You are on page 1of 33

คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

คํานํา

ถุงมือทางการแพทย (Medicallatex gloves หรือ Medical rubber gloves)


จัดไดวาเปนวัสดุทางการแพทยตาม พ.ร.บ. เครื่องมือแพทย พ.ศ. 2551 ภายใตกํากับ
ดูแลของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) จากขอมูลในป 2555 พบวา
ประเทศไทยสงออกถุงมือทางการแพทยจํานวน 3,520 ลานคู เปนมูลคา 27,805
ลานบาท แตยังคงมีการนําเขา จํานวน 1,083,289 คู มูลคา 695 ลานบาท ถุงมือ
ทางการแพทยแบงออกไดเปน 2 ประเภทตามการใชงานคือ ถุงมือตรวจโรค
(Examination gloves) และถุงมือศัลยกรรม (Surgical gloves)
สํานักงานอาหารและยา ประเทศสหรัฐอเมริกาจัดใหถุงมือตรวจโรคเปนวัสดุทาง
การแพทยระดับความเสี่ยงต่ําหรือควบคุมทั่วไป (Class I) และถุงมือศัลยกรรมเปน
วัสดุทางการแพทยระดับความเสี่ยงปานกลางหรือควบคุมพิเศษ (Class II) สําหรับ
ประเทศไทยเนื่องจากสถานการณโรคเอดสทําให อย. กําหนดใหถุงมือศัลยกรรมเปน
เครื่องมือแพทยพิเศษในการปองกันการติดเชื้อและเปนเครื่องมือแพทยที่ตองไดรับ
ใบอนุญาต
ดั ง นั้ น เพื่ อ เป น ประโยชน ต อ การเลื อ กซื้ อ ถุ ง มื อ ทางการแพทย กระทรวง
อุ ต สาหกรรม โดยคณะกรรมการอุ ต สาหกรรมวั ส ดุ อุ ป กรณ ท างการแพทย และ
สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) ไดจัดทําหนังสือคูมือแนวทางการเลือกซื้อ
เลมนี้ เพื่ อผู ใช ห รื อผู ที่เ กี่ ยวข องสามารถเลื อกซื้ อถุงมือทางการแพทย ที่มีคุณภาพ
มาตรฐานและปลอดภัย อีกทั้งเปนประโยชนตอผูประกอบการในการผลิตผลิตภัณฑ
ใหไดคุณภาพตามมาตรฐานสากล
ตุลาคม 2556
คณะผูจัดทํา
1
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

สารบัญ

หนา
บทที่ 1 ขอบเขตและคํานิยาม 3
บทที่ 2 ขอกําหนดดานความปลอดภัย (Safety) 8
บทที่ 3 ขอกําหนดดานประสิทธิภาพ (Performance) 13
บทที่ 4 แนวทางการเลือกซื้อ 14
บทที่ 5 มาตรฐานที่เกี่ยวของและหองปฏิบัติการทดสอบ 21
คําถาม-คําตอบ 24
เอกสารอางอิง 28

2
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

บทที่ 1 ขอบเขตและคํานิยาม

1.1 ขอบเขต
ถุงมือทางการแพทย (Medical gloves) หมายถึง ถุงมือที่ใชสําหรับการตรวจ
โรคหรือผาตัดทั้งที่ทําจากน้ํายางธรรมชาติ (Natural rubber latex) หรือน้ํายาง
สังเคราะห ซึ่ งปจ จุบั นน้ํ ายางสั งเคราะห มีอยูห ลายประเภท ไดแก น้ํายางไนไทรล
(Nitrile rubber latex) น้ํายางพอลิคลอโรพรีน (Polychloroprene rubber latex)
สารละลายยางสไตรีน-บิวทะไดอีน (Styrene-butadiene rubber solution) หรือ
อิมัลชันของยางสไตรีน-บิวทะไดอีน (Styrene-butadiene emulsion solution) หรือ
เปนวัสดุอื่นๆ
ถุงมือสําหรับตรวจโรค (Medical examination gloves) หรือ ถุงมือสําหรับ
ตรวจโรคชนิดใชครั้งเดียว (Single-use medical examination gloves) ตอไปนี้จะ
เรียกวา “ถุงมือตรวจโรค”
ถุงมือสําหรับการศัลยกรรม หรือถุงมือยางปราศจากเชื้อสําหรับการศัลยกรรมชนิด
ใชครั้งเดียว (Single-use sterile rubber surgical gloves) ตอไปนี้จะเรียกวา “ถุงมือ
ศัลยกรรม”

1.2 คํานิยาม
ถุ ง มื อ ทางการแพทย หมายถึ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ สํ า หรั บ ใช ส วมมื อ ทํ า จากน้ํ า ยาง
ธรรมชาติหรื อน้ํายางสังเคราะห เพื่อปองกันการสัมผัสโดยตรงระหวางผูปวยและ
ผูรักษา หรือผูใชเพื่อปองกันการปนเปอนจากสิ่งปลอมปนหรือเชื้อโรค

3
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

ลั ก ษณะของถุ ง มื อ ทางการแพทย แ ตกต า งกั น ตามวั ต ถุ ดิ บ ที่ ใ ช ผ ลิ ต และ


วัตถุประสงคการใชงาน ดังนี้
1.2.1 ลักษณะพื้นผิวของถุงมือทางการแพทยมีหลายชนิด ไดแก
1.2.1.1 ผิวเรียบหรือไมเรียบบางสวนหรือทั้งหมด เพื่อกันลื่น
1.2.1.2 ผิวมีแปงหรือไมมีแปง เพื่อลดแรงเสียดทานและสวมใสงาย
1.2.2 สีของถุงมือทางการแพทยจะแตกตางกันตามวัตถุดิบที่ใชในการผลิต
(รูปที่ 1 และ 2)
1.2.2.1 ถุงมือทางการแพทยที่ผลิตจากน้ํายางธรรมชาติ สวนใหญมีสีขาว
หรือขาวอมเหลือง และอาจมีสีอื่นๆ ใหเลือกเชนกัน
1.2.2.2 ถุงมือทางการแพทยที่ผลิตจากน้ํายางสังเคราะหจะมีการผสมสี
เชน สีฟา สีเขียว เปนตน
1.2.3 ประเภทของถุงมือ แบงตามลักษณะการใชงาน ได 2 ประเภทคือ ถุงมือ
ตรวจโรค และถุงมือศัลยกรรม

ความกวาง

ความยาว

ถุงมือยางธรรมชาติ ถุงมือยางสังเคราะหไนไทรล (Nitrile)


รูปที่ 1 ตัวอยางถุงมือตรวจโรค
4
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

รูปที่ 2 ตัวอยางถุงมือศัลยกรรม

1.2.3.1 ถุงมือตรวจโรค (Examination gloves) หมายถึง ถุงมือทาง


การแพทย ที่ใช ในการตรวจวิ นิจฉัยโรค เพื่อปองกัน การสัมผัส
โดยตรงระหวางผูปวยและผูใหการรักษาที่ไมใชการศัลยกรรมมี
ลักษณะดังตอไปนี้
1) ไมมีรอยฉีกขาด ไมรั่วซึม สีสม่ําเสมอ
2) ขนาดของถุงมือมีหลายขนาด บอกเปนตัวเลขหรืออักษร เมื่อ
สวมใสแลวตองกระชับ มีความยาวประมาณขอมือ โดยผูผลิต
อาจอางอิงขนาดตามที่กําหนดใน มอก. แสดงดังตารางที่ 1
3) ไมมีการแยกขางซายและขวา
4) ปลายขอบของถุงมือ (Cuff termination) อาจตัดขอบหรือ
มวนขอบ
5) ชนิดไมปราศจากเชื้อจะบรรจุรวมกันหลายชิ้นในกลองเดียว
6) ชนิดปราศจากเชื้อตองแยกบรรจุเปนคู
7) มีทั้งแบบผิวเรียบและไมเรียบ มีแปงและไมมีแปง

5
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

ตารางที่ 1 ขนาดของถุงมือตรวจโรค
ขอความ/ ขนาด (มิลลิเมตร)
รหัสขนาด ตัวอักษรแสดง ความกวาง ความยาว ความหนา ความหนา
ขนาด ต่ําสุด ต่ําสุด สูงสุด
6, เล็กกวา 6 เล็กพิเศษ (XS) ≤ 80 220
6½ เล็ก (S) 80 ± 5 220 สําหรับทุก สําหรับทุก
7 กลาง (M) 85 ± 5 230 ขนาด: ขนาด:
7½ กลาง (M) 95 ± 5 230 บริ เ วณผิ ว บริ เวณผิว
เรียบ: 0.08 เรียบ: 2.00
8 ใหญ (L) 100 ± 5 230 บริเวณผิวไม บริเวณผิวไม
8½ ใหญ (L) 110 ± 5 230 เรียบ: 0.11 เรียบ: 2.03
9, ใหญกวา 9 ใหญพิเศษ ≥ 110 230
ที่มา: มอก. 1056-2548
1.2.3.2 ถุ งมื อศั ลยกรรม (Surgical gloves) หมายถึ ง ถุ ง มื อ ทาง
การแพทยที่ใชในงานผาตัดหรื อศัลยกรรม เพื่อปองกันการติด
เชื้อโรคจากสารคัดหลั่งจากผูปวยมีลักษณะทั่วไป ดังนี้
1) ไมมีรอยฉีกขาด ไมรั่วซึม สีสม่ําเสมอ เนื้อบางและเหนียว
2) ตองผานการทําใหปราศจากเชื้อหรือสเตอรริไรซ ทั้งนี้ผูผลิต
หรือ ผูขาย อาจบรรจุแบบไมปราศจากเชื้อก็ได แตตองทํา
ใหปราศจากเชื้อกอนใชงาน
3) ขนาดของถุงมือมีหลายขนาดแสดงเปนตัวเลข 5 ถึง 9.5
เมื่อสวมใสแลวตองกระชับ อาจยาวเลยขอมือ โดยผูผลิต
อาจอางอิงขนาดตามที่กําหนดใน มอก. แสดงดังตารางที่ 2
4) ถุ ง มื อ แยกข า งซ า ยและขวา เพราะมี ก ารออกแบบตาม
ลักษณะกายวิภาคใหนิ้วมือตรงหรือโคงตามทิศทางของฝา
มือและบรรจุเปนคูในซองเดียว
5) ปลายขอบของถุงมือ (Cuff termination) อาจตัดขอบหรือ
มวนขอบ

6
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

6) มีทั้งแบบผิวเรียบหรือไมเรียบ มีแปงหรือไมมีแปง

ตารางที่ 2 ขนาดของถุงมือศัลยกรรม
ขนาด (มิลลิเมตร)
รหัสขนาด
ความกวาง ความยาวต่ําสุด ความหนาต่ําสุด
5 67±4 250
5.5 72±4 250
6 77±5 260
6.5 83±5 260 สําหรับทุกขนาด:
7 89±5 270 บริเวณผิวเรียบ:
0.10
7.5 95±6 270 บริเวณผิวไมเรียบ:
8 102±6 270 0.13
8.5 108±6 280
9 114±6 280
9.5 121±6 280
ที่มา: มอก. 538-2548

7
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

บทที่ 2 ขอกําหนดดานความปลอดภัย (Safety)

ถุงมือทางการแพทยเปนผลิตภัณฑทางการแพทยที่มีวัตถุประสงคเพื่อปองกัน
การปนเปอนของเชื้อโรคจากการสัมผัสโดยตรงระหวางผูปวยกับผูใช หากผลิตภัณฑมี
ขอบกพรองอาจสงผลเสียไดทั้งตอผูปวยและผูใช ดังนั้น ความปลอดภัยของถุงมือทาง
การแพทยที่ตองพิจารณามี 4 ประเด็นหลัก คือ การปองกันการรั่วซึมระหวางการ
สัมผัส การปราศจากเชื้อจุลินทรียการระคายเคืองตอผิวหนังและปริมาณแปงที่ตกคาง
การคํานึงถึงความปลอดภัย ของถุงมือตรวจโรคและถุงมือศัลยกรรมมีความ
คลายคลึงกันคือ 1) การปองกันการรั่วซึม 2) การระคายเคืองตอผิว 3) ปริมาณแปง
ซึ่งทั้งสองประเภทมีความแตกตางกันและ 4) การทําใหปราศจากเชื้อจุลินทรียซึ่ง
ถุงมือตรวจโรคอาจปราศจากเชื้อหรือไมก็ได แตถุงมือศัลยกรรมตองผานการทําให
ปราศจากเชื้ อ ทั้ ง หมด ดั ง นั้ น ต อ งมี ก ารควบคุ ม คุ ณ ภาพมาตรฐานตามประกาศ
กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงอุตสาหกรรม ดังนี้
1) ถุงมือตรวจโรค จัดอยูในกลุมเครื่องมือแพทยความเสี่ยงระดับต่ํา (Class
I) มีทั้งชนิดปราศจากเชื้อและไมปราศจากเชื้อ คุณภาพผลิตภัณฑตอง
เปนไปตามขอกําหนดหรือมาตรฐานดังนี้
1.1) อางอิ งตาม ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่อง “ถุงมือสําหรับ
การตรวจโรค พ.ศ. 2555” ประกาศ ณ วันที่ 18 ธันวาคม 2555
มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 26 ธันวาคม 2555
1.2) อ า งอิ ง ตาม มาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ อุ ต สาหกรรม ของสํ า นั ก งาน
ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม “ถุงมือสําหรับการตรวจโรคชนิดใชครั้ง
เดียว” มอก. 1056–2548
1.3) ผูผลิตอาจอางอิงตามมาตรฐานสากลอื่น ๆ อาทิ
8
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

 ISO 11193-1:2008 Single-use medical examination


gloves - Part 1: Specification for gloves made from
rubber latex or rubber solution
 ASTM D3578 Standard specification for rubber
examination gloves

2) ถุงมือศัลยกรรม จัดอยูในกลุมเครื่องมือแพทยความเสี่ยงระดับปานกลาง
หรือควบคุมพิเศษ (Class II) ที่ตองผานการทําใหปราศจากเชื้อหรือสเตอร
ริไรซ คุณภาพผลิตภัณฑตองเปนไปตามขอกําหนดหรือมาตรฐาน ดังนี้
2.1) อางอิงตาม ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ถุงมือสําหรับ
การศัลยกรรม พ.ศ. 2556
2.2) อ า งอิ ง ตาม มาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ อุ ต สาหกรรม ของสํ า นั ก งาน
ผลิ ตภั ณฑ อุตสาหกรรม “ถุ งมื อยางปราศจากเชื้อสํา หรับการ
ศัลยกรรมชนิดใชครั้งเดียว” มอก. 538–2548
2.3) ผูผลิตอาจอางอิงตามมาตรฐานสากลอื่น อาทิ
 ISO 10282:2002 Single-use sterile rubber surgical
gloves – Specification
 ASTM D3577 Standard specification for rubber surgical
gloves

9
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

ขอกําหนดการทดสอบดานความปลอดภัยของถุงมือทางการแพทย มีดังนี้
2.1 การทดสอบการรั่วซึม อางอิงมาตรฐาน มอก.
2.2 การทดสอบทางชีวภาพ ไดแก
2.2.1 การระคายเคืองตอผิวหนัง (Skin Irritation test) ตามมาตรฐาน ISO
10993-10:2010 Biological evaluation of medical devices - Part
10: Tests for irritation and skin sensitization หรือUSP
2.2.2 ความเปนพิษตอชั้นผิวหนัง (Intracutaneous test) ตามมาตรฐาน ISO
10993-10:2010 Biological evaluation of medical devices - Part
10: Tests for irritation and skin sensitization
2.2.3 ปริมาณโปรตีนที่สกัดไดจากถุงมือยาง อางอิงตามวิธี Modified Lowry
ตามขอกําหนดของ FDA หรือตามมาตรฐาน ISO 12243:2003 Medical
gloves made from natural rubber latex-Determination of water-
extractable protein using the modified Lowry method หรือ ASTM
D5712-10 Standard test method for analysis of aqueous
extractable protein in natural rubber and its products using the
modified lowry method / EN 455-3 โดย FDA กําหนดใหมีปริมาณ
โปรตีนในถุงมือยางธรรมชาติไดไมเกิน 200 ไมโครกรัม
2.2.4 ความปราศจากเชื้ อจุลิ น ทรีย (Sterility tests) อาจอางอิง ตาม
มาตรฐาน USP 26 (กรณีผานการฆาเชื้อ)
2.3 กรณีมีการเคลือบผิวดวยแปง ตองเปนไปตามมาตรฐาน ISO 10993
2.4 การทดสอบปริมาณแปงที่ตกคางในถุงมือ ตามขอกําหนดของ FDA หรืออาจ
อางอิงตามมาตรฐาน ISO 21171:2006 Medical gloves-Determination of
removable surface powder หรือ ASTM D6124 Standard test
method for residual powder on medical gloves กําหนดใหมีปริมาณ
10
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

แปงที่ตกคางในถุงมือชนิดเคลือบแปงไดไมเกิน 120 มิลลิกรัม และถุงมือชนิด


ไมเคลือบแปงไมเกิน 2.0 มิลลิกรัม ตอถุงมือหนึ่งขาง
2.5 ตองระบุวิธีการทําใหปราศจากเชื้อหรือสเตอรรีไรซ และเปนไปตามมาตรฐานที่
กําหนด วิธีการที่ใชจะขึ้นกับคุณสมบัติของวัสดุที่ผลิตถุงมือทางการแพทย เชน
2.5.1 การทําใหปราศจากเชื้อดวยกาซเอทิลีน (Ethylene oxide gas; EO)
ตองเปนไปตามมาตรฐานอยางใดอยางหนึ่ง อาทิ
2.5.1.1 EN 556-1 Sterilization of medical devices
Requirements for medical devices to be designated
“STERILE”. Requirements for terminally sterilized
medical device
2.5.1.2 EN 556-2 Sterilization of medical devices.
Requirements for medical devices to be designated
“STERILE”. Requirements for aseptically processed
medical devices
2.5.1.3 EN 866 Biological systems for testing sterilizers and
sterilization processes
2.5.1.4 EN ISO 11138 Sterilization of health care products
2.5.1.5 ISO 11135 Sterilization of health care products-
Ethylene oxide
2.5.1.6 EN ISO 11737 Sterilization of medical devices-
Microbiological methods
2.5.1.7 ISO 10993-7:2008 Biological evaluation of medical
devices Part 7:Ethylene oxide sterilization residuals

11
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

2.5.2 การทําใหปราศจากเชื้อดวยการฉายรังสี (Irradiation) ตองเปนไปตาม


มาตรฐานอยางใดอยางหนึ่ง อาทิ
2.5.2.1 EN 556-1 Sterilization of medical devices
Requirements for medical devices to be designated
“STERILE”. Requirements for terminally sterilized
medical device
2.5.2.2 EN 556-2 Sterilization of medical devices.
Requirements for medical devices to be designated
“STERILE”. Requirements for aseptically processed
medical devices
2.5.2.3 EN ISO 11737 Sterilization of medical devices-
Microbiological methods

12
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

บทที่ 3 ขอกําหนดดานประสิทธิภาพ (Performance)

ถุงมือทางการแพทยเปนวัสดุทางการแพทยที่ใชเพื่อปองกันการสัมผัสโดยตรง
ระหวางผูปวยกับผูใช ถุงมือทางการแพทยจึงจําเปนตองมีประสิทธิภาพในการปองกัน
การรั่ วซึ มและปราศจากเชื้ อโรค กลาวคือ ความแข็งแรงของถุงมือเปน ขอคํานึงที่
สําคัญ
ถุงมือทางการแพทยจึงตองไดรับการทดสอบคุณสมบัติทางฟสิกสและทางกล
ตามมาตรฐานของถุงมือตรวจโรค มอก. 1056–2548 หรือ ISO 11193-1:2008 หรือ
ASTM D3578 และมาตรฐานของถุงมือศัลยกรรมตาม มอก. 538–2548 หรือ ISO
10282:2002 หรือ ASTM D3577 มีหัวขอในการทดสอบดังนี้
3.1 ขนาดความกวาง ความยาว ความหนา เพื่อการสวมใสใหเหมาะสมกับขนาด
มือผูใช โดยมีการกําหนดตามตารางที่ 1 และ 2
3.2 การทดสอบการรั่วซึม
3.3 ความแข็งแรงและการยืดตัวของถุงมือ

13
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

บทที่ 4 แนวทางการเลือกซื้อ

มีแนวทางการพิจารณาเลือกซื้อผลิตภัณฑ ดังนี้
4.1 ถุงมือตรวจโรค
4.1.1 ผูผลิตภายในประเทศ หรือผูนําเขาตองมีใบจดทะเบียนสถานประกอบการ
ผลิ ตหรื อนํ าเข าเครื่ องมือแพทย และหนั งสือรับรองประกอบการนําเขา
เครื่องมือแพทย (แบบ บนท.1) จากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
4.1.2 ถุ ง มื อ ตรวจโรคที่ ผ ลิ ต ภายในประเทศ อาจมี เ ครื่ อ งหมายมาตรฐาน
ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก. 1056–2548 “ถุงมือสําหรับการตรวจ
โรคชนิดใชครั้งเดียว”
4.1.3 มาตรฐานการผลิตอื่นที่ผูผลิตสามารถใชอางอิงได คือ
4.1.3.1 ISO 11193-1:2008 Single-use medical examination gloves
- Part 1: Specification for gloves made from rubber
latex or rubber solution
4.1.3.2 ASTM D3578 Standard specification for rubber
examination gloves
4.2 ถุงมือศัลยกรรม
4.2.1 ผูผลิตภายในประเทศ หรือผูนําเขาตองมีใบจดทะเบียนสถานประกอบการ
ผลิ ตหรื อนํ าเขาเครื่องมือแพทย และใบแจงรายการละเอียดหรือนําเขา
เครื่ องมื อแพทย (แบบ บนท.1) อนุ ญาตตามพระราชบั ญญั ติ เครื่ องมื อ
แพทย พ.ศ. 2551 อางอิงตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ถุงมือ
สําหรับการศัลยกรรม พ.ศ. 2556

14
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

4.2.2 ถุงมือศัลยกรรมที่ ผลิ ตภายในประเทศ หรือผูนําเขาอาจขอเครื่องหมาย


ผลิตภัณฑมาตรฐาน มอก. 538-2548 “ถุงมือยางปราศจากเชื้อสําหรับ
การศัลยกรรมชนิดใชครั้งเดียว”

มอก. 538-2548
รูปที่ 3 ตัวอยางเครื่องหมายมาตรฐาน มอก.

4.2.3 มาตรฐานการผลิตอื่นที่ผูผลิตสามารถใชอางอิงได คือ


4.2.3.1 ISO 10282:2002 Single-use sterile rubber surgical gloves –
Specification
4.2.3.2 ASTM D3577 Standard specification for rubber surgical
gloves
4.3 โรงงานผูผลิตควรไดรับรองระบบมาตรฐาน GMP จาก อย. หรือมาตรฐาน ISO
13485 Quality management system for medical devices1 0F

4.4 เลือกตามประเภทของวัตถุดิบที่ใชผลิตใหเหมาะสมกับการใชงาน
4.4.1 ถุงมือจากน้ํายางธรรมชาติเหมาะสําหรับผูที่ตองการใหสวมใสกระชับ
และผูใชสามารถทํางานไดคลองตัวขณะสวมใสถุงมือ
4.4.2 ถุงมือจากน้ํายางสังเคราะหหรือวัสดุอื่น เหมาะสมกับผูที่มีประวัติแพ
ยางธรรมชาติ และทนทานตอสารเคมี

1
เมื่อประเทศไทยเขาสูประชาคมประเทศอาเซียน ในป พ.ศ.2558 อาจตองมีการบังคับใชมาตรฐาน
ISO 13485
15
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

4.5 เลือกขนาดใหเ หมาะสมกับขนาดมือของผูใช (ตารางที่ 1 และ 2) ขนาดและ


ความยาว มีผลตอราคา
4.6 เลือกลักษณะพื้นผิวใหเหมาะสมกับการใชงาน ถุงมือที่มีพื้นผิวไมเรียบจะชวยลด
การลื่นขณะหยิบจับ
4.7 การบรรจุถุงมือทางการแพทย มีลักษณะดังนี้ (รูปที่ 4)
4.7.1 ถุงมือตรวจโรคชนิดไมปราศจากเชื้อ มักจะบรรจุรวมกันหลายชิ้นใน
กลองกระดาษ ที่งายตอการหยิบใชงาน
4.7.2 ถุงมือตรวจโรคชนิดปราศจากเชื้อ การบรรจุจ ะมีความประณีต แยก
บรรจุเปนคูดวยบรรจุภัณฑสองชั้นคือ บรรจุภัณฑชั้นใน (Inner wrap)
เปนกระดาษแยกหอถุงมือแตละขางและบรรจุรวมเปนคูในบรรจุภัณฑ
ชั้นนอก มีลักษณะเปนซองทึบแสง (Paper pouch) ฉีกใชงานงาย
4.7.3 ถุงมือศัลยกรรมจะถูกบรรจุแยกเปนคูเชนเดียวกับขอ 4.7.2
4.8 บรรจุภัณฑชั้นใน ชั้นนอก และบรรจุภัณฑรวม (กลอง) ตองไมฉีกขาด สะอาด
หอหุมมิดชิด สามารถคงสภาพตลอดอายุการใชงาน และปองกันการปนเปอน
และความเสียหายในระหวางการขนสง และการเก็บรักษาในสภาวะปกติ
4.9 เครื่องหมายและฉลากของบรรจุภัณฑชั้นใน (Inner wrap) ตองแสดงสัญลักษณ
(รูปที่ 5) มีรายละเอียดอาทิ
4.9.1 ขนาด
4.9.2 สัญลักษณ “ซาย”หรือ “L” และ“ขวา” หรือ “R”
4.9.3 กรณีถุงมือศัลยกรรมชนิดปราศจากเชื้อใชผงแปงเคลือบผิว ตองมีคํา
เตือนใหขจัดผงแปงกอนใชดวยวิธีปฏิบัติที่ปองกันมิใหมีการปนเปอน
เชื้อกอนใช

16
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

บรรจุภัณฑรวมของถุงมือตรวจโรคชนิดไมปราศจากเชื้อ

บรรจุภัณฑชั้นในและชั้นนอกของถุงมือตรวจโรคชนิดปราศจากเชื้อ

บรรจุภัณฑชั้นใน ชั้นนอกและบรรจุภัณฑรวมของถุงมือศัลยกรรม

รูปที่ 4 การบรรจุถุงมือทางการแพทย

17
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

4.10 เครื่องหมายและฉลากของบรรจุภัณฑชั้นนอกหรือบรรจุภัณฑรวม
บรรจุภัณฑชั้นนอก หมายถึง บรรจุภัณฑสําหรับบรรจุถุงมือ 1 คู และ
บรรจุภัณฑรวม หมายถึง บรรจุภัณฑที่บรรจุถุงมือขนาดเดียวกันไวหลายคูซึ่ง
บรรจุ ภั ณฑทั้งสองต องมี ฉลากเป น ภาษาไทยที่ อานไดอยางชัดเจน ทั้งนี้ จ ะมี
ภาษาอื่นดวยก็ได โดยแสดงรายละเอียดอยางนอยดังนี้
4.10.1 ชื่อผลิตภัณฑ
4.10.2 ชื่อผูผลิตหรือโรงงานที่ผลิต หรือชื่อการคาหรือเครื่องหมายการคา
หรือชื่อผูจัดจําหนาย
4.10.3 เลขที่ใบอนุญาต อย. หรือ เครื่องหมาย มอก. (ถามี)
4.10.4 ขอความวา “ถุงมือสําหรับการตรวจโรค” หรือ “ถุงมือสําหรับการ
ศัลยกรรม” แลวแตกรณี
4.10.5 ขอความวา “ปราศจากเชื้อ” หรือ “ไมปราศจากเชื้อ” แลวแตกรณี
4.10.6 ขอความวา “ผิวเรียบ” หรือ “ผิวไมเรียบ” “มีแปง” หรือ “ไมมี
แปง” หรือคําที่เหมาะสมที่มีความหมายตรงกัน
4.10.7 ขอความวา “ใชไดครั้งเดียว” แสดงดวยตัวอักษรที่เห็นไดชัดเจน
4.10.8 ขนาดของถุงมือ สามารถแสดงเปนภาษาอังกฤษ หรือ รหัสขนาด
หรือตัวยอของขนาด
4.10.9 วัสดุที่ใชผลิต
4.10.10 เลขที่ห รืออักษรแสดงเดือน ป ครั้ งที่ผ ลิต และเดือน ป หมดอายุ
โดยแสดงปเปนตัวเลข 4 หลัก
4.10.11 กรณีถุงมือทางการแพทยชนิดปราศจากเชื้อนั้นใชผงแปงเคลือบผิว
ตองมีคําเตือนใหขจัดผงแปงกอนใช ดวยวิธีปฎิบัติที่ปองกันมิใหมี
การปนเปอนเชื้อ

18
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

4.10.12 กรณีถุงมือทางการแพทยชนิดปราศจากเชื้อ ตองระบุขอความว า


ถุงมือจะสิ้นสภาพปราศจากเชื้อ ถาภาชนะบรรจุถูกเปด หรือฉีกขาด
หรือของเหลวซึมผาน
4.10.13 กรณี ถุ ง มื อ ทํ า จากน้ํ า ยางธรรมชาติ ต อ งมี คํ า เตื อ นหรื อ ระบุ ว า
“ผลิตภัณฑทําจากน้ํายางธรรมชาติอาจทําใหเกิดอาการแพ” หรือ
ขอความอื่นที่มีความหมายในทํานองเดียวกัน
4.10.14 ชื่อและที่ตั้งของสถานที่ผลิต เฉพาะบนบรรจุภัณฑรวม
4.10.15 จํานวนถุงมือที่บรรจุ เฉพาะบนบรรจุภัณฑรวม
4.10.16 คําแนะนําการใชและวิธีการเก็บรักษา เฉพาะบนบรรจุภัณฑรวม
4.10.17 ขอความหรือสัญลักษณแสดงกรรมวิธีการทําใหปราศจากเชื้อหาก
แสดงดวยสัญลักษณใหอธิบายความหมายสัญลักษณดังกลาว เฉพาะ
บนบรรจุภัณฑรวม
4.10.18 วิธีการใช
4.10.19 การเก็บรักษาและอายุการใชงาน
4.10.20 อาจแสดงเครื่องหมายมาตรฐานสากลอื่น เชน ISO 13485 หรือ
CE 0197
4.11 มีเอกสารคูมือกํากับการใช หรือเอกสารกํากับเครื่องมือแพทย แลวแตกรณี
4.12 มีเอกสารแสดงใบรับรองมาตรฐาน กรณีซื้อตรวจจากผูผลิต และผูจัดจําหนาย
4.13 กรณีแสดงฉลากบนภาชนะบรรจุใหอางอิงประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่อง
“ถุงมือสําหรับการตรวจโรค พ .ศ . 2555” ประกาศ ณ วันที่ 18 ธันวาคม
พ.ศ. 2555 มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2555 และประกาศ
กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง “ถุงมือสําหรับการศัลยกรรม พ.ศ. 2556”

19
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

รูปที่ 5 ตัวอยางเครื่องหมายและฉลาก
ของบรรจุภัณฑชั้นใน (Inner wrap) (บน) และบรรจุภัณฑชั้นนอก (ลาง)

20
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

บทที่ 5 มาตรฐานที่เกี่ยวของและหองปฏิบัตกิ ารทดสอบ

สรุ ป รายการมาตรฐานที่ เ กี่ ย วข อ ง และรายชื่ อห อ งปฏิ บั ติ การทดสอบที่


สามารถใหการรับรองไดในประเทศ แสดงดังตารางที่ 3

ตารางที่ 3 รายการทดสอบ มาตรฐาน และรายชื่อหองปฏิบัติการทดสอบ


รายการทดสอบ/มาตรฐาน หองปฏิบัติการทดสอบ
1. การรั่วซึม กรมวิทยาศาสตรบริการ1
โครงการฟสิกสและวิศวกรรม
กลุมงานเทคโนโลยีผลิตภัณฑ
2. การระคายเคืองตอผิวหนัง (Skin กรมวิทยาศาสตรการแพทย2
Irritation test) / 1) สํานักยาและวัตถุเสพติด
ISO 10993-10, USP 2) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร
สาธารณสุข
3. ความเปนพิษตอชั้นผิวหนัง กรมวิทยาศาสตรการแพทย
(cytotoxicity test)/ สํานักยาและวัตถุเสพติด
ISO 10993-10
4. ปริมาณโปรตีนที่สกัดได / กรมวิทยาศาสตรบริการ
ASTM D5712-10 โครงการฟสิกสและวิศวกรรม
กลุมงานเทคโนโลยีผลิตภัณฑ
5. ปริมาณแปงที่ตกคาง / กรมวิทยาศาสตรบริการ
ASTM D6124 โครงการฟสิกสและวิศวกรรม
กลุมงานเทคโนโลยีผลิตภัณฑ
21
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

รายการทดสอบ/มาตรฐาน หองปฏิบัติการทดสอบ
6. การทดสอบความปราศจาก 1) กรมวิทยาศาสตรบริการ
เชื้อจุลินทรีย/ โครงการวิทยาศาสตรชีวภาพ
USP 26 กลุมงานจุลชีววิทยาบริการ
2) กรมวิทยาศาสตรการแพทย
สํานักเครื่องสําอางและวัสดุ
อันตราย3
7. Ethylene oxide sterilization กรมวิทยาศาสตรบริการ
โครงการฟสิกสและวิศวกรรม
กลุมงานสิ่งแวดลอม
8. การทดสอบทางประสิทธิภาพทาง 1) กรมวิทยาศาสตรบริการ
กายภาพ และฟสิกส (ไดแก มิติ/ โครงการฟสิกสและวิศวกรรม
การรั่วซึม / ความแข็งแรง) กลุมงานเทคโนโลยีผลิตภัณฑ
2) กรมวิทยาศาสตรการแพทย
สํานักรังสีและเครื่องมือแพทย4
3) กรมวิชาการเกษตร
สถาบันวิจัยยาง5
หมายเหตุ
1
กรมวิทยาศาสตรบริการ ที่อยู ชั้น 1 อาคารตั้วลพานุกรม กรมวิทยาศาสตรบริการ
ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กทม.
Call center 0-2201-7555 One Stop Service โทร. 0 2201 7300 (ที่ปรึกษา
วิชาการ), 0-2201-7064 ดาวนโหลดคํารองและคนหาคาธรรมเนียมการทดสอบฯ
ที่ www.dss.go.th

22
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

2
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตรการแพทย
ที่อยู 88/7 ถ.ติวานนท ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000
one stop service center โทร. 02 951 0000-11 ตอ 99116, 99117
โทรสาร 02-580-5733
3
สํานักเครื่องสําอางและวัตถุอันตราย กรมวิทยาศาสตรการแพทย
ที่อยู 88/7 ถ.ติวานนท ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000
โทร. 0-2589-9850-8 ตอ 99499, 99733 www.dmsc.moph.go.th
4
สํานักรังสีและเครื่องมือแพทย กรมวิทยาศาสตรการแพทย
ที่อยู 88/7 ถ.ติวานนท ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000
โทร. 02-951-0000 ตอ 99954, 99955
5
สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร
ที่อยู ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
โทร. 0-2579-1576, 0-2579-2183 โทรสาร 0-2561-4744, 0-2579-8577
www.rubberthai.com

23
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

คําถาม-คําตอบ

1. ทําไมจึงแพถุงมือที่ผลิตจากน้ํายางธรรมชาติ ?
ตอบ การแพถุงมือยางธรรมชาติ ปจจุบันยังไมเปนที่ทราบแนชัดวาโปรตีนชนิด
ใดในน้ํายางที่กอใหเกิดการแพ อาทิ Hev b1 b3 b5 b6.02 การแพเกิดเมื่อถุงมือ
สัมผัสพื้นที่เปยกชื้นของรางกายหรืออวัยวะภายในระหวางการผาตัด หรือไดรับ
ผงแปงที่ใชดูดซับโปรตีนจากถุงมือ หรือการสัมผัสเยื่อบุภายในและเยื่อบุมิวคัส
ระหวางการผาตัด วิธีการตรวจสอบ จะทําโดยการวิเคราะหปริมาณโปรตีนที่สกัด
ไดทั้งหมด ไดแก การวิเคราะหโดยการเทียบสี (Colorimetric analysis) การ
วิเคราะหโดยเทคนิคโครมาโตกราฟ (Chromatographic analysis) และการ
ทดสอบทางภู มิ คุ มกั น (Immunoassay) เ ช น Latex ELISA for antigenic
protein

2. สวมใสถุงมือทางการแพทยที่ผลิตจากน้ํายางธรรมชาติมีโอกาสแพหรือไม ?
ตอบ มีโอกาสแพโปรตีนที่เปนองคประกอบในยางธรรมชาติได แตยังไมสามารถ
ระบุไดแนชัดวาเกิดจากโปรตีนชนิดใด อาการแพอาจเปนผื่นแดง คัน เปนตุม หืด
หอบ หรือช็อกได กรณีเปนถุงมือชนิดที่มีแปง ผูใชอาจแพแปง ควรทดลองใชถุง
มือยางชนิดไมมีแปงดูกอน วายังมีอาการแพอีกหรือไม หากพบวามีอาการแพ
รุนแรงควรพบแพทย

3. อาการแพถุงมือที่ผลิตจากน้ํายางธรรมชาติเปนอยางไร ?
ตอบ ผูปวยทีม่ ีอาการแพโปรตีนจากน้ํายางธรรมชาติ แบงเปน 2 ชนิด ดังนี้

24
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

1. แพแบบลมพิษ (ปฏิกิริยาอิมมูนชนิดที่ 1 หรือ latex allergy) ซึ่งเปนการแพ


โปรตีนยางมีอาการตั้งแตลมพิษธรรมดา หายใจลําบาก จนถึงขั้นเสียชีวิตได
2. แพแบบผิวหนังอักเสบ (ปฏิกิริยาอิมมูนชนิดที่ 4) เปนการแพตอสารที่ใสใน
ขบวนการผลิตยาง จะเปนตุมนูนแดงและน้ําใสขนาดเล็ก
ในบางรายอาจมีอาการแพทั้งสองชนิด

4. ทําไมตองใสแปงในถุงมือทางการแพทยจะเกิดการแพหรือไม ?
ตอบ การใสแปงเพื่อลดความเสียดทานขณะสวมใส ทําใหสวมใสงาย โดยแปงที่ใช
เปนแปงขาวโพดสําหรับที่ใชทําอาหาร โอกาสการแพมีนอย แตสามารถเกิดได
อาจแพแปงหรือโปรตีนในยางเพราะแปงจะดูดซับโปรตีนที่อยูในถุงมือยาง

5. ถุงมือทางการแพทยมีกี่ขนาด แลวจะเลือกขนาดไหนจึงจะเหมาะสม ?
ตอบ ถุงมือตรวจโรคที่มีจําหนายโดยทั่วไปมีขนาด S M L XL หรืออาจระบุเปน
ตัวเลข สําหรับถุงมือศัลยกรรมจะมีหลายขนาด และระบุเปนตัวเลข ตัวเลขยิ่ง
มาก จะมีขนาดใหญ แสดงรายละเอียดขนาดไวในตารางที่ 1 และ 2
หลักการคราวๆ ในการพิจารณาขนาดของมือผูสวมใส โดยวัดรอบฝามือชวง
ที่กวางที่สุดของผามือ คือ โคนนิ้วโปงดวยสายวัด หาก
ฝามือขนาด 7–8 นิ้ว เลือกสวมถุงมือขนาด S
ฝามือขนาด 8–9 นิ้ว เลือกสวมถุงมือขนาด M
ฝามือขนาด 9–10 นิ้ว เลือกสวมถุงมือขนาด L
ฝามือขนาด 10–11 นิ้ว เลือกสวมถุงมือขนาด XL

25
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

6. ถุงมือทางการแพทยทผี่ ลิตจากน้ํายางธรรมชาติทนตอสารเคมีหรือไม ?
ตอบ ถุงมือทางการแพทยที่ผลิตจากน้ํายางธรรมชาติสามารถทนตอสารเคมีไดใน
ระดับหนึ่ง แตไมทนตอสารเคมีแรงๆ อาทิ กรด เบส หรือแอลกอฮอล โดยเมื่อ
สัมผัสกับสารเคมีหรือน้ํามันอาจจะเสียสภาพหรือรั่วซึมได

7. มีวิธีสังเกตถุงมือทางแพทยที่เสื่อมสภาพหรือหมดอายุกอนกําหนดหรือไม ?
ตอบ การเสื่อมสภาพ คือ มีการเปลี่ยนคุณสมบัติทางกายภาพ การเสื่อมสภาพ
ของถุงมือทางการแพทยเกิดขึ้น ไดกอนวันหมดอายุที่กําหนด หากเก็บ รักษาใน
สภาวะที่ไมเหมาะสม โดยเฉพาะถุงมือที่ผลิตจากน้ํายางธรรมชาติ หากเก็บในที่
โดนแสงแดดหรือรอน ถุงมือจะมีลักษณะเหนียวติดกัน

8. ถุงมือทางการแพทยที่ผลิตจากน้ํายางธรรมชาติกับผลิตจากน้ํายางสังเคราะห
ไนไทรลชนิดไหนดีกวา ?
ตอบ ถุง มือ ทั้ งสองชนิ ด ผลิ ต จากวั ต ถุ ดิ บ ที่ แ ตกต า งกัน จึง มีคุ ณ สมบัติ ต างกั น
ดังนั้น ความเหมาะสมขึ้นอยูกับวัตถุประสงคในการใชงาน สามารถสรุปคราวๆ ได
ดังนี้

ถุงมือทางการแพทย ถุงมือทางการแพทย
ผลิตจากน้ํายางธรรมชาติ ผลิตจากน้ํายางสังเคราะหไนไทรล
1) มีโปรตีน 1) ไมมโี ปรตีน
2) ไมนําไฟฟา 2) ไมนําไฟฟา
3) ไมทนตอสารเคมีแรงๆ กรด เบส และ 3) ทนสารเคมีกรด เบส แอลกอฮอล
แอลกอฮอล จะละลาย น้ํามัน
4) มีความยืดหยุนดี 4) คอนขางแข็ง ยืดหยุนไมดี
5) กระชับมือ 5) คอนขางกระชับมือ
6) ขาดงายกวาถุงมือไนไทรล
26
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

7) ทํางานไดงาย คลองตัว ไมเมื่อยมือ 6) แข็งแรงไมขาดงาย ทนตอการขัดสี


7) สวมใสคอนขางยากกวาถุงมือยาง
8) เหมาะกับงานละเอียด ธรรมชาติ
9) มีอายุการเก็บรักษาสั้น (ควรเก็บในที่มืด 8) เหมาะกับการใชงานคอนขางหยาบ
แหง เย็น) 9) มีอายุการเก็บรักษานานกวาถุงมือ
ยาง

9. ทําไมถุงมือทางการแพทยที่ผลิตจากน้ํายางธรรมชาติจึงมีอายุการเก็บรักษาสั้น
กวาถุงมือที่ผลิตจากน้ํายางสังเคราะห ?
ตอบ ถุงมือทางการแพทยที่ผลิตจากน้ํายางธรรมชาติ มีอายุการเก็บรักษาสั้นกวา
เพราะโครงสรางทางเคมีของน้ํายางธรรมชาติมีพันธะคูเปนจํานวนมาก ทําใหยาง
วองไวตอการทําปฏิกิริยากับออกซิเจนและโอโซน โดยมีแสงแดดและความรอน
เปนปจจัยเรงปฏิกิริยา

27
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

เอกสารอางอิง

1. สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2550, ระเบียบสํานักงานคณะกรรมการอาหารและ


ยา วาดวยหลักเกณฑเกี่ยวกับหนังสือรับรองที่ใชในการนําเขาเครื่องมือแพทย และการ
นําเขาเครื่องมือแพทยที่ไดรับการยกเวนไมตองแสดงหนังสือรับรองตอพนักงานเจาหนาที่
ณ ดานอาหารและยา พ.ศ.2550, ราชกิจจานุเบกษา เลม 124 ตอนพิเศษ 35 ง ลงวันที่ 26
มีนาคม 2550, กระทรวงสาธารณสุข
2. สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2555, ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ถุงมือ
สําหรับการตรวจโรค, ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 129 ตอนพิเศษ 194 ง หนา 35 – 39,
ประกาศ ณ วันที่ 18 ธันวาคม 2555, กระทรวงสาธารณสุข
3. สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2556, ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ถุงมือ
สําหรับการศัลยกรรม, กระทรวงสาธารณสุข
4. สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม, 2548, มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม “ถุงมือ
ยางปราศจากเชื้อสําหรับการศัลยกรรมชนิดใชครั้งเดียว” มอก. 538-2548, กระทรวง
อุตสาหกรรม
5. ------, 2548, มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม “ถุงมือสําหรับตรวจโรคชนิดใชครั้งเดียว
เลมที่ 1: เกณฑกําหนดสําหรับถุงมือที่ทําจากน้ํายางหรือสารละลายยา” มอก. 1056-
2548, กระทรวงอุตสาหกรรม
6. ------, 2551, มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม “การประเมินทางชีวภาพของเครื่องมือ
แพทย” มอก. 2395-2551 เลมที่ 16, กระทรวงอุตสาหกรรม
7. ASTM intentional standard [online], available:
http://www.astm.org/DIGITAL_LIBRARY/index.shtml [1st August, 2013]
8. ISO standard [online], available: http://www.iso.org/iso/home.html [1stAugust,
2013]
9. http://www.medicalexamglove.com/glossary_astmd6124.html [12th August,
2013]

28
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

รายชื่อคณะอนุกรรมการจัดทําคูมือการเลือกซื้อวัสดุอุปกรณทางการแพทยในเชิงเทคนิคและวิศวกรรม

29
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

30
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

คณะผูจัดทํา
1. นพ.ฆนัท ครุธกูล คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี และ
คณะกรรมการพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย
2. น.ส.เกศินี สังขคํา โครงการศึกษาวิจยั โอกาสทางธุรกิจและการเพิ่ม Value
Creation สําหรับอุตสาหกรรมวัสดุอุปกรณทางการแพทย
และสุขภาพ
3. นายรุจกวี โอภาเฉลิมพันธุ โครงการศึกษาวิจยั โอกาสทางธุรกิจและการเพิ่ม Value
Creation สําหรับอุตสาหกรรมวัสดุอุปกรณทางการแพทย
และสุขภาพ
4. น.ส.ภัทราพร งามขํา โครงการศึกษาวิจยั โอกาสทางธุรกิจและการเพิ่ม Value
Creation สําหรับอุตสาหกรรมวัสดุอุปกรณทางการแพทย
และสุขภาพ
5. ดร.อรสา ออนจันทร กรมวิทยาศาสตรบริการ
6. นายนคร ตั้งวันเจริญชัย กองควบคุมเครื่องมือแพทย
สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
7. ดร.สมบูรณ อัศวพิชญโชติ หองปฏิบัติการเทคโนโลยีพลาสติก หนวยวิจัยโพลิเมอร
ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ (เอ็มเทค)
8. ดร.ฉัตรชัย มีโภคา สถาบันพลาสติก
9. นายชัยพร มานะกิจจงกล สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

31
คูมือแนวทางการเลือกซื้อถุงมือทางการแพทย

32

You might also like