You are on page 1of 30

หน่ วยที่ 3 คุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยม

ของสังคมไทย
สาระสาคัญ

คนไทยส่ วนใหญ่ ได้ รับการชื่นชมว่ าเป็ นผู้ทมี่ ีคุณธรรม


จริยธรรม ค่ นิยมที่ดีงาม ซึ่งแสดงออกโดย การคิดดี พูดดี ทาดี
คุณธรรม จริยธรรมและค่ านิยมทีด่ ีมีพนื้ ฐานมาจากหลักธรรม
ของศาสนาและขนบธรรมเนียมประเพณีที่ฝ่ายกระบวนการ
อบรมสั่ งสอนโดยสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา และ
สถาบันศาสนา
สาระการเรียนรู้

• คุณธรรม จริ ยธรรมของสังคมไทย


• ค่านิยมของสังคมไทย
จุดประสงค์ การเรียนรู้

• ให้นิยามของคาว่า คุณธรรม จริ ยธรรม ได้


• อธิบายความสาคัญของคุณธรรม จริ ยธรรมได้
• ระบุคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการได้
• จาแนกคุณธรรม จริ ยธรรมของพลเมืองดีได้
• สรุ ป 9 คาที่พอ่ สอนได้
• อธิ บายความหมายของค่านิ ยมได้
• บอกความสาคัญและหน้าที่ของค่านิยมได้
• จาแนกค่านิยมพื้นฐาน ค่านิยม 12 ประการได้ และค่านิยมสากลได้
• เปรี ยบเทียบลักษณะค่านิ ยมของสังคมไทยในอดีตกับปั จจุบนั ได้
• สรุ ปค่านิยมที่เป็ นอัตลักษณ์ของสังคมไทยได้
• เปรี ยบเทียบค่านิ ยมสังคมเมืองกับสังคมชนบทได้
• บอกความแตกต่างระหว่างค่านิ ยมที่ควรปลูกฝังกับค่านิ ยมที่ควรแก้ไขได้
• วิเคราะห์แนวทางการปลูกฝังค่านิ ยมของสังคมไทยได้
คุณธรรม จริยธรรมของสังคมไทย

• ความหมายของคุณธรรม จริยธรรม
• คุณธรรม เป็ นสภาพของจิตใจ คือ ความดีงามที่ถูกปลูกฝังขึ้นในจิตใจ เช่น มี
ความกตัญญู ขยัน ประหยัด ซื่ อสัตย์ ฯลฯ จนเกิดจิตสานึกที่ดี รู ้ผดิ ชอบชัว่ ดี เมื่อ
จิตใจเกิดคุณธรรมขึ้นแล้ว ทาให้ได้ชื่อว่า เป็ นผูม้ ีคุณธรรม
• จริ ยธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็ นข้อประพฤติปฏิบตั ิ เป็ นการกระทาดีตาม
คุณธรรมที่มีอยูใ่ นจิตใจ ปรากฏเป็ นความดีงามในเชิงพฤติกรรมทั้งทายกาย ทาง
วาจา และทางใจ เช่น มีความกตัญญูกตเวที ขยัน ประหยัด โดยแสดงออกทาง
กิริยา
ความสาคัญของคุณธรรม จริยธรรม

คุณธรรม จริ ยธรรมมีความสาคัญ 5 ประการ คือ


• 1. สร้างความมัน่ คงทางจิตใจแก่บุคคล
• 2. ช่วยให้บุคคลมีสติสมั ปชัญญะ ไม่หลงลืมตนเอง
• 3. ช่วยควบคุมพฤติกรรมให้บุคคลทาความดีละเว้นความชัว่
• 4. ช่วยสร้างความเจริ ญทั้งทางด้านวัตถุและด้านจิตใจไปพร้อม ๆ กัน
• 5. ช่วยให้การดาเนินชีวติ เป็ นไปด้วยความราบรื่ นและสงบสุ ข
คุณธรรมขัน้ พืน้ ฐาน 8 ประการ

ขยัน
ประหยัด
คุณธรรม ซื่อสัตย์
มีวินยั
ประการ
พื้นฐาน 8

สุภาพ
สะอาด
สามัคคี
มีน้ าใจ
คุณธรรมของพลเมืองดี

• พลเมืองดีของสังคมจาเป็ นจะต้องมีคุณธรรมเป็ นหลักในการดาเนินชีวิต 8 ประการ คือ


• 1. ความสามัคคี คือ พลัง
• 2. ละอายและเกรงกลัวต่อการกระทาชัว่
• 3. เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมเป็ นหลัก
• 4. ซื่ อสัตย์สุจริ ตต่อตนเองและผูอ้ ื่น
• 5. ยอมรับความคิดเห็นที่มีเหตุผลเหนือกว่า
• 6. มีระเบียบ วินยั และความรับผิดชอบต่อหน้าที่
• 7. กล้าหาญและเชื่อมัน่ ในตนเองในสิ่ งที่ถูกต้องและสร้างสรรค์
• 8. ส่ งเสริ มคนดีให้ปกครองบ้านเมืองและควบคุมไม่ให้คนไม่ดีมีอานาจ
9 คาที่พ่อสอน

• ต้องใช้ • มี
เวลา • ค่อยเป็ นค่อย
ระเบียบ
1.ความเพียร • ต้องใช้ 2. ความพอดี ไป 3.ความรู้ตวั • รู้ตวั อยู่
ความ • ไม่ทาเกินฐานะ
เสมอ
อดทน
9 คาที่พ่อสอน

•มีความอ่อนโยน
•เอาแต่ได้
4.ต้ องรับ ไม่ได้ 5.อ่อนโยนแต่ แต่ไม่อ่อนแอ 6.พูดจริ งทา - พูดอย่างไร
•เสี ยสละ
และให้ •ต้องรับ ไม่อ่อนแอ ประโยชน์ส่วนตัว จริ ง ทาอย่างนั้น
และให้ เพื่อส่วนรวม
9 คาที่พ่อสอน

• หนังสื อ
เป็ นสิ่ ง • กล้าและบาก
7.หนังสือ สาคัญ พื้นฐานความดีทุก 9.การเอาชนะ บัน่
8.ความซื่อสัตย์ อย่าง ใจตน
เป็ นออมสิน • ความรู ้
เป็ นออม
• ทาความดี ทา
ถูกต้อง
สิ น
ค่ านิยมของสังคมไทย

• ความหมายของค่านิยม
• ค่านิ ยม (Values) หมายถึง สิ่ งที่คนในสังคมยึดถือและ
ปฏิบตั ิและเป็ นสิ่ งที่สงั คมถือว่ามีค่า พึงปรารถนา ควรค่าแก่
การประพฤติปฏิบตั ิ จึงยอมรับและนามาเป็ นแนวทางการ
ประพฤติอย่างสม่าเสมอหรื ออย่างน้อยก็ระยะหนึ่ง เพื่อให้
บรรลุเป้ าหมายของตนเองหรื อสังคม
ความสาคัญของค่ านิยม

• 1 ช่วยให้บุคคลตัดสิ นใจว่าสิ่ งใดถูก สิ่ งใดผิด ดีหรื อไม่ดี


• 2 ช่วยให้บุคคลกาหนดท่าทีของตนต่อเหตุการณ์ที่ตน
ต้องเผชิญ
• 3 ช่วยสร้างมาตรฐานและแบบฉบับจากการประพฤติ
ปฏิบตั ิของบุคคล
• 4 ช่วยเสริ มสร้างหลักธรรม
หน้ าที่ของค่ านิยม

• 1 เป็ นแรงจูงใจหรื อแรงผลักดันของบุคคล


• 2 เป็ นบรรทัดฐานหรื อมาตรฐานของ
พฤติกรรม
• 3 เป็ นแบบแผนในการตัดสิ นใจและแก้ไขข้อ
ขัดแย้งต่าง ๆ
ค่ านิยมพืน้ ฐาน

• คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติได้ประกาศค่านิยมพื้นฐานเพื่อปลูกฝังแก่
ชาวไทย 5 ประการ คือ
• 1 การพึ่งพาตนเอง ขยันหมัน่ เพียร และมีความรับผิดชอบ
• 2 การประหยัดและอดออม
• 3 การมีระเบียบและเคารพกฎหมาย
• 4 การปฏิบตั ิตามหลักธรรมของศาสนา
• 5 ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย ์
ค่ านิยม 12 ประการ
คณะรักษาความสงบเรี ยนร้ อยแห่งชาติ (คสช.) มีดงั นี ้
• 1 มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย ์ ซึ่งเป็ นสถาบันหลักของชาติ
• 2 ซื่อสัตย์ เสี ยสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่ งที่ดีเพื่อส่ วนรวม
• 3 กตัญญูต่อพ่อแม่ ผูป้ กครอง ครู บาอาจารย์
• 4 ใฝ่ หาความรู้ หมัน่ ศึกษาเล่าเรี ยน
• 5 รักษาวัฒนธรรมประเพณี อนั ดีงามของไทย
• 6 มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผูอ้ ื่น เผือ่ แผ่และแบ่งปัน
• 7 เข้าใจเรี ยนรู้การเป็ นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุขที่ถูกต้อง
• 8 มีระเบียบวินยั เคารพกฎหมาย ผูน้ อ้ ยรู้จกั การเคารพผูใ้ หญ่
• 9 มีสติ รู้ตวั รู้คิด รู้ทา
• 10 รู้จกั ดารงตนโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
• 11 มีความเข้มแข็งทั้งร่ างกายและจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออานาจฝ่ ายต่าหรื อกิเลส มีความละอายเกรงกลัวต่อบาป
• 12 คานึงถึงผลประโยชน์ของส่ วนรวมและชาติ
ค่ านิยม 12 ประการ
• - รักชาติ ศาสนา ประชาชน
• - ซื่อสัตย์ เสี ยสละ อดทน
• - กตัญญูต่อพ่อแม่ ครู บาอาจารย์
• - ใฝ่ หาความรู้
• - รักษาวัฒนธรรม
• - มีศีลธรรม รักษาความสัตย์
• - เรี ยนรู้ประชาธิปไตย
• - มีวินยั เคารพกฎหมาย
• - มีสติ รู้ตวั รู้คิด รู้ทา
• - ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
• - เข้มแข็ง ทั้งกาย ใจ

• - คิดถึงประโยชน์ส่วนรวม
ค่ านิยมสากล

• 1 บุคคลย่อมมีความเสมอภาคระหว่างเพศหญิงและเพศชาย
• 2 บุคคลย่อมมีเสรี ภาพในการนับถือศาสนา
• 3 บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย
• 4 บุคคลมีเสรี ภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ
• 5 บุคคลต้องป้ องกันประเทศ รักษาผลประโยชน์ของชาติ และสาธารณสมบัติของ
แผ่นดิน
• 6 บุคคลต้องยอมรับความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกันและการ และปรับตัวเข้า
หากัน
• 7 บุคคลยอมรับว่าภาษาอังกฤษและภาษาจีนเป็ นภาษาสากลที่ใช้ติดต่อสือ่ สาร
ลักษณะค่ านิยมของสังคมไทยในอดีต

• 1 การยึดมัน่ ในพระพุทธศาสนา
• 2 การเชื่อในเรื่ องกฎแห่งกรรม
• 3 การเชื่อในเรื่ องวิญญาณ ภูตผีปีศาจ
• 4 การยกย่องระบบศักดินา
• 5 การเคารพผูอ้ าวุโส
• 6 การมีชีวิตอยูก่ บั ธรรมชาติ
• 7 การเชื่อถือโชคลาง
• 8 การยึดมัน่ ในจารี ตประเพณี
• 9 พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
• 10 พอใจในสิ่ งที่คนมีอยู่
ลักษณะค่ านิยมของสังคมไทยในปั จจุบัน

• 1 การยึดถือในพระพุทธศาสนา
• 2 เคารพเทิดทูนพระมหากษัตริ ย ์
• 3 การเชื่อเรื่ องของเหตุผล ความเป็ นจริ ง และความถูกต้อง
• 4 ค่านิยมในการรับความรู้
• 5 การนิยมความร่ ารวยและมีเกียรติ
• 6 มีความเชื่อมัน่ ในตนเองสูง
• 7 ต้องทางานแข่งกับเวลา
• 8 รักอิสระ ไม่ชอบอยูภ่ ายใต้อานาจใคร
• 9 นิยมการทดลองอยูด่ ว้ ยกันก่อนแต่งงาน
• 10 นิยมใช้ภาษาต่างประเทศ และยกย่องคุณวุฒิมากกว่าวัยวุฒิ
ค่ านิยมที่เป็ นอัตลักษณ์ ของสังคมไทย

• 1 ความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริ ย ์
• 2 การเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา
• 3 การนับถือเงินตรา ยึดมัน่ ในเงินทอง สิ่ งของมีค่ามากกว่าความดี
• 4 การขาดระเบียบวินยั
• 5 การเคารพผูอ้ าวุโส ยกย่องผูม้ ีความรู ้
• 6 รักความสนุก ชอบความสบาย รักความเป็ นอิสระ
• 7 การไม่ตรงต่อเวลา
• 9 เชื่อโชคลาง อยากรวย ชอบเล่นการพนัน
• 10 ชอบแจกของแถม ไม่ชอบเห็นใครดีกว่าตน
ค่ านิยมที่เป็ นอัตลักษณ์ ของสังคมไทย
• - จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริ ย ์
• - ศรัทธาในพระพุทธศาสนา
• - นับถือเงินตรามากกว่าความดี
• - ขาดระเบียบวินยั
• - เคารพผูอ้ าวุโส
• - รักความสนุก สบาย อิสระ
• - กตัญญูรู้คุณ
• - ไม่ตรงต่อเวลา
• - เชื่อโชคลาง
• - ชอบของแจกของถม
ค่ านิยมสังคมเมือง

• 1 นิยมในเรื่ องวัตถุ ใช้สินค้าแบรนเนม


• 2 ชอบความหรู หรา ใช้จ่ายฟุ่ มเฟื อย
• 3 ยกย่องผูม้ ีอานาจ เงินทอง
• 4 เห็นแก่ตวั มีการแข่งขันกันมาก
• 5 เชื่อในเรื่ องหลักการและเหตุผล
• 6 ร่ วมงานหรื อร่ วมพิธีกรรมทางศาสนาน้อย
• 7 ชีวิต แข่งขันกับเวลา
• 8 ไม่ชอบเห็นใครเหนือกว่าตน
ค่ านิยมสังคมชนบท

• 1 ยกย่องคนดี มีน้ าใจ


• 2 ประหยัด อดออม
• 3 นิยมภูมิปัญญาไทยและสิ นค้าไทย
• 4 เสี ยสละ เอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ เห็นแก่ส่วนรวม
• 5 เชื่อโชคลางและไสยศาสตร์
• 6 ชอบเล่นการพนัน
• 7 ชอบทาบุญ ร่ วมพิธีกรรมทางศาสนา
• 8 มีความสันโดษ และพอใจในสิ่ งที่มีอยู่
• 9 ชีวิตขึ้นอยูก่ บั ธรรมชาติ
ค่ านิยมที่ควรปลูกฝั ง

• 1 ค่านิยมความเป็ นไทย ภูมิปัญญาไทย ใช้สินค้าไทย


• 2 มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
• 3 มีความกตัญญูกตเวที
• 4 มีความขยัน อดทน
• 5 ยกย่องทาความดี
• 6 มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ ยึดมัน่ หลักการประชาธิปไตย
ค่ านิยมที่ควรปลูกฝั ง

• 7 ให้ความสาคัญของขนบธรรมเนียมประเพณี
• 8 เห็นความสาคัญของครอบครัว
• 9 ช่วยกันรักษาสาธารณสมบัติและมรดกทาง
วัฒนธรรมของชาติ
ค่ านิยมที่ควรปลูกฝั ง
• - นิยมภูมิปัญญาไทย สิ นค้าไทย
• - ซื่อสัตย์
• - กตัญญูกตเวที
• - ขยัน อดทน
• - ยกย่องความดี
• - มีความคิดริ เริ่ ม
• - รักษาขนบธรรมเนียม
• - ให้ความสาคัญของครอบครัว
• - รักษาสาธารณสมบัติ
แนวทางการปลูกฝั งค่ านิยมของสังคมไทย

• 1 สถาบันครอบครัว บิดามารดาและผูป้ กครองต้องเป็ นแบบอย่างที่ดี พูดและทาให้


เห็นเป็ นตัวอย่าง
• 2 สถาบันการศึกษา ครู อาจารย์ให้การอบรมสัง่ สอนศิษย์ในด้านคุณธรรม จริ ยธรรม
ครู อาจารย์ตอ้ งเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ และสถานศึกษาต้องจัดกิจกรรมที่ส่งเสริ มค่านิยมที่ดี
เช่น ความสามัคคี ความเอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ จิตอาสา
• 3 สถาบันการเมืองการปกครอง ควรส่งเสริ มค่านิยมในด้านประชาธิปไตย
• 4 สถาบันสื่ อสารมวลชน โดยนาเสนอตัวอย่างของผูท้ ี่มีค่านิยมที่ดี เปรี ยบเทียบกับผู้
ที่มีค่านิยมที่ควรแก้ไข และให้เยาวชนเปรี ยบเทียบข้อดี ข้อเสี ย และเลือกปฏิบตั ิ
การปลูกฝั งค่ านิยม

• สถาบันครอบครัว
• - บิดามารดาเป็ นแบบอย่างที่ดี
• - พูดและทาให้เห็นเป็ นตัวอย่าง
• สถาบันการศึกษา
• - ครู -อาจารย์อบรมสั่งสอนให้ศิษย์มีคุณธรรม
• - ครู -อาจารย์เป็ นแม่พิมพ์ที่ดี
• - สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่ งเสริ มค่านิยมที่ดี

การปลูกฝั งค่ านิยม

• สถาบันการเมืองการปกครอง
• - ส่ งเสริ มประชาธิปไตย
• - รับฟังความคิดเห็น
• - ใช้เหตุผลแก้ปัญหา
• - ตั้งคณะกรรมการนักเรี ยน สภานักศึกษา
• สถาบันสื่ อสารมวลชน
• - นาเสนอ คนดีศรี สังคม
• - ให้ผเู ้ รี ยนเปรี ยบเทียบคนดีกบั คนไม่ดี

You might also like