You are on page 1of 15

1

การใชคีมชวยคลอด (Forceps Delivery)


อ.นพ.เกษม เรืองรองมรกต
จากบันทึกที่มีอยูในประวัติศาสตร อุปกรณชวยคลอดมีวิวัฒนาการมากกวา 2,500 ป แตการชวยคลอดทารกที่มีชีวิตนั้น
ไดรับการพัฒนาขึ้นครั้งแรกราว คริสตศตวรรษที่ 17 โดยคนในตระกูล Chamberlen(1-4) ซึ่งมีลักษณะคลายคีมชวยคลอดในปจจุบัน
ตอมาคีมชวยคลอดไดรับการพัฒนารูปแบบไปมากมายกวา 800 ชนิด แตคีมชวยคลอดที่ไดรับความนิยม และใชกันอยางแพรหลาย
มีประมาณ 20 ชนิดเทานั้น(3,5)คีมชวยคลอดแตละชนิดมีขนาด และรูปรางแตกตางกันออกไป แตมีลักษณะรวมกัน คือ ประกอบดวย
โลหะ 2 ชิ้น มี 4 สวนสําคัญ แตละสวนมีชื่อเรียกดังนี(3,4,6-8)

1. Blade: เปนสวนปลายสุดของคีม ประกอบดวยความโคง 2 ชนิด คือ
- Cephalic curve: เปนสวนโคงของ blade ที่จะแนบกับศีรษะทารกขณะใชงาน โดยคีมชวยคลอดที่มีความโคงนอยเหมาะ
กับศีรษะทารกที่มี molding ไดแก คีมชวยคลอดแบบ Simpson และ Delee สวนคีมชวยคลอดที่มีความโคงมากเหมาะกับ
ศีรษะทารกที่ไมมี molding ไดแก คีมชวยคลอดแบบ BaileyñWilliamson และ TuckerñMcLane
- Pelvic Curve: เปนสวนโคงของ blade ที่ทําใหปลาย blade ชี้ขึ้นดานบน เมื่อวางอยูในแนวราบ ไดรับการออกแบบมา
เพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดความบาดเจ็บตอเนื้อเยื่อของมารดาขณะใชงาน คีมชวยคลอดแตละชนิดมี pelvic curve แตก
ตางกัน
! คีมชวยคลอดที่มี pelvic curve มากเหมาะในการดึงศีรษะทารก ไดแก คีมชวยคลอดคลอดแบบ Simpson
และ Elliot
! คีมชวยคลอดที่มี pelvic curve นอย หรือไมมี เหมาะในการหมุนศีรษะทารกไดแก คีมชวยคลอดแบบ
Kielland
! คีมชวยคลอดที่มีความโคงตรงขามกับ pelvic curve (reverse pelvic curve) ไดแก คีมชวยคลอดแบบ
Piper และ Hawks-Dennon
ลักษณะของ blade มีหลายชนิด ทั้งแบบมีชอง (fenestration) เพื่อเพิ่มความกระชับในการจับศีรษะทารก ไดแก คีมชวย
คลอดแบบ Simpson, Bailey-Willamson, Tucker-McLane นอกจากนั้นมีคีมชวยคลอดบางขนิดที่มี blade เปนแผนโลหะทึบ แตมี
รอง (pseudofenestration) เพื่อเพิ่มความกระชับในการจับศีรษะทารก ไดแก คีมชวยคลอดแบบ Luikart-Simpson คีมชวยคลอดที่
มีชองทําใหจับศีรษะทารกไดกระชับ และดึงไดดีขึ้น แตจะเพิ่มความเสี่ยงตอการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อของชองทางคลอดเมื่อตองหมุน
ศีรษะทารกเปนองศาที่กวาง ในขณะที่คีมชวยคลอดที่เปนแผนโลหะทึบจะเหมาะในการหมุนศีรษะทารกมากกวา เพราะลดความ
เสี่ยงตอการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อชองชองทางคลอด แตจะเพิ่มความเสี่ยงตอการบาดเจ็บของศีรษะทารกจากการลื่นไถลของ blade
ไปบนศีรษะทารก

2. Shanks: เปนสวนตอระหวาง lock และ blade มีความยาวแตกตางกันไป คีมชวยคลอดที่มี shanks ยาว ไดรับการออกแบบ
สําหรับการชวยคลอดแบบ midforceps ไดแก คีมชวยคลอดแบบ Kielland และ Bailey-Williamson
Shanks มีทั้งแบบ ขนาน (parallel) ไดแก คีมชวยคลอดแบบ Simpson และ Piper กับ แบบซอนกัน (overlap) ไดแก
คีมชวยคลอดแบบ Elliot และ Tucker-McLane ซึ่ง shanks แบบแรกชวยใหดึงคีมไดถนัด รวมทั้งเหมาะกับศีรษะทารกที่มี molding
แตจะเพิ่มการฉีดขาดของฝเย็บ สวน shanks แบบหลังจะเพิ่มแรงกดตอศีรษะของทารก แตจะชวยลดการฉีดขาดของฝเย็บ

3. Lock: เปนสวนของคีมชวยคลอดที่ใชในการยึดตรึงคีมชวยคลอดทั้งสองขางใหมั่นคงขณะทํางาน มีหลายแบบ แตแบบที่พบ


บอยคือ แบบ sliding และ English
2
- English lock: เปน lock ที่มีรองอยูบนคีมชวยคลอดทั้งสองขาง เมื่อประกบเขาหากันจะ fixed อยูกับที่ สามารถใส และ
ถอดออกจากกันไดงาย คีมชวยคลอดที่มี lock แบบนี้ ไดแก คีมชวยคลอดแบบ Simpson, Tucker-McLane, Elliot,
Bailey-Williamson และ Piper
- French lock: เปน lock ที่ใช screw ขันตําแหนงที่ไขวกันของคีมชวยคลอดใหกระชับ เปน lock ที่มี fixed point เชนเดียว
กับ English lock คีมชวยคลอดที่มี lock แบบนี้ ไดแก คีมชวยคลอด แบบ Tanier และ Dewees
- Sliding lock: เปน lock ที่มีลักษณะเปนเบาอยูที่ blade ซายเมื่อประกบคีมชวยคลอดทั้งสองขางเขาหากัน blade ขวาจะ
สามารถขยับไปมาได เหมาะในการปรับทาของศีรษะทารก เพื่อแกภาวะ asynclitism คีมชวยคลอดที่มี lock แบบนี้ ไดแก
คีมชวยคลอดแบบ Kielland
- Pivot lock: เปน lock ที่ออกแบบให blade ทั้งสองขางแยกออกจากกันได เมื่อทําการดึงศีรษะทารก เพื่อลดแรงกดตอ
ศีรษะทารก คีมชวยคลอดที่มี lock แบบนี้ไดแก คีมชวยคลอดแบบ Laufe

4. Handle: เปนสวนของดามจับ อาจเรียบ หรือมีรองเพื่อสะดวกขณะทําหัตถการ บริเวณใกล lock มักมีสวนของโลหะที่ยื่นออก


มาทางดานขาง ใชในการเกี่ยวดึง และเปน land mark ในการใสคีมชวยคลอด มีชื่อเรียกหลายชื่อ ไดแก transverse process,
hook หรือ shoulder

Traction bar ไดแก Bill axis-traction device เปนอุปกรณที่ใชรวมกับคีมชวยคลอดหลายชนิด ไดแก คีมชวยคลอดแบบ


Simpson, Luikart-Simpson, Elliot, Bailey-Williamson อุปกรณนี้ชวยใหแรงในการดึงอยูในแนวที่เหมาะสมมากขึ้น

รูปที่ 1: คีมชวยคลอดแบบ Chamberlen(2)

รูปที่ 2: คีมชวยคลอดแบบ Simpson(4)


(a) Cephalic curve of wide radius
(b) Parallel shanks
(c) English lock
(d) Corrugated handles

รูปที่ 3: คีมชวยคลอดแบบตางๆ(8)
รูปที่ 4: คีมชวยคลอดแบบ Laufe(4)
3

วัตถุประสงคของการใชคีมชวยคลอด(7,8)
1. ดึงศีรษะทารก (extraction): เปนจุดประสงคที่ใชบอยที่สุดในการชวยคลอดศีรษะทารก
2. หมุนศีรษะทารก (rotation): เปนการหมุนเปลี่ยนทาของศีรษะทารกใหอยูในทาที่เหมาะสม
3. บีบศีรษะทารก (compression): เปนการลดขนาดศีรษะทารกที่ไมอาจมีชีวิตรอด ไดแก ทารกหัวบาตร ทําให
สามารถคลอดทางชองคลอดได
4. เปลี่ยนทิศทางคลอดของศีรษะทารก (vectis): ไดแก การใช blade ของคีมขางเดียวชอนหรือ ยกศีรษะของ
ทารก ขณะผาตัดคลอดทางหนาทอง

การแบงชนิดของคีมชวยคลอดตามลักษณะการใชงาน(4,7,8)
สามารถแบงคีมชวยคลอดไดเปน 2 ชนิด คือ
1. Classical forceps: เปนคีมชวยคลอดที่ออกมาเพื่อใชในวัตถุประสงคทั่วๆ ไป มีทั้ง cephalic และ pelvic curve
ตามปกติ แบงเปน 2 กลุมใหญๆ คือ
- Simpson type: เปนคีมชวยคลอดที่มีลักษณะสําคัญคือ shank แบบขนาน มี lock ตําแหนงเดียว
blade ขวาอยูบน blade ซายขณะใชงาน cephalic curve ยาวรี เหมาะกับศีรษะทารกที่มี
molding มากๆ ตัวอยางคีมชวยคลอดแบบนี้ไดแก คีมชวยคลอดแบบ Simpson, De Lee,
Dennen และ Dewees
- Elliot type: เปนคีมชวยคลอดที่มีลักษณะสําคัญ คือ shanks แบบซอน cephalic curve คอนขาง
กลม เหมาะกับศีรษะทารกที่มี molding นอย นอกจากนั้น คีมชวยคลอดแบบ Elliot ยังมีอุปกรณที่
มีลักษณะเปนสกรูบริเวณดามจับชวยลดแรงกดตอศีรษะทารก ตัวอยางคีมชวยคลอดแบบนี้ ไดแก
คีมชวยคลอดแบบ Elliot และ Bailey-Williamson ที่มี blade แบบ fenestration, คีมชวยคลอด
แบบ Tucker-McLane ที่มี blade แบบ solid และ คีมชวยคลอดแบบ Luikart-Simpson ที่มี
blade แบบ pseudofenestration

2. Specialized forceps: เปนคีมชวยคลอดที่ออกแบบมาเพื่อใชในวัตถุประสงคเฉพาะไดแก


- คีมชวยคลอดแบบ Kielland: เปนคีมชวยคลอดที่ไมมี pelvic curve มี lock แบบ sliding ใชกรณี
ที่มี mid-pelvic arrest เพื่อหมุนศีรษะทารก และมีอันตรายตอชองทางคลอดนอย นอกจากนั้น
sliding lock ยังใชแกภาวะ asynclitism ที่มักพบรวมกับ ภาวะ transverse arrest และคีมชนิดนี้
ยังสามารถใชชวยคลอดทารกทา face ไดดีอีกดวย
- คีมชวยคลอดแบบ Piper: เปนคีมชวยคลอดที่มี shanks ยาวรวมกับ reverse pelvic curve ทํา
ให handles อยูต่ํากวา blades เหมาะในการชวยคลอดทารกทากนที่ตัว และไหลคลอดออกมา
แลว (forceps after coming head) คีมชวยคลอดแบบ Piper ชวยคลอดศีรษะทารกทากนที่คลอด
ยากไดดี
- คีมชวยคลอดแบบ Laufe: เปนคีมชวยคลอดที่มี lock แบบ pivot รวมกับลักษณะของ handle ที่
ทําให blade กางออก (divergent) ขณะดึงเพื่อลดแรงกดตอศีรษะทารก คีมชวยคลอดที่สั้นทําให
สะดวกในการชวยคลอดศีรษะทารกขณะผาตัดทําคลอดทางหนาทอง นอกจากนั้นยังสามารถชวย
คลอดศีรษะทารกทากนที่คลอดกอนกําหนดไดดี
4

- คีมชวยคลอดแบบ Barton: เปนคีมชวยคลอดที่ blade หนามีขอพับที่ทําให blade เคลื่อนที่ได


มากกวา 90 องศา และ blade หลังมี cephalic curve ลึกติดกับ shank ทางดานขางทํามุม 50
องศา ทําใหไมมี pelvic curve เมื่ออยูใน anterior position แตจะมี pelvic curve เมื่ออยูใน
transverse position เหมาะในการชวยคลอดศีรษะทารกที่อยูในทา transverse และมารดามี
plattypelliod pelvis แตคีมชวยคลอดแบบนี้มีขอเสีย คือตองเปลี่ยนคีมชวยคลอดอีกชนิดหลังจาก
หมุนเสร็จเพื่อใชในการดึง จากการใชที่ยุงยากจึงไดรับความนิยมลดลง แตในปจจุบันมีผูนํามาใช
ชวยคลอดศีรษะทารกขณะผาตัดทําคลอดทางหนาทอง
- คีมชวยคลอดแบบ Short Hale และ De Lee: เปนคีมที่มี blade เล็กมี shanks สั้นๆ ใชชวย
คลอดในรายที่ศีรษะทารกเคลื่อนลงต่ํามาก เพื่อชวยใหศีรษะเงยหนาขึ้น นอกจากนั้นยังใชชวย
คลอดศีรษะทารกขณะผาตัดทําคลอดทางหนาทอง

ตารางแสดงคีมชวยคลอดที่เหมาะสมกับสภาวะตาง ๆ(4)
Procedure Instrument
- Outlet delivery - Classical forceps: Simpson or Elliot type
- Laufe forceps
- Low forceps delivery
< 45# rotation - Classical forceps
> 45 rotation
#
- Classical forceps
- Kielland forceps
- Tucker-McLane forceps
- Bailey-Williamson forceps
- Midforceps delivery - Kielland or Tucker-McLane forceps
- HawksñDennen forceps
- Breech delivery - Piper forceps
- Bailey-Williamson forceps
- Cesarean delivery - Vectis blade: Murless forceps
- Classical forceps
-
Laufe forceps

รูปที่ 5: Bill axis-traction(4) รูปที่ 6: บริเวณปลาย handle ของคีมชวย


คลอดแบบ Elliot ที่มีลักษณะเปนสกรู
เพื่อลดแรงกดตอศีรษะทารก(4)
5

การจําแนกชนิดของการชวยคลอดทารกทาศีรษะ ดวยคีมชวยคลอด(4-7)
การจําแนกมีหลายวิธีแตวิธีที่ไดรับการยอมรับมากที่สุดคือวิธีของ American College of Obstetricians and
Gynecologists (ACOG) ในป 1988
Classification of forceps delivery according to station and rotation
Type of procedure Classification
- Outlet forceps 1. Scalp is visible at the introitus without
separating the labia.
2. Fetal skull has reached pelvic floor.
3. Sagittal suture is in anteroposterior diameter or right or
left occiput anterior or posterior position.
4. Fetal head is at or on perineum.
5. Rotation does not exceed 45#.
- Low forceps Leading point of fetal skull is at station >= + 2 cm,
and not on the pelvic floor.
1. Rotation <= 45# (left or right occiput anterior to occiput
anterior, or left or right occiput posterior to occiput
posterior).
2. Rotation > 45#
- Mid forceps Station above +2 cm. but head engaged.
- High forceps Not included in classification.

การจําแนกตามวิธีของ ACOG 1988 มีลักษณะที่สําคัญดังนี้คือ(4-6)


1. ประเมิน station ของศีรษะทารกเมื่อเทียบกับระดับของ ischeal spine เปน เซนติเมตร
2. ไมแนะนําใหใช forceps เมื่อศีรษะทารกยังไม engage
3. ใหความสําคัญในการแยกองศาของการหมุนศีรษะทารกเปนสองกลุม คือ <= 45# และมากกวา 45#

ขอบงชี้ในการใชคีมชวยคลอด(2,4,6-8)
ขอบงชี้ทางดานมารดา
1. การคลอดในระยะที่สองยืดเยื้อ (prolonged second-stage of labor): ACOG ใหคํานิยามสําหรับรายที่
ไมเคยคลอด ถือวาการคลอดในระยะที่สองยืดเยื้อ เมื่อระยะที่สองนานกวา 2 และ 3 ชั่วโมง ในรายที่ไม
ไดทํา และทํา epidural anesthesia ตามลําดับ สําหรับรายที่เคยคลอดบุตรมากอน ถือวาการคลอดใน
ระยะที่สองยืดเยื้อเมื่อระยะที่สองนานกวา 1 และ 2 ชั่วโมง ในรายที่ไมไดทํา และทํา epidural
anesthesia ตามลําดับ
การคลอดยืดเยื้ออาจเกิดจากการที่มารดาออนลาจากการเบงมานาน (prolonged voluntary
expulsive force), การที่กลามเนื้อออนแรงทั้งจากการทํา epidural anesthesia หรือ จากโรคทางระบบ
6

ประสาทของมารดาเอง แตอยางไรก็ตาม ควรระมัดระวังการผิดสัดสวนระหวางศีรษะทารก และชองเชิง


กรานเมื่อพบมีการคลอดในระยะที่สองยืดเยื้อ
2. เพื่อลดระยะเวลาการคลอดในระยะที่สอง (shortening of second stage): โดยเฉพาะมารดาที่มีโรค
แทรกซอนที่อาจมีอันตรายเมื่อออกแรงเบง ไดแก โรคหัวใจ, โรคปอด, ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ
และความดันโลหิตสูงเรื้อรัง เปนตน

ขอบงชี้ทางดานทารก
1. ทารกอยูในภาวะเสี่ยง (fetal distress) โดยมักใชรูปแบบการเตนของหัวใจทารกที่ผิดปกติเปนเกณฑ
(non reassuring fetal heart rate pattern)
2. ศีรษะทารกอยูในทาผิดปกติ เชน occiput transverse และตองการหมุนใหอยูในทา occiput anterior
เพื่อสะดวกในการคลอด
3. การชวยคลอดศีรษะในทารกทากน (aftercoming head)

Prophylactic forceps(6) คือ การใชคีมชวยคลอดศีรษะชนิด outlet forceps เพื่อลดระยะที่สองของการ


คลอด ทําใหลดระยะเวลาที่ศีรษะทารกกดกับฝเย็บ และชองทางคลอด โดยมีผูเชื่อวาจะชวยลดการบาดเจ็บตอ
สมองทารก และปองกันมิใหกลามเนื้อ และพังผืดบริเวณนี้ยืดตัวมากเกินไป แตจากรายงานในระยะหลังยังไม
พบผลประโยชนที่ชัดเจนทั้งตอมารดา, ทารกแรกคลอดครบกําหนด และทารกแรกคลอดที่มีน้ําหนักตัวนอย
จากการใชคีมชวยคลอดแบบ prophylactic
Trial forceps(6,7) คือการใชคีมชวยคลอดแบบ low หรือ mid forceps ในรายที่อาจมีการผิดสัดสวน
ระหวางศีรษะทารก กับชองเชิงกรานของมารดา นับเปนการยืนยันการวินิจฉัยเมื่อไมมีการเคลื่อนต่ําของศีรษะ
ทารก เมื่อใชคีมชวยคลอด
Failed forceps(6,7) คือ การพยายามใชคีมชวยคลอดอยางเต็มที่ แตไมสําเร็จ

ภาวะที่ตองพรอมกอนใชคีมชวยคลอด (prerequisites for forceps application) (2,4,6,7)


นอกจากการเตรียมการคลอดตามปกติแลว การใชคีมชวยคลอดศีรษะทารก เมื่อทารกมีศีรษะเปนสวนนํา
จะตองมีความพรอมดังตอไปนี้
1. ศีรษะทารก engage แลว ควรระมัดระวัง การ molding และ caput succedaneum ที่อาจทําใหประเมิน
ผิดวาศีรษะทารก engage แลว
2. น้ําเดินแลว
3. ปากมดลูกเปดหมด
4. ทารกอยูในทา vertex presentation หรือ mentoanterior position และรูทาของสวนนําแนนอน
5. ไมพบมี การผิดสัดสวนระหวางศีรษะทารก และชองเชิงกรานมารดา รวมทั้งไมมีเนื้องอกในอุงเชิงกรานที่
ขัดขวางการคลอด
6. กระเพาะปสสาวะ ไมมีปสสาวะอยูภายใน
7. มารดาไดรับการระงับความรูสึกอยางพอเพียง
8. มีบุคลากร และเครื่องมือ พรอมในการทําหัตถการ และชวยชีวิตทารก
9. ผูปวยเขาใจ และรับทราบความจําเปนในการทําหัตถการ
7

วิธีการใชคีมชวยคลอด(2-4,6-9)
การเตรียมผูคลอดกอนการใชคีมชวยคลอด
1. ทบทวนขอบงชี้, สภาวะของมารดา และทารก วาเหมาะสมกับการใชคีมชวยคลอด
2. อธิบายใหผูคลอดเขาใจเหตุผล และขั้นตอนในการทําหัตถการ
3. ใหสารน้ําทางหลอดเลือดดําเพื่อแกไขภาวะขาดน้ํา
4. จัดผูคลอดใหอยูในทา lithotomy กนชิดขอบเตียง ทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุภายนอก ปูผา
ปราศจากเชื้อ เวนเฉพาะบริเวณที่ทําหัตถการ
5. สวนปสสาวะออกใหหมด
6. ใหการระงับความรูสึก
- Pudendal nerve block รวมกับการใชยาชาเฉพาะที่บริเวณฝเย็บพอเพียงในการระงับ
ความรูสึก สําหรับการใชคีมชวยคลอดชนิด outlet
- Regional และ general anesthesia เหมาะสมในการใชคีมชวยคลอดชนิด low และ
midforceps การใช ketamine 1-2 mg/kg ทางหลอดเลือดดําสามารถ ระงับความรูสึกขณะ
ใชคีมชวยคลอดไดดี แตควรระมัดระวังในรายที่มีความดันโลหิตสูงอยูกอน
7. ตรวจเพื่อยืนยันทา และระดับของสวนนําทารกใหชัดเจน

การใชคีมชวยคลอดชนิด outlet สําหรับทารกทา occiput anterior (OA)


1. การใสคีมชวยคลอด
1. Orientation of blade: การถือคีมชวยคลอดที่ล็อคเขาหากันในแนวราบที่ปากชองคลอด ให
blade ทั้งสองขนานกับ sagittal suture เพื่อใหเห็นภาพเวลาใสคีมชวยคลอดเสร็จแลว
กอนทําการดึง หรือหมุนวาคีมชวยคลอดควรอยูในสภาพใด
2. การใสคีมชวยคลอด: ควรใส blade ซายกอน เพื่อที่จะไมตองสลับดามภายหลังการใสคีม
ชวยคลอด เมื่อใสเสร็จคีมชวยคลอดควรกระชับกับดานขางของศีรษะทารก (biparietal or
bimalar application) ตามแนว occipitomental โดย blade ทั้งสองควรหางจาก sagittal
suture เทาๆ กัน และคีมชวยคลอดควรขนานกับชองทางคลอดใหมากที่สุด
- การใส blade ซาย: ใชมือซายจับดามของ blade ซายดวยนิ้วโปง และนิ้วชี้ เชนเดียว
กับการจับปากกา ในลักษณะตั้งตรง blade หอยลง สอดนิ้วชี้ และนิ้วกลางของมือขวา
เขาไปในชองคลอดตรงตําแหนง 4-5 นาฬิกา ใหอยูระหวางศีรษะทารก และผนังชอง
คลอด สอด blade ซายระหวางนิ้วมือขางขวา กับศีรษะทารก ใชนิ้วหัวแมมือของมือ
ขวาดัน heel ใหคีมชวยคลอดเลื่อนเขาไปดานใน พรอมกับแรงชวยจากนิ้วชี้ และนิ้ว
กลางของมือขวา ดามของคีมชวยคลอดจะคอยๆ ลดระดับลงมาในแนวระนาบ มือซาย
พยุง หรือดันคีมเบาๆ เทานั้น หลังจากนั้นใหผูชวยจับ blade ซายเอาไว
การใสคีมชวยคลอดเขาไปยังตําแหนงที่ถูกตอง จะใชแรงไมมากดังนั้นหาก
ใสคีมชวยคลอดไดลําบากควรทบทวนทิศทางการใสใหถูกตอง
- การใส blade ขวา: ใหใสในลักษณะเดียวกับการใส blade ซาย แตสลับมือ และสอด
คีมชวยคลอดที่ตําแหนง 7-8 นาฬิกา
8

3. การล็อคคีมชวยคลอด: ขยับ blade ขวาล็อคเขากับ blade ซาย ถาตําแหนงของคีมชวย


คลอดทั้งสองขางถูกตองจะสามารถล็อคเขาหากันไดโดยงาย ถาการล็อคทําไดยาก ควร
ตรวจสอบตําแหนงอีกครั้ง ถาตําแหนงของคีมไมถูกตอง ไมควรล็อคคีมชวยคลอดทั้งสอง
ขางเขาหากัน หลังจากล็อคคีมชวยคลอดเสร็จแลว ใหผูชวยฟงเสียงหัวใจทารก ถาเสียงหัว
ใจเตนผิดปกติ คีมชวยคลอดอาจหนีบ หรือกดสายสะดือ ควรถอดแลวใสใหม

2. การตรวจสอบตําแหนงของคีมชวยคลอด
เมื่อคีมชวยคลอดอยูในตําแหนงที่ถูกตองจะตรวจพบวา
Cephalic application
! Sagittal suture อยูกึ่งกลางระหวาง และตลอดความยาวของ blade ทั้งสองขาง
! Posterior fontanel อยูกึ่งกลางระหวาง blade ทั้งสองขาง และอยูเหนือระดับ shanks
ประมาณ 1 นิ้วมือ
! สามารถคลํา fenestration ไดเพียงปลายนิ้ว
Pelvic application
! Blade ทั้งสองขาง อยูดานขางของเชิงกรานเทาๆ กัน
! ดานหนา ของ blade อยูดานหนาของผูคลอด

รูปที่ 7: การใสคีมชวยคลอด สําหรับ รูปที่ 8: ทิศทางการใสคีมชวยคลอด(8)


ทารกในทา OA(6)

รูปที่ 9: การทดลองดึงคีมชวยคลอด รูปที่ 10: การดึงคีมชวยคลอดตามวิธี


(trial traction)(8) ของ Saxtorph-Pajot (Osianderís)(4)
9

3. การดึงคีมชวยคลอด
ผูทําคลอดควรนั่งในทาที่ถนัด งอศอก ใชแรงดึงจากลามเนื้อ biceps อาจใชนิ้ว, ผากอซ
หรือสําลี แทรกแระหวางคีมชวยคลอดทั้งสองดาน เพื่อลดแรงกดตอศีรษะทารก ทดลองดึงคีม
ชวยคลอด (trial traction) โดยใชมือซายครอมจับดามคีมชวยคลอดบริเวณ transverse
process มือขวากําเหนือมือซาย นิ้วชี้มือขวาเหยียดไปแตะศีรษะทารก ถาดึงแลวศีรษะทารกไม
เคลื่อนตามลงมา จะพบวานิ้วชี้ที่แตะศีรษะทารกจะเลื่อนหางออกมา
เมื่อพบวาศีรษะทารกเคลื่อนตามลงมา ทําการดึงทารกเชนเดียวกับการหดรัดตัวของมดลูก
คือ คอยๆ เพิ่มแรงดึงจนเต็มที่แลวหนวงไว การดึงพรอมกับการหดรัดตัวของมดลูกจะชวยให
ดึงไดงายขึ้น แตไมจําเปนตองดึงพรอมกับการหดรัดตัวของมดลูกเสมอไป ไมควรโยกคีมชวย
คลอดเวลาดึง การดึงคีมชวยคลอดควรดึงตามวิธีของ SaxtorphñPajot (Osianderís)
maneuver โดยหงายมือขวารวบจับดาม และ transverse process จากทางดานลาง ใหคีมชวย
คลอดอยูระหวางนิ้วชี้ และนิ้วกลาง ออกแรงดึงตามแนวระนาบ คว่ํามือซายจับ shanks และ
transverse process จากทางดานบน ออกแรงดึงลงลางตั้งฉากกับแนวราบ ทําใหผลลัพธของ
แรงดึง เปนไปตามทิศทางของชองทางคลอด (pelvic axis) ทําการตัดฝเย็บเมื่อศีรษะทารก
เคลื่อนต่ําลงมาตุงบริเวณฝเย็บ เมื่อศีรษะของทารกเคลื่อนต่ําลงมาจนกระทั่ง subocciput อยูใต
ตอ pubic symphysis จึงทําการดึงในแนวเฉียงขึ้น เพื่อใหศีรษะทารกเงยขึ้นเชนเดียวกับการ
คลอดปกติ
4. การถอดคีมชวยคลอด
สามารถถอดคีมชวยคลอดไดเมื่อศีรษะทารกเงยขึ้นจนสามารถมองเห็นรอยตอระหวาง
หนาผาก และผมของทารก อาจถอดคีมชวยคลอด หลังจากศีรษะทารกคลอดเรียบรอยแลว
ซึ่งวิธีหลังสามารถควบคุมการเคลื่อนที่ไดดี แตมักจะมีการฉีดขาดของชองทางคลอด และฝ
เย็บมากกวา การถอดคีมชวยคลอดเริ่มจากการปลดล็อค แยกคีมชวยคลอดทั้งสองขางออก
จากกัน ถอด blade ขวากอนโดยปาดไปหนาขาดานซายของมารดา แลวจึงถอด blade ซาย
โดยปาดไปหนาขาดานขวาของมารดา หลังจากนั้นจึงทําคลอดทารกเชนเดียว กับการคลอด
ปกติ

การใชคีมชวยคลอดสําหรับทารกในทา left และ right occiput anterior


(LOA และ ROA)(4,6-8)
เริ่ม orientation โดยการจัดให blade ทั้งสองขางขนานกับ sagittal suture สําหรับทารกทา LOA
เริ่มใส blade ซายกอน เชนเดียวกับทารกในทา OA แตจะปด blade ดวยองศาที่นอยกวา เพื่อไปแนบกับหู
ซายของทารกที่บริเวณ left posterior quadrant ของชองเชิงกราน หลังจากนั้นจึงใส blade ขวา แตตองปด
blade ขึ้นไปแนบ กับหูขวาของทารกที่บริเวณ right anterior quadrant ของชองเชิงกราน ใหขนานกับ blade
ซาย และ sagittal suture ล็อคคีมชวยคลอดทั้งสองขางเขาหากัน ตรวจสอบตําแหนงวาถูกตองตาม cephalic
application จึงทําการหมุนจนศีรษะทารกใหอยูในทา occiput anterior หลังจากนั้นจึงทําการชวยคลอดเชน
เดียวกับทารกทา OA
สําหรับทารกในทา ROA มีวิธีการใสคีมชวยคลอดเชนเดียวกัน แตตางกันตรงที่ควรเริ่มใส blade
ขวากอนจนแนบกับหูขวาของทารกที่บริเวณ right posterior quadrant ของชองเชิงกราน หลังจากนั้นจึงใส
10

blade ซาย ปด blade ขึ้นไปแนบ กับหูซายของทารกที่บริเวณ left anterior quadrant ของชองเชิงกราน เพื่อ
ปองกันมิใหศีรษะหมุนไปทางดานหลัง ดามของ blade ซายจะอยูบนดามของ blade ขวาทําใหตองสลับดาม
คีมชวยคลอดกอนจึงจะสามารถล็อคคีมชวยคลอดเขาหากันได
เมื่อใชคีมชวยคลอดแบบ classical การหมุนควรทําแบบ wide arc คือใหดามหมุนเปนวงกวางซึ่งจะ
ทําให blade หมุนเปนวงที่แคบกวา จึงลดการบาดเจ็บตอชองทางคลอด

การชวยคลอดสําหรับทารกในทา occiput posterior (OP)(4,6-8)


ทารกในทา OP สามารถทําคลอดไดหลายวิธีคือ
1) คลอดเองโดยทารกหงายหนาออกมา
2) การใชเครื่องดูดสุญญากาศ
3) การใชคีมชวยคลอดออกมาในทา OP
4) การใชมือหมุน (Manual rotation ) เปนทา OA แลวใหคลอดเองตามปกติ
5) การใชคีมชวยคลอดหมุนเปลี่ยนเปนทา OA แลวดึงใหคลอดในทา OA
ในปจจุบันแพทยนิยมใชเครื่องดูดสุญญากาศ ชวยคลอดทารกในทา OP มากขึ้น เนื่องจากการใชคีม
ชวยคลอดหมุน หรือ ดึงในทา OP นั้น มักทําไดยากกวาทํา OA มีอัตราการฉีกขาดของชองทางคลอด และฝ
เย็บชนิดรุนแรงมากกวา รวมทั้งพบการบาดเจ็บตอประสาทหนาของทารกจากการดึงในทา OP มากกวา OA

การใชคีมชวยคลอดออกมาในทา OP(4,6,7)
เริ่ม orientation และใสคีมชวยคลอดเชนเดียวกับทารกในทา OA ตรวจสอบตําแหนงให occiput อยู
ใตตอ shanks ประมาณ 1 นิ้วมือ แรงดึงจะมากกวาทารกในทา OA การดึงควรดึงในแนวระนาบ จนกระทั่ง
จมูกของทารกมายันใตตอ pubic symphysis จึงยกดามคีมชวยคลอดขึ้น ใหศีรษะทารกคลอดออกมาโดยการ
กม หลังจาก subocciput อยูเหนือตอฝเย็บ จึงลดดามคีมชวยคลอดลงใหหนาทารกคลอดออกมา การคลอด
ในวิธีนี้ควรตัดฝเย็บใหกวาง และไมควรถอดคีมชวยคลอดกอนศีรษะทารกจะคลอดออกมา

รูปที่ 11 A) การหมุน คีมชวยคลอดแบบ รูปที่ 12 การดึงคีมชวยคลอดแบบ


classical ที่ถูกวิธี (wide arc rotation) Simpson สําหรับทารกในทา OP(6)
B) การหมุนคีมชวยคลอดแบบ classical ที่ไม
ถูกวิธีอาจทําใหเกิดการบาดเจ็บตอชองทาง
คลอด(4)
11

การใชคีมชวยคลอดหมุนเปลี่ยนทาจาก OP มาเปน OA(4,6-8)


มีวิธีการชวยคลอดหลายวิธี ไดแก
1) ScanzoniñSmellie maneuver: เปนการใสคีมชวยคลอดที่มี pelvic curve 2 ครั้ง (double
application) เหมาะกับทารกที่ระดับ biparietal ผานระดับ ischeal spine ลงมาแลว นิยมใชคีม
ชวยคลอดแบบ Tucker-McLane หมุนใหศีรษะทารกอยูในทา OA ทําให pelvic curve คว่ําลง
ดามของคีมชวยคลอดชี้ลงลาง ถาการหมุนทําไดยากควรดันศีรษะทารกชึ้นไปเล็กนอยเพื่อให
หมุนไดงายขึ้น ขณะหมุนควรใหผูชวยดันไหลทารกทางหนาทองใหตัวทารกหมุนตามไปดวย
เมื่อทารกอยูในทา OA แลว จึงถอดคีมชวยคลอดชุดแรกดานขวามือของมารดาออก
กอน เหลือคีมชวยคลอดชุดแรก ดานซายมือไวกอน เพื่อปองกันการหมุนกลับของศีรษะทารก
ทําการใส blade ขวาของคีมชวยคลอดชุดที่สอง หลังจากนั้นจึงใชคีมชวยคลอดเชนเดียวกับ
ทารกในทา OA
2) การใชคีมชวยคลอดแบบ Kielland หรือ Bailey-Williamson หมุน และดึงโดยการใสคีมชวย
คลอดเพียงชุดเดียว โดยใสให pelvic curve คว่ําลง หมุนจนอยูในทา OA ทําให pelvic curve
หงายขึ้น แลวจึงดึงคีมชวยคลอดเชนเดียวกับทารกในทา OA

การใชคีมชวยคลอด แบบ Kielland สําหรับทารกในทา occiput transverse (OT)(4,7,8)


การใชคีมชวยคลอด แบบ Kielland ชวยคลอดศีรษะทารกที่มีภาวะ deep transverse arrest
สามารถใสคีมชวยคลอดไดทั้งแบบ wandering และ classical application

- Wandering application
เริ่ม orientation โดยวางให blades ทั้งสองขนานกับ sagittal suture และปุมบน transverse
process ชี้ไปยัง occiput เริ่มใส blade หนากอน สําหรับทารกในทา LOT blade ขวา จะเปน blade
หนา เริ่มใสคีมชวยคลอดที่ตําแหนง 7-8 นาฬิกา ขณะใสคีมชวยคลอดดามจะชิดกับตนขาดานซาย
ของมารดา สวนทารกในทา ROT blade ซายจะเปน blade หนา เริ่มใสคีมชวยคลอดที่ตําแหนง 4-5
นาฬิกา ขณะใสคีมชวยคลอดดามจะชิดกับตนขาดานขวาของมารดา ทําการปด blade ผานหนาของ
ทารก จน blade หนาอยูใตตอ pubic symphysis ใส blade หลังโดยไมตองปด blade ตรวจสอบ
ตําแหนง แลวจึงลอคคีมชวยคลอดทั้งสองขางเขาหากัน
หมุนคีมชวยคลอดโดยตรง (ไมตองทําแบบ wide arc) พรอมกับปรับดามคีมชวยคลอดใหเสมอ
กันเพื่อแกภาวะ asynclitism การดันศีรษะขึ้นไปเล็กนอยจะทําใหการหมุนทําไดงายขึ้น หมุนจนอยู
ในทา OA แลวจึงทําการดึง ซึ่งสามารถเปลี่ยนมาใชคีมชวยคลอดแบบ classical หรือใชคีมชวย
คลอดแบบ Kielland ดึงโดยตรง
การดึงดวยคีมชวยคลอดแบบ Kielland นั้นชวงแรกจะคลายกับการดึงทารกในทา OA ดวยคีม
ชวยคลอดแบบ classical แตเมื่อ subocciput เคลื่อนต่ําลงมาใตตอ pubic symphysis ใหคลายล็อค
เล็กนอย กดดามคีมชวยคลอดลงต่ําแลวล็อคใหม ยกดามคีมชวยคลอดขึ้น แตไมเกินแนวระนาบ ทํา
หลายครั้งจนศีรษะทารกคลอด เนื่องจากการที่คีมชวยคลอดแบบ Kielland มี pelvic curve นอยการ
ยกดามขึ้นสูง blade จะกดลงบนชองคลอดทางดานหลัง ทําใหเกิดการฉีกขาดไดงาย
12

-
Classical application (4,7,8)
การชวยคลอดวิธีนี้ไมไดรับความนิยมเนื่องจากเพิ่มความเสี่ยงในการบาดเจ็บตอ lower uterine
segment และ bladder เริ่มตนดวยการ orientation และใส blade หนากอน มือขวาจับที่ดามของ
blade หนา หงายให cephalic curve อยูทางดานหนา ใสนิ้วชี้ และนิ้วกลางของมือซายเขาไป
ระหวาง pubic symphysis และศีรษะทารก ใส blade หนาเขาไประหวาง pubic symphysis และมือ
ซายของผูทําคลอด โดยให shanks ทํามุมกับแนวระนาบประมาณ 45Ο ดันคีมชวยคลอดเขาไป
พรอมกับลดดามลง เมื่อดามคีมชวยคลอดอยูต่ํากวาแนวระนาบประมาณ 45Ο อาจเห็นปลาย blade
ดันผนังหนาทองสวนลางนูนขึ้นมา หมุนคีมชวยคลอดไปทางดานที่มีปุมบน transverse process
เพื่อให cephalic curve คว่ําเขาหาศีรษะทารก คือ หมุนทวนเข็มนาฬิกาในทารกทา LOT และตาม
เข็มนาฬิกาในทารกทา ROT หลังจากนั้น ทําการใส blade หลัง หมุนศีรษะทารก และทําคลอด เชน
เดียวกับวิธี wandering application
การใส blade หนา ตองกระทําดวยความระมัดระวังเพราะการใสอาจทําใหมดลูกทะลุได รวม
ทั้งการหมุน blade หนา ตองกระทําขณะมดลูกหยอนตัว และหามหมุนอยางรุนแรง การหมุนอยาง
ยากอาจเกิดจากการที่คีมชวยคลอดไมเขาสูโพรงมดลูก หรือเขาตื้นเกินไป

รูปที่ 14 การหมุน blade หนาของคีมชวย


คลอดแบบ Kielland ตามวิธี classical
application โดยหมุนทวนเข็มนาฬิกาสําหรับ
ทารกในทา LOT(4)

รูปที่ 13 การใส blade หนาสําหรับทารกในทา


LOT ตามวิธี classical application(4)
13

การใชคีมชวยคลอดสําหรับทารกที่มีหนาเปนสวนนํา(4,6,8)
ทารกทา mentum anterior (MA) เทานั้นที่เหมาะสมในการใชคีมชวยคลอด เมื่อทารกมีหนาเปนสวน
นํา ในทารกทานี้การแหงนของศีรษะทารก จะทําใหสวนหลังที่นูนกวาปรับเขากับสวนเวาของกระดูก sacrum
พอดี ตอนศีรษะเคลื่อนต่ําลงมาจนบริเวณ submentum มาอยูใตตอ pubic symphysis ศีรษะทารกจะกม
คลอดคาง, ปาก, จมูก, หนาผาก และ occiput ออกมาตามลําดับ สวนหลังของศีรษะที่มีขนาดใหญมักทําให
เกิดการฉีกขาดของกลามเนื้อบริเวณ pelvic floor และชองทางคลอดไดงาย คีมชวยคลอดทั้งแบบ classical
และ Kielland ใชชวยคลอดทารกทา MA ไดดี วิธีการจับ และใสคีมชวยคลอดใหทําเชนเดียวกับทารกในทา
OA แตใชคาง และปากของทารกเปนจุดตรวจสอบตําแหนงของคีมชวยคลอดแทน occiuput และ posterior
fontanel ตามลําดับ การดึงใหดึงในแนวเฉียงลงเล็กนอยเพื่อชวยใหคาง extension ไดเต็มที่ แตควร
ระมัดระวังภาวะ hyperextension ของศีรษะทารก
สําหรับคีมชวยคลอดแบบ classical ใหยกดามคีมชวยคลอดขึ้น ชวยให occiput คลอดออกมาทาง
ดานหลัง เมื่อศีรษะทารกเคลื่อนต่ําลงมาจนบริเวณคางอยูใตตอ pubic symphysis สวนคีมชวยคลอดแบบ
Kielland ไมควรยกดามคีมขึ้นโดยตรง ใหคลายล็อคแลวกดดามคีมชวยคลอดลง แลวล็อคใหมพรอมกับดึง
ออกมาตรงๆ ทําซ้ําๆ หลายครั้งจนกระทั่งศีรษะทารกคลอดออกมา โดยระมัดระวังไมยกดามคีมชวยคลอดขึ้น
สูงกวาแนวระนาบ

รูปที่ 15 การดึงทารกดวยคีมชวยคลอดแบบ Simpson


สําหรับทารกในทา MA(6)
14

ภาวะแทรกซอนในการใชคีมชวยคลอด(6-8,10)
การใชคีมชวยคลอดอาจทําใหเกิดภาวะแทรกซอนทั้งตอมารดา และทารก โดยเฉพาะการใชคีมชวย
คลอดที่ไมเหมาะสมจะเพิ่มความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะแทรกซอนมากขึ้น

ภาวะแทรกซอนตอมารดา
1. การฉีดขาดของชองทางคลอด ตั้งแต มดลูก, ปากมดลูก, ชองคลอด, ฝเย็บ และกลามเนื้อ sphincter ani
จนอาจทําใหเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดได การใชคีมชวยคลอดมักทําใหเกิดการฉีดขาดของชองทาง
คลอด มากกวาการใชเครื่องดูดสุญญากาศชวยคลอด
2. การบาดเจ็บตอกระเพาะปสสาวะ และทอปสสาวะ ทําใหเกิด urinary retention และ bladder
dysfunction จึงเพิ่มอัตราเสี่ยงในการติดเชื้อของระบบทางเดินปสสาวะ
มีผูตั้งสมมติฐานวา การฉีกขาดของกลามเนื้อบริเวณ pelvic floor และ ผลกระทบตอเสนประสาท
ในบริเวณดังกลาว จากการทําหัตถการจะเพิ่มความเสี่ยงตอการเกิดภาวะ urinary stress incontinence
ไดในอนาคต อยางไรก็ตามยังไมพบรายงานที่สามารถแสดงความสัมพันธนี้ไดอยางชัดเจน
3. การแยกของกระดูกหัวหนาว (pubic symphysis) และ sacroiliac joint ทําใหปวดบริเวณหัวหนาว หรือ
หลังสวนลาง ถากระดูกแยกมากจะทําใหเดินไมได นอกจากนี้ทานอนที่ไมเหมาะสมรวมกับการใชแรงดึง
คีมชวยคลอดอยางมาก อาจทําใหปวดหลังจากการบาดเจ็บบริเวณรากประสาท sciatic plexus
4. การติดเชื้อ โดยเฉพาะรายที่มีการฉีดขาดของชองทางคลอดอยางมาก จนทําใหบางรายมีไขหลังคลอดได

ภาวะแทรกซอนตอทารก
1. บาดเจ็บตอศีรษะทารก จนอาจทําใหกะโหลกแตกราว หรือมีเลือดออกในชั้นหนังศีรษะ
(cephalhematoma)
2. บาดเจ็บตอสมองทารก ไดแก การมีเลือดออกในสมอง ซึ่งสวนมากเกิดจากการฉีกขาดของ tentorial และ
ภาวะ cerebral palsy
3. บาดเจ็บตอเสนประสาทหนาของทารก (facial palsy) ทําใหปากเบี้ยว และหลับตาไมสนิท โดยทั่วไปมัก
เกิดจากการใชคีมชวยคลอดทารกในทา occiput posterior มากกวา ทารกในทา occiput anterior
4. กระบอกตาถูกบีบ ทําใหมี retrobulba hematoma และมีอาการตาเหล, หนังตาตก
5. หูหนวก จากการเกิดบาดแผล หรือมีเลือดออกภายใน

ภาวะแทรกซอนที่เกิดขึ้นแตกตางกันไป ตามความยากงาย และวิธีการชวยคลอด แมจะมีรายงาน


แตกตางกันไป แตโดยรวมการใชคีมชวยคลอดที่มีการหมุนมากกวา 45Ο จะพบภาวะแทรกซอนในมารดามาก
กวาอยางชัดเจน โดยเฉพาะการฉีกขาดบริเวณฝเย็บ จะมากกวาเครื่องดูดสุญญากาศ และการคลอดปกติ สวน
ภาวะทุพลภาพในทารกจะสูงขึ้นในรายที่มีความเสี่ยงดังนี้คือ การใชคีมชวยคลอดที่ทําไดยาก, การหมุนดวยคีม
ชวยคลอดแบบ Kielland, มารดาที่ไมเคยผานการคลอดบุตร, มีตัวเตี้ย, ปากมดลูกเปดชา, ศีรษะลงชา และไดรับ
epidural block โดยการเกิด cephalhematoma มีอัตราไมสูงกวาการใชเครื่องดูดสุญญากาศ สวนทารกที่ใชคีม
ชวยคลอด แตไมไดรับการบาดเจ็บที่ชัดเจน ยังไมสามารถสรุปผลตอระดับสติปญญาไดเนื่องจากมีรายงานที่
แตกตางกันออกไป
15

บรรณานุกรม
1. Bowes WA. Clinical aspects of normal and abnormal labor. In: Creasy RK, Resnik R, editors.
Maternal-fetal medicine. 4th ed. Philadelphia: W.B. Saunders, 1999:559-60.
2. OíGrady JP, McIlhargie CJ. Instrumental delivery. In: OíGrady JP, Gimovsky, editors. Operative
obstetrics. Baltimore: Williams & Wilkins, 1995:177-208.
3. Rovinsky JJ. Forceps delivery. In: Iffy L, Apuzzio JJ, Vintzileos AM, editors. Operative obstetrics.
2nd ed. New York: McGraw-Hill, 1995:335-51.
4. Yeomans ER, Hankins GDV. Forceps delivery. In: Hankins GDV, Clark SL, Cunningham FG,
Gilstrap III LC, editors. Operative obstetrics. Norwalk: Appleton & Lange, 1995:129-72.
5. American College of Obstetricians and Gynecologists. ACOG technical bulletin number 196-August
1994: Operative vaginal delivery. Int J Gynecol Obstet 1994;47:179-85.
6. Cunningham FG, MacDonald PC, Gant NF, Leveno KJ, Gilstrap III LC, Hankins GDV, et al. Williams
obstetrics. 20th ed. Stamford: Appleton & Lange, 1997:473-94.
7. วีรวิทย ปยะมงคล. การชวยคลอดดวยคีม. ใน: ธีระ ทองสง, ชเนนทร วนาภิรักษ, บรรณาธิการ. สูติศาสตร.
เรียบเรียงครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: พี.บี.ฟอเรน บุคส เซนเตอร, 2541:519-32.
8. ธีระ ทองสง. ศิลปะแหงการใหกําเนิด forceps deliveries. เชียงใหม: ปองการพิมพ 2529.
9. นเรศร สุขเจริญ, เยื้อน ตันนิรันดร. การทําคลอดดวยคีมชนิด outlet (outlet forceps delivery). ใน: เยื้อน
ตันนิรันดร. หัตถการทางสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา. กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส, 2541:221-40.
10. มานา บุญคั้นผล. การทําคลอดดวยคีม (forceps delivery). ใน: มานา บุญคั้นผล, บรรณาธิการ. สูติศาสตร
หัตถการ operative obstetrics. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2519:120-54.

You might also like