You are on page 1of 18

๑.

ท่านั่งแบบเรียงขา

• คือ นั่งพับ
เข่าซ้ายงอเข้า
มาข้างใน ให้
ฝ่าเท้าซ้ายชิด
กับขาขวาด้าน
ใน แล้วพับ
เข่าขวางงอเข้า
๒. ท่านัง
่ แบบทับขา
• คือให้นง
ั่
เหมือนแบบที่
๑ แต่ให้ยกเท้า
ขวาวางบน
น่องซ้าย
๓. ท่านั่งแบบขัดสมาธิเพชร
• คือนั่งเอาขาขัดกัน
ทัง
้ สองข้าง เป็น
ท่านั่งที่มั่นคงมาก
แต่จะมีเวทนามาก
โยคีใหม่ไม่ควรนั่ง
สำาหรับโยคีเก่า ถ้า
จะลองนั่งก็จะได้
ประสบการณ์อีก
แบบหนึ่ง
วิธีนง ั่ กำาหนด ๒ ระยะ
คำากำาหนด : (๑) พองหนอ (๒)
ยุบ หนอ
๑. นั่งขัดสมาธิตามแบบที่ตน
ชอบ ตั้งตัวตรง หลังตรง ศีรษะ
ตรง
๒. หลับตา มือขวาทับมือซ้าย
วางซ้อนกันไว้ที่หน้าตัก
๓. ส่งสติไปที่หน้าท้อง ตรงใน
กลางสะดือ
๔. ขณะท้องพองขึ้น สติกำาหนด
รู้อาการ พอง กำาหนดว่า พอง
เมื่อสิ้นสุดอาการพองแล้ว
กำาหนดว่า หนอ โดยกำาหนดรู้
อาการเคลื่อนไหวของท้อง
วิธีนง
ั่ กำาหนด ๓ ระยะ
คำากำาหนด : (๑) พองหนอ (๒)
• ยุ
๑.บ
หนอ
หนอ
ขณะท้ (๓)
องพองขึ นัง่
้น กำาหนดว่ าหนอ
พอง

• ๒. ขณะท้องยุบลง กำาหนดว่า ยุบหนอ


• ๓. ถ้ากำาลังยุบหนอแล้ว อาการพองยัง
ไม่ขึ้นมาทันที และมีช่องว่างอยู่ ให้
กำาหนดต่ออีกหนึง ่ จังหวะว่า นั่งหนอ
• ๔. คำาว่า นั่งหนอ นั้นโยคีถึงหมายรู้ว่า
ขณะนี้ตัวเองกำาลังนัง ่ อยู่ไม่ได้อยู่ใน
อิริยาบถอื่น
• ๕. ขณะกำาหนดรูปนั่ง ไม่ให้ตามดูรูป
พรรณสัณฐาน เช่น ศีรษะ คอหรือขา
ส่วนใดส่วนหนึ่ง ให้กำาหนดรู้ทั้งตัว
• ๖. หากอาการพองขึ้นเร็ว ไม่มีช่องว่าง
ก็ไม่ต้องใส่ นั่งหนอ คงกำาหนดเพียง
พองหนอ ยุบหนอ ก็พอ คือให้กำาหนด
ตามสภาวะ
• ๗. การกำาหนด ๓ ระยะ ต้องให้ตรงกับ
สภาวะ คือหลังการกำาหนดว่า ยุบหนอ
แล้ว อาการพองยังไม่ขึ้นมาทันที มี
ช่องว่างที่จะใส่ได้ ถึงใส่ ไม่ควรบงคับ
วิธีนั่งกำาหนด ๔ ระยะ
• คำากำาหนด :
• (๑) พองหนอ
• (๒) ยุบหนอ
• (๓) นั่งหนอ
• (๔) ถูกหนอ
• (ถูกหนอ คือ
กำาหนดรู้จุดถูก ที่
ก้นย้อยด้านขวา)
วิธีกำาหนดยืน

• คำาบริกรรม :
• กำาหนดว่า ยืน
หนอ ยืนหนอ
ยืนหนอจนกว่า
จะยืนเสร็จ
คำากำาหนด : ยืนหนอ

• การยืนกำาหนด
เป็นการฝึกปฏิบัติ
สติปัฎฐาน ใน
หมวดว่าด้วย
อิริยาบถซึ่ง
พระพุทธองค์เมื่อ
ยืนอยู่ ก็มีสติ
กำาหนดรู้ตัวว่ายืน
อยู่ ดังนี้
ระยะที่ ๑
• วิธีกำาหนดเดิน
จงกรม ๑ ระยะ
• คำากำาหนด :
• ขวาย่างหนอ ซ้าย
ย่างหนอ
วิธีกำาหนดกลับตัว ๓ คู่ ๖
ระยะ
ข้อควรระวังในการเดินจงกรม
เดินระยะที่ ๒
• วิธีกำาหนดเดิน
จงกรม ๒ ระยะ
• คำากำาหนด :
• ยกหนอ เหยียบ
หนอ
ระยะที่ ๓
• วิธีกำาหนดเดิน
จงกรม ๓ ระยะ
• คำากำาหนด :
• ยกหนอ ย่างหนอ
เหยียบหนอ
ระยะที่ ๔
• วิธีกำาหนดเดิน
จงกรม ๔ ระยะ
• คำากำาหนด :
• ยกส้นหนอ ยก
หนอ ย่างหนอ
เหยียบหนอ
ระยะที่ ๕
• วิธีกำาหนดเดิน
จงกรม ๕ ระยะ
• คำากำาหนด :
• ยกส้นหนอ ยก
หนอ ย่างหนอ ลง
หนอ ถูกหนอ
ระยะที่ ๖
• วิธีกำาหนดเดิน
จงกรม ๖ ระยะ
• คำากำาหนด :
• ยกส้นหนอ ยก
หนอ ย่างหนอ
ลงหนอ ถูกหนอ
กดหนอ
การนอนกำาหนดมี ๒ ท่า
วิธีปฎิบัติ :

๒ ระยะว่า (๑) พองหนอ (๒) ยุบหนอ กำาหนดรู้อาการขึ้นลงของท้อง

๑. ท่านอนแบบสีหไสยาสน์ (นอนตะแคงขวา)
การนอนกำาหนด
๒. ท่านอนแบบธรรมดา (นอน
หงาย)
วิธีปฎิบัติ :

You might also like