You are on page 1of 7

1

กามนิต-วาสิฏฐี
กามนิต-วาสิฏฐี ?
กามนิต-วาสิฏฐี เป็ นนิทานพื้นบ้านและเป็ นนวนิยายที่มี
เนื้อหาอิงเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาทางลัทธิมหายาน โดยผู้ประพันธ์
คือ คาร์ล แอดอล์ฟ เกลเลอโรป นักประพันธ์ชาวเดนมาร์ก และได้
ถูกแปลโดย เสฐียรโกเศศ–นาคะประทีป ในปี พ.ศ. 2473 ดำเนิน
เรื่องโดยอาศัยพุทธประวัติและหลักธรรม ตลอดจนเรื่องราวในพระ
สูตรต่าง ๆ เป็ นโครงเรื่องสอดแทรกด้วยเรื่องในลัทธิศาสนา
พราหมณ์และวรรณคดีอินเดียไว้อย่างลงตัว ถ่ายทอดด้วยภาษาที่
งดงามไพเราะ

สำนวน
อย่างที่กล่าวไปข้างต้น กามนิต-วาสิฏฐี เป็ นนวนิยายที่แปลมา
จากนวนิยายต่างชาติ นำมาแปลเป็ นไทยโดย เสฐียรโกเศศ–นาคะ
ประทีป ดังนัน
้ แล้ว สำนวนของนวนิยายเรื่องนี ้ มีการเปลี่ยนแปลง
ไปอย่างแน่นอน เพราะการแปลนวนิยายต่างชาติมานัน
้ เราจะต้อง
แปลโดยอ้างอิงจากสภาพแวดล้อมและสิ่งรอบตัวเราเป็ นหลัก จึงจะ
ทำให้เกิดภาพแลยเกิดอารมณ์ตามในขณะที่เราอ่าน และทัง้ นี ้ กาม
นิต-วาสิฏฐียังถูกสร้างและเขียนใหม่เป็ นแบบการ์ตูน เพื่อให้เด็กมี
ความสนใจและอยากที่จะหยิบอ่านมากกว่าฉบับที่เป็ นนวนิยาย
2

เพราะมีภาพการ์ตูนที่สวยงามและน่าอ่านซึ่งต่างจากฉบับนวนิยายที่
มีแค่ตัวหนังสือ
ดังนัน
้ แล้ว สำนวนของ กามนิต-วาสิฏฐี จึงมีทงั ้ สำนวนที่เป็ น
ของต่างชาติ สำนวนภาษาไทยที่เป็ นที่นิยมในปั จจุบัน และสำนวนที่
เป็ นฉบับการ์ตูน ซึง่ ทัง้ 3 สำนวนนีค
้ ือสำนวนที่เราพบเห็นและ
สามารถหาอ่านได้ทั่วไป ทัง้ นี ้ ในบางพื้นที่อาจจะมีการเล่าเรื่องกาม
นิต-วาสิฏฐีในอีกสำนวนหนึ่งก็มีความเป็ นไปได้ เพียงแต่เราไม่
สามารถหาอ่านได้นั่นเอง

อนุภาคของ กามนิต-วาสิฏฐี
กามนิต-วาสิฏฐี เป็ นนิทานพื้นบ้านที่มีความยาวมากในระดับ
ที่เป็ นนวนิยาย แน่นอนว่าอนุภาคของนิทานเรื่องนีย
้ อมมีมากเช่น
เดียวกัน โดยอนุภาคหลัก ๆ ของเรื่องกามนิต จะแบ่งออกเป็ น 2
อนุภาคใหญ่ๆ คือ เรื่องราวบนโลกมนุษย์ และเรื่องราวบนสวรรค์
ซึ่งทัง้ 2 อนุภาคหลักนีส
้ ามารถแยกออกมาได้ ดังนี ้

1.เรื่องราวบนโลกมนุษย์
1.1 พระพุทธเจ้าเข้าไปอาศัยในบ้านช่างหม้อ หลังเดียวกับ
กามนิต
1.2 กามนิตพบกับวาสิฏฐีที่งานมหรสพ
3

1.3 กามนิตและวาสิฏฐีเจอกันที่บริเวณสวนอโศก และ


สารภาพรักกัน
1.4 กามนิตถูกองคุลีมาลปล้น
1.5 กามนิตถูกศาตาเคียรทำร้าย
1.6 วาสิฏฐีแต่งงานกับสาตาเคียร
1.7 กามนิตแต่งงานกับภรรยาสองคนและมีลูก
1.8 กามนิตออกบวช
1.9 กามนิตจะไปเข้าเฝ้ าพระพุทธเจ้า แต่ถูกวัวบ้าชนจนสิน
้ ใจ
2.เรื่องราวบนสวรรค์
2.1 กามนิตและวาสิฏฐีได้ไปเกิดบนสวรรค์ชน
ั ้ สุขาวดี
2.2 กามนิตได้พาวาสิฏฐีไปสูดดมกลิ่นของต้นปาริชาต เพื่อ
ระลึกถึงอดีต
2.3 กามนิตได้เล่าให้กามนิตฟั งหลังจากที่ทงั ้ คู่ได้แยกกันไปใน
ครัง้ นัน

2.4 วาสิฏฐีจะร่วมมือกับองคุลีมาลเพื่อฆ่าสาตาเคียร แต่องคุลี
มาลเปลี่ยนใจและเตรียมจะบวช
2.5 วาสิฏฐีได้เข้าพบพระพุทธเจ้าและออกบวชเป็ นพระ
ภิกษุณีเช่นกัน
2.6 วาสิฏฐีตายพร้อมกับพระพุทธเจ้าเพราะต้องเดินทางไป
พร้อมพระพุทธเจ้าทุกที่ที่ท่านไป
4

2.7 กามนิตและวาสิฏฐีได้พบความจริงว่าแม้บนสวรรค์ก็ไม่
จีรัง
2.8 กามนิตและวาสิฏฐีได้เกิดเป็ นดาวแฝดบนพรหมโลก
2.9 วาสิฏฐีได้มองเห็นว่าแม้บนชัน
้ พรหมโลกก็ไม่จีรัง จึง
บำเพ็ญเพียร จนพบทางนิพพาน
2.10 กามนิตเมื่อเห็นวาสิฏฐีนิพพานแล้วนัน
้ ก็ได้มาเพ่งจิต
และบำเพ็ญเพียร และในที่สุด กามนิตก็พบทางนิพพานในที่สุด

กฎเกี่ยวกับนิทานพื้นบ้าน
กฎของนิทานพื้นบ้าน ของ เอกเซล โอลริค นัน
้ เป็ นเหมือน
แนวทางการแต่งนิทานและแบบแผนของนิทานพื้นบ้านที่เป็ นมา
ตามกฎนีจ
้ ริง ซึ่งจากกฎทัง้ 12 ข้อ จะเห็นได้ว่า ทุกข้อนัน
้ ล้วนแล้ว
แต่มีส่วนเกี่ยวข้องกับนิทานพื้นบ้านทุกเรื่อง
ทัง้ นี ้ กฎทัง้ 12 ข้อ ของเอกเซล โอลริคนัน
้ สามารถนำมา
วิเคราะห์ในเรื่องของกามนิต -วาสิฏฐี พบว่า ในเรื่องกามนิต-
วาสิฏฐีได้ใช้กฎดังนี ้
กฎข้อที่ 3 กฎแห่งตัวละคร 2 ตัวละคร ต่อ 1 ฉาก
5

สำหรับกฎข้อที่ 3 นีน
้ น
ั ้ จะพบว่าเรื่อง กามนิต เป็ นไปตามที่
กฎได้กล่าวไว้คือ ใน 1 ฉาก จะมีตัวละครที่ปรากฏในฉากเพียง 2
ตัวเท่านัน
้ ซึง่ ในเรื่องกามนิตก็เป็ นไปตามกฎ ซึ่งฉากที่เป็ นไปตามกฎ
ข้อที่ 3 นีม
้ ีหลายฉาก ซึ่งจะยกตัวอย่างดังนี ้ คือฉากที่กามนิตได้พบ
กับวาสิฏฐีที่สวนอโศก และฉากที่กามนิตและวาสิฏฐีไปสูดดมกลิ่น
ดอกไม้ที่ต้นปาริชาต เป็ นต้น

กฎข้อที่ 4 กฎแห่งการแตกต่างแบบตรงกันข้าม
สำหรับกฎข้อที่ 4 นี ้ สิ่งที่เห็นได้ชัดที่สุดของเรื่องนีท
้ ี่มีความ
แตกต่างกันแบบตรงกันข้าม คือ เรื่องของฐานะของกามนิตและวา
สิฏฐี ซึ่งกามนิตนัน
้ เป็ นเพียงพ่อค้าธรรมดาในเมืองอุชเชนี แต่วา
สิฏฐีนน
ั ้ เป็ นถึงลูกเศรษฐีช่างทองของเมืองโกสัมภี

กฎข้อที่ 9 กฎในเรื่องของ ฉากประทับใจ


สำหรับฉากประทับใจในเรื่องกามนิต-วาสิฏฐีนน
ั ้ มีหลายฉาก
มากที่สามารถยกมาเป็ นฉากประทับใจ แต่ฉากที่เลือกมาในครัง้ นีค
้ ือ
ฉากที่กามนิตจะไปเข้าเฝ้ าพระพุทธเจ้าแต่ด้วยความที่ใจจดจ่ออยู่แค่
เพียงว่าจะไปเข้าเฝ้ าให้ทันนัน
้ จึงไม่ทันระวัง ทำให้กามนิตถูกวัวบ้า
ชน จนสิน
้ ใจไปเสียตรงนัน

กฎข้อที่ 10 ความสมเหตุสมผล
6

สำหรับกฎข้อที่ 10 นี ้ เรื่องกามนิต-วาสิฏฐีนน
ั ้ ได้ถูกแปลโดย
คนไทยและแน่นอนการแปลนัน
้ ย่อมจะถูกเสริมไปด้วยความเป็ นอยู่
และค่านิยมลงไปด้วย ซึ่งสิ่งที่ถือว่าสมเหตุสมผลในเรื่อง กามนิต
-วาสิฏฐี คือการเวียนว่ายตายเกิด และเรื่องของไตรลักษณ์ (อนิจจัง
ทุกขัง อนัตตา)

กฎข้อที่ 11 เอกภาพของโครงเรื่อง
เอกภาพของโครงเรื่องของกามนิต-วาสิฏฐี ก็จะเป็ นเรื่องของ
ความรักระหว่างกามนิตและ วาสิฏฐี แม้จะมีเนื้อเรื่องอื่นเข้ามา
เสริมอีกมากมาย แต่สุดท้ายแล้วก็จาวนกลับมาที่เรื่องราวระหว่าง
กามนิตและวาสิฏฐีอยู่ดี

กฎข้อที่ 12 การเพ่งจุดสนใจที่ตัวละครเอกเพียงตัวเดียว
ในส่วนของกฎข้อนีย
้ ิ่งเห็นได้ชัดมากในเรื่องกามนิต-วาสิฏฐี
เพราะเป็ นการดำเนินเรื่องโดยจะโฟกัสเพียงตัวละครเอกเพียงตัว
เดียวโดยใช้ตัวละครเอกในการแสดงและเล่าเรื่องให้เราเข้าใจจาก
การกระทำนั่นเอง ซึ่งในภาคโลกมนุษย์ เนื้อเรื่องจะโฟกัสที่ตัวกาม
นิต และในภาคบนสวรรค์ เนื้อเรื่องจะโฟกัสที่เรื่องราวของวาสิฏฐี
เป็ นหลัก
7

จากการวิเคราะห์ตามสำนวน อนุภาค และกฎ 12 ข้อของเอก


เซล โอลริค จะพบว่ากามนิตนัน
้ แม้เราจะนำมาเล่าเป็ นนิทาน แต่
ความยาวนัน
้ อยู่ในระดับของนวนิยาย แต่กามนิต ก็ยังมีเนื้อหา ที่
แต่งขึน
้ แล้วเป็ นตามกฎแม้จะตรงแค่กฎบางข้อ แต่นั่นก็ถือว่าเป็ น
นิทานที่ถูกแต่งขึน
้ มาอย่างมีกฎเกณฑ์นั่นเอง และในส่วนของ
อนุภาคที่ค่อนข้างมาก เพราะมีเนื้อหาที่ยาว ทัง้ นีห
้ ากใครที่มีโอกาส
ได้อ่านฉบับการ์ตูนแล้ว อยากให้ลองอ่านฉบับที่ถูกแปลโดย เสฐียร
โกเศศ–นาคะประทีป และทุกคนจะได้อารมณ์ไปอีกอารมณ์ เพราะ
ภาษาแปลออกมานัน
้ ไพเราะและสวยงามเป็ นอย่างมาก

ที่มา:
เรื่องย่อกามนิต-วาสิฏฐีภาคบนโลก
https://www.trueplookpanya.com/blog/content/89162
เรื่องย่อกามนิต-วาสิฏฐีภาคบนสวรรค์
http://www.plookfriends.com/blog/content/detail/89409

You might also like