You are on page 1of 8

ว า ร ส า ร ศึ ก ษ า ศ า ส ต ร ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา

มหาวิทยาลัยขอนแกน 213
ปที่ 7 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2556

การพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษตามแนวการสอนภาษาเพ�อการส�อสาร
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โดยใชกิจกรรมคัดสรร
The Development of English Language Skills based on Communicative
Approach for Matayom Suksa II Students Using Selected Activities

อัจฉรา ถาบุตร (Achara Thaboot) *


ถนอมวรรณ ประเสริฐเจริญสุข (Thanomwan Prasertcharoensuk, M.Ed.) **

บทคัดยอ
การวิจยั ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงคเพ�อพัฒนากิจกรรมการเรียนรูว ชิ าภาษาอังกฤษตามแนวการสอนภาษาเพ�อการ
ส�อสารของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนรมเกลา จังหวัดสกลนคร โดยใชกจิ กรรมคัดสรร พัฒนาทักษะทาง
ภาษาอังกฤษของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนรมเกลา จังหวัดสกลนคร โดยนักเรียนมีคะแนนเฉลีย่
รอยละ 70 ขึ้นไป และมีจํานวนนักเรียนที่ผานเกณฑเฉลี่ยไมนอยกวารอยละ 70 ของจํานวนนักเรียนทั้งหมด
กลุมเปาหมายเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2/7 โรงเรียนรมเกลา จังหวัดสกลนคร ที่กําลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2
ปการศึกษา 2553 จํานวน 42 คน เคร�องมือที่ใช ในการวิจัย ประกอบดวย 1) แผนการจัดการเรียนรูจํานวน 9 แผน
2) เคร�องมือสะทอนผลการเรียน ไดแก แบบบันทึกพฤติกรรมการจัดการเรียนรูของครู แบบบันทึกพฤติกรรม
การเรียนรูข องนักเรียน และแบบทดสอบยอยทายวงจร 3) เคร�องมือที่ใช ในการสะทอนผลการจัดกิจกรรมการเรียน
รู ไดแก แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ การวิจัยครั้งนี้ ใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการใน
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรูว ชิ าภาษาอังกฤษและเม�อสิน้ สุดทัง้ 3 วงจร ไดทาํ การทดลองวัดผลสัมฤทธิท์ าง
การเรียนวิชาภาษาอังกฤษแลวนํามาสรุป วิเคราะหผลการวิจัย
1. การพัฒนากิจกรรมการเรียนรูวิชาภาษาอังกฤษตามแนวการสอนภาษาเพ�อการส�อสารของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนรมเกลา จังหวัดสกลนคร โดยใชกิจกรรมคัดสรร มีขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอน ประกอบดวย 1) ขัน้ เสนอเนือ้ หา นักเรียนไดเรียนรูแ ละทําความเขาใจเกีย่ วกับความหมายและวิธกี ารใชภาษาที่
เหมาะสมกับสถานการณตาง ๆ ควบคูไปกับการเรียนรูกฎเกณฑทางภาษา ครูนําเสนอบริบทหรือสถานการณโดยใช
ส�อการเรียนรู ไดแก ส�อที่เปนของจริง รูปภาพ บัตรคําศัพท วิดีทัศน และแผนบันทึกขอมูล 2) ขั้นฝก นักเรียนฝก
การใชภาษาที่ ไดเรียนรู โดยฝกเปนกลุม จากนั้นฝกเปนคู แลวใหนักเรียนทําแบบฝกหัดและใบงานเพ�อเปนการฝก
ทักษะทั้ง 4 ทักษะ คือ การฟง พูด อาน และเขียน 3) ขั้นการใชภาษาเพ�อการส�อสาร นักเรียนไดทดลองใชภาษาใน
สถานการณตาง ๆ ดวยตนเอง จากกลวิธีสอนที่นาํ เขามาใชคือ เกมทางภาษา การแสดงบทบาทสมมุติ และกิจกรรม
การเกิดชองวางระหวางขอมูล

คําสําคัญ: ทักษะทางภาษาอังกฤษ การสอนภาษาเพ�อการส�อสาร กิจกรรมคัดสรร


Keywords: English Skills, Communicative Language Teaching, Selected Activities
* นักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน กลุมวิชาเฉพาะการสอนภาษาอังกฤษ คณะศึกษาศาสตร
มหาวิทยาลัยขอนแกน
** รองศาสตราจารย สาขาวิชาบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
Journal of Education Graduate Studies Research
214 Khon Kaen University
Vol.7, No.2, Apr. - Jun., 2013

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษตามแนวการสอนภาษาเพ�อการส�อสารของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนรมเกลา จังหวัดสกลนครโดยใชกจิ กรรมคัดสรร พบวา นักเรียนมีคะแนนเฉลีย่ ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษสูงกวาเกณฑของโรงเรียนทีก่ าํ หนดไว คือ คิดเปนรอยละ 74.11 และมีจาํ นวนนักเรียน
ที่ผานเกณฑดังกลาวคิดเปนรอยละ 83.34 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่กําหนดรอยละ 70

Abstract
The purpose of this research were 1) to develop learning activities in English for Matayom
Suksa II students using Communicative Approach, and 2) to enable the students to reach higher English
performance. The target group consisted of 42 Matayom Suksa II students in the second semester of
academic year 2000 from Romklao School under the Office of Sakon Nakhon Education Service Area
23. The research tools were classified into 3 types: 1) the experimental which were: 9 lesson plans,
2) the reflecting tools which were a teacher’s note on teaching behavior, a student’s note on learning
behavior, and formative tests 3) a summative evaluation tool which was the English achievement test.
This research model was an action research to develop learning activities in English using the
Communicative Approach. Data collections were analyzed critically at the end of each cycle by the
researcher and research assistant in order to improve learning activities on the next research cycle.
The research findings could be summarized as follow:
1. This research developed learning activities in English by the Communicative Approach with
3 steps: 1) presentation, students learned about word meanings and how to use suitable language in
different context and situations, teacher presented context or situations by authentic materials, pictures,
vocabulary cards, video compact discs, and compact discs, 2) practice, students practiced English language
skills in groups and working in pairs. Then they did activities and worksheets in order to practice
all of 4 skills: listening, speaking, reading, and writing, 3) production, students used English language
insituations from teaching techniques including: language games, role-play and the Information
Gap activities.
2. It was found that students’ achievement was 74.11 percent in average which was higher
than the determined mastery learning criterion at 70 percent and 83.34 percent of the students passed
the criterion which was higher than the expected student criterion of 70 percentage.

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ศึกษา การแสวงหาความรู การประกอบอาชีพ การสราง


หลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ความเขาใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมและวิสัยทัศนของชุมชน
พุทธศักราช 2551 ไดระบุความสําคัญและความจําเปน โลก และตระหนักถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรม
ของภาษาตางประเทศไววา “การเรียนรูภ าษาตางประเทศ และมุมมองของสังคมโลก” และไดกําหนดใหภาษา
มี ค วามสํ า คั ญ และจํ า เป น อย า งยิ่ ง ในชี วิ ต ประจํ า วั น อังกฤษเปนภาษาตางประเทศทีเ่ ปนสาระการเรียนรู
เน�องจากเปนเคร�องมือสําคัญในการติดตอส�อสาร การ พื้นฐานซึ่งกําหนดใหเรียนอยางตอเน�องตลอดหลักสูตร
ว า ร ส า ร ศึ ก ษ า ศ า ส ต ร ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา
มหาวิทยาลัยขอนแกน 215
ปที่ 7 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2556

กระทรวงศึกษาธิการและหนวยงานทางดานการศึกษา แบบยึดตําราเรียนเปนหลักโดยพยายามสอนใหจบตาม
ของประเทศไทยได ใหความสําคัญกับการสอนวิชาภาษา เนื้อหาที่กําหนดไว กิจกรรมการเรียนการสอนที่ครูใชไม
อังกฤษอยางตอเน�อง แตจากการวัดและประเมินผล หลากหลายและไมนาสนใจ อีกทั้งครูมีภาระงานอ�น ๆ
สัมฤทธิ์วิชาภาษาอังกฤษ พบวา นักเรียนมัธยมศึกษา นอกเหนือจากงานสอนมากเกินไป สวนปญหาดานตัว
สวนใหญมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ นักเรียนนัน้ จากการสังเกตและสัมภาษณ พบวา นักเรียน
ไมเปนที่นาพอใจ อีกทั้งการเรียนรูภาษาอังกฤษยัง มีเจตคติที่ ไมดีตอวิชาภาษาอังกฤษ ไมกระตือรือรน
ไมสามารถทีจ่ ะทําใหผเู รียนใชภาษาอังกฤษในการติดตอ เทาที่ควรเม�อเทียบกับวิชาอ�น ๆ ไมกลาแสดงออก ไมมี
ส�อสารได (กรมวิชาการ, 2546) เหตุผลหนึ่งของปญหา ความมั่ น ใจในการพู ด หรื อ อ า นภาษาอั ง กฤษ อี ก ทั้ ง
ดังกลาวคือ ปญหาดานครูผูสอน พบวาพฤติกรรมดาน นักเรียนเรียนรูหลักเกณฑทางภาษามากกวาที่จะไดรับ
การเรียนการสอนของครูยังสอนแบบยึดตนเองเปน การฝกฝนให ใชภาษา
สําคัญ มีการสอนแบบบรรยายเปนหลัก พฤติกรรม จากปญหาดังกลาวที่เกิดขึ้นกับสภาพการจัด
การสอนของครูไมเปนไปตามทีห่ ลักสูตรกําหนด ไมมกี าร กิจกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในโรงเรียน
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาเพ�อการส�อสาร ทําให รมเกลา จังหวัดสกลนคร พบวามีความสอดคลองกับ
นักเรียนไมสนุกกับการเรียน ตลอดจนเนื้อหาที่ครูเลือก สภาพปญหาดานการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพ�อการ
มาสอน อาจจะไมสอดคลองกับความสนใจของ ผูเรียน ส�อสารระดับประเทศที่ตองมีการปรับปรุงและพัฒนา
อีกทั้ง ครูสวนใหญไม ใชภาษาอังกฤษกับนักเรียนใน ใหผูเรียนเกิดคุณภาพตามความคาดหวังได ผูวิจัยจึง
หองเรียน หาแนวทางเพ�อนํามาใช ในการแกปญหาและพัฒนาการ
โรงเรี ย นร ม เกล า จั ง หวั ด สกลนคร เป น จัดกิจกรรมภาษาอังกฤษเพ�อแกปญ  หาและพัฒนาความ
โรงเรียนที่จัดกิจกรรมการเรียนรูภาษาอังกฤษตั้งแตชั้น สามารถในการใช้ ภ าษาอั ง กฤษเพื่ อ การสื่ อ สารของ
มัธยมศึกษาปที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 จากผลการ นักเรียน ดวยการเนนกิจกรรมคัดสรรเพ�อใหนักเรียน
จัดกิจกรรมการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาตาง ไดมีโอกาสฝกทักษะโดยการทํากิจกรรมที่สอดคลองกับ
ประเทศ (วิชาภาษาอังกฤษ) พบวา ผลสัมฤทธิ์ทาง วัย ความสนใจ และความถนัดของผูเรียน รวมทั้งจัด
การเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 สิ่งแวดลอมใหเอื้อตอการเรียนรูและสรางแรงจูงใจให
ปการศึกษา 2552 มีคะแนนเฉลี่ยรอยละ 66.34 (พรสินี นักเรียนตองการเรียนภาษาอังกฤษ ดวยเหตุนี้ผูวิจัย
ศรีคํามุล, 2552) ซึ่งไมผานเกณฑที่โรงเรียนกําหนด คือ ไดศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั เกีย่ วกับการจัดกิจกรรม
รอยละ 70 ซึง่ เม�อศึกษาสาเหตุและวิเคราะหปญ  หาดาน การเรียนรูภ าษาอังกฤษเพ�อการส�อสารทีม่ ปี ระสิทธิภาพ
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูก ลุม สาระภาษาตางประเทศ อันมีหลากหลายวิธี พบวา การสอนภาษาอังกฤษเพ�อการ
ทั้ง 4 สาระ พบวา สาระที่มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ต่ํา คือ ส�อสารเปนวิธีสอนที่ทําใหผูเรียนสามารถนําภาษาไปใช
สาระที่ 1 ภาษาเพ�อการส�อสาร ส�อสารไดจริง ซึ่งแนวทฤษฎีการสอนนี้เปนวิธีการสอน
เม�อพิจารณาถึงสาเหตุของปญหาดังกลาว ที่มุงเนนใหผูเรียนสามารถนําภาษาที่เรียนไปส�อสารได
ผูวิจัยไดวิเคราะหสภาพการณปญหา โดยการสัมภาษณ อยางถูกตองและเหมาะสมตามสถานการณที่เกิดขึ้น
ครูผูสอนวิชาภาษาอังกฤษทั้ง 6 ระดับชั้น จํานวน 6 คน จริง ผูส อนเปดโอกาสใหผเู รียนทํากิจกรรมใหมากทีส่ ดุ
การสังเกตการสอน และการสอบถามนักเรียนระดับชัน้ โดยใชทักษะสัมพันธ กลาวคือ ทักษะการฟง ทักษะ
มัธยมศึกษาปที่ 2 จํานวน 20 คน เกี่ยวกับสภาพการ การพูด ทักษะการอาน และทักษะการเขียน อีกทั้งเนน
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในโรงเรียน ความคลองแคลวในการใชภาษา ขณะเดียวกันก็
พบว า มี ป ญ หาหลั ก 2 ด า นคื อ ด า นตั ว ครู แ ละด า น ไมละเลยเร�องของความถูกตองของภาษา (สุมติ รา
นักเรียน สําหรับปญหาดานตัวครู ไดแก ครูใชวิธีสอน อังวัฒนกุล, 2540) นอกจากนี้ จากงานวิจยั หลายงานวิจยั
Journal of Education Graduate Studies Research
216 Khon Kaen University
Vol.7, No.2, Apr. - Jun., 2013

(สิริกัญญา ขวัญสําราญ, 2540; พลารัก ไชยโย, 2545; อังกฤษที่ผูวิจัยสรางขึ้นครบทุกทักษะทางการส�อสาร 4


จันทิวา ศรีมะโฮงนาม, 2548) พบวา การจัดกิจกรรม ทักษะ ไดแก ทักษะการฟง ทักษะการพูด ทักษะการอาน
การเรียนรูว ชิ าภาษาอังกฤษโดยใชวธิ สี อนตามแนว และทักษะการเขียน โดยนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยรอยละ
การสอนเพื่ อ การสื่ อ สารเป็ น วิ ธี ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ 70 ขึ้นไป และมีจํานวนนักเรียนที่ผานเกณฑเฉลีย่
เน�องจากทําใหนักเรียนมีความสนุกสนาน มีความมั่นใจ ไมนอยกวารอยละ 70 ของจํานวนนักเรียนทั้งหมด
ในตนเองและกลาแสดงออก มีปฏิสมั พันธทดี่ กี บั ครูและ 2. การพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษ หมายถึง
เพ�อนรวมชัน้ เรียน กอใหเกิดทัศนคติทดี่ ตี อ ภาษาอังกฤษ การจัดกิจกรรมการเรียนรูว ชิ าภาษาอังกฤษตามแนวการ
สงผลใหนกั เรียนมีคะแนนเฉลีย่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน สอนภาษาเพ�อการส�อสารโดยใชกิจกรรมคัดสรร โดย
วิชาภาษาอังกฤษที่สูงขึ้น การนํารูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการตามแนวคิดของ
ดังนั้นผูวิจัยจึงสนใจที่จะนํากิจกรรมคัดสรร Kemmis & Mc Taggart เปนรูปแบบในการดําเนินการ
มาใชเปนแนวทางในการพัฒนากิจกรรมการเรียนรูวิชา วิจยั มีกระบวนการทัง้ หมด 3 วงจร และขัน้ ตอนของการ
ภาษาอังกฤษเพ�อการส�อสาร โดยใชขั้นตอนของการ วิจัยเชิงปฏิบัติการ 4 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 ขั้นวางแผน
วิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) มากําหนดเปน ขั้นที่ 2 ขั้นปฏิบัติการ ขั้นที่ 3 ขั้นสังเกตการณ และ
รูปแบบในการดําเนินการวิจยั เพ�อพัฒนาการจัดกิจกรรม ขั้นที่ 4 ขั้นสะทอนผลการปฏิบัติการ
การเรียนรูว ชิ าภาษาอังกฤษเพ�อการส�อสารและปรับปรุง 3. กิจกรรมคัดสรร หมายถึง กิจกรรมการเรียน
แกไขกิจกรรมตาง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในชัน้ เรียนขณะปฏิบตั กิ าร การสอนภาษาอังกฤษเพ�อการส�อสารที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้น
วิจัย อันจะสงผลในการพัฒนาความสามารถดานการ โดยยึดหลักการจัดกิจกรรม 3 กิจกรรม คือ การเกิดชองวาง
ส�อสารภาษาอังกฤษของนักเรียนใหดีขึ้น ไดพัฒนา ระหวางขอมูล เกมทางภาษา และกิจกรรมบทบาทสมมติ
ความรูค วามสามารถไดอยางเต็มศักยภาพ รวมทัง้ สามารถ เพ�อใหนกั เรียนไดฝก ใชภาษาเพ�อการส�อสารในสถานการณ
นําความรูที่ ไดไปใช ใหเกิดประโยชนอยางแทจริงในชีวติ ตาง ๆ โดยฝกใหนักเรียนได ใชทักษะทั้ง 4 ในลักษณะ
ประจําวัน ทักษะสัมพันธ อันไดแก ทักษะการฟง ทักษะการพูด
ทักษะการอาน และทักษะการเขียน
วัตถุประสงคของการวิจัย 4. การสอนภาษาเพ�อการส�อสารโดยใชกจิ กรรม
1. เพ�อพัฒนากิจกรรมการเรียนรูวิชาภาษา คัดสรร หมายถึง การจัดการเรียนการสอนวิชาภาษา
อั ง กฤษตามแนวการสอนภาษาเพื่ อ การสื่ อ สารของ อังกฤษโดยใชกิจกรรมคัดสรร เพ�อใหนักเรียนไดฝกใช
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนรมเกลา จังหวัด ภาษาเพ�อการส�อสารในสถานการณตาง ๆ โดยฝกให
สกลนคร โดยใชกิจกรรมคัดสรร นัก เรี ยนได ใชทั ก ษะทั้ ง 4 ในลักษณะทั กษะสัม พันธ
2. เพ�อพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษตาม อันไดแก ทักษะการฟง ทักษะการพูด ทักษะการอาน
แนวการสอนภาษาเพ�อการส�อสารโดยใชกิจกรรม และทักษะการเขียน โดยมีขั้นตอนการสอน ดังนี้
คัดสรร ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนรมเกลา ขั้นที่ 1 ขั้นนํา เปนการแจงวัตถุประสงค
จังหวัดสกลนคร โดยนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยรอยละ 70 ของบทเรียน ทบทวนความรูเดิม เช�อมโยงสถานการณ
ขึน้ ไป และมีจาํ นวนนักเรียนทีผ่ า นเกณฑเฉลีย่ ไมนอ ยกวา ใหเขากับบทเรียน และสรางแรงจูงใจใหผูเรียนอยากมี
รอยละ 70 ของจํานวนนักเรียนทั้งหมด สวนรวมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู
ขัน้ ที่ 2 ขัน้ สอน ประกอบดวยขัน้ ตอนยอย คือ
นิยามศัพทเฉพาะ 1) ขัน้ เสนอเนือ้ หา เปนการเสนอบริบทหรือสถานการณ
1. ทักษะทางภาษาอังกฤษ หมายถึง คะแนน แกผูเรียนโดยใชส�อที่เปนของจริง ไดแก รูปภาพ ส�อ
ที่ ไดจากการใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ในวิชาภาษา สิ่งพิมพ วิดีทัศน แลวเสนอเนื้อหาทางภาษาโดยให
ว า ร ส า ร ศึ ก ษ า ศ า ส ต ร ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา
มหาวิทยาลัยขอนแกน 217
ปที่ 7 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2556

ผูเรียนฟงหรืออาน จากนั้นกระตุนการเรียนรู โดย วงจร และขัน้ ตอนของการวิจยั เชิงปฏิบตั กิ าร 4 ขัน้ ตอน


ตรวจสอบความเขาใจเร�องทีฟ่ ง หรืออานโดยการใชคาํ ถาม ไดแก ขั้นที่ 1 ขั้นวางแผน (Plan) ขั้นที่ 2 ขั้นปฏิบัติการ
2) ขั้นฝก เปนการฝก แบบควบคุม โดยใหผูเ รี ยนฟ ง (Act) ขั้นที่ 3 ขั้นสังเกตการณ (Observe) และขั้นที่ 4
ตัวอยางภาษาจากแถบบันทึกเสียงหรือครูผูสอน ขั้นสะทอนผลการปฏิบัติการ (Reflect)
จากนั้นใหผูเรียนฝกออกเสียงโดยฝกพรอมกันทั้งชั้น 3. เคร�องมือที่ ใช ในการวิจัย
หรือฝกทีละครึ่งหอง แลวผูสอนสุมเรียกใหผูเรียนฝก 1) เคร�องมือที่ใช ในการทดลองปฏิบตั ิ คือ
เปนรายบุคคล โดยผูสอนตองใหขอมูลปอนกลับแก แผนการจัดการเรียนรูตามแนวการสอนภาษาเพ�อการ
ผูเรียน 3) ขั้นการใชภาษาเพ�อการส�อสาร เปนการเปด ส�อสารโดยใชกิจกรรมคัดสรร ระดับชั้นมัธยมศึกษา
โอกาสให้ผู้เรียนได้ ใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารโดยอิสระ ปที่ 2 จากหนวยการเรียนรู 3 หนวย ซึ่งประกอบไปดวย
โดยใหผูเรียนไดทํากิจกรรมแบบตาง ๆ ประกอบดวย แผนการเรียนรูจํานวน 9 แผน
การแสดงบทบาทสมมุติ เกมทางภาษาและการหา 2) เคร�องมือสะทอนผลการปฏิบตั ิ ไดแก
ขอมูลทีข่ าดหายไป ผูเ รียนมีโอกาสนําความรูท างภาษา แบบบันทึกพฤติกรรมการจัดการเรียนรูของครู แบบ
ที่เคยเรียนมาแลวมาใชประโยชนอยางเต็มที่ในการทํา บั น ทึ ก พฤติ ก รรมการเรี ย นรู ข องนั ก เรี ย น และแบบ
กิจกรรม โดยผูสอนอธิบายวิธีการทํากิจกรรม จัดกลุม ทดสอบยอยทายวงจร
ผูเรียน หลังจากนั้นผูเรียนเปนผูทํากิจกรรมเองทั้งหมด 3) เคร�องมือที่ใช ในการสะทอนผลการจัด
ผูส อนเปนเพียงผูค อยใหคาํ แนะนําและใหขอ มูลปอนกลับ กิจกรรมการเรียนรู ไดแก แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ขัน้ ที่ 3 ขัน้ สรุป เปนการใหผเู รียนสรุปสิง่ ที่ ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ
เรียนไปแลวดวยตัวของผูเ รียนเอง โดยมีผสู อนเปน 4. การเก็บรวบรวมขอมูล
ผู ใหคําแนะนําปรึกษา ในการเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยไดดําเนิน
ขั้นที่ 4 ขั้นวัดประเมินผล เปนการใชการ การเก็บรวบรวมขอมูลตามขั้นตอน ดังนี้
ประเมินในลักษณะทักษะสัมพันธและใชการวัดหลาย ๆ 1) กอนดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู
แบบ โดยการสังเกตจากการรวมกิจกรรม การตอบ ผู้วิจัยปฐมนิเทศผู้ช่วยวิจัยและนักเรียนเพื่อสร้างข้อ
คําถาม รวมถึงการใหนักเรียนทําแบบฝกหัดตามลําดับ ตกลงและทําความเขาใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรู
ขั้นตอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู ใชวิธีสอนตามแนวการสอนภาษาเพ�อการส�อสาร และ
5. นักเรียน หมายถึง นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา การวิจัยเชิงปฏิบัติการ
ปที่ 2/7 โรงเรียนรมเกลา จังหวัดสกลนคร ทีก่ าํ ลังศึกษา 2) ดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรูตาม
ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 แผนการจัดการเรียนรูที่ผูวิจัยสรางขึ้น ในภาคเรียนที่ 2
ปการศึกษา 2553 จํานวน 9 แผน โดยแบงเปน 3 วงจร
วิธีดําเนินการวิจัย ปฏิบัติการ ไดแก วงจรปฏิบัติการที่ 1 แผนการจัด
1. กลุมเปาหมาย การเรียนรูที่ 1-3 วงจรปฏิบัติการที่ 2 แผนการจัด
กลุมเปาหมายที่ ใช ในการวิจัยครั้งนี้ คือ การเรียนรูที่ 4-6 และวงจรปฏิบัติการที่ 3 แผน
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2/7 ซึ่งกําลังเรียนใน การจัดการเรียนรูที่ 7-9
ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 โรงเรียนรมเกลา 3) การสะทอนผลการสอนหลังจาก
จังหวัดสกลนคร จํานวนนักเรียน 42 คน สิน้ สุดการสอนในแตละวงจรปฏิบตั กิ ารจะมีการเก็บรวม
2. รูปแบบการวิจัย รวมขอมูลจากทุกแผนการจัดการเรียนรู โดยใชแบบ
การวิจยั ครัง้ นีน้ าํ รูปแบบการวิจยั เชิงปฏิบตั ิ บันทึกพฤติกรรมการเรียนรูของนักเรียน แบบบันทึก
การตามแนวคิดของ Kemmis & Mc Taggart เปน พฤติกรรมการจัดการเรียนรูของครู และแบบทดสอบ
รูปแบบในการดําเนินการวิจัย มีกระบวนการทั้งหมด 3
Journal of Education Graduate Studies Research
218 Khon Kaen University
Vol.7, No.2, Apr. - Jun., 2013

ยอยทายวงจร เพ�อใหไดขอมูลมาสะทอนผลการปฏิบัติ ภาษาโดยใหผูเรียนฟงหรืออาน จากนั้นกระตุนการเรียนรู


และปรับปรุงการสอนในวงจรปฏิบัติการตอไป โดยตรวจสอบความเขาใจเร�องที่ฟงหรืออานโดยการ
4) ประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู ใชคําถามใหผูเรียนตอบคําถาม เพ�อเปนการกระตุนให
โดยใชวิธีสอนตามแนวการสอนภาษาเพ�อการส�อสาร ผูเรียนเกิดความสนใจในการเรียนรู สามารถนําความรู
เม�อดําเนินการสอนครบทัง้ 3 วงจร โดยใหนกั เรียนทําแบบ ไปใช ในชีวิตประจําวันไดอยางแทจริง
ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ (2) ขั้นฝก เปนการฝกแบบควบคุม
จากนัน้ นําคะแนนที่ ไดไปวิเคราะห สรุปและอภิปรายผล โดยใหผเู รียนฟงตัวอยางภาษาจากแผนบันทึกเสียงหรือ
ตอไป ครูผสู อน จากนัน้ ใหผเู รียนฝกออกเสียงโดยฝกพรอมกัน
5. การวิเคราะหขอมูล ทัง้ ชัน้ หรือฝกทีละครึง่ หอง แลวผูส อนสุม เรียกใหผเู รียน
1) วิเคราะหขอมูลเชิงคุณ ภาพจากแบบ ฝกเปนรายบุคคล โดยผูสอนตองใหขอมูลปอนกลับแก
บันทึกพฤติกรรมการจัดการเรียนรูข องครู และแบบบันทึก ผูเรียนวาใชภาษาไดถูกตองหรือไม นอกจากนี้ยังมีการ
พฤติกรรมการเรียนรูของนักเรียน เปนการวิเคราะห ฝกอานคําศัพท ประโยค และการเขียนบทสนทนาไป
เชิงเนื้อหาโดยนําขอมูลที่ ไดมาสรุปความเหมือนและ พรอม ๆ กันดวย
ความแตกตางของการจัดกิจกรรมการเรียนรู เพ�อวิเคราะห (3) ขั้นการใชภาษาเพ�อการส�อสารเปน
สภาพทีเ่ กิดขึน้ วามีขอ บกพรอง มีปญ
 หาอุปสรรคเกิดขึน้ การเปดโอกาสใหผูเรียนได ใชภาษา เพ�อการส�อสารโดย
อิสระ โดยใหผเู รียนไดทาํ กิจกรรมแบบตาง ๆ ประกอบดวย
หรือไมอยางไร เพ�อเปนแนวทางในการหาวิธกี ารปรับปรุง
การเกิดชองวางระหวางขอมูล เกมทางภาษาและกิจกรรม
และพัฒนากิจกรรมการเรียนรู
บทบาทสมมติ
2) วิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณจากแบบ
3) ขั้นสรุป เปนการใหผูเรียนสรุปสิ่งที่
ทดสอบยอยทายวงจร และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
เรียนไปแลวดวยตัวของผูเ รียนเอง โดยมีผสู อนเปนผู ให
ทางการเรี ย นวิ ช าภาษาอั ง กฤษ นํ า คะแนนมาหาค า คําแนะนําปรึกษา
รอยละเทียบกับเกณฑของโรงเรียนทีก่ าํ หนด คือ มีคะแนน 4) ขั้นที่ 4 ขั้นวัดประเมินผล เปนการ
เฉลี่ยไมนอยกวารอยละ 70 และมีนักเรียนที่ผานเกณฑ ใชการประเมินในลักษณะทักษะสัมพันธและใชการวัด
ไมนอยกวารอยละ 70 ของจํานวนนักเรียนทั้งหมด หลาย ๆ แบบ โดยการสังเกตจากการรวมกิจกรรม
การตอบคําถาม รวมถึงการใหนกั เรียนทําแบบฝกหัดตาม
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย ลําดับขั้นตอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู
1. การพัฒนากิจกรรมการเรียนรูวิชาภาษา การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ต ามแนว
อังกฤษตามแนวการสอนภาษาเพ�อการส�อสารโดยใช การสอนภาษาเพื่อการสื่อสารโดยใช้กิจกรรมคัดสรร
กิจกรรมคัดสรร มีขั้นตอนดังนี้ สงผลให นักเรียนมีความสนใจและมีความพึงพอใจ
1) ขั้นนํา เปนการแจงวัตถุประสงคของ ในการรวมกิจกรรม นักเรียนชอบกิจกรรมทีค่ รูนาํ มาสอน
บทเรียน ทบทวนความรูเดิม เช�อมโยงสถานการณ ให เพราะมีความหลากหลาย ทําใหมีความกลาแสดงออก
เขากับบทเรียน และสรางแรงจูงใจใหผูเรียนอยากมี ในการทํากิจกรรมหนาชัน้ มีความสนุกสนานในการเรียน
สวนรวมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู โดยการใชการ วิชาภาษาอังกฤษ และมีปฏิสมั พันธทดี่ รี ะหวางกันสงเสริม
สนทนาพูดคุยระหวางผูส อนและผูเ รียน ใชเกม หรือเพลง ใหบรรยากาศในชั้นเรียนดีขึ้น
2) ขัน้ สอน ประกอบดวยขัน้ ตอนยอย ดังนี้ 2. สรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษา
(1) ขั้นเสนอเนื้อหา เปนการเสนอ อังกฤษ
บริบทหรือสถานการณแกผเู รียนโดยใชสอที � เ่ ปนของจริง จากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียน
ไดแก รูปภาพ ส�อสิง่ พิมพ วิดที ศั น แลวเสนอเนือ้ หาทาง วิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนโดยใชแบบทดสอบที่ผาน
ว า ร ส า ร ศึ ก ษ า ศ า ส ต ร ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา
มหาวิทยาลัยขอนแกน 219
ปที่ 7 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2556

การตรวจสอบความเหมาะสมดานคําศัพท โครงสราง 4) ครูผูสอนควรเปนผูคอยใหคําแนะนํา


ไวยากรณ และความตรงเชิงเนื้อหา จากผูเชี่ยวชาญทั้ง ในขัน้ การใชภาษาเพ�อการส�อสารเทานัน้ เพ�อใหนกั เรียน
3 คน แลวปรากฏวา นักเรียนทัง้ หมดมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ ไดฝกใชภาษาดวยตนเอง
ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ยคิดเปน 2. ขอเสนอแนะสําหรับการทําวิจยั ครัง้ ตอไป
รอยละ 74.11 ซึ่งสูงกวาเกณฑความรอบรูเฉลี่ยของ 1) ควรนํารูปแบบการสอนตามแนว
นักเรียนทั้งหมดที่กําหนดไวรอยละ 70 ของคะแนนเต็ม การสอนภาษาเพ�อการส�อสารโดยใชกิจกรรมคัดสรรไป
โดยมีนกั เรียนทีผ่ า นเกณฑการประเมินรอยละ 70 ขึน้ ไป ใชทดลองสอนกับกลุมเปาหมายที่แตกตางกันในแตละ
จํานวน 35 คน คิดเปนรอยละ 83.34 ของจํานวนนักเรียน ชวง เพ�อดูความเหมาะสมกับนักเรียนในแตละชวงชั้น
ทัง้ หมด 42 คน เม�อพิจารณาเปนรายทักษะแลวพบวาทุก วากิจกรรมใดเหมาะกับเด็กในวัยใด
ทักษะมีคะแนนเฉลี่ยสูงกวาเกณฑที่กําหนด คือ รอยละ 2) ควรนํารูปแบบการสอนภาษาเพ�อการ
77.15, 75.48, 72.38 และ 71.43 ตามลําดับ ส�อสารโดยใชกจิ กรรมคัดสรรไปทดลองใชกบั กลุม สาระ
ดังนัน้ สรุปผลดานผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิชา การเรียนรูอ�นที่เกี่ยวของ กับการใชภาษาส�อสาร เชน
ภาษาอังกฤษของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 2 ตามแนว กลุม สาระการเรียนรูภ าษาจีน หรือกลุม สาระการเรียนรู
การสอนภาษาเพื่ อ การสื่ อ สารโดยกิ จ กรรมคั ด สรร ภาษาไทยที่สอนในโรงเรียนนานาชาติ เพ�อศึกษาผลการ
ทําใหนักเรียนมีการพัฒนาความสามารถในการใชภาษา จัดกิจกรรมการเรียนรู
อังกฤษส�อสารสูงขึ้น ซึ่งบรรลุวัตถุประสงคของการ
วิจัยที่ตั้งไว

ขอเสนอแนะ
1. ข อ เสนอแนะเกี่ ย วกั บ การจั ด กิ จ กรรม
การเรียนรู
1) กอนที่จะนําวิธีสอนตามแนวการสอน
ภาษาเพ�อการส�อสารโดยใชกิจกรรมคัดสรรไปใช ใน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู ครูผสู อนควรไดศกึ ษาทฤษฎี
หลักการ และแนวคิดของวิธสี อนตามแนวการสอนภาษา
เพ�อการส�อสาร ตลอดจนขอดีและขอจํากัดใหเขาใจเปน
อยางดีเสียกอน โดยเฉพาะการกําหนดเวลาในการสอน
และการวัดประเมินผลใหชัดเจน
2) ต อ งให ผู เ รี ย นมี ส ว นร ว มในการทํ า
กิจกรรมอยางทั่วถึง ทั้งนักเรียนที่เรียนเกง นักเรียนที่
เรียนปานกลาง และนักเรียนที่เรียนออน จัดกลุมคละ
ความสามารถกัน
3) ในการทํากิจกรรมคู ควรจัดใหนักเรียน
ที่เรียนเกงคูกับนักเรียนที่เรียนออน เพ�อใหนักเรียนที่
เรียนเกงชวยฝกใหนักเรียนที่เรียนออนมีพัฒนาการใน
ดานนี้ ไดดีขึ้น
Journal of Education Graduate Studies Research
220 Khon Kaen University
Vol.7, No.2, Apr. - Jun., 2013

เอกสารอางอิง
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ.
จันทิวา ศรีมะโฮงนาม. (2550). การใชเกมเพ�อพัฒนาทักษะภาษาเพ�อการส�อสารของนักเรียนชวงชั้นที่ 3
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2. วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน.
พรสินี ศรีคํามูล. (2552). รายงานสรุปผลการเรียน ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2552 โรงเรียนรมเกลาสกลนคร.
งานวัดและประเมินผลการศึกษา โรงเรียนรมเกลา สกลนคร. สํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาสกลนคร เขต 1.
พลารัก ไชยโย. (2545). การศึกษาผลการสอนภาษาอังกฤษตามแนวการสอนเพ�อการส�อสารทีม่ ตี อ ความสามารถ
ในการส�อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2. วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน สถาบันราชภัฎนครสวรรค.
สิริกัญญา ขวัญสําราญ. (2540). การพัฒนารูปแบบการสอนภาษาอังกฤษของนักเรียนประถมศึกษาปที่ 6
โดยใชกิจกรรมคัดสรรเพ�อการส�อสาร. วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาประถมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน.
สุมิตรา อังวัฒนกุล. (2540). วิธีสอนภาษาอังกฤษ. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย.

You might also like