You are on page 1of 51

หน่ วยที่ 2 ปั ญหาสังคมไทย

ปั ญหาสังคมไทย

 - ความหมายของปั ญหาสังคม
 - ลักษณะสาคัญของปั ญหาสังคม
 - สาเหตุของปั ญหาสังคม
 - ปั ญหาสังคมโลก
 - ปั ญหาสังคมไทยและแนวทางการแก้ไขปั ญหา
สาระการเรี ยนรู้

 ความหมายของปั ญหาสังคม
 ลักษณะสาคัญของปั ญหาสังคม
 สาเหตุของปั ญหาสังคม
 ปั ญหาสังคมโลก
 ปั ญหาสังคมไทยและแนวทางการแก้ไขปั ญหา
จุดประสงค์ การเรี ยนรู้

 ให้คานิ ยามคาว่าปั ญหาสังคมได้


 จาแนกลักษณะสาคัญของปั ญหาสังคมได้
 ระบุสาเหตุของปั ญหาสังคมได้
 ยกตัวอย่างปั ญหาสังคมไทยได้
 วิเคราะห์สาเหตุของปั ญหาสังคมไทยได้
 เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปั ญหาสังคมไทยได้
ความหมายของปั ญหาสังคม

 ปั ญหาสังคม หมายถึง สภาพการณ์ท่ ไี ม่ชอบธรรมและไม่


ถูกต้อง ที่สง่ ผลกระทบกระเทือนต่อคนจานวนมากให้ได้รับความ
เดือดร้อน ทาให้ทนต่อไปไม่ได้ จึงต้องใช้วิธรี ่วมมือกันแก้ไข
สภาพการณ์ดงั กล่าวให้ลดลงหรื อหมดไป
ลักษณะสาคัญของปั ญหาสังคม

 2.1 เป็ นสภาพการณ์ท่ มี ผี ลกระทบกระเทือนต่อคนจานวนมาก


 2.2 คนส่วนใหญ่เห็นว่าเป็ นสภาพการณ์ท่ ไี ม่พึงประสงค์
 2.3 เป็ นวิธกี ารที่ไม่ชอบธรรมหรื อไม่ถูกต้อง
 2.4 ปั ญหาสังคมย่อมผันแปรไปตามกาลเวลา
 2.5 การใช้รูปแบบของความร่วมมือกัน
 2.6 คนส่วนมากรู ส้ ึกว่าควรมีหนทางแก้ไขปั ญหา
สาเหตุของปั ญหาสังคม

 3.1 กลุม่ สังคมบางกลุม่ มีความคิดเห็น อุดมการณ์ ความต้องการ และผลประโยชน์ขดั แย้งกัน


 3.2 สังคมเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว
 3.3 สมาชิกของสังคมบางกลุม่ ไม่ปฏิบตั ิตนตามกฎหมายหรื อกฎเกณฑ์ของสังคม
 3.4 การเรียนรู ท้ างสังคม ถ้าการเรียนรู ค้ วามจริ งทางสังคมผิดไป อาจทาให้การปฏิบตั ิตนผิดไม่สมั พันธ์
กับค่านิ ยมและบรรทัดฐานทางสังคม ทาให้เกิดปั ญหาสังคมได้
 3.5 เกิดจากความไม่รูจ้ ริ ง การไม่รูข้ อ้ เท็จจริ ง เชื่อถือตัวบุคคลมากกว่าเหตุผล หลงผิด มองโลกในแง่ดี
หรื อแง่รา้ ยเกินไป
ปั ญหาสังคมโลก

 เมื่อประชากรโลกมีมากถึง 7,300 ล้านคน จึงทาให้เกิดปั ญหามาก ปั ญหาสาคัญ เช่น ปั ญหาวิกฤต


โควิด-19 ปั ญหาฝุ่นละออง PM 2.5 ปั ญหาเศรษฐกิจซบเซา ปั ญหายาเสพติด ปั ญหาขยะมูลฝอย สหรัฐอเมริ กากับสาธารณรัฐประชาชนจีน
 - ปั ญหาวิกฤตโควิด-19
 - ปั ญหาฝุ่นละออง PM 2.5
 - ปั ญหาเศรษฐกิจซบเซา
 - ปั ญหายาเสพติด
 - ปั ญหาขยะมูลฝอย
 - ปั ญหาการจราจรติดขัด
 - ปั ญหาการว่างงาน
 - ปั ญหาผู ส้ ู งอายุ
 - ปั ญหาภาวะโลกร้อน
 - ปั ญหาสงครามการค้าระหว่าง USA + จีน
ปั ญหาสังคมไทยและแนวทางการแก้ ไขปั ญหา

 ปั จจุบนั ประเทศไทยมีประชากรประมาณ 67 ล้านคน จึงมีปัญหามาก เช่น ปั ญหาวิกฤตโควิด-19 ปั ญหาฝุ่นละออง PM 2.5 ปั ญหาเศรษฐกิจซบเซา ปั ญหาอาชญากรรม ปั ญหาอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต ปั ญหาขยะ
พลาสติก ปั ญหาการจราจรติดขัด ปั ญหาสังคมก้มหน้า ปั ญหาผู ส้ ู งอายุ ปั ญหาภาวะโลกร้อน ปั ญหาการว่างงาน และปั ญหาการมีเพศสัมพันธ์กอ่ นวัยอันควร
 - ปั ญหาวิกฤตโควิด-19
 - ปั ญหาฝุ่นละออง PM 2.5
 - ปั ญหาเศรษฐกิจซบเซา
 - ปั ญหาอาชญากรรม
 - ปั ญหาอาชญากรมทางอินเทอร์เน็ต
 - ปั ญหาขยะพลาสติก
 - ปั ญหาการจราจรติดขัด
 - ปั ญหาสังคมก้มหน้า
 - ปั ญหาผู ส้ ู งอายุ
 - ปั ญหาภาวะโลกร้อน
 - ปั ญหาการว่างงาน
 - ปั ญหาการมีเพศสัมพันธ์กอ่ นวัยอันสมควร
1. ปั ญหาวิกฤตโควิด 19

 ปั ญหาการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) องค์การอนามัยโลก (WHO) ประกาศให้


เป็น “โรคระบาดอุบตั ิใหม่” และโรคระบาดใหญ่เพราะลุกลามไปทัว่ โลก โรคนี้เกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 29
ธันวาคม พ.ศ. 2562 ณ เมืองหวูฮ่ น่ั มณฑลหู เป่ ย์ สาธารณรัฐประชาชนจีน และแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว
ไปทัว่ โลก
 ส่วนประเทศไทย รัฐบาลมีมาตรการเข้มงวด มีการประกาศ พ.ร.ก. ฉุ กเฉิ น ประกาศเคอร์ฟิว ประชาชนให้
ความร่วมมือในช่วงเริ่ มต้นของการระบาด เป็นการตัดวงจรการใช้มาตรการทางด้านสาธารณสุ ขในการ
ป้องกัน ประชาสัมพันธ์ และการควบคุมการระบาด ควบคูก่ บั มาตรการการเงินการคลังที่เหมาะสม ทาให้
ประเทศไทยได้รับการยกย่องจากวิทยาลัยจอร์น ฮอปกิ้น ว่ามีสถิตริ ักษาผูป้ ่ วยหายมากเป็ นอันดับที่ 1 ของ
โลก เป็นแชมป์ โลกด้านป้องกันโรคระบาดเยี่ยมและมีผูต้ ิดเชื้อน้อยที่สุดด้วย
แนวทางการแก้ ไขปั ญหา

 1) รัฐบาลประกาศพระราชกาหนดการบริ หารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิ นทัว่ ราชอาณาจักร (พ.ร.ก. ฉุ กเฉิ น)


 2) รัฐบาลประกาศเคอร์ฟิวทัว่ ประเทศ ระหว่างเวลา 22.00-04.00 น. จนกว่าสถานการณ์จะคลี่คลาย
 3) รัฐบาลใช้มาตรการลดโอกาสการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 โดยสั่งปิ ดผับ บาร์ สถานบันเทิง สถานศึกษา สนามมวย สนามม้า และห้ามจัดมหรสพทุกชนิ ด
 4) ทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชนให้ทางานที่บา้ น (Work from Home) ส่วนการประชุมให้ประชุมผ่านระบบการประชุมทางไกลด้วยวีดที ศั น์ (Video Conference)
 5) วิธปี ฏิบตั ิตนให้พน้ จากโควิด-19 มีดงั นี้
 (1) ควรอยูบ่ า้ น ถือหลัก “อยูบ่ า้ น หยุดเชื้อ เพื่อชาติ” ถ้าจาเป็นต้องออกไปนอกบ้านต้องใส่หน้ากากอนามัย
 (2) ควรหลีกเลี่ยงสถานที่ท่ มี ผี ูค้ นแออัด พลุกพล่านหรื อคับแคบ
 (3) ควรหลีกเลี่ยงคนที่มอี าการไอหรื อจาม ถ้าพบควรใส่หน้ากากอนามัยและเว้นระยะห่างทางสังคม
 (4) ไม่นามือที่จบั ที่สาธารณะ เช่น บันไดเลื่อน กดลิฟท์ ประตูเข้า-ออกอาคาร มาจับหน้า ตา จมูก และปาก
 (5) ล้างมือด้วยสบูบ่ อ่ ย ๆ หรื อใช้เจลแอลกอฮอล์ลา้ งมือ
 (6) รับประทานอาหารที่ปรุ งสดใหม่ ถือหลัก กินร้อน ช้อนตัวเอง
 (7) ถ้าเดินทางกลังมาจากประเทศกลุม่ เสี่ยง ให้กกั ตัว ณ สถานที่ท่ ที างราชการจัดให้ หรื ออยูบ่ า้ น 14 วัน
 (8) วัดอุณหภูมิร่างกายเสมอ ถ้าสู งเกิด 37.5 oC ให้สงั เกตอาการ อาการของโควิด-19 คล้ายไข้หวัดทัว่ ไป คือ มีไข้ ไอ จาม มีน้ามูก เจ็บคอ แต่ถา้ มีอาการปวดเมื่อยตามตัว เจ็บ
หน้าอก หายใจลาบาก ควรรีบพบแพทย์
2. ปั ญหาฝุ่ นละออง PM 2.5

 PM 2.5 คือ ฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน หรื อมี


ขนาด 1 ใน 25 ส่วนของเส้นผ่านศูนย์กลางเส้นผมมนุ ษย์ เล็กมาก
จนขนจมูกของมนุ ษย์ไม่สามารถกรองได้ ฝุ่นจึงแพร่กระจายเข้า
ทางเดินหายใจ กระแสเลือด และเข้าสู อ่ วัยวะอื่น ๆ ในร่างกายได้ และ
ฝุ่นยังเป็นพาหะนาสารต่าง ๆ เข้าไปด้วย เช่น ปรอท แคดเมียม โลหะ
หนัก และสารก่อมะเร็งอื่น ๆ
สาเหตุท่ ที าให้ เกิดฝุ่ นละออง PM 2.5

 1) แหล่งกาเนิ ดโดยตรง ในประเทศไทยเกิดจากรถยนต์ การเผาในโล่งแจ้ง และสภาพความกดอากาศต่ า


 (1) การเผาในที่โล่งแจ้ง เช่น การเผาตอซังข้าวหรื ออ้อย 54%
 (2) จากอุตสาหกรรมการผลิต 17%
 (3) จากการคมนาคมขนส่ง เช่น เครื่ องยนต์เผาไหม้ไม่สมบูรณ์ การจราจรติดขัดทาให้รถปล่อยควันพิษ 13%
 (4) จากการผลิตไฟฟ้ า 9%
 (5) จากการประกอบกิจกรรมในที่อยูอ่ าศัยและธุ รกิจการค้า 7%
 2) การรวมรัวของแก๊สอื่น ๆ ในบรรยากาศ โดยเฉพาะซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) และออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) รวมทัง้ สารพิษอื่น
ๆ ที่เป็ นอันตรายต่อร่างกายมนุ ษย์ เช่น สารปรอท (Hg) แคดเมียม (Cd) อาร์เซนิ ก (As)
แนวทางการแก้ ไขปั ญหา

 1) ประชาชนสามารถตรวจเช็กดัชนีคุณภาพอากาศ ได้ท่ เี ว็บไซต์ของกรมควบคุมมลพิษ หรื อสอบถามที่สายด่วน 1422 ถ้า PM 2.5


อยูร่ ะดับ 51-90 ไมโครกลัม/ลูกบาสก์เมตรเริ่ มมีผลกระทบต่อสุ ขภาพ จะมีอาการไอ หายใจลาบาก ตาอักเสบ แน่นหน้าอก ปวดศีรษะ หัว
ใจเต้นไม่เป็ นปกติ คลื่นไส้ อ่อนเพลีย ควรปรึ กษาแพทย์
 2) สวมหน้ากาก N95 หรื อหน้ากากอนามัยที่มฟี ิลเตอร์ 3 ชัน้
 3) หลีกเลี่ยงกิจกรรมกลางแจ้งทุกชนิ ดเมื่อคุณภาพอากาศอยูใ่ นระดับที่เป็ นอันตรายต่อร่างกาย
 4) ใช้เครื่ องฟอกอากาศ โดยเฉพาะอาคารที่มกี ารเปิ ด-ปิ ดประตูบอ่ ย ๆ
 5) พยายามหลีกเลี่ยงการใช้รถส่วนตัว ควรใช้บริ การขนส่งมวลชน เช่น รถไฟฟ้ าและรถปรับอากาศ
สรุปการเกิดฝุ่ นละออง PM 2.5

สาเหตุของปั ญหา แนวทางแก้ไขปั ญหา


1. การเผาในที่โล่งแจ้ง 54% 1. ประชาชนตรวจเช็คดัชนี คุณภาพอากาศได้ท่ เี ว็บไซต์ของกรม
2. จากอุตสาหกรรมการผลิต 17% ควบคุมมลพิษ หรื อสอบถามสายด่วน 1422
3. จากการคมนาคม 13% 2. สวมหน้ากาก N95
4. จากการผลิตไฟฟ้า 9% 3. หลีก เลี่ยงกิ จ กรรมกลางแจ้ง ถ้า คุ ณ ภาพอากาศอยู ใ่ นระดับ
5. จากที่อยู่อาศัยและธุรกิจการค้า 7% อันตราย
4. ใช้เครื่ องฟอกอากาศในอาคารที่ปิด-เปิ ดประตูบอ่ ย ๆ
5. ใช้บริ การขนส่งมวลชนแทนรถส่วนตัว
3. ปั ญหาเศรษฐกิจถดถอย

 ประเทศไทยกาลังประสบปั ญหาเศรษฐกิจถดถอย มีสาเหตุสาคัญ 8 ประการ ดังนี้


 1) ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2561-ปั จจุบนั เกิดสงครามการค้าระหว่างสหรัฐอเมริ กากับสาธารณรัฐประชาชนจีน ส่งผลกระทบต่อประเทศไทยเป็ นอย่างมาก
 2) ประเทศไทยประสบปั ญหาภัยแล้งและน้าท่วมเป็ นเวลานาน เนื่ องจากภาวะโลกร้อนและไฟป่ า
 3) เกิดโรคระบาดไวรัสโควิด-19 ที่เมืองหวูฮ่ น่ั สาธารณรัฐประชาชนจีน และแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว สาธารณรัฐประชาชนจีนสัง่ ปิ ดประเทศ ทาให้
คนจีนจานวนมากซึ่งเป็ นลูกค้ารายใหญ่และสร้างรายได้ให้ภาคการท่องเที่ยวของไทยไม่สามารถมาเที่ยวที่ประเทศไทยได้ ทาให้เศรษฐกิจถดถอย
รัฐบาลประกาศพระราชกาหนดฉุ กเฉิ น โรงงานและสถานประกอบการต่าง ๆ ปิ ด ทาให้คนไทยและคนต่างด้าวกลับบ้าน ไวรัสโควิด-19 ยังกระจาย
เศรษฐกิจซบเซา
 4) ด้านการลงทุน ทัง้ ภาครัฐและเอกชนที่เป็ นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย โดยเฉพาะโครงสร้างพื้นฐานใน EEC และการลงทุนในโครงข่าย
เทคโนโลยี 5G ไม่เป็ นไปตามที่คาดหมายไว้ ทาให้เศรษฐกิจโดยภาพรวมถดถอยมากยิ่งขึ้น
 5) ประเทศไทยประสบปั ญหา เช่น ความสามารถของการแข่งขันภาคการส่งออก ปั ญหาความเหลื่อมลา้ และการกระจายรายได้ของภาคครัวเรื อน
 6) รัฐบาลประสบปั ญหานิ สิต นักศึกษา ประชาชน และพรรคการเมืองบางพรรคมีความเห็นต่างทางความคิดและอุดมการณ์ในระบอบประชาธิ ปไตย
เรียกร้องให้มกี ารแก้ไขรัฐธรรมนู ญ ทาให้เสถียรภาพของรัฐบาลสัน่ คลอนและต้องแก้ไขปั ญหาใหญ่หลายปั ญหาพร้อม ๆ กัน
แนวทางการแก้ ไขปั ญหาเศรษฐกิจถดถอย

 1) รัฐอนุ มตั ิรวงเงิน 400,000 ล้านบาท ฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม


 2) รัฐให้กระทรวงต่าง ๆ โอนเงินงบประมาณปี 2563 วงเงิน 8,000-100,000 ล้านบาทให้
งบประมาณกลาง เพื่อนาเงินมาแก้ปัญหา
 3) ทุกภาคส่วนควรบูรณาการหลักนิ ยมไทยเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม
 4) เกษตรกรต้องพัฒนากระบวนกรผลิตเป็นสมาร์ตฟาร์ม ทาเกษตรอินทรียใ์ ส่ใจสิ่งแวดล้อม
 5) ภาครัฐรักษาตลาดการค้าเดิมและเพิ่มตลาดการค้าใหม่ ๆ เพื่อจาหน่ายสินค้า
 6) ภาครัฐส่งเสริ มวินัยการออม ประชาชนลดการใช้บตั รเครดิตอย่างฟุ่มเฟือย
สรุปปั ญหาเศรษฐกิจถดถอย

สาเหตุของปั ญหา แนวทางแก้ไขปั ญหา


1. เกิดสงครามการค่าระหว่าง USA + จีน 1. รัฐใช้งบประมาณฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม
2. ไทยประสบภัย ธรรมชาติ คื อ ภัย แล้ง และน้ า ท่ ว มเป็ น 2. รัฐให้ทุกกระทรวงโอนเงิน 20% คืนงบประมาณกลาง
เวลานาน 3. น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและใช้หลักนิ ยมไทย
3. เกิ ด โรคไวรัส โควิ ด -19 ที่ จี น ท าให้ภ าคการท่ อ งเที่ ย ว 4. เกษตรใช้ระบบสมารัตฟาร์ม และเกษตรอินทรีย ์
หยุดชะงัก 5. รัฐรักษาตลาดการค้าเดิมและเพิ่มตลาดการค้าใหม่
4. ไทยประสบปั ญหาความสามารถการแข่งขันภาคการส่งออก
และปั ญหาหนี้ ครัวเรือน
4. ปั ญหาอาชญากรรม

 ปั ญหาอาชญากรรม หมายถึง ปั ญหาการกระทาผิดทางอาญา ซึ่งเป็นปั ญหา


สังคมอย่างหนึ่ งที่สง่ ผลกระทบต่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินเป็นจานวน
มาก
 ปั ญหาอาชญากรรมเป็ นภัยใกล้ตวั และทวีความรุ นเรื องมากขึ้นในสังคมไทย
บ่อยครั้งจะได้ขา่ วจากสื่อต่าง ๆ เกี่ยวกับอาชญากรรม เช่น การฆาตกรรม การ
ทะเลาะวิวาท การข่มขืน การจี้ การปล้น การชิงทรัพย์ และการลักทรัพย์
สาเหตุของปั ญหาอาชญากรรม

 1) สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคม มีดงั นี้


 (1) การว่างงาน ทาให้ขาดรายได้ เป็ นสาเหตุการก่ออา๙ญากรรม
 (2) พวกติดยาเสพติด อาจก่ออาชญากรรมเพื่อหาเงินมาเสพยาเสพติด
 (3) การรับวัฒนธรรมตะวันตก เช่น การแต่งกายล่อแหลม การมีเพศสัมพันธ์อย่างอิสระ ทาให้เกิดการยัว่ ยุความรู ส้ ึกทางกามารมณ์ จึงอาจ
ก่อคดีขม่ ขืนแล้วฆ่า
 (4) ความเสื่อมทรามทางศีลธรรม จึงก่ออาชญากรรมโดยขาดการยับยัง้ ชัง่ ใจ
 (5) การมีคา่ นิ ยมผิด ๆ เช่น การเป็ นเจ้าพ่อหรื อนักเลง
 (6) สภาพครอบครัว จากครอบครัวยากจน ครอบครัวแตกแยก
 (7) เศรษฐกิจตกต่ า บางคนจึงต้องก่ออาชญากรรม จี้ ปล้น ค้ายาเสพติด และทางานผิดกฎหมาย
 2) เกิดความบกพร้อมทางร่างกายและจิตใจ
 บางคนบกพร่องทางร่างกาย เช่น หู หนวก ตาบาด ส่วนบางคนบกพร่องทางจิตใจ เช่น เป็ นโรคจิต โรคประสาท ประสาทหลอน เป็ นเหตุให้กอ่
อาชญากรรม เช่น ก่อคดีฆา่ หัน่ ศพ
แนวทางการแก้ ไขปั ญหา

 1) เริ่ มที่ครอบครัว ควรแก้ไขสภาพครอบครัวแตกแยก ทะเลาะวิวาท กดขี่ขม่ เหง ไม่มคี วามเป็ นประชาธิปไตย เปลี่ยนเป็ นครอบครัวอบอุน่
เลี้ยงดูบุตรให้มคี วามสุ ขทัง้ กายและใจ ใช้หลักประชาธิปไตย มีเหตุผล รับฟังความคิดเห็น
 2) ให้เยาวชนตระหนักรู ถ้ ึงโทษของการก่ออาชญากรรม เพื่อให้รูเ้ ท่าทันแลหลีกเลี่ยง โดยให้คบเพื่อนดี ไม่แต่งกายยัว่ ยุ และไม่ยุง่ เกี่ยวกับ
อบายมุขทุกรู ปแบบ ฯลฯ
 3) สถานศึกษาต้องกวดขันเรื่ องกายแต่งกาย ความประพฤติของนักเรียน
 4) ตารวจ ดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
 5) ในแต่ละท้องที่ควรส่งตารวจไปสอดส่องดูแลสถานบันเทิง สถานเริ งรมย์
 6) ชุมชนควรช่วยกันสอดส่องดูแลซึ่งกันและกัน
สาเหตุของปั ญหา

 - สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคม เช่น การว่างงาน, ติดยาเสพติด, ศีลธรรมเสื่ อม,


สภาพครอบครัว, เศรษฐกิจตกต่ า
 - เกิดจากความบกพร่องทางร่างกายและจิตใจ เช่น คนพิการ เป็ นโรคจิต โรคประสาท
และประสาทหลอน
แนวทางแก้ ไขปั ญหา

 - เลี้ยงลูกด้วยความรักและความอบอุน่ ใช้หลักประชาธิปไตย
 - รู ถ้ ึงโทษของการก่ออาชญากรรม
 - สถานศึกษากวดขันเรื่ องการแต่งกายและความประพฤติของเด็ก
 - ตารวจดูแลความปลอดภัยของชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
 - ชุมชนช่วยกันดูแลซึ่งกันและกัน ถ้าเกิดเหตุรา้ ยแจ้ง 191
 - ประชนดูแลตนเอง ไม่แต่งกายโป๊ ไม่ใส่ของมีคา่
5. ปั ญหาอาชญากรรมทางอินเทอร์ เน็ต

 ขณะนี้อาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ตกาลังเป็นปั ญหาใหญ่ เช่น การขโมย


ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต การละเมิดลิขสิทธิ์ของปลอมแปลง การฟอกเงินทาง
อิเล็กทรอนิ กส์ อันธพาลทางคอมพิวเตอร์หรื อผูก้ อ่ การร้าย การหลอกค้าขาย
ลงทุนผ่านทางเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ การใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ดดั แปลง
ข้อมูล
ปั ญหาอาชญากรรมทางอินเทอร์ เน็ต

 สาเหตุของปั ญหา
 - การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีในทางทุจริ ต เช่น การขโมยข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต การละเมิดลิขสิทธิ์ การฟอกเงินทางอิเล็กทรอนิ กส์ การ
หลอกขายสินค้าออนไลน์ การดัดแปลงข้อมูล
 แนวทางแก้ไขปั ญหา
 - ใช้สมาร์ทการ์ดเพื่อควบคุมการใช้งาน
 - ไม่เก็บข้อมูลไว้ท่ เี ดียว แต่ควรสารองข้อมูลลงแผ่นซีดหี รื อแผ่นวีดโี อ
 - การตัง้ ค้าโปรแกรมค้นหา
 - กาจัดไวรัสคอมพิวเตอร์
6. ปั ญหาขยะพลาสติก

 ประเทศไทยพบว่าสร้างปริ มาณขยะทางทะเลและขยะมูลฝอย 27.4 ล้านตัน


ส่งผลให้ตดิ อันดับที่ 6 ของประเทศที่มปี ริ มาณขยะมากที่สุดในโลก จึงตื่นตัว
และมีแผนการปฏิบตั กิ ารด้านการจัดการขยะพลาสติก 20 ปี (พ.ศ. 2561-
2580) รวมทัง้ กาหนดการลดและเลิกใช้ผลิตภัณฑ์พลาสติกประเภทใช้ครั้ง
เดียวทิ้ง (Single-use Plastic)
แนวทางการแก้ ไขปั ญหา

 1) ภาครัฐเริ่ มให้ความสาคัญกับพลาสติก จนนาไปสู แ่ ผนปฏิบตั ิการด้านการจัดการขยะพลาสติก 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)


 2) ภาครัฐกาหนดให้ลดและเลิกใช้ผลิตภัณฑ์พลาสติกทัง้ 5 ประเภท ภายในปี พ.ศ. 2570
 3) ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2563 ห้างสรรพสินค้าและร้านสะดวกซื้อประกาศงดแจกถุงพลาสติกที่ใช้ครัง้ เดียวทิ้ง
 4) การลดหย่อนภาษีให้กบั ผู ผ้ ลิตพลาสติกประเภทต่าง ๆ ที่มนี โยบายลดการใช้พลาสติกในการดาเนิ นธุ รกิจ
 5) การจัดเก็บค่าธรรมเนียมสาหรับผู บ้ ริ โภคที่ตอ้ งการรับถุงพลาสติกจากห้างสรรพสินค้าและร้านสะดวกซื้อ
 6) สร้างความตระหนัก รับรู ถ้ ึงพิษภัยของขยะพลาสติกให้แก่ประชาชนและหันมาใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก ใช้วสั ดุธรรมชาติ
 7) ภาครัฐและภาคเอกชนมีการวิจยั พัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรมพลาสติกเพื่อตอบโจทย์เศรษฐกิจหมุนเวียน
สรุ ปปั ญหาขยะพลาสติก

 สาเหตุของปั ญหา
 1. ค่านิ ยม
 2. ความสะดวกสบาย
 3. มาเรียมลูกพะยูนกินเศษพลาสติกทาให้ลาไส้อุดตัน
 4. ไทยมีขยะมากเป็ นอันดับ 6 ของโลก
 แนวทางแก้ไขปั ญหา
 1. รัฐกาหนดแผนกาจัดขยะพลาสติก 20 ปี
 2. ห้างสรรพสินค้าและร้านสะดวกซื้องดแจกถุงพลาสติก 1 ม.ค. 63
 3. ปี พ.ศ. 2565 ไม่ใช้กล่องโฟม
 4. ปี พ.ศ. 2570 ไม่ใช้พลาสติกทุกชนิ ด
7. ปั ญหาการจราจรติดขัด

 สาเหตุของปั ญหา
 - กรุ งเทพฯ เป็ นศูนย์กลางความเจริ ญ
 - ปริ มาณรถไม่สมดุลกับพื้นผิวจราจร
 - งานก่อสร้างต่าง ๆ เช่น โครงการรถไฟฟ้ า
 - ผู ใ้ ช้รถใช้ถนนไม่ปฏิบตั ิตามกฎจราจร
 - ค่านิ ยมของประชาชนใช้รถส่วนตัว
 แนวทางแก้ไขปั ญหา
 - ผู ใ้ ช้รถใช้ถนนต้องปฏิบตั ติ นตามกฎจราจรอย่างเคร่งครัด
 - พัฒนาระบบขนส่งมวลชน
 - รณรงค์ให้ใช้บริ การขนส่งมวลชนแทนรถส่วนตัว, จัดผังเมืองใหม่
 - ตารวจจราจรต้องดาเนิ นตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด
8. ปั ญหาสังคมก้ มหน้ า

 ประเทศไทยมีประชากรประมาณ 68 ล้านคน แต่มหี มายเลขโทรศัพท์มือถือเกือบทุกคน และบางคนมี


โทรศัพท์มือถือมากกว่า 1 เครื่ อง และประเทศไทยยังมีผูใ้ ช้ส่ ือสังคมออนไลน์ยอดนิ ยมทัง้ ไลน์และเฟซบุก๊
มากเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก
 ปั จจุบนั มีคนจานวนมากมีอาการทางจิตใจในระดับที่ขาดโทรศัพท์มือถือไม่ได้ เรียกว่า อาการขาดมือถือ
(Nomophobia) หรื อการเสพติดมือถือ (Mobile Phone Addict) โดยมีอาการ คือต้อง
มีโทรศัพท์มือถืออยูใ่ กล้ตวั ตลอดเวลา (ตัง้ แต่ต่ ืนนอนจนถึงเข้านอน)
 ปั จจุบนั ในสังคมไทยมีการใช้โทรศัพท์มือถือกันอย่างแพร่หลาย ทัง้ คนใกล้ตวั คนในครอบครัว ที่ทางาน ที่
สาธารณะ ฯลฯ โดยเฉพาะการใช้ส่ ือสังคมออนไลน์อย่างเกินความจาเป็นจะทาให้เสียสุ ขภาพทัง้ ร่างกาย
และจิตใจ เสียเงิน เสียเวลา ขาดความสัมพันธ์อนั ดีกบั ครอบครัว เพื่อนฝูง และเกิดภัยต่อสังคม เช่น การ
สร้างความสับสน การโฆษณาชวนเชื่อ
ปั ญหาสังคมก้ มหน้ า

 อาการทางร่างกาย
 เช่น เจ็บตา และแสบตาบ่อย ๆ ปวดต้นคอ ไหล่ และหลัง ระบบทางเดินอาหารแปรปรวน
 อาการทางจิตใจ
 ผู ท้ ่ มี อี าการขาดโทรศัพท์มือถือหรื อเล่นโทรศัพท์มือถือจะมีอาการต่าง ๆ เช่น กระวนกระวาย หงุดหงิดง่าย และขาดสมาธิ ฯลฯ
 ผลเสียต่อสังคม
 1) การไม่รูจ้ กั กาลเทศะ เช่น เผลอปล่อยเสียงโทรศัพท์มือถือดังขึ้นในห้องเรียน
 2) การเสียมารยาท เช่น เผลอกดรับโทรศัพท์มือถือขณะพูดค้างอยู ่
 3) เสียเวลาในการทางานและทาให้ประสิทธิภาพในการทางานลดลง
 4) สร้างปั ญหาสังคมโดยไม่รูต้ วั มีหลายคนที่แชร์กอ่ นชัวร์
 5) สังคมก้มหน้าเป็ นระเบิดเวลาที่พรากครอบครัวให้หา่ งไกลกัน
แนวทางแก้ ไขปั ญหา

 1) ดาวน์โหลดแอปพลิเคชันจะได้ทราบว่าในแต่ละวันใช้โทรศัพท์มือถือนานเท่าไร ตรวจสอบการใช้งานโซเชียลแล้วมาสารวจตนเองว่าใช้
โทรศัพท์มือถือมายน้อยเพียงใด และพยายามใช้ให้นอ้ ยลง
 2) ตัง้ ค่าโทรศัพท์มือถือ ปิ ดการแจ้งเตือน โดยลองปรับการตัง้ ค่าโทรศัพท์มือถือให้แจ้งเตือนเฉพาะสายเรียกเข้าและข้อความสาคัญ
 3) ในระหว่างมืออาหารควรนาโทรศัพท์มือถือใส่กระเป๋ า
 4) งดใช้โทรศัพท์มือถือขณะขับรถ
 5) ควรงดเล่นโทรศัพท์มือถือจนดึก จะทาให้ร่างกายทรุ ดโทรม
 6) ควรจัดเวลาให้ถูกต้องและกาหนดเวลาที่ใช้สงั คมออนไลน์ ลองตัง้ เป้าหมายลดการเล่นโทรศัพท์มือถือให้เหลือวันละประมาณ 2-3
ชัว่ โมง จะดีตอ่ สุ ขภาพทัง้ ร่างกายและจิตใจ
 7) เล่นกีฬา ออกกาลังกายที่ชอบ วางมือจากสื่อสังคมออนไลน์แล้วหันไปออกกาลังกาย
 8) โฟกัสและให้ความสาคัญกับสิ่งที่อยูต่ รงหน้า
สาเหตุของปั ญหา
 - เป็ นปั จจัยที่ 5 ของคนรุ ่นใหม่
 - ให้ความรู ้ ความบันเทิง ทาธุ รกรรมได้เกือบทุกอย่าง
 - เป็ นค่านิ ยมของสังคมยุคใหม่
 - ถ้าใช้มากเกินไปจะเสียสุ ขภาพกาย จิตใจ เสียเวลา และเสียเงิน

แนวทางแก้ไขปั ญหา
 - ใช้สมาร์ทโฟนเฉพาะเรื่ องสาคัญและจาเป็ น วันละ 2-3 ชัว่ โมง
 - เล่นกีฬา ออกกาลังกาย ทางานอดิเรกแทนการเล่นไลน์
 - ให้ความสาคัญกับบุคคลและสิ่งที่อยูต่ รงหน้า เช่น ครอบครัว งาน
9. ปั ญหาผู้สูงอายุ

 พ.ศ. 2564 ประเทศไทยเข้าสู ส่ งั คมผูส้ ู งอายุสมบูรณ์มากกว่า 13 ล้านคน หรื อ 20% เป็ นประเทศที่
มีผูส้ ู งอายุ อายุเกิน 60 ปี เป็นอันดับที่ 2 ของอาเซียน รองจากประเทศสิงคโปร์ และถ้ารัฐไม่ควบคุม
มาตรการการใช้ชวี ติ ปี พ.ศ. 2575 ค่าใช้จา่ ยด้านสุ ขภาพของผูส้ ู งอายุจะพุง่ ถึง 2.2 ล้านล้านบาท และ
ถ้าอีก 20 ปี คือ ในปี พ.ศ. 2583 ประเทศไทยจะมีผูส้ ู งอายุ 20 ล้านคน หรื อ 1 ใน 3 ของคนไทย
ทัง้ ประเทศ และจะมีผูส้ ู งอายุ อายุมากกว่า 80 ปีข้ ึนไปมากถึง 3,500,000 คน คือ มีผูส้ ู งอายุ
มากกว่าวัยเด็ก และผูท้ ่ อี ยูใ่ นวัยทางานจะต้องแบกภาระงานเพื่อเลี้ยงผูส้ ู งอายุดว้ ย
 ปั ญหาการเข้าสู ส่ งั คมผูส้ ู งอายุ ส่งผลกระทบต่อการบริ โภค การมีอานาจในการซื้อลดลง การเจริ ญเติบโต
ทางเศรษฐกิจถดถอย และคุณภาพชีวติ ของประชาชนโดยรวม หากไม่มแี ผนรองรับอย่างมีประสิทธิภาพ
แนวทางการแก้ ไข

 1) ควรกาหนดยุทธศาสตร์ในการรับมือกับปั ญหาผูส้ ู งอายุอย่างชัดเจนและทุก


มิติ
 2) ต้องมีการเตรียมพร้อม เพื่อให้สามารถสร้างสังคมผู ส้ ู งอายุท่ มี คี ุณภาพ
 3) ควรสร้างหลักประกันรายได้ โดยส่งเสริ มและขยายโอกาสในการทางานแก่
ผูส้ ู งอายุ
 4) ควรสร้างระบบดูแลผู ส้ ู งอายุระยะยาวให้มคี วามปลอดภัยในที่สาธารณะ
 5) ควรจัดสรรเบี้ยยังชีพผู ส้ ู งอายุให้สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจในปั จจุบนั
สรุ ปปั ญหาผู้สูงอายุ

สาเหตุของปั ญหา แนวทางแก้ไขปั ญหา


1. ไทยคุมกาเนิ ดกันมาก จึงมีบุตรน้อย 1. กาหนดยุทธศาสตร์เพื่อรับมือกับปั ญหาผูส้ ู งอายุอย่างชัดเจนและทุกมิติ
2. การแพทย์และวิทยาศาสตร์เจริญ คนไทยจึงอายุยืน 2. เตรียมพร้อมเพื่อสร้างสังคมผูส้ ู งอายุท่ มี คี ุณภาพ
3. ปี พ.ศ. 2564 ไทยจะเข้า สู่ส ัง คมผู ้สูง อายุ ส มบูร ณ์ม ากกว่ า 3. สร้างงานเพื่อรองรับผูส้ ู งอายุ
13 ล้านคน มากเป็ นอันดับ 2 ของอาเซียน รองจากสิงคโปร์ 4. สร้างระบบดูแลผูส้ ู งอายุให้มคี วามปลอดภัยในที่สาธารณะ
4. ปี พ.ศ. 2575 รัฐต้องจ่ายค่าดูแลสุขภาพผูส้ ูงอายุถึ ง 2.2 5. จัดสรรเบี้ยยังชีพให้ผูส้ ู งอายุให้เหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจ
ล้านล้านบาท
5. ปี พ.ศ. 2583 ไทยจะมีผูส้ ูงอายุ 20 ล้านคน หรือ 1 ใน 3
ของคนไทยทัง้ ประเทศ
6. ในอนาคตประชากรวัยทางานจะต้องแบกภาระเพื่อเลี้ ยงผูส้ ูงอายุ
10. ปั ญหาภาวะโลกร้ อน

 ตลอดระยะเวลา 70 กว่าปี ท่ ผี า่ นมา ประชากรโลกเพิ่มขึ้นจากเดิม 2 เท่า ทาให้มกี ารใช้


ทรัพยากรมากขึ้นกว่าเดิม 50% ใช้น้ามากกว่า 5 เท่า และเศรษฐกิจโตขึ้นกว่าเดิม 10
เท่า ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากการทาอุตสาหกรรม ส่งผลให้การใช้ทรัพยากรดิน น้า และแร่ธาตุ
มากเกินความจาเป็ น โดยขาดการดูแลสิ่งแวดล้อม
 ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หมายถึง ภาวะที่อุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลก
สู งขึ้น ซึ่งทาให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของปริ มาณฝน ระดับทะเล
ซึ่งผลกระทบต่อมนุ ษย์
สาเหตุของภาวะโลกร้ อน

 ชัน้ บรรยากาศของโลกประกอบด้วยแก๊สต่าง ๆ จานวนมาก โดยเฉพาะแก๊ส


เรื อนกระจก เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน และไนตรัสออกไซด์ ฯลฯ ซึ่งทา
หน้าที่เสมือนเป็นหลังคากระจกของโลก ป้องกันไม่ให้ความร้อนจากดวงอาทิตย์
ที่สง่ ลงมายังพื้นโลกสะท้อนกลับออกไปได้หมด และทาให้อุณหภูมิของโลก
ค่อนข้างคงที่หากไม่มหี ลังคากระจกธรรมชาติแล้ว พื้นผิวโลกจะเย็นกว่าปกติถึง
30 oC ซึ่งไม่อบอุน่ พอที่จะทาให้ส่ ิงมีชวี ิตอาศัยอยูแ่ ละเจริ ญเติบโตได้
สารที่ก่อให้ เกิดแก๊ สเรือนกระจก มีดงั นี ้

 1) แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) มีปริ มาณมากถึง 80%


 2) แก๊สมีเทน (CH4)
 3) แก๊สไนตรัสออกไซด์ (N2O)
 4) สารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC)
 5) โฮโซน (O3)
ผลกระทบจากภาวะโลกร้ อนต่ อภูมิอากาศของไทย

 1) อุณหภูมิสูงขึ้น 1 oC ในรอบ 40 ปี ทาให้ฝนตกหนังในบางพื้นที่ แต่บางพื้นที่แล้ง


 2) แหล่งอาหารของคนและสัตว์ปรับตัวไม่ทนั
 3) การสู ญเสียปะการัง
 4) เกิดภัยธรรมชาติมากขึ้นและรุ นแรงเพิ่มขึ้น
 5) ส่งผลกระทบต่อภาคการเกษตรและแหล่งน้า ภูมิอากาศร้อนทาให้ปริ มาณน้าลดลง
ประมาณ 5-10%
 6) ส่งผลกระทบต่อสุ ขภาพของประชาชน
แนวทางการแก้ ไขปั ญหา

 1) ลดการใช้พลังงานในบ้านทุกชนิ ดเมื่อไม่ใช้งานจะลดคาร์บอนไดออกไซด์ได้ประมาณ 455 กิโลกรัมต่อปี


 2) การใช้เครื่ องใช้ไฟฟ้ าที่มฉี ลากประหยัดไฟเบอร์ 5 และไม่ใช้สารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC) ในสเปรย์พน่ รถยนต์ สเปรย์สีไม้ เพราะจะกัก
ความร้อนได้มากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ถึง 10,000 เท่า
 3) ใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์ 1 ดวง ช่วยลดคาร์บอนไดออกไซด์ประมาณ 68 กิโลกรัมต่อปี
 4) ใช้ตูเ้ ย็นให้ถูกวิธี เช่น ไม่นาของร้อนไปใส่ตูเ้ ย็นทันที
 5) ใช้บริ การขนส่งมวลชนแทนการใช้รถส่วนตัว เพื่อประหยัดน้ามัน
 6) ใช้พลังงานชีวภาพ รักษาสิ่งแวดลิ้ม
 7) ขับรถความเร็วไม่เกิน 90 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง เพราะจะช่วยประหยัดน้ามันได้ถึง 20% และลดคาร์บอนไดออกไซด์ 1 ตันต่อ 30,000
กิโลเมตรต่อปี
 8) ปลูกป่ าแทนการทาลายป่ า
 9) ใช้พลังงานทดแทนที่ไม่เกิดมลภาวะเป็ นพิษ
 10) ควรบริ โภคสินค้าและผลิตภัณฑ์ท่ ผี ลิตภายในประเทศเพื่อประหยัดพลังงานในขนส่งและนาเข้าสินค้า
สาเหตุของปั ญหา

 - ประชากรเพิ่ม 2 เท่า ใช้ทรัพยากรเพิ่ม 50%


 - โรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นมาก
 - ขาดการดูแลสิ่งแวดล้อม
 - เกิดแก๊สเรื อนกระจก
 - อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกสู งขึ้น
 - ปริ มาณฝนและระดับน้าทะเลเปลี่ยนไป
 - เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 80%
แนวทางแก้ ไขปั ญหา

 - ปิ ดเครื่ องใช้ไฟฟ้ าทุกชนิ ดเมื่อไม่ใช้งาน


 - ใช้เครื่ องใช้ไฟฟ้ าที่มฉี ลากประหยัดไฟเบอร์ 5
 - ใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์
 - ใช้พลังงานชีวภาพ รักษาสิ่งแวดล้อม
 - ปลูกป่ า
 - ใช้พลังงานทดแทน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานน้า พลังงานลม
 - ใช้สินค้าที่ผลิตภายในประเทศ
11. ปั ญหาการว่ างงาน

 การว่างงาน หมายถึง การที่บุคคลในวัยทางานไม่มงี านทาเป็นสภาวะที่บุคคลที่มคี วามรู ้ ความสามารถ


และเต็มใจที่จะทางานแต่ไม่สามารถหางานทาได้
สาเหตุของปั ญหา
 1) เกดจากสถานการณ์ภายในประเทศ เช่น มีปัญหาความไม่สงบทางการเมือง เศรษฐกิจซบเซา ทาให้นักลงทุนไม่มน่ั ใจ จึงไม่
กล้าลงทุน หรื อย้ายฐานการผลิตสินค้าไปต่างประเทศ
 2) ประเทศต่าง ๆ ทัว่ โลกประสบปัญหาวิกฤตโควิด-19 ทาให้ไม่สามารถส่งออกสินค้าและนาเข้าสินค้าได้และทุกธุ รกิจได้รบั
ผลกระทบอย่างหนัก
 3) การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว แรงงานที่ทาอยูเ่ ดิมขาดทักษะการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่จึงถู กเลิกจ้าง
 4) หลักสู ตรการศึกษาไม่ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน
 5) การว่างงานตามฤดูกาล
 6) เกิดจากปัญหาอื่น ๆ เช่น เกิดภัยธรรมชาติ น้าท่วม ภัยแล้ง และวิกฤตน้ามันมีราคาแพง
แนวทางการแก้ ไขปั ญหา

 1) การปลูกฝังค่านิ ยมที่ดแี ก่เด็กและเยาวชนว่า งานสุ จริ ตทุกอย่างมีเกียรติ ไม่


เลือกงาน
 2) รัฐบาลควรมีนโยบายการศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบายทางเศรษฐกิจ โดยจัด
การศึกษาให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน
 3) รัฐบาลควรมีนโยบายการเงิน โดยใช้มาตรการทางการเงินเพื่อเพิ่มเงินทุน
หมุนเวียนในประเทศ จัดทาหลักสู ตรให้สอดคล้องกับความต้องการของ
ตลาดแรงงาน
 4) จัดอบรมพนักงานเพื่อให้มคี วามรู แ้ ละทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่
สาเหตุของปั ญหา

 - ความไม่สงบทางการเมือง
 - ปั ญหาโควิด-19
 - หลักสู ตรไม่สนองความต้องการของตลาดแรงงาน
 - การว่างงามตามฤดูกาล
 - ภัยธรรมชาติ
แนวทางแก้ ไขปั ญหา

 - ปลูกฝังค่านิ ยมงานสุ จริ ตมีเกียรติ


 - จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับเศรษฐกิจ
 - รัฐกระตุน้ เศรษฐกิจในประเทศ
 - ทาหลักสู ตรให้สนองความต้องการของตลาด
 - สร้างงาน สร้างอาชีพ
12. ปั ญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร

 การมีเพศสัมพันธ์กอ่ นวัยอันควร หมายถึง การที่หนุ ่มสาวซึ่งอยูใ่ นวัยศึกษาเล่าเรียนมีเพศสัมพันธ์กนั โดยที่ยงั ไม่พร้อม

สาเหตุของปั ญหา
 1) วัฒนธรรมตะวันตกครอบงา
 2) วัยรุ ่นบางคนมีคา่ นิ ยมเปลี่ยนไปจากเดิม
 3) วัยรุ ่นบางคนมีความเข้าใจเรื่ องเพศไม่ถูกต้อง
 4) วัยรุ ่นมีการเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะฮอร์โมนในร่างกาย มีผลกระตุน้ ให้มคี วามสนใจเพศตรงข้าม
 5) แรงขับธรรมชาติทาให้วยั รุ ่นอยากรู ้ อยากลองในเรื่ องเพศ
แนวทางการแก้ ไขปั ญหา

 1) การเรียนรู ค้ วามคิดที่แตกต่างกันของชาย-หญิงเรื่ องเพศ ผูช้ ายมีเพศสัมพันธ์โดยไม่มคี วามรัก ส่วนผูห้ ญิงมีเพศสัมพันธ์


เพราะความรัก
 2) วัยรุ ่นควรคิดว่าวัยรุ ่นหญิงเป็นเพศเดียวกับแม่ พี่สาว น้องสาว
 3) วัยรุ ่นควรหลีกเลี่ยงการถูกเนื้ อต้องตัวกัน
 4) ควรหลักเลี่ยงการไปในสถานที่เปลี่ยว
 5) วัยรุ ่นหญิงควรแต่งกายเรียบร้อย มิดชิด
 6) วัยรุ ่นชายและหญิงควรวางตัวต่อกันอย่างสุ ภาพ
 7) การสาเร็จความใคร่ดว้ ยตนเองในสถานการณ์ท่ จี าเป็น
 8) บิดามารดาควรดูแลเอาใจใส่บุตรที่อยูใ่ นช่วงวัยรุ ่นเป็นพิเศษ
สาเหตุของปั ญหา

 1. รับวัฒนธรรมตะวันตกเรื่ องอยูก่ นั ก่อนแรงงาน


 2. วัยรุ ่นบางคนเข้าใจเรื่ องเพศผิด
 3. วัยรุ ่นมีฮอร์โมนเพศทาให้สนใจเพศตรงข้าม
 4. วัยรุ ่นอยากรู ้ อยากลองเรื่ องเพศ
 5. เป็นแฟชัน่ มีแฟนอวดเพื่อน
แนวทางแก้ ไขปั ญหา

 1. ให้ความรู เ้ รื่ องเพศที่ถูกต้องแก่วยั รุ ่น


 2. วัยรุ ่นหนุ ่มสาวไม่ควรอยูใ่ นที่เปลี่ยว หรื อพักค้างคืนสองต่อสอง
 3. ควรให้วยั รุ ่นรู ถ้ ึงผลเสียของการมีเพศสัมพันธ์กอ่ นวัยอันควร
 4. บิดามารดาควรดูแลบุ ตรในช่วงวัยรุ ่นมากเป็ นพิเศษ

You might also like