที่มีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 9 โวลต์ และ


ความต้านทานภายใน 1.5 โอห์ม จะทาให้เกิดความต่างศักย์ระหว่างขั้วแบตเตอรี่เท่าใด ถ้าต่อตัวทานแบบ
(1) อนุกรม
(2) ขนาน

ตัวอย่างที่ 16 เมือ่ นาแบตเตอรี่ต่อเข้ากับตัวต้านทานขนาด 10 โอห์ม สามารถวัดกระแสไฟฟ้าภายในวงจรได้ 0.25


แอมแปร์ และถ้านาแบตเตอรี่ตัวเดิมต่อเข้ากับตัวต้านทานขนาด 20 โอห์ม จะสามารถวัดกระแสไฟฟ้าภายในวงจรได้ 1
แอมแปร์ จงหา
(1) แรงเคลื่อนไฟฟ้าของแบตเตอรี่
(2) ความต้านทานภายในของแบตเตอรี่

5. การต่อตัวต้านทานและแบตเตอรี่
การต่อตัวต้านทาน คือ การนาตัวต้านทานมากกว่า 1 ตัว มาต่อร่วมกัน เพื่อให้ได้ความต้านทานสมมูล (ความ
ต้านทานรวม) ความต่างศักย์ หรือกระแสไฟฟ้าตามต้องการ ซึ่งมีการต่อ 2 ประเภท ดังนี้
(1) การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม มีลักษณะดังนี้
1. กระแสรวมทัง้ หมด เท่ากับ กระแสที่ผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว ( I เท่า)
2. ความต่างศักย์รวม เท่ากับ ผลบวกของความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทานแต่ละตัว ( V แบ่ง)
3. ความต้านทานรวมจะได้เป็น
8

R1  R1  R2  R3  ... (7)
(2) การต่อตัวต้านทานแบบขนาน มีลักษณะดังนี้
1. กระแสรวมทั้งหมด เท่ากับ ผลรวมของกระแสที่ผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว ( I แบ่ง)
2. ความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทานแต่ละตัวมีค่าเท่ากัน และเท่ากับความต่างศักย์ของวงจร ( V เท่า)
3. ความต้านทานรวมจะได้เป็น
1 1 1 1
    ... (8)
R1 R1 R2 R3

ตัวอย่างที่ 17 ถ้าต้องการแบ่งศักย์ไฟฟ้า V โดยใช้ความต้านทาน จะต้องใช้ตัวต้านทาน R ขนาดกี่โอห์ม จึงจะได้


ความต่างศักย์ระหว่างจุด A และ B มีค่าเป็น 3 V
4

A B
30 Ω R

ตัวอย่างที่ 18 จากรูป หากกระแสไหลผ่านตัวต้านทาน 5 โอห์ม เป็น 5 แอมแปร์ แล้วกระแสที่เข้าสู่วงจรมีค่าเท่าใด


5Ω

12 Ω

ตัวอย่างที่ 19 จากรูป ถ้ามีกระแสไหลผ่านวงจร 2 แอมแปร์ จงหาความต่างศักย์ระหว่าง A และ B


2Ω 3Ω
A

6Ω 4Ω

7Ω 5Ω
9

ตัวอย่างที่ 20 ลวดความต้านทาน 4 เส้น ต่อกันดังรูป ถ้าความต่างศักย์ระหว่างปลายทั้งสองของความต้านทาน 4


โอห์ม มีค่า 8 โวลต์ จงหากระแสที่ผ่านความต้านทานทุกเส้น
7Ω 8Ω
4Ω
10 Ω

ตัวอย่างที่ 21 จากรูป จงหากระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทานขนาด 3 โอห์ม และ 5 โอห์ม ที่มีอย่างละสองตัว


กาหนดให้วงจรมีความต่างศักย์รวม 60 โวลต์
3Ω 3Ω
A

6Ω 6Ω 4Ω

5Ω 5Ω

ตัวอย่างที่ 22 จากรูป ถ้ามีกระแสไหลผ่านตัวต้านทาน 9 โอห์ม เป็น 0.4 แอมแปร์ จงหากระแสที่ไหลเข้าสู่วงจร


4Ω 5Ω 2Ω

6Ω 5Ω 9Ω 6Ω

10 Ω 5Ω 10 Ω
A B

ตัวอย่างที่ 23 จากรูป ถ้าความต่างศักย์ระหว่าง A และ B มีค่า 5 โวลต์ จงหาความต่างศักย์รวมของวงจร


9Ω 3Ω 6Ω
A

6Ω 6Ω

12 Ω 5Ω 6Ω
10

ตัวอย่างที่ 24 วงจรไฟฟ้าหนึ่งประกอบด้วยตัวต้านทานที่มีความต้านทานเท่ากัน 8 โอห์ม ถ้านาตัวต้านทานทั้งหมด


มาต่ออนุกรมกันและผ่านกระแส 2 แอมแปร์ เข้าไปในวงจรจะวัดความต่างศักย์รวมของวงจรได้ 160 โวลต์ จงหาว่าเมื่อ
ตัวต้านทานทั้งหมดมาต่อขนานกันและผ่านกระแสเท่าเดิม จะวัดความต่างศักย์รวมของวงจรได้เท่าใด

ตัวอย่างที่ 25 จากตัวอย่างที่ผ่านมา ถ้าตัวต้านทานที่ต่อขนานเกิดวงจรขาดไปครึ่งหนึ่งของจานวนตัวต้านทาน


ทั้งหมด ตัวต้านทานแต่ละตัวจะมีกาลังไฟฟ้าเท่าใด

ตัวอย่างที่ 26 จากรูป จงหาความต้านทานรวมระหว่าง A และ B กับ C และ D


2Ω 3Ω
A C

6Ω

B D

4Ω 5Ω

ตัวอย่างที่ 27 จากรูป จงหาความต้านทานรวมระหว่าง A และ B


(1) 2Ω 3Ω
A

4Ω

6Ω 5Ω

(2) 2Ω 3Ω
A

6Ω 4Ω

6Ω 5Ω

(3) 2Ω 3Ω
A

6Ω 4Ω

5Ω 6Ω
11

ตัวอย่างที่ 28 จากรูป จงหาความต้านทานรวมระหว่าง A และ B


(1)
1Ω 5Ω 20 Ω
A B

(2)
3Ω 12 Ω 4Ω
A B

12 Ω

(3) 3Ω

4Ω 1Ω

A B
2Ω

การต่อแบตเตอรี่ คือ การนาแบตเตอรี่มากกว่า 1 ตัว มาต่อร่วมกัน เพื่อให้ได้แรงเคลื่อนไฟฟ้า หรือ


กระแสไฟฟ้าตามต้องการ ซึ่งมีการต่อ 2 ประเภท ดังนี้
(1) การต่อแบตเตอรี่แบบอนุกรม มีลักษณะดังนี้
1. ถ้าต่อแบบตามกัน จะทาให้มีกระแสไฟฟ้าไปทางเดียวกัน จะได้แรงเคลื่อนไฟฟ้ารวมเป็น Eรวม  E1  E2  E3
และความต้านทานภายในรวมเป็น rรวม  r1  r2  r3 ตามรูป
R

E1 E2 E3

r1 r2 r3
2. ถ้าต่อแบบขัดกัน จะทาให้มีกระแสไฟฟ้าสวนทางกัน จะได้แรงเคลื่อนไฟฟ้ารวมเป็น Eรวม  E1  E2  E3 และ
ความต้านทานภายในรวมเป็น rรวม  r1  r2  r3 ตามรูป
12

E1 E2 E3

r1 r2 r3
(2) การต่อแบตเตอรี่แบบขนาน มีลักษณะคือ แบตเตอรี่ที่นามาต่อแบบขนาน ต้องมีแรงเคลื่อนไฟฟ้าขนาด
เท่ากัน เท่ากับ แรงเคลื่อนไฟฟ้ารวม นั่นคือ Eรวม  E1  E2  E3 และความต้านทานภายในรวมเป็น
1 1 1 1
  
rรวม r1 r2 r3

ตัวอย่างที่ 29 จากรูป จงหา


3Ω
(1) กระแสไฟฟ้าภายในวงจร
(2) ความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทาน

12 V 9V 4V

1Ω 1Ω 1Ω

ตัวอย่างที่ 30 จากรูป จงหา


3Ω
(1) กระแสไฟฟ้าภายในวงจร
(2) ความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทาน
1Ω
6V
12 V 9V

1Ω 1Ω

ตัวอย่างที่ 31 จากรูป จงหา


3Ω 12 V (1) กระแสไฟฟ้าภายในวงจร
(2) ความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทาน
4Ω
1Ω 6V 1Ω
12 V 2Ω

1Ω
13

ตัวอย่างที่ 32 จากรูป จงหากระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทาน 2 โอห์ม


2Ω

12 V 1 Ω

12 V
1 Ω1 Ω

ตัวอย่างที่ 33 จากรูป จงหากระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทาน 3 และ 5 โอห์ม


5Ω

3Ω

12 V 9V

1Ω 1Ω 1Ω
12 V 5V 9V

2Ω 2Ω 2Ω

6. วงจรวีตสโตนบริดจ์ และกฎของเคอร์ชอฟท์

วงจรวีตสโตนบริดจ์ เป็นการต่อตัวต้านทานแบบขนานและมีตัวต้านทานขั้นกลางระหว่างการต่อแบบขนานที่
ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ดังรูป
R1 R3
X

A B
R5

Y
R2 R4

เราสามารถหาความสัมพันธ์ของความต้านทานในวงจรวีตสโตรบริดจ์ เพื่อพิสูจน์ความเป็นวงจรวีตสโตรบริดจ์
ของวงจรใด ๆ
กาหนดให้ VAX คือ ความต่างศักย์ระหว่างจุด A และ X มีกระแสไหลผ่านตัวต้านทาน R1 เป็น I1
14

คือ ความต่างศักย์ระหว่างจุด A และ Y มีกระแสไหลผ่านตัวต้านทาน


VAY R2 เป็น I2
VXY คือ ความต่างศักย์ระหว่างจุด X และ Y มีกระแสไหลผ่านตัวต้านทาน R5 เป็น I5
จากกฎของโอห์ม จะได้
VAX  VA  VX  I1R1 (9)
VAY  VA  VY  I 2 R2 (10)
VXY  VX  VY  I5 R5 (11)
สาหรับวงจรวีตสโตนบริดจ์ ตัวต้านทานขั้นกลางระหว่างการต่อแบบขนานที่ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน นั่นคือ I5  0
จากสมการ (11) จะได้ VX  VY  0
หรือ VX  VY (12)
ดังนั้น จากสมการ (9) และ (10) จะได้
I1R1  I 2 R2 (13)
ถ้าคิดกรณีเดียวกัน จะได้
I1R3  I 2 R4 (14)
นาสมการ (13) หารด้วย สมการ (14) จะได้
R1 R2
 (15)
R3 R4
นั่นคือ จะเป็นวงจรวีตสโตนบริดจ์ ต่อเมื่ออัตราส่วนระหว่างความต้านทานที่อยู่ด้านเดียวกันหรือด้านตรงข้ามมีค่า
เท่ากัน

ตัวอย่างที่ 34 จากรูป จงหาความต้านทานรวมระหว่างจุด A และ B


1Ω 5Ω

A B
4Ω

2Ω 10 Ω

ตัวอย่างที่ 35 จากรูป จงหาความต้านทานรวมระหว่างจุด A และ B


2Ω

3Ω 12 Ω 4Ω
A B

6Ω
15

ตัวอย่างที่ 36 จากรูป จงหาความต้านทานรวมระหว่างจุด A และ B


2Ω 2Ω
A

4Ω 4Ω
5Ω

8Ω 4Ω

B
8Ω 8Ω

กฎของเคอร์ชอฟท์ เหมาะสาหรับการหากระแสไฟฟ้าของวงจรที่ต่อแบตเตอรี่มากกว่า 1 ตัว แบบผสม มี 2


ข้อ ดังนี้
1. กฎของจุด กล่าวว่า “ผลบวกของกระแสไฟฟ้าที่จุดแยกใด ๆ เท่ากับ ศูนย์” (ผลรวมกระแสไฟฟ้าเข้าสู่จุด
เท่ากับ ผลรวมกระแสไฟฟ้าออกจากจุด) เขียนสมการได้เป็น
I  0 (16)
I3 จากรูป จะได้ I1  I 2  I3
I1 I2

2. กฎของวง กล่าวว่า “ผลบวกของแรงเคลื่อนไฟฟ้าทีว่ งจรย่อยใด ๆ เท่ากับ ผลบวกของความต่างศักย์คร่อม


ตัวต้านทานทุกตัวในวงจรเดียวกัน” เขียนสมการได้เป็น
 E   IR (17)
R
E1 1 วงบน จะได้ E2  E1  I1R1  I1R2  I 2 R2
วงล่าง จะได้ E3  E2  I 2 R2  I 2 R3  I1R2
I1 R2
E2

I2 R3
E3

ตัวอย่างที่ 37 จากรูป จงหากระแสไฟฟ้าที่ผ่านเซลล์ 8, 10 และ 12 โวลต์ (0.5, 0 และ 0.5 แอมแปร์)


12 V 2Ω
2Ω
10 V 3Ω
1Ω
8V 2Ω
2Ω
16

ตัวอย่างที่ 38 จากรูป จงหากระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทาน 1 และ 2 โอห์ม (1 และ 1 แอมแปร์)


5V
2Ω
2Ω 1Ω

2V
1Ω

ตัวอย่างที่ 39 จากรูป แอมมิเตอร์จะอ่านค่าได้เท่าใด (4.2 แอมแปร์)


3Ω

1Ω 2Ω
A
3V 6V

7. เครื่องวัดทางไฟฟ้า

เครื่องวัดทางไฟฟ้า คือ อุปกรณ์สาหรับการวัดปริมาณทางไฟฟ้า โดยดัดแปลงมาจากอุปกรณ์วัดทางไฟฟ้าที่


เรียกว่า แกลแวนอมิเตอร์
แกลแวนอมิเตอร์ ทาจากขดลวดพันรอบแกนและอยู่ภายในสนามแม่เหล็ก เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลเข้าไปใน
ขดลวด จะทาให้ขดลวดเคลื่อนที่และเกิดการเบนของเข็มชี้ที่ติดกับขดลวด ใช้สัญลักษณ์ G
กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้าไปในขดลวดและทาให้เข็มเบนเต็มสเกลเรียกว่า กระแสไฟฟ้าสูงสุด หรือ I G แกลแวนอ
มิเตอร์สามารถดัดแปลงเป็นแอมมิเตอร์ที่สามารถวัดกระแสไฟฟ้าในช่วง 0  IG โดยต่ออนุกรมกับวงจร
กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้าไปในขดลวดจะทาให้เกิดความต่างศักย์ระหว่างขั้วของแกลแวนอมิเตอร์ ถ้ากระแสไฟฟ้า
ผ่านขดลวดเท่ากับ I G แล้วความต่างศักย์ขณะนั้นเรียกว่า ความต่างศักย์สูงสุด หรือ VG และถ้าขดลวดมีความ
17

ต้านทาน RG แล้วความต่างศักย์สูงสุดจะเท่ากับ IG RG แกลแวนอมิเตอร์สามารถดัดแปลงเป็นโวลต์มิเตอร์ที่สามารถ


วัดความต่างศักย์ในช่วง 0  VG โดยต่อขนานกับวงจร
การดัดแปลงแกลแวนอมิเตอร์เป็นเครื่องวัดไฟฟ้าต่างๆ มีดังนี้
1. แอมมิเตอร์ สามารถวัดกระแสไฟฟ้าสูงสุดที่เกิน I G ได้ตามต้องการโดยนาตัวต้านทานที่เรียกว่า ชันต์ ซึ่งมี
ความต้านทาน RS น้อย ๆ มาต่อขนานกับแกลแวนอมิเตอร์ ตามรูป

IG X
G
R

IS RS

การนาชันต์มาต่อขนานจะทาให้เกิดการแบ่งกระแสไฟฟ้าออกเป็นสองส่วน คือ
(1) กระแสไฟฟ้าสูงสุดที่ผ่านแกลแวนอมิเตอร์ เท่ากับ I G
(2) กระแสไฟฟ้าที่ผ่านชันต์ มีค่า I S  I  IG
เนื่องจากแกลแวนอมิเตอร์และชันต์ต่อขนานกัน ดังนั้นความต่างศักย์ระหว่างปลายของชันต์จะเท่ากับความ
ต่างศักย์ระหว่างขั้วของแกลแวนอมิเตอร์ สามารถเขียนสมการได้เป็น
I S RS  I G RG
เมื่อ ISคือ กระแสไฟฟ้าที่ผ่านชันต์ มีหน่วยเป็น แอมแปร์ (A)
I G คือ กระแสไฟฟ้าที่ผ่านแกลแวนอมิเตอร์ มีหน่วยเป็น แอมแปร์ (A)
RS คือ ความต้านทานของชันต์ มีหน่วยเป็น โอห์ม ()
RG คือ ความต้านทานของแกลแวนอมิเตอร์ มีหน่วยเป็น โอห์ม ()
ดังนั้น การสร้างแอมมิเตอร์ ควรใช้ชันต์ที่มีความต้านทาน RS หาได้จาก
I G RG
RS  (18)
I  IG
เมื่อ I คือ กระแสไฟฟ้าในวงจร มีหน่วยเป็น แอมแปร์ (A)
2. โวลต์มิเตอร์ สามารถวัดความต่างศักย์สูงสุดที่เกิน VG ได้ตามต้องการโดยนาตัวต้านทานที่เรียกว่า มัลติ
พลายเออร์ ซึ่งมีความต้านทาน RM มาก ๆ มาต่ออนุกรมกับแกลแวนอมิเตอร์ ตามรูป

VM
VG RM
IG X
G
R

V
18

การนามัลติพลายเออร์มาต่ออนุกรมจะทาให้เกิดการแบ่งความต่างศักย์ออกเป็นสองส่วน คือ
(1) ความต่างศักย์สูงสุดระหว่างขั้วของแกลแวนอมิเตอร์ เท่ากับ VG
(2) ความต่างศักย์ระหว่างปลายของมัลติพลายเออร์ มีค่า VM  V  VG
เนื่องจากแกลแวนอมิเตอร์และมัลติพลายเออร์ต่ออนุกรมกัน ดังนั้นกระแสไฟฟ้าที่ผ่านมัลติพลายเออร์จะ
เท่ากับกระแสไฟฟ้าที่ผ่านแกลแวนอมิเตอร์ สามารถเขียนสมการได้เป็น
VM VG

RM RG
เมื่อ VM คือ ความต่างศักย์ระหว่างปลายของมัลติพลายเออร์ มีหน่วยเป็น โวลต์ (V)
VG คือ ความต่างศักย์ระหว่างขั้วของแกลแวนอมิเตอร์ มีหน่วยเป็น โวลต์ (V)
RM คือ ความต้านทานของมัลติพลายเออร์ มีหน่วยเป็น โอห์ม ()
ดังนั้น การสร้างโวลต์มิเตอร์ ควรใช้มัลติพลายเออร์ที่มีความต้านทาน RM หาได้จาก
V  I G RG
RM  (19)
IG
เมื่อ V คือ ความต่างศักย์ในวงจร มีหน่วยเป็น โวลต์ (V)
3. โอห์มมิเตอร์ สามารถวัดความต้านทานได้โดยนาตัวต้านทานแปรค่าและแบตเตอรี่มาต่ออนุกรมกับแกล
แวนอมิเตอร์ และนาปลายสายวัดไปแตะที่ปลายของตัวต้านทานที่ต้องการวัดความต้านทาน RX สามารถอ่านค่าได้
ดังนี้
(1) ถ้าปลายสายวัดไม่แตะกัน จะไม่มีกระแสไฟฟ้าผ่านมิเตอร์ เข็มจะชี้ที่ RX  
(2) ถ้าปลายสายวัดแตะที่ปลายของตัวต้านทาน RX ที่มีค่ามาก กระแสไฟฟ้าจะมีค่าน้อย เข็มจะเบนน้อย
(3) ถ้าปลายสายวัดแตะที่ปลายของตัวต้านทาน RX ที่มีค่าน้อยมาก กระแสไฟฟ้าจะมีค่ามาก เข็มจะเบนเต็ม
สเกลชี้ที่ RX  0
การใช้โอห์มมิเตอร์วัดความต้านทาน ต้องนาปลายสายวัดมาแตะกันเพื่อตรวจสอบว่าเข็มชี้ที่ 0 โอห์ม หรือไม่
ถ้าเข็มไม่ชี้ที่ 0 โอห์ม ต้องปรับความต้านทานแปรค่าจนกระทั่งเข็มชี้ที่ 0 โอห์ม ก่อนนาไปวัดความต้านทาน

ตัวอย่างที่ 40 แกลแวนอมิเตอร์เครื่องหนึ่งมีความต้านทาน 100 โอห์ม สามารถให้กระแสผ่านได้สูงสุด 10 ไม


โครแอมแปร์ ถ้าต้องการวัดกระแสไฟฟ้า 500 ไมโครแอมแปร์ จะต้องใช้ชันต์ที่มีความต้านทานเท่าใด และแอมมิเตอร์ที่
ใช้วัดกระแสจะมีความต้านทานเท่าใด

ตัวอย่างที่ 41 แกลแวนอมิเตอร์เครื่องหนึ่งมีความต้านทาน 20 โอห์ม อ่านได้เต็มสเกลเมื่อต่อเข้ากับความต่างศักย์


0.2 โวลต์ ถ้าต้องการนาแกลแวนอมิเตอร์มาทาเป็นแอมมิเตอร์ที่อ่านได้เต็มสเกล 1 แอมแปร์ จงหาว่าขณะที่
แอมมิเตอร์อ่านได้เต็มสเกล จะมีกระแสผ่านชันต์เท่าใด
19

ตัวอย่างที่ 42 แกลแวนอมิเตอร์เครื่องหนึ่งมีความต้านทาน 0.2 โอห์ม กระแสไฟฟ้าสูงสุดที่ไหลผ่านได้มีค่า 50 มิลลิ


แอมแปร์ ต้องหาความต้านทานเท่าใดมาต่อกับแกลแวนอมิเตอร์นี้ เพื่อทาเป็นโวลต์มิเตอร์และสามารถวัดความต่างศักย์
ได้สูงสุด 100 มิลลิโวลต์ และโวลต์มิเตอร์ที่ใช้วัดความต่างศักย์จะมีความต้านทานเท่าใด

ตัวอย่างที่ 43 แกลแวนอมิเตอร์เครื่องหนึ่งมีความต้านทาน 100 โอห์ม อ่านได้เต็มสเกลเมื่อมีกระแสไหลผ่าน 2 มิลลิ


แอมแปร์ ถ้าต้องการนาแกลแวนอมิเตอร์มาทาเป็นโวลต์มิเตอร์ที่อ่านได้เต็มสเกล 100 โวลต์ จงหาว่าขณะที่โวลต์มิเตอร์
อ่านได้เต็มสเกล มัลติพลายเออร์จะถูกแบ่งความต่างศักย์ไปเท่าใด

ตัวอย่างที่ 44 โอห์มมิเตอร์ตัวหนึ่งภายในมีเซลล์ไฟฟ้าที่มีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 3 โวลต์ และความต้านทานภายใน 2


โอห์ม ต่ออนุกรมกับตัวต้านทานแปรค่าทีต่ ั้งค่าไว้ 250 โอห์ม และแกลแวนอมิเตอร์ความต้านทาน 50 โอห์ม จงหา
(1) กระแสผ่านแกลแวนอมิเตอร์ ถ้านาปลายสายวัดมาแตะกัน
(2) ตัวต้านทานที่นามาวัด ถ้านาปลายสายวัดมาต่อและมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวต้านทานนี้ 5 มิลลิแอมแปร์
1. กระแสไฟฟ้า
ขั้วบวก ขั้วลบ
สนามไฟฟ้า

e Q

กระแสไฟฟ้า เป็นเพียงกระแสสมมติที่มีทิศทางตรงข้ามกับกระแสอิเล็กตรอน (ไหลทิศทางเดียวกับประจุบวก)


มีทิศทางเดียวกับสนามไฟฟ้า สามารถหากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวนาได้จากสมการ
Q ne
I   NevA (1)
t t
เมื่อ I คือ กระแสไฟฟ้า (แอมแปร์, A )
Q คือ ประจุไฟฟ้าที่ไหลผ่านพื้นที่หน้าตัดตัวนา (คูลอมบ์, C )
t คือ เวลาที่ประจุไฟฟ้าไหลผ่าน (วินาที, s )
n คือ จานวนอิเล็กตรอนที่ไหลผ่าน(ภายในปริมาตรของตัวนาที่กาหนด)
e คือ ประจุของอิเล็กตรอน มีค่า 1.6  10 19 คูลอมบ์
N คือ ความหนาแน่นของอิเล็กตรอน (จานวนอิเล็กตรอนต่อลบ.เมตร)(เมตร-3, m-3)
v คือ ความเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอน (เมตร/วินาที, m s)
A คือ พื้นที่หน้าตัดของตัวนา (เมตร2, m 2 )

ตัวอย่างที่ 1 จากกราฟความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านลวดตัวนากับเวลา จงหา


(1) ประจุไฟฟ้าที่ไหลผ่านลวดตัวนาในช่วงวินาทีที่ 5 ถึงวินาที่ที่ 20
(2) จานวนอิเล็กตรอนในช่วงเวลาเดียวกับข้อ (1)
กระแสไฟฟ้า (แอมแปร์)
5

2
เวลา (วินาที)
5 20
ตัวอย่างที่ 2 ลวดโลหะสม่าเสมอมีพื้นที่หน้าตัด 0.5 ตารางมิลลิเมตร มีมวล 50 กรัม และมีความหนาแน่น 8 กรัม/
ลูกบาศก์เซนติเมตร เมื่อปล่อยกระแสผ่านลวด 5 แอมแปร์ ทาให้เกิดการไหลผ่านพื้นที่หน้าตัดหนึ่งของอิเล็กตรอน
6.0  10 23 อนุภาค จงหาอัตราเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนในหน่วย cm s
2

2. กฎของโอห์ม
กฎของโอห์มกล่าวไว้ว่า “ปริมาณประแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวนาหนึ่ง จะแปรผันตรงกับความต่างศักย์” สามารถ
เขียนความสัมพันธ์ได้เป็น
I V
หรือ I  kV
V
จะได้ I (2)
R
เมื่อ I คือ กระแสไฟฟ้า (แอมแปร์, A )
V คือ ความต่างศักย์ (โวลต์, V )
R คือ ความต้านทาน (โอห์ม,  )
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์หลายชนิดต่างก็มีความต้านทาน ยกตัวอย่างเช่น
1. ตัวต้านทานค่าคงตัว ค่าความต้านทานจากตัวต้านทานนี้สามารถอ่านได้จากแถบสีบนตัวต้านทาน โดยทั่วไป
มี 4 แถบ แต่ละแถบสีใช้แทนตัวเลขอันมีความหมายดังนี้
แถบที่ 1 บอกเลขตัวแรก
แถบที่ 2 บอกเลขตัวที่สอง
แถบที่ 3 บอกเลขยกกาลังของสิบ และคูณกับเลขสองตัวแรก
แถบที่ 4 บอกความคลาดเคลื่อนเป็นร้อยละ
และแต่ละแถบสีมีความหมายเป็นตัวเลขดังนี้
แถบสี แถบที่ 1 แถบที่ 2 แถบที่ 3 แถบที่ 4
แทนเลข แทนเลข คูณด้วย ความคลาดเคลื่อน
ดา 0 0 1 -
น้าตาล 1 1 10 1 ± 1%
แดง 2 2 10 2 ± 2%
ส้ม 3 3 103 -
เหลือง 4 4 10 4 -
เขียว 5 5 105 -
น้าเงิน 6 6 10 6 -
ม่วง 7 7 - -
เท่า 8 8 - -
ขาว 9 9 - -
ทอง - - 10 -1 ± 5%
เงิน - - 10-2 ± 10%
ตัวต้านทานค่าคงตัวจึงทาหน้าที่จากัดค่ากระแสไฟฟ้าในวงจร
2. ตัวต้านทานแปรค่า สามารถแปรค่าได้จากการหมุนหรือเลื่อนหน้าสัมผัส ตัวต้านทานแปรค่าจึงทาหน้าที่
ควบคุมกระแสไฟฟ้าในวงจร
3

3. แอลดีอาร์ เป็นตัวต้านทานที่ความต้านทานขึ้นกับความสว่างของแสง นั่นคือ มีความต้านทานสูงในที่มืด แต่


มีความต้านทานต่าในที่สว่าง
4. เทอร์มิสเตอร์ เป็นตัวต้านทานที่ความต้านทานขึ้นกับอุณหภูมิของสภาพแวดล้อม เทอร์มิสเตอร์แบบ NTC
มีความต้านทานสูงเมื่ออุณหภูมิต่า แต่มีความต้านทานต่าเมื่ออุณหภูมิสูง เทอร์มิสเตอร์จึงทาหน้าที่รับรู้อุณหภูมิในเทอร์
มอมิเตอร์บางชนิด
5. ไดโอด ทาจากสารกึ่งตัวนา มีขาต่อ 2 ข้างที่ทาด้วยลวดโลหะแสดงขั้วไฟฟ้าบวกและขั้วไฟฟ้าลบเมื่อต่อ
ไดโอดกับวงจร ไดโอดจะยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน เรียกการต่อลักษณะนี้ว่า ไบแอสตรง นั่นคือ ไดโอดมีความ
ต้านทานน้อย แต่เมื่อสลับขั้วของไดโอด ไดโอดจะกั้นไม่ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน เรียกการต่อลักษณะนี้ว่า ไบแอสกลับ
นั่นคือ ไดโอดมีความต้านทานสูงมาก ไดโอดจึงทาหน้าที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ทิศทางเดียว

ตัวอย่างที่ 3 จงอ่านค่าความต้านทานที่มีแถบสี คือ น้าตาล ดา น้าตาล และทอง

จากสมการ (2) จะพบว่าความต้านทาน ( R ) มีผลต่อการนากระแสไฟฟ้า ( I ) สาหรับตัวนาใด ๆ จะได้ว่า


L
R
A
L
หรือ R (3)
A
เมื่อ R คือ ความต้านทานของตัวนา (โอห์ม,  )
 คือ สภาพต้านทาน (โอห์ม – เมตร,   m )
L คือ ความยาวของตัวนา (เมตร, m )
A คือ พื้นที่หน้าตัดของตัวนา (เมตร2, m 2 )

ตัวอย่างที่ 4 ลวดที่มีความต้านทานเส้นหนึ่ง เมื่อต่อความต่างศักย์ 4.0 10 3 โวลต์ จะมีกระแสไหลผ่าน 2.0


มิลลิแอมแปร์ ถ้าต่อด้วยความต่างศักย์ 1.6 โวลต์ จะมีกระแสไหลผ่านเท่าใด

ตัวอย่างที่ 5 ลวดเหล็กมีเส้นผ่านศูนย์กลางเป็นสองเท่าของลวดทองแดงและมีสภาพต้านทานเป็น 6 เท่า ของ


ลวดทองแดง ถ้าต้องการให้ลวดทองแดงและลวดเหล็กมีความต้านทานเท่ากัน จะต้องใช้ลวดทองแดงและลวดเหล็กที่มี
อัตราส่วนความยาวเท่าใด
4

ตัวอย่างที่ 6 ในการทดลองหาค่าสภาพต้านทานของสารแท่งสี่เหลี่ยมผืนผ้ายาว 5 เซนติเมตร และมีพื้นที่หน้าตัด


0.2 ตารางเซนติเมตร ถ้าผ่านกระแสไฟฟ้า 1 มิลลิแอมแปร์ แล้ววัดความต่างศักย์ระหว่างปลายทั้งสองข้างได้ 0.25
โวลต์ จงหาค่าสภาพต้านทานของสารนี้

ตัวอย่างที่ 7 สายไฟสองเส้นทาจากโลหะชนิดเดียวกัน โดยที่เส้นที่สองมีพื้นที่หน้าตัดเป็น 3 เท่าของเส้นแรก และมี


ความยาวเป็น 5 เท่าของเส้นแรก ถ้าให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านสายไฟทั้งสองในปริมาณเท่ากัน อยากทราบว่าความต่าง
ศักย์ระหว่างปลายทั้งสองของสายไฟเส้นที่สองจะเป็นกี่เท่าของเส้นแรก

3. พลังงานไฟฟ้า และกาลังไฟฟ้า

พลังงานไฟฟ้า คือ พลังงานในการนาพาประจุ Q ให้เคลื่อนที่ครบวงจร สามารถหาได้จากสมการ


W  QV
V 2t
จากกฎของโอห์ม จะได้ W  IVt  I Rt 
2
(4)
R
พลังงานไฟฟ้าอาจแยกพิจารณาได้ ดังนี้
1. พลังงานไฟฟ้าจากแหล่งกาเนิดไฟฟ้า
2. พลังงานไฟฟ้าที่สูญเสียให้แก่ตัวต้านทาน
กาลังไฟฟ้า คือ พลังงานไฟฟ้าที่ถูกใช้ไปในหนึ่งหน่วยเวลา สามารถหาได้จาก
V2
P  IV  I 2 R  (5)
R
เมื่อ W คือ พลังงานไฟฟ้า (จูล, J )
P คือ กาลังไฟฟ้า (วัตต์, W )

ตัวอย่างที่ 8 เตาไฟฟ้าหนึ่งประกอบด้วยลวดให้ความร้อนซึ่งมีความต้านทาน 100 โอห์ม เมื่อต่อเข้ากับความต่าง


ศักย์ 220 โวลต์ เป็นเวลา 5 นาที จะมีความร้อนเกิดขึ้นเท่าใด หากไม่คิดประสิทธิภาพของเตาไฟฟ้า
5

ตัวอย่างที่ 9 หลอดไฟหลอดแรกมีความต้านทาน 4 โอห์ม ต่อกับแบตเตอรี่ 12 โวลต์ หลอดไฟที่สองมีความ


ต้านทาน 5 โอห์ม ต่อกับแบตเตอรี่ 15 โวลต์ กาลังไฟฟ้าที่หลอดทั้งสองใช้ต่างกันอยู่เท่าใด

ตัวอย่างที่ 10 ลวดตัวนายาว 50 เซนติเมตร มีพื้นที่หน้าตัด 0.4 มิลลิเมตร ถ้ามีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวด


1 แอมแปร์ จะเกิดอัตราการเปลี่ยนแปลงพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน 50 มิลลิวัตต์ จงหาสภาพต้านทานของ
ลวดตัวนานี้

ตัวอย่างที่ 11 เตารีดไฟฟ้าขนาด 1000 วัตต์ สามารถใช้กับไฟบ้านได้ 220 โวลต์ ถ้าไฟตกเหลือ 200 โวลต์ เตารีดนี้
จะกาลังไฟฟ้าได้เท่าใด

ตัวอย่างที่ 12 ถ้าตัวทาให้เกิดความร้อนทาให้อุณหภูมิของน้าจานวน 1.5 กิโลกรัม เปลี่ยนอุณหภูมิจาก 15 องศา


เซลเซียส เป็น 90 องศาเซลเซียส ภายในเวลา 4 นาที จงหากาลังของตัวทาให้เกิดความร้อนนี้ (ความจุความร้อน
จาเพาะของน้ามีค่า 4200 จูล/กิโลกรัม.เคลวิน)

ตัวอย่างที่ 13 ถ้าผ่านกระแสไฟฟ้าขนาด 5 แอมแปร์ ความต่างศักย์ 220 โวลต์ ไปยังกาต้มน้าไฟฟ้าแบบขดลวดซึ่งมี


น้าบรรจุอยู่ 500 กรัม จงคานวณหาเวลาที่ใช้ในการต้มน้าจากอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส เป็น 100 องศาเซลเซียส ถ้า
พลังงานไฟฟ้าเปลี่ยนเป็นความร้อนได้ 80%
6

4. วงจรไฟฟ้ากระแสตรง และแรงเคลือ่ นไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า

วงจรไฟฟ้ากระแสตรง ประกอบด้วยอุปกรณ์ ดังนี้


1. แหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง คือ แบตเตอรี่ แทนด้วยรูป บ่งบอกถึงด้านยาวเป็นขั้วบวกและด้าน
สั้นเป็นขั้วลบ
2. ตัวต้านทาน แทนด้วยรูป แบ่งตัวต้านทานออกเป็น
2.1 ตัวต้านทานภายใน เป็นตัวต้านทานภายในแหล่งกาเนิดไฟฟ้า
2.2 ตัวต้านทานภายนอก เป็นตัวต้านทานที่ต่อกับแบตเตอรี่
วงจรไฟฟ้ากระแสตรงอย่างง่ายเป็นไปดังรูป
R

E r

 
แรงเคลื่อนไฟฟ้า คือ พลังงานไฟฟ้าที่ทาให้ประจุ Q เคลื่อนที่ครบวงจรต่อประจุหนึ่งหน่วย
เมื่อประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ภายในวงจร ย่อมมีความต่างศักย์ไฟฟ้าภายในวงจร ดังนี้
1. ความต่างศักย์ภายในตัวต้านทาน ( VR )
2. ความต่างศักย์ภายในแบตเตอรี่ ( Vr )
จากกฎการอนุรักษ์พลังงาน พลังงานไฟฟ้าที่ประจุได้รับจากแบตเตอรี่จะเท่ากับพลังงานไฟฟ้าที่ประจุใช้ไปใน
วงจร สามารถเขียนสมการได้เป็น
QE  QVR  QVr
และจากกฎของโอห์ม สามารถหาแรงเคลื่อนไฟฟ้าได้เป็น
E  I R  r (6)
เมื่อ E คือ แรงเคลื่อนไฟฟ้า (โวลต์, J )
I คือ กระแสไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ (แอมแปร์, A )
R คือ ความต้านทานของตัวต้านทาน (ความต้านทานภายนอก) (โอห์ม,  )
r คือ ความต้านทานของแบตเตอรี่ (ความต้านทานภายใน) (โอห์ม,  )

ตัวอย่างที่ 14 แบตเตอรี่ก้อนหนึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 1.5 โวลต์ ความต้านทานภายใน 1 โอห์ม นามาต่อวงจรร่วมกับ


ตัวต้านทานขนาด 3 โอห์ม จงหา
(1) กระแสไฟฟ้าในวงจร
(2) ความต่างศักย์ภายในตัวต้านทาน
(3) ความต่างศักย์ภายในแบตเตอรี่
(4) พลังงานไฟฟ้าที่ตัวต้านทานใช้ไปใน 5 วินาที
7

(5) กาลังไฟฟ้าภายในตัวต้านทาน

ตัวอย่างที่ 15 เมื่อเอาตัวต้านทานขนาด 4 และ 8 โอห์ม มาต่อเข้ากับแบตเตอรี่ที่มีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 9 โวลต์ และ


ความต้านทานภายใน 1.5 โอห์ม จะทาให้เกิดความต่างศักย์ระหว่างขั้วแบตเตอรี่เท่าใด ถ้าต่อตัวทานแบบ
(1) อนุกรม
(2) ขนาน

ตัวอย่างที่ 16 เมือ่ นาแบตเตอรี่ต่อเข้ากับตัวต้านทานขนาด 10 โอห์ม สามารถวัดกระแสไฟฟ้าภายในวงจรได้ 0.25


แอมแปร์ และถ้านาแบตเตอรี่ตัวเดิมต่อเข้ากับตัวต้านทานขนาด 20 โอห์ม จะสามารถวัดกระแสไฟฟ้าภายในวงจรได้ 1
แอมแปร์ จงหา
(1) แรงเคลื่อนไฟฟ้าของแบตเตอรี่
(2) ความต้านทานภายในของแบตเตอรี่

5. การต่อตัวต้านทานและแบตเตอรี่
การต่อตัวต้านทาน คือ การนาตัวต้านทานมากกว่า 1 ตัว มาต่อร่วมกัน เพื่อให้ได้ความต้านทานสมมูล (ความ
ต้านทานรวม) ความต่างศักย์ หรือกระแสไฟฟ้าตามต้องการ ซึ่งมีการต่อ 2 ประเภท ดังนี้
(1) การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม มีลักษณะดังนี้
1. กระแสรวมทัง้ หมด เท่ากับ กระแสที่ผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว ( I เท่า)
2. ความต่างศักย์รวม เท่ากับ ผลบวกของความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทานแต่ละตัว ( V แบ่ง)
3. ความต้านทานรวมจะได้เป็น
8

R1  R1  R2  R3  ... (7)
(2) การต่อตัวต้านทานแบบขนาน มีลักษณะดังนี้
1. กระแสรวมทั้งหมด เท่ากับ ผลรวมของกระแสที่ผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว ( I แบ่ง)
2. ความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทานแต่ละตัวมีค่าเท่ากัน และเท่ากับความต่างศักย์ของวงจร ( V เท่า)
3. ความต้านทานรวมจะได้เป็น
1 1 1 1
    ... (8)
R1 R1 R2 R3

ตัวอย่างที่ 17 ถ้าต้องการแบ่งศักย์ไฟฟ้า V โดยใช้ความต้านทาน จะต้องใช้ตัวต้านทาน R ขนาดกี่โอห์ม จึงจะได้


ความต่างศักย์ระหว่างจุด A และ B มีค่าเป็น 3 V
4

A B
30 Ω R

ตัวอย่างที่ 18 จากรูป หากกระแสไหลผ่านตัวต้านทาน 5 โอห์ม เป็น 5 แอมแปร์ แล้วกระแสที่เข้าสู่วงจรมีค่าเท่าใด


5Ω

12 Ω

ตัวอย่างที่ 19 จากรูป ถ้ามีกระแสไหลผ่านวงจร 2 แอมแปร์ จงหาความต่างศักย์ระหว่าง A และ B


2Ω 3Ω
A

6Ω 4Ω

7Ω 5Ω
9

ตัวอย่างที่ 20 ลวดความต้านทาน 4 เส้น ต่อกันดังรูป ถ้าความต่างศักย์ระหว่างปลายทั้งสองของความต้านทาน 4


โอห์ม มีค่า 8 โวลต์ จงหากระแสที่ผ่านความต้านทานทุกเส้น
7Ω 8Ω
4Ω
10 Ω

ตัวอย่างที่ 21 จากรูป จงหากระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทานขนาด 3 โอห์ม และ 5 โอห์ม ที่มีอย่างละสองตัว


กาหนดให้วงจรมีความต่างศักย์รวม 60 โวลต์
3Ω 3Ω
A

6Ω 6Ω 4Ω

5Ω 5Ω

ตัวอย่างที่ 22 จากรูป ถ้ามีกระแสไหลผ่านตัวต้านทาน 9 โอห์ม เป็น 0.4 แอมแปร์ จงหากระแสที่ไหลเข้าสู่วงจร


4Ω 5Ω 2Ω

6Ω 5Ω 9Ω 6Ω

10 Ω 5Ω 10 Ω
A B

ตัวอย่างที่ 23 จากรูป ถ้าความต่างศักย์ระหว่าง A และ B มีค่า 5 โวลต์ จงหาความต่างศักย์รวมของวงจร


9Ω 3Ω 6Ω
A

6Ω 6Ω

12 Ω 5Ω 6Ω
10

ตัวอย่างที่ 24 วงจรไฟฟ้าหนึ่งประกอบด้วยตัวต้านทานที่มีความต้านทานเท่ากัน 8 โอห์ม ถ้านาตัวต้านทานทั้งหมด


มาต่ออนุกรมกันและผ่านกระแส 2 แอมแปร์ เข้าไปในวงจรจะวัดความต่างศักย์รวมของวงจรได้ 160 โวลต์ จงหาว่าเมื่อ
ตัวต้านทานทั้งหมดมาต่อขนานกันและผ่านกระแสเท่าเดิม จะวัดความต่างศักย์รวมของวงจรได้เท่าใด

ตัวอย่างที่ 25 จากตัวอย่างที่ผ่านมา ถ้าตัวต้านทานที่ต่อขนานเกิดวงจรขาดไปครึ่งหนึ่งของจานวนตัวต้านทาน


ทั้งหมด ตัวต้านทานแต่ละตัวจะมีกาลังไฟฟ้าเท่าใด

ตัวอย่างที่ 26 จากรูป จงหาความต้านทานรวมระหว่าง A และ B กับ C และ D


2Ω 3Ω
A C

6Ω

B D

4Ω 5Ω

ตัวอย่างที่ 27 จากรูป จงหาความต้านทานรวมระหว่าง A และ B


(1) 2Ω 3Ω
A

4Ω

6Ω 5Ω

(2) 2Ω 3Ω
A

6Ω 4Ω

6Ω 5Ω

(3) 2Ω 3Ω
A

6Ω 4Ω

5Ω 6Ω
11

ตัวอย่างที่ 28 จากรูป จงหาความต้านทานรวมระหว่าง A และ B


(1)
1Ω 5Ω 20 Ω
A B

(2)
3Ω 12 Ω 4Ω
A B

12 Ω

(3) 3Ω

4Ω 1Ω

A B
2Ω

การต่อแบตเตอรี่ คือ การนาแบตเตอรี่มากกว่า 1 ตัว มาต่อร่วมกัน เพื่อให้ได้แรงเคลื่อนไฟฟ้า หรือ


กระแสไฟฟ้าตามต้องการ ซึ่งมีการต่อ 2 ประเภท ดังนี้
(1) การต่อแบตเตอรี่แบบอนุกรม มีลักษณะดังนี้
1. ถ้าต่อแบบตามกัน จะทาให้มีกระแสไฟฟ้าไปทางเดียวกัน จะได้แรงเคลื่อนไฟฟ้ารวมเป็น Eรวม  E1  E2  E3
และความต้านทานภายในรวมเป็น rรวม  r1  r2  r3 ตามรูป
R

E1 E2 E3

r1 r2 r3
2. ถ้าต่อแบบขัดกัน จะทาให้มีกระแสไฟฟ้าสวนทางกัน จะได้แรงเคลื่อนไฟฟ้ารวมเป็น Eรวม  E1  E2  E3 และ
ความต้านทานภายในรวมเป็น rรวม  r1  r2  r3 ตามรูป
12

E1 E2 E3

r1 r2 r3
(2) การต่อแบตเตอรี่แบบขนาน มีลักษณะคือ แบตเตอรี่ที่นามาต่อแบบขนาน ต้องมีแรงเคลื่อนไฟฟ้าขนาด
เท่ากัน เท่ากับ แรงเคลื่อนไฟฟ้ารวม นั่นคือ Eรวม  E1  E2  E3 และความต้านทานภายในรวมเป็น
1 1 1 1
  
rรวม r1 r2 r3

ตัวอย่างที่ 29 จากรูป จงหา


3Ω
(1) กระแสไฟฟ้าภายในวงจร
(2) ความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทาน

12 V 9V 4V

1Ω 1Ω 1Ω

ตัวอย่างที่ 30 จากรูป จงหา


3Ω
(1) กระแสไฟฟ้าภายในวงจร
(2) ความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทาน
1Ω
6V
12 V 9V

1Ω 1Ω

ตัวอย่างที่ 31 จากรูป จงหา


3Ω 12 V (1) กระแสไฟฟ้าภายในวงจร
(2) ความต่างศักย์คร่อมตัวต้านทาน
4Ω
1Ω 6V 1Ω
12 V 2Ω

1Ω
13

ตัวอย่างที่ 32 จากรูป จงหากระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทาน 2 โอห์ม


2Ω

12 V 1 Ω

12 V
1 Ω1 Ω

ตัวอย่างที่ 33 จากรูป จงหากระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทาน 3 และ 5 โอห์ม


5Ω

3Ω

12 V 9V

1Ω 1Ω 1Ω
12 V 5V 9V

2Ω 2Ω 2Ω

6. วงจรวีตสโตนบริดจ์ และกฎของเคอร์ชอฟท์

วงจรวีตสโตนบริดจ์ เป็นการต่อตัวต้านทานแบบขนานและมีตัวต้านทานขั้นกลางระหว่างการต่อแบบขนานที่
ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ดังรูป
R1 R3
X

A B
R5

Y
R2 R4

เราสามารถหาความสัมพันธ์ของความต้านทานในวงจรวีตสโตรบริดจ์ เพื่อพิสูจน์ความเป็นวงจรวีตสโตรบริดจ์
ของวงจรใด ๆ
กาหนดให้ VAX คือ ความต่างศักย์ระหว่างจุด A และ X มีกระแสไหลผ่านตัวต้านทาน R1 เป็น I1
14

คือ ความต่างศักย์ระหว่างจุด A และ Y มีกระแสไหลผ่านตัวต้านทาน


VAY R2 เป็น I2
VXY คือ ความต่างศักย์ระหว่างจุด X และ Y มีกระแสไหลผ่านตัวต้านทาน R5 เป็น I5
จากกฎของโอห์ม จะได้
VAX  VA  VX  I1R1 (9)
VAY  VA  VY  I 2 R2 (10)
VXY  VX  VY  I5 R5 (11)
สาหรับวงจรวีตสโตนบริดจ์ ตัวต้านทานขั้นกลางระหว่างการต่อแบบขนานที่ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน นั่นคือ I5  0
จากสมการ (11) จะได้ VX  VY  0
หรือ VX  VY (12)
ดังนั้น จากสมการ (9) และ (10) จะได้
I1R1  I 2 R2 (13)
ถ้าคิดกรณีเดียวกัน จะได้
I1R3  I 2 R4 (14)
นาสมการ (13) หารด้วย สมการ (14) จะได้
R1 R2
 (15)
R3 R4
นั่นคือ จะเป็นวงจรวีตสโตนบริดจ์ ต่อเมื่ออัตราส่วนระหว่างความต้านทานที่อยู่ด้านเดียวกันหรือด้านตรงข้ามมีค่า
เท่ากัน

ตัวอย่างที่ 34 จากรูป จงหาความต้านทานรวมระหว่างจุด A และ B


1Ω 5Ω

A B
4Ω

2Ω 10 Ω

ตัวอย่างที่ 35 จากรูป จงหาความต้านทานรวมระหว่างจุด A และ B


2Ω

3Ω 12 Ω 4Ω
A B

6Ω
15

ตัวอย่างที่ 36 จากรูป จงหาความต้านทานรวมระหว่างจุด A และ B


2Ω 2Ω
A

4Ω 4Ω
5Ω

8Ω 4Ω

B
8Ω 8Ω

กฎของเคอร์ชอฟท์ เหมาะสาหรับการหากระแสไฟฟ้าของวงจรที่ต่อแบตเตอรี่มากกว่า 1 ตัว แบบผสม มี 2


ข้อ ดังนี้
1. กฎของจุด กล่าวว่า “ผลบวกของกระแสไฟฟ้าที่จุดแยกใด ๆ เท่ากับ ศูนย์” (ผลรวมกระแสไฟฟ้าเข้าสู่จุด
เท่ากับ ผลรวมกระแสไฟฟ้าออกจากจุด) เขียนสมการได้เป็น
I  0 (16)
I3 จากรูป จะได้ I1  I 2  I3
I1 I2

2. กฎของวง กล่าวว่า “ผลบวกของแรงเคลื่อนไฟฟ้าทีว่ งจรย่อยใด ๆ เท่ากับ ผลบวกของความต่างศักย์คร่อม


ตัวต้านทานทุกตัวในวงจรเดียวกัน” เขียนสมการได้เป็น
 E   IR (17)
R
E1 1 วงบน จะได้ E2  E1  I1R1  I1R2  I 2 R2
วงล่าง จะได้ E3  E2  I 2 R2  I 2 R3  I1R2
I1 R2
E2

I2 R3
E3

ตัวอย่างที่ 37 จากรูป จงหากระแสไฟฟ้าที่ผ่านเซลล์ 8, 10 และ 12 โวลต์ (0.5, 0 และ 0.5 แอมแปร์)


12 V 2Ω
2Ω
10 V 3Ω
1Ω
8V 2Ω
2Ω
16

ตัวอย่างที่ 38 จากรูป จงหากระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทาน 1 และ 2 โอห์ม (1 และ 1 แอมแปร์)


5V
2Ω
2Ω 1Ω

2V
1Ω

ตัวอย่างที่ 39 จากรูป แอมมิเตอร์จะอ่านค่าได้เท่าใด (4.2 แอมแปร์)


3Ω

1Ω 2Ω
A
3V 6V

7. เครื่องวัดทางไฟฟ้า

เครื่องวัดทางไฟฟ้า คือ อุปกรณ์สาหรับการวัดปริมาณทางไฟฟ้า โดยดัดแปลงมาจากอุปกรณ์วัดทางไฟฟ้าที่


เรียกว่า แกลแวนอมิเตอร์
แกลแวนอมิเตอร์ ทาจากขดลวดพันรอบแกนและอยู่ภายในสนามแม่เหล็ก เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลเข้าไปใน
ขดลวด จะทาให้ขดลวดเคลื่อนที่และเกิดการเบนของเข็มชี้ที่ติดกับขดลวด ใช้สัญลักษณ์ G
กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้าไปในขดลวดและทาให้เข็มเบนเต็มสเกลเรียกว่า กระแสไฟฟ้าสูงสุด หรือ I G แกลแวนอ
มิเตอร์สามารถดัดแปลงเป็นแอมมิเตอร์ที่สามารถวัดกระแสไฟฟ้าในช่วง 0  IG โดยต่ออนุกรมกับวงจร
กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้าไปในขดลวดจะทาให้เกิดความต่างศักย์ระหว่างขั้วของแกลแวนอมิเตอร์ ถ้ากระแสไฟฟ้า
ผ่านขดลวดเท่ากับ I G แล้วความต่างศักย์ขณะนั้นเรียกว่า ความต่างศักย์สูงสุด หรือ VG และถ้าขดลวดมีความ
17

ต้านทาน RG แล้วความต่างศักย์สูงสุดจะเท่ากับ IG RG แกลแวนอมิเตอร์สามารถดัดแปลงเป็นโวลต์มิเตอร์ที่สามารถ


วัดความต่างศักย์ในช่วง 0  VG โดยต่อขนานกับวงจร
การดัดแปลงแกลแวนอมิเตอร์เป็นเครื่องวัดไฟฟ้าต่างๆ มีดังนี้
1. แอมมิเตอร์ สามารถวัดกระแสไฟฟ้าสูงสุดที่เกิน I G ได้ตามต้องการโดยนาตัวต้านทานที่เรียกว่า ชันต์ ซึ่งมี
ความต้านทาน RS น้อย ๆ มาต่อขนานกับแกลแวนอมิเตอร์ ตามรูป

IG X
G
R

IS RS

การนาชันต์มาต่อขนานจะทาให้เกิดการแบ่งกระแสไฟฟ้าออกเป็นสองส่วน คือ
(1) กระแสไฟฟ้าสูงสุดที่ผ่านแกลแวนอมิเตอร์ เท่ากับ I G
(2) กระแสไฟฟ้าที่ผ่านชันต์ มีค่า I S  I  IG
เนื่องจากแกลแวนอมิเตอร์และชันต์ต่อขนานกัน ดังนั้นความต่างศักย์ระหว่างปลายของชันต์จะเท่ากับความ
ต่างศักย์ระหว่างขั้วของแกลแวนอมิเตอร์ สามารถเขียนสมการได้เป็น
I S RS  I G RG
เมื่อ ISคือ กระแสไฟฟ้าที่ผ่านชันต์ มีหน่วยเป็น แอมแปร์ (A)
I G คือ กระแสไฟฟ้าที่ผ่านแกลแวนอมิเตอร์ มีหน่วยเป็น แอมแปร์ (A)
RS คือ ความต้านทานของชันต์ มีหน่วยเป็น โอห์ม ()
RG คือ ความต้านทานของแกลแวนอมิเตอร์ มีหน่วยเป็น โอห์ม ()
ดังนั้น การสร้างแอมมิเตอร์ ควรใช้ชันต์ที่มีความต้านทาน RS หาได้จาก
I G RG
RS  (18)
I  IG
เมื่อ I คือ กระแสไฟฟ้าในวงจร มีหน่วยเป็น แอมแปร์ (A)
2. โวลต์มิเตอร์ สามารถวัดความต่างศักย์สูงสุดที่เกิน VG ได้ตามต้องการโดยนาตัวต้านทานที่เรียกว่า มัลติ
พลายเออร์ ซึ่งมีความต้านทาน RM มาก ๆ มาต่ออนุกรมกับแกลแวนอมิเตอร์ ตามรูป

VM
VG RM
IG X
G
R

V
18

การนามัลติพลายเออร์มาต่ออนุกรมจะทาให้เกิดการแบ่งความต่างศักย์ออกเป็นสองส่วน คือ
(1) ความต่างศักย์สูงสุดระหว่างขั้วของแกลแวนอมิเตอร์ เท่ากับ VG
(2) ความต่างศักย์ระหว่างปลายของมัลติพลายเออร์ มีค่า VM  V  VG
เนื่องจากแกลแวนอมิเตอร์และมัลติพลายเออร์ต่ออนุกรมกัน ดังนั้นกระแสไฟฟ้าที่ผ่านมัลติพลายเออร์จะ
เท่ากับกระแสไฟฟ้าที่ผ่านแกลแวนอมิเตอร์ สามารถเขียนสมการได้เป็น
VM VG

RM RG
เมื่อ VM คือ ความต่างศักย์ระหว่างปลายของมัลติพลายเออร์ มีหน่วยเป็น โวลต์ (V)
VG คือ ความต่างศักย์ระหว่างขั้วของแกลแวนอมิเตอร์ มีหน่วยเป็น โวลต์ (V)
RM คือ ความต้านทานของมัลติพลายเออร์ มีหน่วยเป็น โอห์ม ()
ดังนั้น การสร้างโวลต์มิเตอร์ ควรใช้มัลติพลายเออร์ที่มีความต้านทาน RM หาได้จาก
V  I G RG
RM  (19)
IG
เมื่อ V คือ ความต่างศักย์ในวงจร มีหน่วยเป็น โวลต์ (V)
3. โอห์มมิเตอร์ สามารถวัดความต้านทานได้โดยนาตัวต้านทานแปรค่าและแบตเตอรี่มาต่ออนุกรมกับแกล
แวนอมิเตอร์ และนาปลายสายวัดไปแตะที่ปลายของตัวต้านทานที่ต้องการวัดความต้านทาน RX สามารถอ่านค่าได้
ดังนี้
(1) ถ้าปลายสายวัดไม่แตะกัน จะไม่มีกระแสไฟฟ้าผ่านมิเตอร์ เข็มจะชี้ที่ RX  
(2) ถ้าปลายสายวัดแตะที่ปลายของตัวต้านทาน RX ที่มีค่ามาก กระแสไฟฟ้าจะมีค่าน้อย เข็มจะเบนน้อย
(3) ถ้าปลายสายวัดแตะที่ปลายของตัวต้านทาน RX ที่มีค่าน้อยมาก กระแสไฟฟ้าจะมีค่ามาก เข็มจะเบนเต็ม
สเกลชี้ที่ RX  0
การใช้โอห์มมิเตอร์วัดความต้านทาน ต้องนาปลายสายวัดมาแตะกันเพื่อตรวจสอบว่าเข็มชี้ที่ 0 โอห์ม หรือไม่
ถ้าเข็มไม่ชี้ที่ 0 โอห์ม ต้องปรับความต้านทานแปรค่าจนกระทั่งเข็มชี้ที่ 0 โอห์ม ก่อนนาไปวัดความต้านทาน

ตัวอย่างที่ 40 แกลแวนอมิเตอร์เครื่องหนึ่งมีความต้านทาน 100 โอห์ม สามารถให้กระแสผ่านได้สูงสุด 10 ไม


โครแอมแปร์ ถ้าต้องการวัดกระแสไฟฟ้า 500 ไมโครแอมแปร์ จะต้องใช้ชันต์ที่มีความต้านทานเท่าใด และแอมมิเตอร์ที่
ใช้วัดกระแสจะมีความต้านทานเท่าใด

ตัวอย่างที่ 41 แกลแวนอมิเตอร์เครื่องหนึ่งมีความต้านทาน 20 โอห์ม อ่านได้เต็มสเกลเมื่อต่อเข้ากับความต่างศักย์


0.2 โวลต์ ถ้าต้องการนาแกลแวนอมิเตอร์มาทาเป็นแอมมิเตอร์ที่อ่านได้เต็มสเกล 1 แอมแปร์ จงหาว่าขณะที่
แอมมิเตอร์อ่านได้เต็มสเกล จะมีกระแสผ่านชันต์เท่าใด
19

ตัวอย่างที่ 42 แกลแวนอมิเตอร์เครื่องหนึ่งมีความต้านทาน 0.2 โอห์ม กระแสไฟฟ้าสูงสุดที่ไหลผ่านได้มีค่า 50 มิลลิ


แอมแปร์ ต้องหาความต้านทานเท่าใดมาต่อกับแกลแวนอมิเตอร์นี้ เพื่อทาเป็นโวลต์มิเตอร์และสามารถวัดความต่างศักย์
ได้สูงสุด 100 มิลลิโวลต์ และโวลต์มิเตอร์ที่ใช้วัดความต่างศักย์จะมีความต้านทานเท่าใด

ตัวอย่างที่ 43 แกลแวนอมิเตอร์เครื่องหนึ่งมีความต้านทาน 100 โอห์ม อ่านได้เต็มสเกลเมื่อมีกระแสไหลผ่าน 2 มิลลิ


แอมแปร์ ถ้าต้องการนาแกลแวนอมิเตอร์มาทาเป็นโวลต์มิเตอร์ที่อ่านได้เต็มสเกล 100 โวลต์ จงหาว่าขณะที่โวลต์มิเตอร์
อ่านได้เต็มสเกล มัลติพลายเออร์จะถูกแบ่งความต่างศักย์ไปเท่าใด

ตัวอย่างที่ 44 โอห์มมิเตอร์ตัวหนึ่งภายในมีเซลล์ไฟฟ้าที่มีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 3 โวลต์ และความต้านทานภายใน 2


โอห์ม ต่ออนุกรมกับตัวต้านทานแปรค่าทีต่ ั้งค่าไว้ 250 โอห์ม และแกลแวนอมิเตอร์ความต้านทาน 50 โอห์ม จงหา
(1) กระแสผ่านแกลแวนอมิเตอร์ ถ้านาปลายสายวัดมาแตะกัน
(2) ตัวต้านทานที่นามาวัด ถ้านาปลายสายวัดมาต่อและมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวต้านทานนี้ 5 มิลลิแอมแปร์

You might also like