You are on page 1of 107

การอบรมใหความรูเกี่ยวกับการใชงาน Web Application

เพื่อประเมินสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตรายดวยตนเอง
โครงการยกระดับสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตรายสูสากล
(ภายใตคาใชจายในการบริหารจัดการวัตถุอันตรายและสิ่งแวดลอม)
กรมโรงงานอุตสาหกรรม
ดําเนินการโดย บริษัท ลอยด เคมิคอลส (ไทยแลนด) จํากัด
10 สิงหาคม 2565
โครงการยกระดับสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตรายสูสากล
ที่มาโครงการ : ดวยกรมโรงงานอุตสาหกรรม โดยกองบริหารจัดการวัตถุอันตราย ไดดําเนินการโครงการยกระดับสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตรายสูสากล (ภายใตคาใชจาย
ในการบริหารจัดการวัตถุอันตรายและสิ่งแวดลอม) ปงบประมาณ 2565 และมอบหมายให บริษัท ลอยด เคมิคอลส (ไทยแลนด) จํากัด เปนที่ปรึกษาโครงการฯ ในการ
จัดทําเครื่องมือสารสนเทศ Web Application ในการประเมินการเก็บรักษาวัตถุอันตรายไดอยางถูกตองและปลอดภัย
วัตถุประสงค : เพื่อใหสถานประกอบการที่เขารวมโครงการฯ จํานวนไมนอยกวา 400 คน ไดทดลองใชเครื่องมือสารสนเทศ Web Application ในการประเมินการเก็บ
รักษาและสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย และสามารถนําขอมูลที่ไดรับไปใชในการวางแผนปรับปรุงสถานที่เก็บรักษาใหถูกตองและปลอดภัย
ประโยชนที่จะไดรับ :
1.ไดรับความรูในการใชเครื่องมือสารสนเทศ (Web Application) โดยผานสื่ออิเล็กทรอนิกสโปรแกรม Zoom
2. สามารถนําเครื่องมือสารสนเทศ (Web Application) ไปใชเปนเครื่องมือในการประมวลผลการเก็บรักษาและสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตรายโดยเปนไปตาม
(ราง) คูมือการเก็บรักษาสารเคมีและวัตถุอันตราย (ฉบับใหม)
3. สามารถนําผลการประเมินและขอแนะนําไปวางแผนการปรับปรุงการเก็บรักษาและสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย ใหเปนไปตาม (ราง) คูมือการเก็บรักษาสารเคมี
และวัตถุอันตราย (ฉบับใหม)
หมายเหตุ : เปนการทดลองใช Web Application เทานั้น ขอมูลของทานจะไมถกู นําไปใชเพือ่ วัตถุประสงคอื่น
กําหนดการ ประชุมเชิงปฏิบัติการ (Web Application)
กรอบการประเมินความเสี่ยง
สถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย

จรินทร วีรโอฬารสิทธิ์
ที่ปรึกษา บริษทั ลอยด เคมิคอลส (ไทยแลนด) จํากัด
ที่ปรึกษากลุมอุตสาหกรรมเคมี สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
กรอบและขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย
ขั้นตอนการประเมิน

กรอบการประเมิน • Document review


• Site assessment ความรุนแรง (Severity)
• Interview • การระเบิด 4
• ดานความปลอดภัย • วิธีการเคลื่อนยายภาชนะบรรจุ • การติดไฟ 3
• ขอกําหนด/วิธปี ฏิบัติงาน • การใชเครื่องยก/เครื่องมือเคลื่อนยาย • ความเปนพิษ 2
• อุปกรณ/เครื่องมือประกอบการทํางาน • การใชรถยก • การกัดกรอน 1
• อุปกรณปฐมพยาบาล
โอกาสการเกิด (Likelihood)
• ขอมูลวัตถุอันตราย/การสื่อสาร
• ตลอดเวลา 4
• ทุกวัน 3
• ดานการปองกันและระงับอัคคีภยั • ทุกสัปดาห 2
• ขีดจํากัดของระบบตรวจจับ/แจงเตือน • ทุกเดือน 1
• ขีดจํากัดของอุปกรณดับเพลิง/ฉุกเฉิน
• ทักษะ/ความรูของผูเกี่ยวของ
• แผนฉุกเฉิน
กรอบและขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย
ขั้นตอนการประเมิน

กรอบการประเมิน • Document review


• Site assessment ความรุนแรง (Severity)
• Interview • การระเบิด 4
• ดานความปลอดภัย • การติดไฟ 3
• ขอกําหนด/วิธปี ฏิบัตงิ าน • อุปกรณยกเคลื่อนยาย • ความเปนพิษ 2
• อุปกรณ/เครื่องมือประกอบการทํางาน • เครื่องมือ • การกัดกรอน 1
• อุปกรณปฐมพยาบาล • รถยก
โอกาสการเกิด (Likelihood)
• ขอมูลวัตถุอันตราย/การสื่อสาร
• ตลอดเวลา 4
• ทุกวัน 3
• ดานการปองกันและระงับอัคคีภยั • ทุกสัปดาห 2
• ขีดจํากัดของระบบตรวจจับ/แจงเตือน • ทุกเดือน 1
• ขีดจํากัดของอุปกรณดับเพลิง/ฉุกเฉิน
• ทักษะ/ความรูของผูเกี่ยวของ
• แผนฉุกเฉิน
กรอบและขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย
ขั้นตอนการประเมิน

กรอบการประเมิน • Document review


• Site assessment ความรุนแรง (Severity)
• Interview • การระเบิด 4
• ดานความปลอดภัย • การติดไฟ 3
• ขอกําหนด/วิธปี ฏิบัตงิ าน • ความเหมาะสมกับสมบัติของวัตถุอนั ตรายที่จัดเก็บ • ความเปนพิษ 2
• อุปกรณ/เครื่องมือประกอบการทํางาน • เพียงพอกับจํานวนพนักงานในคลังสินคา • การกัดกรอน 1
• อุปกรณปฐมพยาบาล • ความรู/ทักษะ/การฝกการชวยเหลือที่ถูกตอง
โอกาสการเกิด (Likelihood)
• ขอมูลวัตถุอันตราย/การสื่อสาร
• ตลอดเวลา 4
• ทุกวัน 3
• ดานการปองกันและระงับอัคคีภยั • ทุกสัปดาห 2
• ขีดจํากัดของระบบตรวจจับ/แจงเตือน • ทุกเดือน 1
• ขีดจํากัดของอุปกรณดับเพลิง/ฉุกเฉิน
• ทักษะ/ความรูของผูเกี่ยวของ
• แผนฉุกเฉิน
กรอบและขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย
ขั้นตอนการประเมิน

กรอบการประเมิน • Document review


• Site assessment ความรุนแรง (Severity)
• Interview • การระเบิด 4
• ดานความปลอดภัย • การติดไฟ 3
• ขอกําหนด/วิธปี ฏิบัตงิ าน • ความเปนพิษ 2
• อุปกรณ/เครื่องมือประกอบการทํางาน • การกัดกรอน 1
• อุปกรณปฐมพยาบาล • SDS ที่สมบูรณ/ทันสมัย
โอกาสการเกิด (Likelihood)
• ขอมูลวัตถุอันตราย/การสื่อสาร • การเขาถึงเอกสาร (SDS / OP / EMP)
• ตลอดเวลา 4
• การอบรม/การสอน พนักงานคลังสินคา
• ทุกวัน 3
• ดานการปองกันและระงับอัคคีภยั • ทุกสัปดาห 2
• ขีดจํากัดของระบบตรวจจับ/แจงเตือน • ทุกเดือน 1
• ขีดจํากัดของอุปกรณดับเพลิง/ฉุกเฉิน
• ทักษะ/ความรูของผูเกี่ยวของ
• แผนฉุกเฉิน
กรอบและขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย
ขั้นตอนการประเมิน

กรอบการประเมิน • Document review


• Site assessment ความรุนแรง (Severity)
• Interview • การระเบิด 4
• ดานความปลอดภัย • การติดไฟ 3
• ขอกําหนด/วิธปี ฏิบัตงิ าน • ความเปนพิษ 2
• อุปกรณ/เครื่องมือประกอบการทํางาน • การกัดกรอน 1
• อุปกรณปฐมพยาบาล
โอกาสการเกิด (Likelihood)
• ขอมูลวัตถุอันตราย/การสื่อสาร
• ตลอดเวลา 4
• ทุกวัน 3
• ดานการปองกันและระงับอัคคีภยั • เครื่องตรวจจับ ความรอน/ควัน/รังสี • ทุกสัปดาห 2
• ขีดจํากัดของระบบตรวจจับ/แจงเตือน • เครื่องตรวจวัดสาร • ทุกเดือน 1
• ขีดจํากัดของอุปกรณดับเพลิง/ฉุกเฉิน • สัญญาณแจงเหตุฉุกเฉิน สารรั่วไหล/ไฟไหม
• ทักษะ/ความรูของผูเกี่ยวของ
• แผนฉุกเฉิน
กรอบและขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย
ขั้นตอนการประเมิน

กรอบการประเมิน • Document review


• Site assessment ความรุนแรง (Severity)
• Interview • การระเบิด 4
• ดานความปลอดภัย • การติดไฟ 3
• ขอกําหนด/วิธปี ฏิบัตงิ าน • ความเปนพิษ 2
• อุปกรณ/เครื่องมือประกอบการทํางาน • การกัดกรอน 1
• อุปกรณปฐมพยาบาล
โอกาสการเกิด (Likelihood)
• ขอมูลวัตถุอันตราย/การสื่อสาร
• ตลอดเวลา 4
• ทุกวัน 3
• ดานการปองกันและระงับอัคคีภยั • ทุกสัปดาห 2
• ขีดจํากัดของระบบตรวจจับ/แจงเตือน • ปริมาณน้ําดับเพลิงสํารอง • ทุกเดือน 1
• ขีดจํากัดของอุปกรณดับเพลิง/ฉุกเฉิน • ประเภทของวัสดุดับเพลิง
• ทักษะ/ความรูของผูเกี่ยวของ • อุปกรณฉุกเฉิน (Fire pump/Emergency Kit)
• แผนฉุกเฉิน
กรอบและขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย
ขั้นตอนการประเมิน

กรอบการประเมิน • Document review


• Site assessment ความรุนแรง (Severity)
• Interview • การระเบิด 4
• ดานความปลอดภัย • การติดไฟ 3
• ขอกําหนด/วิธปี ฏิบัตงิ าน • ความเปนพิษ 2
• อุปกรณ/เครื่องมือประกอบการทํางาน • การกัดกรอน 1
• อุปกรณปฐมพยาบาล
โอกาสการเกิด (Likelihood)
• ขอมูลวัตถุอันตราย/การสื่อสาร
• ตลอดเวลา 4
• ทุกวัน 3
• ดานการปองกันและระงับอัคคีภยั • ทุกสัปดาห 2
• ขีดจํากัดของระบบตรวจจับ/แจงเตือน • ทุกเดือน 1
• ขีดจํากัดของอุปกรณดับเพลิง/ฉุกเฉิน
• พนักงานคลังสินคา
• ทักษะ/ความรูของผูเกี่ยวของ
• แผนฉุกเฉิน • พนักงานดับเพลิง
กรอบและขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย
ขั้นตอนการประเมิน

กรอบการประเมิน • Document review


• Site assessment ความรุนแรง (Severity)
• Interview • การระเบิด 4
• ดานความปลอดภัย • การติดไฟ 3
• ขอกําหนด/วิธปี ฏิบัตงิ าน • ความเปนพิษ 2
• อุปกรณ/เครื่องมือประกอบการทํางาน • การกัดกรอน 1
• อุปกรณปฐมพยาบาล
โอกาสการเกิด (Likelihood)
• ขอมูลวัตถุอันตราย/การสื่อสาร
• ตลอดเวลา 4
• ทุกวัน 3
• ดานการปองกันและระงับอัคคีภยั • ทุกสัปดาห 2
• ขีดจํากัดของระบบตรวจจับ/แจงเตือน • ทุกเดือน 1
• ขีดจํากัดของอุปกรณดับเพลิง/ฉุกเฉิน
• ครอบคลุมวัตถุอันตรายที่จัดเก็บ
• ทักษะ/ความรูของผูเกี่ยวของ
• แผนฉุกเฉิน • รองรับสถานการณฉกุ เฉินรายแรง
• ทันสมัย
กรอบและขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย
ขั้นตอนการประเมิน

กรอบการประเมิน • Document review


• Site assessment ความรุนแรง (Severity)
• Interview • การระเบิด 4
• ดานความปลอดภัย • การติดไฟ 3
• ขอกําหนด/วิธปี ฏิบัตงิ าน • ความเปนพิษ 2
• อุปกรณ/เครื่องมือประกอบการทํางาน • การกัดกรอน 1
• อุปกรณปฐมพยาบาล • Process area • Hazard chemicals • Hazard chemicals
โอกาสการเกิด (Likelihood)
• ขอมูลวัตถุอันตราย/การสื่อสาร • Hazard chemicals • Materials storage • Materials storage
• ตลอดเวลา 4
• Materials storage • Loading dock • Loading dock
• Loading dock • Forklifts • Forklifts • ทุกวัน 3
• ดานการปองกันและระงับอัคคีภยั • Forklifts • Charging stations • Charging stations • ทุกสัปดาห 2
• ขีดจํากัดของระบบตรวจจับ/แจงเตือน • Charging stations • Manual lifting • Conveyors • ทุกเดือน 1
• ขีดจํากัดของอุปกรณดับเพลิง/ฉุกเฉิน • Conveyors • Storage Handing • Manual lifting
• ทักษะ/ความรูของผูเกี่ยวของ • Manual lifting • Storage Handing
• แผนฉุกเฉิน • Storage Handing
แนวทางการเลือกใชระบบการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment System)
• Checklist • Fault Tree Analysis
ใชหลักมาตรฐานและขอกําหนดของ ใชประเมินสถานการณที่คาดวาจะเกิดขึ้น หรือการเกิด
กฎหมายมาตั้งคําถาม อุบัติเหตุรายแรง

• What If Analysis • FMEA (Failure Modes and


Effects Analysis)
ใชคําถามเกี่ยวกับกับความลมเหลวของ
เครื่องมือ เครื่องวัด และความผิดพลาด
ใชประเมินเครื่องจักร อุปกรณ ระบบไฟฟาเพื่อประเมิน
จากการทํางานของพนักงาน
ความลมเหลว

• HAZOP (Hazard and • Event Tree Analysis


Operability Study)
ใชประเมินหาผลกระทบที่จะเกิดขึ้นตอเนื่องเมื่อเกิด
ใช Guideword เพื่อหาความบกพรองหรือ เหตุการณแรกขึ้น ใชกับเครื่องจักรและคนทํางาน
ผิดปกติในการทํางาน ผิดพลาด
• สถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย
• วัตถุอันตรายที่นําเขาจัดเก็บ ผนังอาคารสถานที่จัดเก็บตองมีคุณสมบัติทนไฟไดตาม
ขอกําหนด (F90, F120, F180) สอดคลองกับประเภทของวัตถุอันตรายที่จัดเก็บ
• ระบบกักเก็บน้ําที่ผา นการดับเพลิง (ปริมาตรการกักเก็บสอดคลองกับขนาดพื้นที่
จัดเก็บ)
• ปริมาณน้ําดับเพลิงสํารอง (ปริมาณสํารองตองสอดคลองกับขนาดของพื้นที่จดั เก็บ
• การจัดเก็บรักษาวัตถุอันตราย
• การจัดเก็บวัตถุอนั ตรายเปนไปตามขอกําหนดการเก็บคละ (การเก็บคละกันได, การ
เก็บคละไดแตมีเงื่อนไข, การแยกบริเวณในการจัดเก็บ)
• ขอหามของการจัดเก็บวัตถุอันตรายเฉพาะ (การเก็บภายนอกอาคาร)
• การจัดเก็บตามขอกําหนดพิเศษเฉพาะวัตถุอันตราย
• การขึ้นทะเบียนและการรายงาน
• บุคลากรเฉพาะกํากับดูแลความปลอดภัยสถานทีจ่ ัดเก็บ
• รายงานความปลอดภัยสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย
• สถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย
• จะเกิดอะไรขึ้น กับวัตถุอันตรายที่จัดเก็บอยูในหองควบคุมอุณหภูมิ หากไฟฟาดับ ?
• จะเกิดอะไรขึ้น ถาปมน้ําดับเพลิงเกิดใชงานไมได เมื่อเกิดเพลิงไหม ?
• จะเกิดอะไรขึ้น ถาระบบกักเก็บน้ําดับเพลิงที่เตรียมไว เกิดแตก ?
• การจัดเก็บรักษาวัตถุอันตราย
• จะมีผลกระทบเกิดขึ้นอะไร กับการเปลี่ยนแปลงรถยกจากไฟฟาเปนรถยกใชเครื่องยนต
ในคลังสินคา
• จะมีผลกระทบเกิดขึ้นอะไร หากมีการเปลี่ยนพนักงานในคลังสินคา
• สถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย
• ประเมินหาสถานการณรุนแรงที่จะเกิดขึ้นกรณีภาชนะบรรจุวัตถุอันตราย Class 4.3 รั่วไหล
• การจัดเก็บรักษาวัตถุอันตราย
• ประเมินสถานการณที่จะเกิดขึ้นตามมาหากมีการแบงถายสารเคมีผิดประเภท
• ประเมินหาความลมเหลวของอุปกรณไฟฟาประเภทปองกันการระเบิด
• ประเมินหาความลมเหลวของระบบการตอสายดิน
• ประเมินหาความลอมเหลวของระบบดับเพลิงอัตโนมัติ

• ประเมินผลกระทบหากมีการรั่วไหลของวัตถุอันตรายชนิดหนึ่งไปพบกับวัตถุอันตรายอีก
ชนิด ผลของการหกรั่วไหลเจอกันคืออะไร
• ผลกระทบของการใชเครื่องจักรผิดพลาด จะมีผลกระทบอยางไรเกิดขึ้นตามมา
• ประเมินสําหรับการมีระบบดับเพลิงอัตโนมัติที่มีการตอเชื่อมกับระบบสัญญาณตรวจวัด เชน
การติดตั้งระบบกาซดับเพลิงอัตโนมัติในหองเก็บวัตถุอันตราย หากแรงดันของการสงกาซ
มากกวาไปจะเกิดอะไรขึ้น หรือ แรงดันนอยเกิดไปจะเกิดอะไรขึ้น
กฎเกณฑการกําหนดระดับการประเมินความเสี่ยง
ไมมีกฎเกณฑที่แนชัดวาสิ่งใดที่มีระดับความเสี่ยงสูง ปานกลาง หรือต่ํา ตามกฎทั่วไป:
Level Risk เมื่อไหรจะเกิดขึ้น คุณควรทําอะไร
High หากคุณจัดเก็บสารเคมีหรือ กระบวนการ คุณควรพิจารณารับ คําแนะนําจากผูเชี่ยวชาญเพื่อให
จัดเก็บมีความรุนแรงสูง ไมวา โอกาสจะต่ํา เสร็จสมบูรณ การประเมินความเสี่ยงของคุณหรือ
หรือสูง แสดงวามีความเสี่ยงสูง เปลีย่ น สารเคมีหรือกระบวนการที่ลดอันตรายลง
Medium หากคุณจัดเก็บสารเคมีหรือ กระบวนการ คุณควรตั้งเปาที่จะลด และควบคุม
จัดเก็บมีระดับความรุนแรงต่ํา และปานกลาง
ระดับความนาจะเปนระดับความเสีย่ งปาน
กลาง
Low หากคุณจัดเก็บสารเคมีหรือ กระบวนการ คุณควรแนใจวาการควบคุมเพียงพอ มีมาตรการ
จัดเก็บมีระดับความรุนแรงต่ําและระดับต่ํา จัดการ
ระดับความนาจะเปน นี้บงชี้วาคะแนนความ
เสี่ยงต่ํา
Risk Assessment
• การประเมินความรุนแรงของความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น (หากเกิดขึ้น) และกําหนดการควบคุมทีเ่ หมาะสมและมี
ประสิทธิภาพเพื่อลดความเสี่ยงในระดับสูงทีส่ ดุ เทาทีจ่ ะเปนไปได ซึ่งหมายความวาวิธีการควบคุมทุกอยางเปนไปได
เพื่อใหแนใจวาสุขภาพและความปลอดภัยโดยพิจารณาจากปจจัยที่เกี่ยวของทั้งหมดรวมถึง
• โอกาสที่จะเกิดอันตรายขึ้น
• ความรุนแรงของอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
• ความรูเกี่ยวกับการกําจัด ลด หรือควบคุมอันตรายและความเสีย่ ง
• ความพรอมของมาตรการควบคุมที่ออกแบบมาเพื่อกําจัด ลด หรือควบคุมหรือความเสี่ยงอยางเหมาะสม
• ตนทุนที่เกี่ยวของกับมาตรการควบคุมที่มีอยูซึ่งออกแบบมาเพื่อกําจัด ลด หรือควบคุมหรือความเสี่ยงอยาง
เหมาะสม
• การประเมินความรุนแรงของความเสี่ยงจําเปนตองมีการประเมินความนาจะเปนที่จะเกิดขึ้นและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
ปจจัยบางประการทีส่ ง ผลตอการประเมินนี้ ไดแก ระยะเวลาและความถี่ของการสัมผัส จํานวนผูที่ไดรับผลกระทบ
ความสามารถของผูท่ไี ดรับสัมผัส ประเภทของอุปกรณและสภาพของอุปกรณ และความพรอมในการปฐมพยาบาลและ/
หรือการสนับสนุนฉุกเฉิน
ประเมินความเสี่ยง

ควรทําการประเมินความเสี่ยงถึง.....

• มีความไมแนนอนเกี่ยวกับอันตรายที่อาจสงผลทําใหเกิดการบาดเจ็บหรือการเจ็บปวย
• กิจกรรมการทํางานที่เกี่ยวของกับการเพิ่มจํานวนของการเกิดอันตราย และการขาดความเขาใจเกี่ยวกับวิธกี ารที่
อาจสรางความเสีย่ งทําใหเกิดอันตรายสูงขึ้น
• การเปลี่ยนแปลงในสถานที่เก็บรักษา ที่อาจเกิดขึ้นแลวสงผลกระทบตอประสิทธิภาพของมาตรการควบคุม
คุณสามารถประเมินความเสี่ยงไดหลายวิธี คุณเพียงแคตองตัดสินใจเลือกมาตราสวน ตัวอยางของ ขนาดที่
เปนไปได:

มีโอกาสมากนอยเพียงใดที่การสัมผัสสารเคมีในสถานทีจ่ ัดเก็บ จะนําไปสูความเจ็บปวยอาจเกิดขึ้นได


• สูง: มีโอกาสสัมผัสกับสารเคมี ตัวอยางเชน การใชหรือใชบอยมากของ ปริมาณมากซึ่งมีโอกาสสัมผัสกับผิวหนัง
หรือสารเคมีในการหายใจ คาดวาจะมีควัน (เชน การทําความสะอาดการรั่วไหล กิจกรรมการเชื่อมโดยไมมีการ
ระบายอากาศ ควบคุม)

• ต่ํา: ไมนา จะไดรับสารเคมี ตัวอยางเชน ใชปริมาณนอยมากหรือ ใชไมบอยและในสภาวะที่มีโอกาสสัมผัสนอย


หรือไมมีเลย (เชน ใชสารเคมีในระบบปด/บรรจุ)
อันตรายรายแรงแคไหน ?

• สูง: ตัวอยางเชน ผลกระทบดานสุขภาพที่รายแรง แกไขไมได หรืออาจถึงแกชีวิตได (สารกอมะเร็ง, การกลาย


พันธุ, ความเปนพิษตอระบบสืบพันธุ, การแพตอระบบทางเดินหายใจ) หรือ ผลกระทบทางเคมีกายภาพอยาง
รุนแรง (การระเบิด)
• ปานกลาง: ตัวอยางเชน ผลกระทบตอสุขภาพที่ไมรายแรง อาจไมสามารถแกไขได และไมรา ยแรง (เชน อาการ
แพทางผิวหนัง กัดกรอนผิวหนังหรือตา); ผลกระทบทางเคมีกายภาพ (เชน ไวไฟ) หรือผลกระทบตอสิ่งแวดลอม
(เชน เปนอันตรายตอสิ่งแวดลอมในน้ํา)
• ต่ํา: ผลกระทบตอสุขภาพเล็กนอย/ชั่วคราว ยอนกลับได ไมเปนอันตรายถึงชีวิต (เชน ระคายเคืองตอผิวหนังหรือ
ตา)
แนวคิดการกําหนดเกณฑของโอกาสการเกิด (LIKELIHOOD)

โอกาสการเกิดสูง:
• สถานที่จัดเก็บที่มีกิจกรรมการแบงบรรจุ การเปดภาชนะบรรจุ ตลอดเวลา
• มีการใชอุปกรณไฟฟา เครื่องยนต ที่มีการสันดาปในสถานที่จัดเก็บสารเคมีกลุมเสี่ยงสูง (Very High) ตลอดเวลา
• มีการเขา-ออกของกลุมสารเคมีที่ไมประจํา (non-routine) ที่ไมสามารถกําหนดเวลาได
• ภาชนะบรรจุสารเคมี ไมมีมาตรฐานตาม un
• มีการเปลี่ยนแปลงวิธีการปฏิบตั ิงานภายในสถานที่จดั เก็บ โดยยังไมมีการอบรมชี้แจงพนักงานที่เกี่ยวของ
• พื้นที่จัดเก็บมากกวา 300 ตารางเมตร กรณีจัดเก็บสารเคมีมากกวา 1 ประเภท
• ไมมีระบบน้ําดับเพลิงสํารองของตนเอง
• ผลการประเมินระบบความปลอดภัยต่ํากวาเกณฑ
RISK ASSESSMENT & CONTROL FORM Consequences
Likelihood 1 2 3 4 5
CONTROL: (นัยไมสําคัญ) (เล็กนอย) (ปานกลาง) (รุนแรง) (ภัยพิบัติ)
• กําหนดมาตรการควบคุมตามความเหมาะสม ลําดับชั้น ของ
การควบคุมและระดับความเสี่ยง เริ่มตนจากการกําจัดและการ
A: เกือบแนนอน H H E E E
ทํางาน ลงเพื่อใหแนใจวามาตรการควบคุมที่เปนไปไดทั้งหมด
คือ พิจารณาและจัดทําเปนเอกสาร
B: แนวโนมจะเปนไปได M H H E E
ลําดับชั้นของการควบคุม: C: เปนไปได L M H E E
1. การกําจัด 2. การทดแทน 3. ความโดดเดี่ยว 4. การลด - D: ไมนาจะเปนไปได L L M H E
วิศวกรรม - การบริหาร 5. อุปกรณปองกันภัยสวนบุคคล
E: เปนไปไดยาก L L M H H
RISK RATING: Likelihood: Consequences:
• E = Extreme: ดําเนินการทันทีเพื่อขจัดหรือลดความ • A = คาดวาจะเกิดขึ้นในเกือบทุกกรณี • 1 = ไมมีการบาดเจ็บ กระทบทรัพยสินต่ํา
เสี่ยงที่จําเปน • B = อาจเกิดขึ้นไดในกรณีสวนใหญ • 2 = การปฐมพยาบาลเบื้องตน ณ สถานที่เกิดเหตุทันที มีการสูญเสีย
• H = High: ขจัดหรือลดความเสี่ยงใน 1-7 วัน ตองให ทรัพยสินปานกลาง
• C = อาจเกิดขึ้นบาง
ความสนใจกับผูบริหารระดับสูง • 3 = ตองไดรับการรักษาพยาบาล ณ สถานที่เกิดเหตุ สงตอความชวยเหลือ
• D = อาจเกิดขึ้นไดในบางครั้ง จากภายนอก กระทบทรัพยสินสูง
• M = Medium: ขจัดหรือลดความเสี่ยงใน 8-14 วัน ตอง
รับผิดชอบเฉพาะดานการจัดการ • E = อาจเกิดขึ้นไดในกรณีพิเศษเทานั้น • 4 = การบาดเจ็บอยางกวางขวาง สูญเสียสถานที่จัดเก็บ ผลกระทบ
ภายนอกสถาน เสียหายทางการเงินที่สาํ คัญ
• L = Low: ตองติดตามเพื่อใหแนใจวาความเสี่ยงไมบาน
ปลาย จัดการตามขั้นตอนประจํา • 5 = ตาย สารพิษ กระทบนอกสถานในขั้นอันตราย ผลกระทบทางการเงิน
มหาศาล
RISK = LIKELIHOOD x SEVERITY

SEVERITY Risk Assessment Factors


• โอกาสการเสียชีวติ
• ความรุนแรง: กําหนดคาตัวเลข
• สูญเสียทรัพยสิน ตั้งแต 1 ถึง 4 ขึ้นอยูกับความ
• กระทบสิ่งแวดลอม รุนแรงของผลกระทบของโหมด
ความลมเหลวที่อาจเกิดขึ้น
• 1 : ไมมีผลกระทบ
• 4 : ระดับความรุนแรง
สูงสุด

LIKELIHOOD • ความนาจะเปนที่จะเกิดขึ้น:
• โอกาสเกิดการลมเหลว กําหนดคาตัวเลขตั้งแต 1 ถึง
4 ขึ้นอยูกับความนาจะเปน
• ความนาจะเปนที่จะเกิด ของการเกิดโหมดความ
อันตราย ลมเหลว
• ความถี่ของการเกิดอันตราย • 1 : ไมนาจะเกิดขึ้นได
มาก
• 4 : แนใจวาจะเกิดขึ้น
ตัวอยาง การประเมินความเสี่ยงสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย : • การเคลือนย ้ายภาชนะวัตถุ
อันตราย

ความรุนแรง (Severity)
• วัตถุไวไฟ – เกิดไฟไหม 4 1 2 3 4
• วัตถุกดั กรอน – เกิดการระคายเคือง 3
4 1 1 2 3 4
• วัตถุมีพิษ - เกิดการสัมผัสพิษ

โอกาสการเกิด (Likelihood) 2 2 4 6 8
• มีการเคลื่อนยายทุกวัน 4 3 3 6 9 12
• มีการเคลื่อนยายทุกสัปดาห 3
• มีการเคลื่อนยายทุกเดือน 2 4 4 8 12 16
• สถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย : W/H 1

• การ • กรณีหกรั่วไหล เกิด 6 • ใชรถเข็นแบบมีถาดรอง • หัวหนา


เคลื่อนยาย การกัดกรอนพื้น ปองกันตก งาน/ผู
ถังวัตถุกัด และวัสดุ ควบคุม
กรอน • ตรวจสอบการปดฝาภาชนะ งาน
บรรจุวาปดสนิทกอน
เคลื่อนยายทุกครั้ง

• การ • กรณีหกรั่วไหล ไอ 8 • ใชรถเข็นแบบมีที่ล็อคยึด • หัวหนา


เคลื่อนยาย ระเหยติดไฟได ปองกันถังลม งาน/ผู
ถังวัตถุไวไฟ • ปดฝาภาชนะใหสนิทกอนยก ควบคุม
เคลื่อนยายทุกครั้ง งาน
Warehouse Risk Assessment Scenario
โครงสรางอาคารสถานที่จดั เก็บ
• หลังคา
• ผนังอาคารและกําแพงทนไฟ
• พื้น
• ประตูเขา-ออก
• ประตูฉุกเฉิน ประเมินกรณีมีการเปลี่ยนแปลง:
• ระบบบายอากาศ • ประเภทสารเคมีที่นําเขาไปจัดเก็บใน
สถานที่เก็บ
Warehouse • ระบบไฟฟา
• การเพิ่มปริมาณสารเคมีที่จัดเก็บใน
• การปองกันฟาผา สถานที่เก็บ
• ระบบเตือนภัย
• ระบบปองกันอัคคีภัย
• ระบบกักเก็บน้ําปนเปอน
• การประเมินความเสี่ยงระบบปองกันอัคคีภัย กรณีมีการ
เพิ่มเติม/ปรับเปลี่ยนประเภทวัตถุอันตรายที่จัดเก็บ
Warehouse
• ระบบตรวจจับ/ตรวจวัด (ประเภทของวัตถุอันตราย)
• ระบบดับเพลิง (ประเภทวัสดุที่ใช/หามใช)
• ความเหมาะสมของปริมาตรสารดับเพลิง
• ผลกระทบตอแผนฉุกเฉิน
• ผลกระทบตอระดับความรุนแรง (ตามประเภทของ
วัตถุอนั ตรายที่เปลี่ยนแปลง)
• การ update เอกสาร/การอบรม/การฝกซอม
ตัวอยาง: กิจกรรมการเพิ่มกําลังผลิต ทําใหตองเพิ่มวัตถุดิบในการผลิต

การพิจารณาความเสี่ยง:
• ผลกระทบจากการเพิ่มปริมาณการจัดเก็บวัตถุอันตราย
• ความเสี่ยงของพื้นที/่ สถานที่เก็บรักษา (ที่ไมรองรับปริมาณที่มากขึ้น)

การประเมินความปลอดภัย:
• ความพรอมของระบบปองกันอัคคีภยั
• ความพรอมของอุปกรณความปลอดภัย
• แผนตอบโตกรณีฉุกเฉิน
ตัวอยาง: การเปลี่ยนแปลง/เพิ่มประเภทวัตถุอันตรายในการจัดเก็บ

การพิจารณาความเสี่ยง:
• การทําปฏิกริ ิยากันของสารเคมีที่เขากันไมได
• ผลกระทบของสถานที่จดั เก็บทีจ่ ะรองรับการเปลี่ยนแปลง
• ความรูและวิธปี ฏิบัติสําหรับวัตถุอันตรายที่เปลี่ยนแปลง

• การประเมินความปลอดภัย:
• ความเหมาะสมของระบบปองกันอัคคีภัยทีม่ ีอยูกับประเภทวัตถุอันตรายที่
เปลี่ยนแปลง
• ประสิทธิผลของอุปกรณความปลอดภัยที่มีอยูกับประเภทวัตถุอนั ตรายที่
เปลี่ยนแปลง
• ความพรอมรองรับกรณีฉุกเฉินตามประเภทวัตถุอันตรายที่เปลี่ยนแปลง
ตัวอยาง: สารเคมีที่แตกตางกันแลวมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น

• ตองใชสารดับเพลิงที่แตกตางกัน
• ตองการควบคุมอุณหภูมิในการเก็บรักษาแตกตางกัน
• เกิดปฏิกิริยาเคมีกันแลวปลอยกาซไวไฟหรือกาซพิษ หรือ เกิดปฏิกิริยาเคมีกันแลวกอใหเกิดไฟไหม
การประเมินความปลอดภัย ใหตรวจสอบ ดังตอไปนี้
ก. อุปกรณความปลอดภัย อุปกรณควบคุมและปองกันอัคคีภัย ที่มีตดิ ตั้งอยูในสถานที่เก็บรักษา มีสภาพสมบูรณพรอมใชงาน และมี
แผนการบํารุงรักษาและการตรวจสอบ/ทดสอบ ตามระยะเวลาที่กําหนด อาทิ
• อุปกรณชวยชีวิต
• อุปกรณตรวจวัดกาซ
• ไฟฉุกเฉิน
• สัญญาณเตือนภัย
• ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ
• อุปกรณตรวจจับ
• อุปกรณดับเพลิง
ข. ผลการประเมินความปลอดภัย ตองจัดทําเปนบันทึกและนําผลการประเมินไปใชประกอบการทําแผนความปลอดภัย
ค. กําหนดมาตรการจัดสถานที่เก็บรักษา หากผลการประเมินความปลอดภัยไมเปนไปตามแผนที่กําหนดไว
ตัวอยาง: การคํานวณปริมาณโฟมในการควบคุมอัคคีภัย

• โฟมสังเคราะห 2 ลิตรตอนาทีตอตารางเมตร
• โฟมโปรตีน (Protein Foam) 4 ลิตรตอนาทีตอตารางเมตร
• โฟมฟลูออโรโปรตีน (Fluoroprotein Foam) 3 ลิตรตอนาทีตอตารางเมตร
• น้ํายาโฟมดับเพลิง (AFFF : Fire Fighting Foam) 2.5 ลิตรตอนาทีตอตารางเมตร
• น้ํายาโฟมดับเพลิง (AFFF-ARC) 2 ลิตรตอนาทีตอตารางเมตร
น้ํายาโฟม 3% + น้ํา 97% สําหรับดับเพลิงจําพวก Hydrocarbon)

• ตัวอยาง : หองจัดเก็บน้ํามันขนาด 300 ตารางเมตร เลือกใช AFFF-ARC ตองจัดเตรียมน้ํายาโฟม 72,000 ลิตรสําหรับ


การดับเพลิง 2 ชั่วโมง
(2 ลิตร x 120 นาที x พื้นที่ 300 ตารางเมตร)
ตัวอยาง:

0.30 m.

3.70 m.

4.00 m.

กรณี < 100 ลูกบาศกเมตร พื้นที่กกั เก็บตองรองรับได 10% ของปริมาตรรวม


จัดเก็บภาชนะบรรจุ 200 ลิตร จํานวน 20 ใบ รวมปริมาตรเปน 4,000 ลิตร กรณี 100 ถึง 1,000 ลูกบาศกเมตร พื้นที่กักเก็บตองรองรับได 3% ของปริมาตรรวม
(4 ลูกบาศกเมตร) แตตองมีปริมาตรไมนอยกวา 10 ลูกบาศกเมตร
ตองจัดพื้นที่กักเก็บ 10% คิดเปน 4,400 ลิตร (4.4 ลูกบาศกเมตร) กรณี > 1,000 ลูกบาศกเมตร พื้นที่กักเก็บตองรองรับได 2% ของปริมาตรรวม แต
ตองมีปริมาตรไมนอยกวา 30 ลูกบาศกเมตร
What are the Risk? Who might be What are you already doing to control the What further Who needs When is Done
harmed and risks? action do you to carry the action
how? need to take out the needed
to control the action? by?
risks?
Fire หากพนักงานและ - อาคารที่ออกแบบดวยวัสดุทนไฟ พิจารณาถึงการใช Manage
- การจัดเก็บสารเคมี บุคคลที่ติดอยูใน - ทางออก/ทางหนีไฟที่ทําเครื่องหมายไวและชัดเจน ระบบดับเพลิง
จํานวนมาก เปนการ คลังสินคาทั้งหมด - ถังดับเพลิงอยูในตําแหนงที่ดี อัตโนมัติ
เพิ่มโอกาสการ จะไดรับผลกระทบ - เสนทางการเขาถึงที่ชัดเจนตลอดเวลาสําหรับ
ลุกลามไฟไดงาย จากการสูดดมควัน ทางออกทั้งหมดและจุดติดตั้งถังดับเพลิง
- ความผิดพลาดทาง หรือเพลิงไหมซึ่ง - ระบบตรวจจับและแจงเตือนอัคคีภัย
ไฟฟา, แบตเตอรี่ อาจทําใหเกิดการ - จุดสัญญาณเตือนไฟไหมแตละจุดแสดงขัน้ ตอนการ
การชารจ ฯลฯ เสียชีวิต อพยพ
นําไปสูการเกิดเพลิง - สัญญาการบํารุงรักษาถังดับเพลิงและระบบ
ไหม ตรวจจับ/สัญญาณเตือนภัย
- ฝกซอมดับเพลิงประจําปและอบรมการใชถัง
ดับเพลิงอยางถูกวิธี
- ทําใหมั่นใจไดวาไมมีเศษขยะเหลืออยู
- พนักงานที่ไดรับการฝกอบรมดานการดูแลทําความ
สะอาดที่ดี
การประเมินความเสี่ยง

กระบวนการ/ ความเสี่ยงที่ ความเสี่ยงอันตราย ระดับ ความนาจะเปน/ Risk Rating


กิจกรรม เกี่ยวของ ความถี่
• การขนสง/ • การใชยานพาหนะ/ • ความเสียหายของภาชนะ • 3 (ขึ้นกับความ • 4 (กรณีตองมีการ • Very High
เคลื่อนยาย วิธีการเคลื่อนยายไม บรรจุจากการขนสง/ อันตรายของ ขนสง/เคลื่อนยาย (12)
ภาชนะบรรจุ เหมาะสม เคลื่อนยาย ทําใหเกิดการหก สารเคมีและ ทุกวัน)
สารเคมี รั่วไหล ปริมาณของการ
หกรั่วไหล
(ประเมินจาก
ขนาดของภาชนะ
บรรจุ)
การประเมินความเสี่ยง

กระบวนการ/ ความเสี่ยงที่ ความเสี่ยง ระดับ ความนาจะเปน/ Risk Rating


กิจกรรม เกี่ยวของ ความถี่
• การจัดวาง • การจัดเก็บคละกับ • การเกิดปฏิกิริยาเมื่อมีการ • 3 (ขึ้นกับความ • 4 (มีการเขาออก • Very High
ภาชนะบรรจุใน สารเคมีอื่นที่ไม รั่วไหล อันตรายของการ ของสารเคมีเปน (12)
สถานที่เก็บ ทราบคุณสมบัติการ ทําปฏิกิริยาของ ประจํา)
เขากันไมไดของสาร สารเคมีที่รั่วไหล)
การประเมินความเสี่ยง

กระบวนการ/ ความเสี่ยงที่ ความเสี่ยง ระดับ ความนาจะเปน/ Risk Rating


กิจกรรม เกี่ยวของ ความถี่
• การ • การเขากันไมไดของ • การเกิดปฏิกิริยาของสารเคมี • 3 (ขึ้นกับความ • 2 (มีการ • High
เคลือนย ้าย สารเคมี ทเ
่ ี คลื อ
่ นย า ย กรณีหกรั่วไหล อันตรายของการ เคลื อ
่ นย ายเมื อ
่ เหตุ
พืนทีจัดเก็บ มาใหม ทําปฏิกิริยาของ จําเปน) • 6
ในสถานที • พื้นที่จัดเก็บไม • ความไมพรอมสําหรับการ สารเคมีที่รั่วไหล)
เก็บ เคลื

่ นย าย/การระงั บ เหตุ
รองรับสารเคมีที่
นํามาจัดวางใหม
การประเมินความเสี่ยง

กระบวนการ/ ความเสี่ยงที่ ความเสี่ยง ระดับ ความนาจะเปน/ Risk Rating


กิจกรรม เกี่ยวของ ความถี่
• การใช • ความเปนไปไดของ • 3 (ขึ้นกับประเภท • 1 (การใชเพื่อ
เครื่องจักร/ เครื่องมือไฟฟา ทํา • ความเสียงจากไฟ ทํ า งานที ไ
่ ม ใช ง าน
• High (3)
ไหม้, การบาดเจ็บ ของสารเคมีที่
เครื่องมือ ที่มี ใหเกิดความรอน และการสัมผัสสาร จัดเก็บที่ติดไฟได) ประจํา)
ไฟฟา ภายใน
สถานที่เก็บ
สารเคมี
การประเมินความเสี่ยง

กระบวนการ/ ความเสี่ยงที่ ความเสี่ยง ระดับ ความนาจะเปน/ Risk Rating


กิจกรรม เกี่ยวของ ความถี่
• การเสื่อมสภาพ • ความเปนไปไดของ • 2 (ขึ้นกับแผนการ • 4 (กรณีไมมี
ของภาชนะบรรจุ ปฏิกิริยา ความ • ความเสียงจากไฟ แผนการตรวจ)
• High (8)
ไหม้, การบาดเจ็บ บํารุงรักษาและ
หรือ การ เปนไปไดของ การ รอบการตรวจ
และ สุขภาพ ปัญหา
ปนเปอนของการ เสื่อมสภาพ ของ ทีจะเกิดกับคนงาน ความปลอดภัย)
จัดเก็บ ผลิตภัณฑ คุณภาพ
และ ของเสียใน
กระบวนการ
(อันตราย)
การประเมินความเสี่ยง

กระบวนการ/ ความเสี่ยงที่ ความเสี่ยง ระดับ ความนาจะเปน/ Risk Rating


กิจกรรม เกี่ยวของ ความถี่
• การไมกําจัดของ • ภาชนะบรรจุ • เกิดการรั่วไหลจากภาชนะ • 2 (ขึ้นกับประเภท • 1 (มีการควบคุม • Low (2)
เสีย/บรรจุภัณฑ เสียหาย บรรจุที่เสียหาย ของสารเคมีใน และตรวจสอบเปน
ที่เสียหาย ภาชนะบรรจุที่ ระยะ)
รั่วไหล)
การประเมินความเสี่ยง

กระบวนการ/ ความเสี่ยงที่ ความเสี่ยง ระดับ ความนาจะเปน/ Risk Rating


กิจกรรม เกี่ยวของ ความถี่
• การจัดเก็บ • สภาพแวดลอม • สารเคมีไมสามารถจัดเก็บ • 3 (ประเมิน • 4 (จัดเก็บภายนอก • Very high
สารเคมีภายนอก สถานที่เก็บไม ภายนอกอาคาร ประเภทสารเคมี อาคารเปนประจํา) (12)
อาคาร เหมาะสมกับ ความปลอดภัย
ประเภทสารเคมี • การขาดแคลนระบบกักเก็บ และอุปกรณระงับ
กรณีเกิดการรั่วไหล เหตุ)
การประเมินความเสี่ยง

กระบวนการ/ ความเสี่ยงที่ ความเสี่ยง ระดับ ความนาจะเปน/ Risk Rating


กิจกรรม เกี่ยวของ ความถี่
• การใช ้ • สภาพแวดลอมของ • การใชยานพาหนะ/วิธีการ • 3 • 4 • Very high
ยานพาหนะ พื้นที่ทํางานไม เคลื่อนยาย ที่ไมปลอดภัย ทํา (12)
ในการ เหมาะสม ใหเกิดการหกรั่วไหล
เคลือนย ้าย
สารเคมีที
ภายใน
สถานที
จัดเก็บ
การประเมินความเสี่ยง – ระยะดําเนินการ

กระบวนการ/ ความเสี่ยงที่ ความเสี่ยง ระดับ ความนาจะเปน/ Risk Rating


กิจกรรม เกี่ยวของ ความถี่
• การควบคุม • สภาพแวดลอมใน • ความเสียหายของเครื่องจักร • 3 • 4 • 12
เครื่องจักรในการ พื้นที่ทํางานไม หรือความเสียหายตอภาชนะ
เคลื่อนยาย เหมาะสม บรรจุที่เคลื่อนยาย
สารเคมีใน • การใชเครื่องจักรผิด
สถานที่จัดเก็บ ประเภท
สรุปการประเมินความเสี่ยงสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย
• สถานที่เก็บรักษา
• โครงสรางออกแบบรองรับไดตามสมบัติของสารเคมี
• ขีดจํากัดของพื้นที่จัดเก็บ
• ระบบระบายอากาศ
• ระบบรางระบายและระบบกักเก็บสารเคมี
• ระบบปองกันและระงับอัคคีภยั
• ขีดจํากัดของปริมาณน้ําดับเพลิง
• ขีดจํากัดของอุปกรณดับเพลิง
• ขีดจํากัดของอุปกรณฉกุ เฉิน
• แผนฉุกเฉินกรณีสถานการณเกินขีดจํากัด

• ระบบแจงเหตุและสัญญาณเตือนภัย
• ขีดจํากัดของการแจงเหตุ
• ขีดจํากัดของเครื่องตรวจวัด
• ขีดจํากัดของเครื่องตรวจจับ
• ขีดจํากัดของระบบพลังงาน
• การบริหารจัดการ
• เอกสารความปลอดภัย (SDS)
• ขั้นตอนการทํางานในสถานที่จัดเก็บสารเคมี
• ขอปฏิบัตกิ รณีฉุกเฉิน
• การปฐมพยาบาล
• อุปกรณความปลอดภัย
• ประสิทธิภาพของอุปกรณปองกันอันตราย
• ความพรอมของอุปกรณความปลอดภัย
• คูมือการใชงานอุปกรณ

• อุปกรณชวยเหลือ
• ประสิทธิภาพของอุปกรณชว ยเหลือ
• ความพรอมของอุปกรณชวยเหลือ
• แผนการซอมบํารุงรักษาอุปกรณ
พิจารณาความเสี่ยงและการประเมินระบบความปลอดภัย

• พิจารณาความเสี่ยงอันตราย • การประเมินระบบความปลอดภัย
• Hazard Analysis • Employee Safety
• W/H Operating Procedures • Safety Equipment
Preventive Management
• Mechanical Integrity Measures Review • Fire Fighting System
• Management of Change • Emergency Planning &
Response

Emergency
RISK LIMIT Plan
ขั้นตอนการดําเนินการใชโปรแกรมประเมินผล
และแสดงหลักเกณฑการเก็บรักษาวัตถุอันตราย/สารเคมี

กรมโรงงานอุตสาหกรรม
ดําเนินการโดย บริษัท ลอยด เคมิคอลส (ไทยแลนด) จํากัด
10 สิงหาคม 2565
ขั้นตอนการดําเนินการใชโปรแกรมประเมินผลและแสดงหลักเกณฑการเก็บรักษาวัตถุอันตราย/สารเคมี

1.สมัครเขาระบบ 2.ใหขอมูลเกี่ยวกับ 4.ระบบอัคคีภัยที่ใช


1. สมัครเขาระบบ 2. ใหขอมูลเกี่ยวกับ 4. ขอมูลระบบ 5.ประเมิ
5. นสรุการเก็ บสาร
ปรายงาน
ใส User Name / สารเคมีและวัตถุ 3.สถานที
3. ขอ่เมูก็ลบสถานที
รักษา ่ รวมกัน
ใส User Name / ขอมูลวัตถุอันตราย/ ปองกันอัคคีภยั สถานที่เก็บรักษา
Password อันตราย เก็บรักษา
Password สารเคมี

-
กําลังดําเนินการ
1.สมัครเขาระบบ ใส User Name / Password
ขั้นตอนการดําเนินการใชโปรแกรมประเมินผลและแสดงหลักเกณฑการเก็บรักษาวัตถุอันตราย/สารเคมี

1.สมัครเขาระบบ 2.ใหขอมูลเกี่ยวกับ 4.ระบบอัคคีภัยที่ใช


1. สมัครเขาระบบ 2. ใหขอมูลเกี่ยวกับ 4. ขอมูลระบบ 5.ประเมิ
5. นสรุการเก็ บสาร
ปรายงาน
ใส User Name / สารเคมีและวัตถุ 3.สถานที
3. ขอ่เมูก็ลบสถานที
รักษา ่ รวมกัน
ใส User Name / ขอมูลวัตถุอันตราย/ ปองกันอัคคีภยั สถานที่เก็บรักษา
Password อันตราย เก็บรักษา
Password สารเคมี

√ -
ดําเนินการเรียบรอยแลว กําลังดําเนินการ
2. ใหขอมูลเกี่ยวกับขอมูลวัตถุอันตราย/ สารเคมี

เมื่อเขาสูระบบเรียบรอยแลว เขาสูหนาเมนูขอมูลวัตถุอันตราย/ สารเคมี (หมายเลข 1) กดปุมไอคอนสีเขียว (+เพิ่มรายการขอมูลวัตถุอันตราย/ สารเคมี)


(หมายเลข 2) เพื่อทําการกรอกขอมูล

1 ขอมูลวัตถุอันตราย/ สารเคมี ขอมูลสถานที่เก็บรักษา ขอมูลระบบปองกันอัคคีภัย สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

รายการขอมูลวัตถุอันตราย/ สารเคมี
ข ้อมูลวัตถุอน
ั ตราย/สารเคมี 2 + เพิ่มรายการขอมูลวัตถุอนั ตราย/ สารเคมี
ทําการกรอกขอมูลวัตถุอันตราย/ สารเคมี ตามลําดับหมายเลข
ขอมูลวัตถุอันตราย/ สารเคมี ขอมูลสถานที่เก็บรักษา ขอมูลระบบปองกันอัคคีภัย สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

รายการขอมูลวัตถุอันตราย/ สารเคมี

1 1. ชื่อทางการคา สามารถหาไดจาก หัวขอที่ 1 ขอมูลเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย


(Identification of the Hazardous Substance) ในเอกสารคูมือความปลอดภัย

2 + กดเพื่อเพิ่มรายการ

2. H-CODE และ Category สามารถหาไดจาก หัวขอที่ 2 การบงชี้ความเปน


อันตราย (Hazards Identification) ในเอกสารคูมือความปลอดภัย กรณี
3 มี H-CODE มากกวา 1 รายการ กดปุม เพิ่ม เพื่อเพิ่มรายการได

3. UN No และ Class สามารถหาไดจาก หัวขอที่ 14 ขอมูลเกี่ยวกับการขนสง


(Transport Information) ในเอกสารคูมือความปลอดภัย
ทําการกรอกขอมูลวัตถุอันตราย/ สารเคมี ตามลําดับหมายเลข เมื่อกรอกขอมูลเรียบรอยแลวกดปุม ประมวลผล

4. CAS No. ชื่อวัตถุอันตรายและสัดสวนรอยละ สามารถหาไดจากหัวขอที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย (Identification of the Hazardous Substance)


ในเอกสารคูมือความปลอดภัย กรณีท่มี ี CAS No. ชื่อวัตถุอันตราย มากกวา 1 รายการกดปุม เพิ่ม เพื่อเพิ่มรายการได
4 + กดเพื่อเพิ่มรายการ

โปรดแนบเอกสารขอมูลความปลอดภัย (SDS) ขนาดไฟลหามเกิน 2MB

5. สถานะ การติดไฟ จุดวาบไฟ (Flash point) จุดเดือด (boiling point) คาความเปนกรดดาง pH สามารถหาไดจาก
หัวขอที่ 9 คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี (Physical and Chemical Properties) ในเอกสารคูมือความปลอดภัย
*** ชนิดบรรจุภัณฑ และปริมาณการเก็บรักษาในบรรจุภัณฑ ผูประกอบการตองดําเนินการกรอกขอมูลเอง***
การแนบเอกสารขอมูลความปลอดภัย (safety data sheet) ทําการกดปุมเลือกไฟลเอกสารขอมูลความปลอดภัย (safety data sheet) ที่ตรงกับขอมูลที่
ระบุ แลวกดอัปโหลด

+ กดเพื่อเพิ่มรายการ

6. กดปุมยืนยัน เพื่อประมวลผล
การตรวจสอบ

6
โปรดแนบเอกสารขอมูลความปลอดภัย (SDS) ขนาดไฟลหามเกิน 2MB
กดปุม ประมวลผล กดยืนยันอีกครั้ง
ระบบประมวลผลประเภทการเก็บรักษา
เมื่อประมวลผลประเภทการเก็บรักษาเรียบรอย จะปรากฏหนาสรุปสามารถ ลบ เพิ่ม หรือแกไขขอมูลได
และมีชองคนหาขอมูล กรณี ที่ผูประกอบการตองการคนหาขอมูลวัตถุอันตราย/ สารเคมี ที่ไดทําการประมวลประเภทการเก็บรักษาเรียบรอยแลว
ขั้นตอนการดําเนินการใชโปรแกรมประเมินผลและแสดงหลักเกณฑการเก็บรักษาวัตถุอันตราย/สารเคมี

1.สมัครเขาระบบ 2.ใหขอมูลเกี่ยวกับ 4.ระบบอัคคีภัยที่ใช


1. สมัครเขาระบบ 2. ใหขอมูลเกี่ยวกับ 4. ขอมูลระบบ 5.ประเมิ
5. นสรุการเก็ บสาร
ปรายงาน
ใส User Name / สารเคมีและวัตถุ 3.สถานที
3. ขอ่เมูก็ลบสถานที
รักษา ่ รวมกัน
ใส User Name / ขอมูลวัตถุอันตราย/ ปองกันอัคคีภยั สถานที่เก็บรักษา
Password อันตราย เก็บรักษา
Password สารเคมี

√ √ -
ดําเนินการเรียบรอยแลว ดําเนินการเรียบรอยแลว กําลังดําเนินการ
3. สถานที่เก็บรักษา

เลือกเมนูขอมูลสถานที่เก็บรักษา (หมายเลข 1) กดปุมไอคอนสีเขียว (+เพิ่มรายการขอมูลสถานที่เก็บรักษา) (หมายเลข 2) เพื่อทําการกรอกขอมูล

1
ขอมูลวัตถุอันตราย/ สารเคมี ขอมูลสถานที่เก็บรักษา ขอมูลระบบปองกันอัคคีภัย สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

รายการขอมูลสถานที่เก็บรักษา
2 + เพิ่มรายการขอมูลสถานที่เก็บรักษา
เพิ่มขอมูลสถานที่เก็บรักและเลือกสถานที่เก็บรักษา ภายในอาคาร ภายนอกอาคาร ประเภทอื่นๆ
ขอมูลวัตถุอนั ตราย/ สารเคมี ขอมูลสถานที่เก็บรักษา ขอมูลระบบปองกันอัคคีภัย สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

รายการขอมูลสถานที่เก็บรักษา

1 1.ระบุชื่อสถานที่เก็บรักษา

2 2.เลือกสถานที่เก็บรักษา
เพิ่มขอมูลสถานที่เก็บรักษา กรณีที่ผูใชงาน เลือกรูปแบบการเกบรักษาภายในอาคาร ใหผูใชเลือกประเภทเก็บรักษาตอไป คลังสินคา (warehouse)
หองเก็บ (Storage room) ตูคอนเทนเนอร (Safety Container) ตูนิรภัย (Safety cabinet)

ขอมูลวัตถุอนั ตราย/ สารเคมี ขอมูลสถานที่เก็บรักษา ขอมูลระบบปองกันอัคคีภัย สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

รายการขอมูลสถานที่เก็บรักษา

1 1.ระบุชื่อสถานที่เก็บรักษา

2 2.เลือกสถานที่เก็บรักษา

3 3.เลือกประเภทสถานที่เก็บรักษา
เพิ่มขอมูลสถานที่เก็บรักษา กรณี เลือกภายนอกอาคาร เลือกประเภทเก็บรักษา พื้นที่กลางแจง (Outdoor area) ตูคอนเทนเนอร (Safety container)
ตูนิรภัย (Safety cabinet)
ขอมูลวัตถุอนั ตราย/ สารเคมี ขอมูลสถานที่เก็บรักษา ขอมูลระบบปองกันอัคคีภัย สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

รายการขอมูลสถานที่เก็บรักษา

1 1.ระบุชื่อสถานที่เก็บรักษา

2 2.เลือกสถานที่เก็บรักษา

3 3.เลือกประเภทสถานที่เก็บรักษา
เพิ่มขอมูลสถานที่เก็บรักษา กรณี เลือกประเภทอื่นๆ เลือกประเภทเก็บรักษา ถังกักเก็บสารเคมี (Storage tank)

ขอมูลวัตถุอันตราย/ สารเคมี ขอมูลสถานที่เก็บรักษา ขอมูลระบบปองกันอัคคีภัย สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

รายการขอมูลสถานที่เก็บรักษา

1 1.ระบุชื่อสถานที่เก็บรักษา

2 2.เลือกสถานที่เก็บรักษา

3 3.เลือกประเภทสถานที่เก็บรักษา
เพิ่มขอมูลสถานที่เก็บรักษา กรณี เลือกภายในอาคาร เลือกประเภทเก็บรักษา คลังสินคา (warehouse) หองเก็บ (Storage room)
ตูคอนเทนเนอร (Safety Container) ตูนิรภัย (Safety cabinet)
ขอมูลวัตถุอันตราย/ สารเคมี ขอมูลสถานที่เก็บรักษา ขอมูลระบบปองกันอัคคีภัย สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

รายการขอมูลสถานที่เก็บรักษา

1 1.ระบุชื่อสถานที่เก็บรักษา

2 2.เลือกสถานที่เก็บรักษา

3 3.เลือกประเภทสถานที่เก็บรักษา
เพิ่มขอมูลสถานที่เก็บรักษา กรณีมีหอ งควบคุมอุณหภูมิ เลือกมีการควบคุมอุณหภูมิ

รายการขอมูลสถานที่เก็บรักษา

1 1.ระบุชื่อสถานที่เก็บรักษา

2 2.เลือกสถานที่เก็บรักษา

3 3.เลือกประเภทสถานที่เก็บรักษา

4 4.เลือกระบุขอมูลหองควบคุม
อุณหภูมิ
เพิ่มขอมูลสถานที่เก็บรักษา กรณีมีหองควบคุมอุณหภูมิ กรอกรายละเอียดของ อุณหภูมิที่ควบคุม พรอมจุดหลอมเหลวและจุดเยือกแข็งของ
วัตถุอนั ตราย/ สารเคมีที่เก็บ
รายการขอมูลสถานที่เก็บรักษา

1 1. ระบุชื่อสถานที่เก็บรักษา

2 2. เลือกสถานที่เก็บรักษา

3 3. เลือกประเภทสถานที่เก็บ
รักษา
4 4. เลือกระบุขอมูลหองควบคุม
อุณหภูมิ

4.1
4.1 ระบุอุณหภูมิ ณ หองเก็บ
พรอมทั้ง จุดหลอมเหลวและจุด
เยือกแข็งของวัตถุอันตรายและ
สารเคมีที่เก็บ
เพิ่มขอมูลสถานที่เก็บรักษาตามหมายเลข

5 5.ระบุความกวางของสถานที่เก็บรักษา

6 6.ระบุความยาวของสถานที่เก็บรักษา

7 7.ขนาดพื้นที่ ระบบจะคํานวณให

8 8.ระบุขอมูลผนังทนไฟ

9 9.ระบุขอมูลหลังคาทนไฟ

10 10.ขนาดพื้นที่กักเก็บ
11.เลือกวิธีการแลกเปลี่ยนอากาศ
11 - แบบวิธีกล
12.เลือกระบุอุปกรณปองกัน - แบบธรรมชาติ
12 ระเบิด
อุปกรณไฟฟาปองกันระเบิด
กรณี เลือกมีระบบปองกันอัคคีภัย ระบบจะใหกรอกขอมูลเพิ่มเติม ทางผูประกอบการสามารถเลือกกรอกขอมูลตามจริงตามที่สถานประกอบการมีอยู หรือสามารถเลือก
อื่นๆ เพื่อระบุเพิ่มเติมได
เมื่อเลือกระบบปองกันอัคคีภัยเรียบรอยแลว ทําการเลือกรูปแบบระบบดับเพลิง อัตโนมัติ กึ่งอัตโนมัติ ไมอัตโนมัติ แลวกดปุมบันทึก
สถานที่เก็บรักษา กรณี เลือกภายนอกอาคาร ตองระบุ วัตถุอันตราย/ สารเคมีอยูหางจากอาคารอื่นหรือไม
หากวัตถุอันตราย/ สารเคมีอยูหางจากอาคารอื่นตองระบุขอมูล
ระยะหางจากอาคารอื่น (เมตร) ระยะความสูงของกําแพงเหนือสินคา (เมตร) ระยะความกวางของกําแพงเหนือสินคา (เมตร) *
เมื่อกรอกขอมูลเรียบรอยแลว กดปุมบันทึก และยืนยันขอมูล
เมื่อสรางสถานที่เก็บรักษาเรียบรอยแลว จะปรากฏหนาสรุป สามารถลบ เพิ่มหรือแกไขขอมูลได
และมีชองคนหาขอมูล กรณี ที่ผูประกอบการตองการคนหาขอมูลสถานที่เก็บรักษา ที่ไดทําสรางสถานที่เก็บรักษาเรียบรอยแลว
ขั้นตอนการดําเนินการใชโปรแกรมประเมินผลและแสดงหลักเกณฑการเก็บรักษาวัตถุอันตราย

1.สมัครเขาระบบ 2.ใหขอมูลเกี่ยวกับ 4.ระบบอัคคีภัยที่ใช


1. สมัครเขาระบบ 2. ใหขอมูลเกี่ยวกับ 4. ขอมูลระบบ 5.ประเมิ
5. นสรุการเก็ บสาร
ปรายงาน
ใส User Name / สารเคมีและวัตถุ 3.สถานที
3. ขอ่เมูก็ลบสถานที
รักษา ่ รวมกัน
ใส User Name / ขอมูลวัตถุอันตราย/ ปองกันอัคคีภยั สถานที่เก็บรักษา
Password อันตราย เก็บรักษา
Password สารเคมี

√ √ √ -
ดําเนินการเรียบรอยแลว ดําเนินการเรียบรอยแลว ดําเนินการเรียบรอยแลว กําลังดําเนินการ
4.ขอมูลระบบปองกันอัคคีภยั
เลือกเมนูขอมูลระบบปองกันอัคคีภัย (หมายเลข 1) เมื่อกรอกรายละเอียดเรียบรอย กดปุมไอคอนสีเขียว (หมายเลข 2) เพื่อทําการบันทึกขอมูล

ขอมูลวัตถุอันตราย/ สารเคมี 1
ขอมูลสถานที่เก็บรักษา ขอมูลระบบปองกันอัคคีภัย สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

รายการขอมูลระบบปองกันอัคคีภยั รวมกัน

2
4.ระบบอัคคีภยั ที่ใชรวมกัน
เลือกเมนูขอมูลระบบปองกันอัคคีภัย (หมายเลข 1) เมื่อกรอกรายละเอียดเรียบรอย กดปุมไอคอนสีเขียว (หมายเลข 2) เพื่อทําการบันทึกขอมูล

ขอมูลวัตถุอันตราย/ สารเคมี ขอมูลสถานที่เก็บรักษา ขอมูลระบบปองกันอัคคีภัย สรุปรายงานสถานที่เก็บ


รักษา

รายการขอมูลระบบปองกันอัคคีภยั รวมกัน
ขั้นตอนการดําเนินการใชโปรแกรมประเมินผลและแสดงหลักเกณฑการเก็บรักษาวัตถุอันตราย/สารเคมี

1.สมัครเขาระบบ 2.ใหขอมูลเกี่ยวกับ 4.ระบบอัคคีภัยที่ใช


1. สมัครเขาระบบ 2. ใหขอมูลเกี่ยวกับ 4. ขอมูลระบบ 5.ประเมิ
5. นสรุการเก็ บสาร
ปรายงาน
ใส User Name / สารเคมีและวัตถุ 3.สถานที
3. ขอ่เมูก็ลบสถานที
รักษา ่ รวมกัน
ใส User Name / ขอมูลวัตถุอันตราย/ ปองกันอัคคีภยั สถานที่เก็บรักษา
Password อันตราย เก็บรักษา
Password สารเคมี

√ √ √ √ -
ดําเนินการเรียบรอยแลว ดําเนินการเรียบรอยแลว ดําเนินการเรียบรอยแลว ดําเนินการเรียบรอยแลว กําลังดําเนินการ
5. สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา
เลือกเมนู สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา (หมายเลข 1) ที่เมนู สถานที่เก็บรักษา (หมายเลข 2) จะปรากฏสถานที่เก็บรักษาที่กรอกไวขางตน
จากนั้นทําการเลือกสถานที่เก็บรักษา
ขอมูลวัตถุอนั ตราย/ สารเคมี ขอมูลสถานที่เก็บรักษา ขอมูลระบบปองกันอัคคีภัย สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา 1
สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

สรุปสถานที่เก็บรักษาของทาน ทํารายการประเมินตนเอง ขอแนะนําการเก็บ/ สถานที่เก็บของทาน

ยังไมมีขอมูลการเก็บรักษาวัตถุอันตราย มีวัตถุอันตรายบางชนิดไมสามารถเก็บรักษาได มีเงื่อนไขพิเศษที่ตอ งดําเนินการ สามารถเก็บรักษาได

2
เมื่อเลือกสถานที่เก็บรักษาเรียบรอยแลว ทําการเลือกประเภทการเก็บรักษาวัตถุอันตราย/ สารเคมี มาใสในสถานที่เก็บรักษา
สามารถเพิ่มหรือลบ ประเภทการเก็บรักษาวัตถุอันตราย/ สารเคมี ได
เมื่อเลือกประเภทวัตถุอนั ตราย/ สารเคมี ใสในสถานที่เก็บรักษาเรียบรอยแลว ระบบจะทําการประเมิน และแสดงผลการเก็บรักษา
กรณี แสดงสีเขียว หมายความวา ประเภทวัตถุอันตราย/สารเคมี สามารถเก็บรักษาดวยกันได โดยไมมีเงื่อนไข

ขอมูลวัตถุอนั ตราย/ สารเคมี ขอมูลสถานที่เก็บรักษา ขอมูลระบบปองกันอัคคีภัย สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

สรุปสถานที่เก็บรักษาของทาน ทํารายการประเมินตนเอง ขอแนะนําการเก็บ/ สถานที่เก็บของทาน

ยังไมมีขอมูลการเก็บรักษาวัตถุอันตราย มีวัตถุอันตรายบางชนิดไมสามารถเก็บรักษาได มีเงื่อนไขพิเศษที่ตองดําเนินการ สามารถเก็บรักษาได


กรณีทําการเลือกประเภทการเก็บรักษาวัตถุอันตราย/ สารเคมี มาใสในสถานที่เก็บรักษา
แลวปรากฏ แถบสีเหลือง หมายความวา ประเภทวัตถุอันตราย/ สารเคมี สามารถเก็บรักษาดวยกันได โดยมีเงื่อนไข
หากกดที่เครื่องหมาย (หมายเลข 1) ของสถานที่เก็บรักษา จะปรากฏขอความเงื่อนไขของการเก็บรักษาวัตถุอันตราย/ สารเคมี

ขอมูลวัตถุอนั ตราย/ สารเคมี ขอมูลสถานที่เก็บรักษา ขอมูลระบบปองกันอัคคีภัย สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

สรุปสถานที่เก็บรักษาของทาน ทํารายการประเมินตนเอง ขอแนะนําการเก็บ/ สถานที่เก็บของทาน

ยังไมมีขอมูลการเก็บรักษาวัตถุอันตราย มีวัตถุอันตรายบางชนิดไมสามารถเก็บรักษาได มีเงื่อนไขพิเศษที่ตองดําเนินการ สามารถเก็บรักษาได

1
ขอความเงื่อนไขของการเก็บรักษาวัตถุอันตราย/ สารเคมี

(ต้องตรวจสอบข้อกําหนด
สําหร ับการ
กรณีทําการเลือกประเภทการเก็บรักษาวัตถุอันตราย/ สารเคมี มาใสในสถานที่เก็บรักษา
แลวปรากฏ แถบสีแดง หมายความวา ประเภทวัตถุอันตราย/ สารเคมี ไมสามารถเก็บรักษาดวยกันได
กรณีทําการเลือกประเภทการเก็บรักษาวัตถุอันตราย/ สารเคมี มาใสในสถานที่เก็บรักษา
แลวปรากฏ แถบสีแดง หมายความวา ประเภทวัตถุอันตราย/ สารเคมี ไมสามารถเก็บรักษาดวยกันได
หากกดที่เครื่องหมาย (หมายเลข 1) ของสถานที่เก็บรักษา จะปรากฏขอความของการเก็บรักษาวัตถุอันตรายและสารเคมี

ขอมูลวัตถุอนั ตราย/ สารเคมี ขอมูลสถานที่เก็บรักษา ขอมูลระบบปองกันอัคคีภัย สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

สรุปสถานที่เก็บรักษาของทาน ทํารายการประเมินตนเอง ขอแนะนําการเก็บ/ สถานที่เก็บของทาน

ยังไมมีขอมูลการเก็บรักษาวัตถุอันตราย มีวัตถุอันตรายบางชนิดไมสามารถเก็บรักษาได มีเงื่อนไขพิเศษที่ตองดําเนินการ สามารถเก็บรักษาได

1
ขอความของการเก็บรักษาวัตถุอันตราย/สารเคมี

(ต้องตรวจสอบข้อกําหนด
สําหร ับการ
กรณีเลือกวัตถุอันตราย/ สารเคมี ที่ไมสามารเก็บรักษานอกอาคารได ระบบจะทําการแจงเตือน ผูประกอบการตองทําการเลือกสถานที่เก็บรักษาอื่นที่
สอดคลองกับขอกําหนด
เมื่อทําการเลือกประเภทวัตถุอันตราย/ สารเคมี ใสในสถานที่เก็บรักษา ตัวเลขที่แสดงในสถานที่เก็บรักษา (หมายเลข 1) คือจํานวนของประเภท
วัตถุอนั ตราย/ สารเคมีที่อยูในสถานที่เก็บรักษา

ขอมูลวัตถุอนั ตราย/ สารเคมี ขอมูลสถานที่เก็บรักษา ขอมูลระบบปองกันอัคคีภัย สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

สรุปสถานที่เก็บรักษาของทาน ทํารายการประเมินตนเอง ขอแนะนําการเก็บ/ สถานที่เก็บของทาน

ยังไมมีขอมูลการเก็บรักษาวัตถุอันตราย มีวัตถุอันตรายบางชนิดไมสามารถเก็บรักษาได มีเงื่อนไขพิเศษที่ตองดําเนินการ สามารถเก็บรักษาได

1
เมื่อเลือกประเภทวัตถุอันตราย/ สารเคมี ใสในสถานที่เก็บรักษาเรียบรอยแลว กดปุมถัดไป (หมายเลข1) ระบบจะนําไปสูหนา ประเมินสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย/
สารเคมี เพื่อใหผูใชงานทํา Check list ตอไป

ขอมูลวัตถุอนั ตราย/ สารเคมี ขอมูลสถานที่เก็บรักษา ขอมูลระบบปองกันอัคคีภัย สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

สรุปสถานที่เก็บรักษาของทาน ทํารายการประเมินตนเอง ขอแนะนําการเก็บ/ สถานที่เก็บของทาน

ยังไมมีขอมูลการเก็บรักษาวัตถุอันตราย มีวัตถุอันตรายบางชนิดไมสามารถเก็บรักษาได มีเงื่อนไขพิเศษที่ตองดําเนินการ สามารถเก็บรักษาได

1
หนา Check list ทํารายการประเมินตนเอง
โดยสถานที่เก็บรักษาที่จะทําการประเมิน ระบบจะทําการดึงสถานที่เก็บรักษาที่มีการใสขอมูลวัตถุอันตราย/ สารเคมีไวขึ้นมาแสดงเทานั้น

ตองทํารายการประเมินตนเองใหครบทุกหัวขอ ระบบถึงจะประมวลผลและใหขอแนะนําได
หนา Check list ทํารายการประเมินตนเอง
เมื่อผูประกอบการทํา Check list เรียบรอยแลว
เครื่องหมาย หมายถึง ทําการประเมินครบหมดทุกขอแลว จากนั้นกดปุมถัดไป (หมายเลข1)

ขอมูลวัตถุอนั ตราย/ สารเคมี ขอมูลสถานที่เก็บรักษา ขอมูลระบบปองกันอัคคีภยั สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

สรุปสถานที่เก็บรักษาของทาน ทํารายการประเมินตนเอง ขอแนะนําการเก็บ/ สถานที่เก็บของทาน

1
หนาสรุปผลการประเมิน ระบบจะแสดงขอมูลทั้งหมดที่ผูประกอบการไดทําการประเมิน

ขอมูลวัตถุอันตราย/ สารเคมี ขอมูลสถานที่เก็บรักษา ขอมูลระบบปองกันอัคคีภัย สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

สรุปปสถานที
สรุ สถานที่เ่เก็ก็บบรัรักกษาของท
ษาของทาานน ทํทําารายการประเมิ
รายการประเมินนตนเอง
ตนเอง ขอแนะนําการเก็บ/ สถานที่เก็บของทาน

สรุปขอมูลสถานที่เก็บรักษาของทาน

รายการสรุปผลการประเมินและขอแนะนํา/ แกไข
ในสวนของรายละเอียดวัตถุอันตราย/ สารเคมีในสถานที่เก็บรักษา สามารถกดที่เครื่องหมาย (หมายเลข 1) ของสถานที่เก็บรักษา จะปรากฏ
ขอกําหนดและเงื่อนไขของการเก็บรักษาวัตถุอันตราย/ สารเคมี
ขอมูลวัตถุอันตราย/ สารเคมี ขอมูลสถานที่เก็บรักษา ขอมูลระบบปองกันอัคคีภัย สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

สรุปรายงานสถานที่เก็บรักษา

สรุปสถานที่เก็บรักษาของทาน ทํารายการประเมินตนเอง ขอแนะนําการเก็บ/ สถานที่เก็บของทาน


สรุปขอมูลสถานที่เก็บรักษาของทาน

รายการสรุปผลการประเมินและขอแนะนํา/ แกไข
ในสวนของรายละเอียดวัตถุอันตราย/ สารเคมีในสถานที่เก็บรักษา สามารถกดที่เครื่องหมาย (หมายเลข 1) ของสถานที่เก็บรักษา จะปรากฏ
ขอกําหนดของการเก็บรักษาวัตถุอันตราย/ สารเคมี

(ต้องตรวจสอบข้อกําหนด
สําหร ับการ
ในสวนของรายละเอียดผลการประเมินสถานที่เก็บรักษา
กรณีที่ สถานที่เก็บรักษา เปนไปตามขอกําหนด จะแสดงผลการประเมิน สีเขียว และแสดงเครื่องหมาย
กรณี สถานที่เก็บรักษา ไมเปนไปตามขอกําหนด จะแสดงผลการประเมิน สีแดง และแสดงเครื่องหมาย หากกดปุมเครื่องหมายตกใจระบบจะแสดง
สิ่งที่ผูประกอบการตองปรับปรุง

รายการสรุปผลการประเมินและขอแนะนํา/ แกไข
แสดงรายละเอียดขอกําหนดที่ไมสอดคลอง
รายละเอียดผลการประเมินสถานที่เก็บรักษา
กรณีที่ สถานที่เก็บรักษา เปนไปตามขอกําหนด จะแสดงผลการประเมิน สีเขียว ระบบใหแนบเอกสารประเมินความเสี่ยง และ มาตรการความปลอดภัย
เพิ่มเติม โดยกดที่ปุม หมายเลข 1 (แนบเอกสารประเมินความเสี่ยง) และหมายเลข 2 (มาตรการความปลอดภัย)

1 2
รายละเอียดผลการประเมินสถานที่เก็บรักษา
กรณีที่ สถานที่เก็บรักษา ไมเปนไปตามขอกําหนด จะแสดงผลการประเมิน สีแดง ระบบใหแนบเอกสารประเมินความเสี่ยง และ มาตรการความปลอดภัย
เพิ่มเติม โดยกดที่ปุม หมายเลข 1 (แนบเอกสารประเมินความเสี่ยง) หมายเลข 2 (มาตรการความปลอดภัย) และหมายเลข 3 (แผนปรับปรุง)

รายการสรุปผลการประเมินและขอแนะนํา/ แกไข

1 2 3
ระบบจะใหแนบไฟลเอกสารในสวนของ การประเมินความเสี่ยง ประเมินความปลอดภัย แผนปรับปรุง
หากทําการ แนบไฟลเรียบรอยแลวกดปุมบันทึก และกดยืนยัน

รายการสรุปผลการประเมินและขอแนะนํา/ แกไข
ขั้นตอนการดําเนินการใชโปรแกรมประเมินผลและแสดงหลักเกณฑการเก็บรักษาวัตถุอันตราย/สารเคมี

1.สมัครเขาระบบ 2.ใหขอมูลเกี่ยวกับ 4.ระบบอัคคีภัยที่ใช


1. สมัครเขาระบบ 2. ใหขอมูลเกี่ยวกับ 4. ขอมูลระบบ 5.ประเมิ
5. นสรุการเก็ บสาร
ปรายงาน
ใส User Name / สารเคมีและวัตถุ 3.สถานที
3. ขอ่เมูก็ลบสถานที
รักษา ่ รวมกัน
ใส User Name / ขอมูลวัตถุอันตราย/ ปองกันอัคคีภยั สถานที่เก็บรักษา
Password อันตราย เก็บรักษา
Password สารเคม

√ √ √ √ √
ดําเนินการเรียบรอยแลว ดําเนินการเรียบรอยแลว ดําเนินการเรียบรอยแลว ดําเนินการเรียบรอยแลว ดําเนินการเรียบรอยแลว

You might also like