You are on page 1of 322

การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิตศาสตร์ เรืองการประยุกต์ 1 โดยใช้ การจัดการเรียนรู้

แบบปัญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริมความสามารถในการแก้ ปัญหา สํ าหรับนักเรียนชันมัธยมศึกษาปี ที 1

โดย
นายอนุรักษ์ เร่ งรัด

วิทยานิพนธ์ นีเป็ นส่ วนหนึงของการศึกษาตามหลักสู ตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต


สาขาวิชาหลักสู ตรและการนิเทศ
ภาควิชาหลักสู ตรและวิธีสอน
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปี การศึกษา 2557
ลิขสิ ทธิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิตศาสตร์ เรืองการประยุกต์ 1 โดยใช้ การจัดการเรียนรู้
แบบปัญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริมความสามารถในการแก้ ปัญหา สํ าหรับนักเรียนชันมัธยมศึกษาปี ที 1

โดย
นายอนุรักษ์ เร่ งรัด

วิทยานิพนธ์ นีเป็ นส่ วนหนึงของการศึกษาตามหลักสู ตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต


สาขาวิชาหลักสู ตรและการนิเทศ
ภาควิชาหลักสู ตรและวิธีสอน
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปี การศึกษา 2557
ลิขสิ ทธิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
THE DEVELOPMENT OF EXERCISE IN MATHEMATIC ON APPLICATION 1 BY USING
PROBLEM BASED LEARNING FOR ENHANCING PROBLEM SOLVING ABILITY FOR
THE STUDENTS IN SEVENTH GRADE

By
Mr. Anurak Rengrad

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree


Master of Education Program in Curriculum and Supervision
Department of Curriculum and Instruction
Graduate School, Silpakorn University
Academic Year 2014
Copyright of Graduate School, Silpakorn University
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุ มตั ิให้วิทยานิ พนธ์เรื อง “การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ
วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความ
สามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1” เสนอโดย นายอนุรักษ์ เร่ งรัด เป็ นส่ วน
หนึงของการศึกษาตามหลักสู ตรปริ ญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสู ตรและการนิเทศ

......................................................................
(รองศาสตราจารย์ ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ์)
คณบดีบณั ฑิตวิทยาลัย
วันที..........เดือน...................... พ.ศ..............

อาจารย์ทีปรึ กษาวิทยานิพนธ์
1. อาจารย์ ดร.อุบลวรรณ ส่ งเสริ ม
2. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ไชยยศ ไพวิทยศิริธรรม
3. อาจารย์ ดร.กนิษฐา เชาว์วฒั นกุล

คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์

.................................................... ประธานกรรมการ
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.มาเรี ยม นิลพันธุ์)
............/......................../..............

.................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ


(อาจารย์ ดร.พินดา วราสุ นนั ท์) (อาจารย์ ดร.อุบลวรรณ ส่ งเสริ ม)
............/......................../.............. ............/......................../..............

.................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ


(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ไชยยศ ไพวิทยศิริธรรม) (อาจารย์ ดร.กนิษฐา เชาว์วฒั นกุล)
............/......................../.............. ............/......................../..............
55253316 : สาขาวิชาหลักสู ตรและการนิเทศ
คําสําคัญ : แบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ / การจัดการเรี ยนรู้แบบปัญหาเป็ นฐาน / ความสามารถในการแก้ปัญหา
อนุ รักษ์ เร่ งรัด : การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้ แบบ
ปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปั ญหา สําหรั บ นักเรี ยนชันมัธยมศึ กษาปี ที 1. อาจารย์ทีปรึ กษา
วิทยานิพนธ์ 1) อ.ดร. อุบลวรรณ ส่ งเสริ ม 2) ผศ.ดร.ไชยยศ ไพวิทยศิริธรรม และ3) อ.ดร.กนิษฐา เชาว์วฒั นกุล.306 หน้า.
การวิจยั ครั งนี วัตถุประสงค์ 1) เพือศึกษาข้อมูลพืนฐานและความต้องการในการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชา
คณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา
สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 2) เพือพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการ
เรี ย นรู้ แ บบปั ญ หาเป็ นฐาน เพื อส่ ง เสริ ม ความสามารถในการแก้ปั ญ หา สํา หรั บ นัก เรี ย นชันมัธ ยมศึ ก ษาปี ที 1ให้ มี
ประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์ / 3) เพือทดลองใช้แบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการ
เรี ยนรู้ แ บบปั ญ หาเป็ นฐาน เพื อส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ ปั ญ หา สํ า หรั บ นั ก เรี ยนชั นมัธ ยมศึ ก ษาปี ที 1
4) เพือประเมินผลและปรับปรุ งแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้ แบบปั ญหา
เป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 โดยเปรี ยบเทียบความสามารถใน
การแก้ปัญหา ก่อนและหลังใช้แบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ น
ฐาน และศึกษาความคิดเห็นของนั ก เรี ยนทีมีต่อแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการ
เรี ยนรู้แบบปัญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 กลุ่มตัวอย่างที
ใช้ในการวิจยั คือ นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1/1 โรงเรี ยนไทรโยคมณี กาญจน์วิทยา จังหวัดกาญจนบุรี ทีกําลังศึกษาอยู่ใน
ภาคเรี ยนที 1 ปี การศึกษา 2557 จํานวน 35 คน เครื องมือทีใช้ในการวิจยั ประกอบด้วย 1) แบบฝึ กทักษะ เรื อง การประยุกต์
2) แผนการจัดการเรี ยนรู้ตามแนวการสอนแบบปัญหาเป็ นฐาน จํานวน 8 แผนการเรี ยนรู้ ) แบบทดสอบวัดความสามารถ
ในการแก้ปัญหา 4) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรี ยนทีมีต่อแบบฝึ กทักษะ โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ น
ฐาน การวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ(%) ค่าเฉลีย ( & ) ค่าเบียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ทดสอบค่าที (t – test)
แบบ Dependent และการวิเคราะห์เนือหา (Content Analysis)
ผลการวิจยั พบว่า ) นักเรี ยนและครู กลุ่มสาระการเรี ยนรู้คณิ ตศาสตร์ เห็นความสําคัญต่อการใช้แบบฝึ กทักษะ
ประกอบการจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา ประกอบด้วย ชื อเรื อง คํานํา
คําชีแจง สารบัญ วัตถุประสงค์ แบบทดสอบก่อนเรี ยน แบบฝึ กทักษะ จํานวน 4 เล่ม ได้แก่ เรขาคณิ ต สะกิดใจ จํานวนนับ
หรรษา ร้อยละในชี วิตประจําวันและโจทย์ปัญหาชวนคิด และ แบบทดสอบหลังเรี ยน ) แบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์
เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรั บ
นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 มีประสิ ทธิ ภาพเท่ากับ 80.37 /82.21 ซึ งสู งกว่าเกณฑ์ 80/80 ) ทดลองใช้แบบฝึ กทักษะ
จํานวน 4 เล่ม 8 แผนการเรี ยนรู้ รวม 16 ชัวโมง และจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน 5 ขันตอน 4) ความสามารถในการ
แก้ปัญหา ก่อนและหลังใช้แบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปัญหาเป็ นฐาน
พบว่า ความสามารถในการแก้ปัญหาหลังเรี ยนสู งกว่าก่ อนเรี ยน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ.05 5) ความคิดเห็นของ
นั ก เรี ยนทีมีต่อแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือ
ส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 พบว่า โดยภาพรวมนักเรี ยนมีความคิดเห็นอยู่
ในระดับดี และนักเรี ยนมีความคิดเห็นว่าการทําแบบฝึ กทักษะ ทําให้สามารถแก้โจทย์ปัญหาได้มากขึน เข้าใจง่าย เป็ นต้น
ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ลายมือชือนักศึกษา ............................................................ ปี การศึกษา 2557
ลายมือชืออาจารย์ทีปรึ กษาวิทยานิพนธ์ 1. ........................................... 2............................................... 3..............................................

55253316: MAJOR : CURRICULUM AND SUPERVISION
KEY WORDS: EXERCISE IN MATHEMATIC /PROBLEM BASED LEARNING/ PROBLEM SOLVING
ABILITY
ANURAK RENGRAD : THE DEVELOPMENT OF EXERCISE IN MATHEMATIC ON
APPLICATION 1 BY USING PROBLEM BASED LEARNING FOR ENHANCING PROBLEM SOLVING
ABILITY FOR THE STUDENTS IN SEVENTH GRADE. THESIS ADVISOR : 1) UBONWAN SONGSERM, Ph.D.,
2) ASST.PROF.CHAIYOS PAIWITHAYASIRITHAM, Ed.D., AND 3) KANITHA CHOWATTHANAKUN, Ph.D. 306 pp.
The purpose of this research were 1) To study the fundamental data and need assessment for
development of exercise in mathematic on application 1 by using problem based learning for enhancing problem
solving ability for the students in seventh grade. 2) To develop exercise in mathematic on application 1 by using
problem based learning for enhancing problem solving ability for the students in seventh grade according to
standard criterion 80/80. 3) To study investigates to exercise in mathematic on application 1 by using problem based
learning for enhancing problem solving ability for the students in seventh grade. 4) To evaluate and develop
exercise in mathematic on application 1. The objectives are 4.1) To compare the ability of problem solving on
pretest and posttest exercise in mathematic on application 1 by using problem based learning. 4.2) To study
students’ opinion toward the mathematic exercises. The sample was 35 students in seventh grade who are studying
in the first semester 2014 academic year, Saiyokmaneekanwittaya school in Kanchanaburi province. The instrument
used for this experiment includes the mathematic exercises on application 1, lesson plans by using problem based
learning, problem solving ability tests and the questionnaires about the students’ opinion toward the exercises. The
data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, t– test dependent and content analysis.
The results on findings were as follow: 1) The students and mathematic teachers have realized the
significance of exercise during instruction activity using exercise to enhance problem solving ability. The exercise
includes the significant components such as title, introduction, direction, content, objective, pretest, exercises, and
posttest.2) The result of development of exercises in mathematic: application 1 by using problem based learning for
enhancing problem solving ability for the students in seventh grade according to standard criterion 80.37/82.21
higher than 80/80. 3) The experiment of math exercise including 4 books, 8 lesson plans, 16 hours and learning
activity by using problem based learning in 5 procedures. 4) The finding shows that the ability of problem solving
on pretest and posttest is significantly different at 0.5 level 5) The opinion have good attitudes toward the exercises
in mathematic on application 1 by using problem based learning for enhancing problem solving ability for the
students in seventh grade and the students express their opinion about doing the exercise, and they are able to
correct math problem understandably.
Department of Curriculum and Instruction Graduate School, Silpakorn University
Student’s signature…………………………… Academic 2014
Thesis Advisors’ signature 1…………………..……. 2.…..…....……..…..………. 3………….…….….………


กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิ พนธ์ ฉบับนี สําเร็ จลุ ล่วงไปได้ด้วยการให้ความช่ วยเหลื อแนะนําของ อาจารย์ ดร.
อุบลวรรณ ส่ งเสริ ม ซึงเป็ นอาจารย์ทีปรึ กษาวิทยานิ พนธ์ ได้กรุ ณาให้คาํ แนะนํา แก้ไขร่ างวิทยานิพนธ์
และชีแนะในเวลาทีสงสัย หรื อมีปัญหา ให้กาํ ลังใจในการทํางานเสมอมา ผูว้ ิจยั จึงขอกราบขอบพระคุณ
อาจารย์เป็ นอย่างสู ง
ขอบพระคุณ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.มาเรี ยม นิลพันธุ์ ทีกรุ ณาเป็ นประธานในการพิจารณา
วิทยานิ พนธ์ โดยมี อาจารย์ ดร.พินดา วราสุ นนั ท์ ผูท้ รงคุณวุฒิ อาจารย์ ดร.กนิ ษฐา เชาว์วฒั นกุล
และผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ไชยยศ ไพวิทยศิริธรรม เป็ นกรรมการในการสอบวิทยานิพนธ์ ได้กรุ ณา
ตรวจสอบ แก้ไขวิทยานิ พนธ์ฉบับนีให้ถูกต้องสมบูรณ์ยิงขึน ตลอดจนคณาจารย์ในสาขาวิชาหลักสู ตร
และการนิเทศ ทีได้ให้ความรู้ และสังสอนศิษย์ ให้ประสบผลสําเร็ จ
ขอบพระคุณผูเ้ ชียวชาญในการตรวจเครื องมือ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. แสงเดือน เจริ ญฉิ ม
อาจารย์ ดร. วิเนตร แสนหาญ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. เอกนฤน บางท่าไม้ อาจารย์กญ ั ญารัตน์
สอาดเย็น และ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ วสันต์ เดือนแจ้ง ทีได้กรุ ณาทีให้คาํ แนะนํา ข้อคิดเห็น ตรวจสอบ
และแก้ไขเครื องมือในการวิจยั ให้มีคุณภาพ
ขอบพระคุณบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ทีให้การสนับสนุนทุนอุดหนุนการ
ทําวิทยานิพนธ์ จากเงินงบประมาณแผ่นดิน หมวดเงินอุดหนุน ประจําปี งบประมาณ 2557
ขอบคุณพีๆ หลักสู ตร รุ่ น 4 และ 55 ในสาขาวิชาหลักสู ตรและการนิ เทศทุกท่าน ทีเป็ น
แรงกาย แรงใจ คอยช่วยเหลือ ให้คาํ ปรึ กษากับผูว้ จิ ยั
ขอบพระคุณคณะครู อาจารย์ และนักเรี ยน โรงเรี ยนไทรโยคมณี กาญจน์วิทยา ทีได้ให้ความ
ร่ วมมือในการให้ขอ้ มูลในการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้การ
จัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชัน
มัธยมศึกษาปี ที 1 จนสําเร็ จลุล่วง ตลอดจนความห่วงใยทีให้เสมอมา
ท้ายนี ผูว้ ิจยั ขอน้อมรําลึกถึงอํานาจบารมีของคุณพระศรี รัตนตรัย และสิ งศักดิสิ ทธิ ทังหลาย
ทีอยูใ่ นสากลโลก อันเป็ นทีพึงให้ผวู้ ิจยั มีสติปัญญาในการจัดทําวิทยานิ พนธ์ ผูว้ ิจยั ขอให้เป็ นกตเวทิตา
แด่ บิ ดา มารดา ครอบครั ว ญาติ มิ ตร คุ ณนันทิ นี มณี กาญจน์ คุ ณไชยันต์ โชติ ยะปุ ตตะ ตลอดจน
ผูเ้ ขียนหนังสื อ และบทความต่าง ๆ ที ให้ความรู ้ แก่ผูว้ ิจยั จนสามารถให้วิทยานิ พนธ์ฉบับนี สําเร็ จได้
ด้วยดี


สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย ...................................................................................................................... ง
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ................................................................................................................. จ
กิตติกรรมประกาศ ....................................................................................................................... ฉ
สารบัญตาราง .............................................................................................................................. ฎ
สารบัญแผนภูมิ............................................................................................................................. ฑ
บทที
1 บทนํา .................................................................................................................................. 1
ความสําคัญและความเป็ นมาของปั ญหา.................................................................... 1
กรอบแนวคิดในการวิจยั .......................................................................................... 7
คําถามการวิจยั .......................................................................................................... 17
วัตถุประสงค์การวิจยั ............................................................................................... 17
สมมติฐานการวิจยั ................................................................................................... 18
ขอบเขตของการวิจยั ................................................................................................ 18
นิยามศัพท์เฉพาะ ..................................................................................................... 19
ประโยชน์ทีได้รับ .................................................................................................... 21
2 วรรณกรรมทีเกียวข้อง ....................................................................................................... 22
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551..................................... 22
กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ............................................................................. 25
หลักสู ตรสถานศึกษา โรงเรี ยนไทรโยคมณี กาญจน์วทิ ยา ........................................ 26
แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยั ทีเกียวกับแบบฝึ กทักษะ
ความหมายของแบบฝึ กทักษะ........................................................................ 34
ความสําคัญของแบบฝึ กทักษะ ...................................................................... 37


บทที หน้า
หลักในการสร้างแบบฝึ กทักษะ …………………………………………….. 36
หลักจิตวิทยาทีเกียวกับการสร้างแบบฝึ กทักษะ ............................................. 44
ลักษณะแบบฝึ กทักษะทีดี .............................................................................. 46
งานวิจยั ทีเกียวกับการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ ................................................... 47
แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยั เกียวกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบปั ญหาเป็ นฐาน
ความหมายของการจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน .................................... 49
วัตถุประสงค์ของการจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน .................................. 51
เสนอแนวทางปฏิบตั ิในการจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน ....................... 52
ขันตอนในการจัดการเรี ยนรู ้แบบปั ญหาเป็ นฐาน............................................ 53
บทบาทของผูเ้ รี ยนและผูส้ อนในการจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน .......... 61
ประเมินผลการเรี ยนรู้ โดยการจัดการเรี ยนรู้แบบปัญหาเป็ นฐาน ................... 69
งานวิจยั ทีเกียวข้องกับการจัดการเรี ยนรู้แบบปัญหาเป็ นฐาน
งานวิจยั ภายในประเทศ ....................................................................... 70
งานวิจยั ต่างประเทศ ............................................................................ 72
แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยั เกียวกับความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์
ความหมายของปั ญหาและการแก้ปัญหา ....................................................... 74
ประเภทของปัญหาคณิ ตศาสตร์ ..................................................................... 77
องค์ประกอบทีส่ งเสริ มในการแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์ ..................................... 79
ขันตอนการแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์ .................................................................. 82
ยุทธวิธีในการแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์ ............................................................... 85
งานวิจยั ทีเกียวข้องกับการแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์
งานวิจยั ภายในประเทศ ....................................................................... 86
งานวิจยั ต่างประเทศ ............................................................................ 87


บทที หน้า
3 วิธีดาํ เนินการวิจยั ................................................................................................................ 90
กรอบดําเนินการวิจยั ............................................................................................. 91
วิธีดาํ เนินการวิจยั
ขันตอนที 1 วิจยั (R1 : Research) .......................................................... 92
ขันตอนที 2 พัฒนา (D1 : Development) ................................................... 101
ขันตอนที 3 วิจยั (R2 : Research) .......................................................... 118
ขันตอนที 4 พัฒนา (D2 : Development) ................................................... 122
4 การวิเคราะห์ขอ้ มูล ............................................................................................................. 127
ผลการศึกษาข้อมูลพืนฐานและความต้องการในการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ ............ 128
ผลการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ .................................................................................. 138
ผลการทดลองใช้แบบฝึ กทักษะ............................................................................. 3
ผลการประเมินผลและปรับปรุ งแบบฝึ กทักษะ ..................................................... 6
5 สรุ ปผลการวิจยั อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ................................................................... 152
สรุ ปผล ............................................................................................................. 154
อภิปรายผล ............................................................................................................ 156
ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะเพือการนําไปใช้ ..................................................................... 162
ข้อเสนอแนะสําหรับการวิจยั ครังต่อไป ....................................................... 163
รายการอ้างอิง .............................................................................................................................. 164

ภาคผนวก
ภาคผนวก ก รายนามผูเ้ ชียวชาญตรวจเครื องมือ ...................................................... 173
ภาคผนวก ข เครื องมือเก็บรวบรวมข้อมูลพืนฐานและความต้องการ ...................... 175
ภาคผนวก ค ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลพืนฐานและความต้องการในการพัฒนา
แบบฝึ กทักษะ ....................................................................... 182


บทที หน้า
ภาคผนวก ง เครื องมือทีใช้ในการประเมินผล ........................................................ 199
ภาคผนวก จ ผลการตรวจสอบคุณภาพเครื องมือ .................................................... 213
ภาคผนวก ฉ ผลการหาประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กทักษะ ......................................... 239
ภาคผนวก ช แผนการจัดการเรี ยนรู้และแบบฝึ กทักษะ ........................................... 245
ภาคผนวก ซ คะแนนความสามารถในการแก้ปัญหา ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน ........ 286
ภาคผนวก ฌ ผลการทดสอบสมมติฐาน .................................................................. 289
ภาคผนวก ญ รู ปภาพการดําเนินกิจกรรมและผลงานนักเรี ยน ................................. 292
ภาคผนวก ฎ หนังสื อเชิญผูเ้ ชียวชาญตรวจเครื องมือวิจยั
หนังสื อขอทดลองเครื องมือวิจยั และ
หนังสื อขอความอนุเคราะห์ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ....................... 298

ประวัติผวู้ จิ ยั ................................................................................................................................. 6


สารบัญตาราง

ตารางที หน้า
1 โครงสร้างรายวิชาคณิ ตศาสตร์ ค 21201…………………………………………..…... 30
2 หน่วยการเรี ยนรู ้ที 1 เรื องการประยุกต์ 1 ……………………………………………… 33
3 การสังเคราะห์ความหมายของแบบฝึ กทักษะ ………………………….…...…………. 36
4 การสังเคราะห์องค์ประกอบของแบบฝึ กทักษะ ……………………………………..… 37
5 กรอบการเรี ยนรู้ โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน …………………………………………….…. 54
6 การสังเคราะห์ขนตอนการจั
ั ดการเรี ยนรู ้แบบปัญหาเป็ นฐาน …………………….…… 59
7 บทบาทครู และนักเรี ยนในการจัดการเรี ยนรู้แบบปัญหาเป็ นฐาน ……………….…….. 67
8 สรุ ปวิธีการดําเนินการตามขันตอนที 1 การวิจยั (R1 : Research) ………….………...... 99
9 องค์ประกอบภายในแบบฝึ กทักษะ ……………………………………………………. 103
10 เนือหาและการกําหนดมาตรฐานการเรี ยนรู ้ ผลเรี ยนรู ้ ……….………………….......... 107
11 สรุ ปวิธีการดําเนินการตามขันตอนที 2 การพัฒนา (D1 : Development) ……………... 116
12 แสดงแบบแผนการวิจยั …………………….…………………………………….……. 118
13 แผนการจัดการเรี ยนรู้ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื อง การประยุกต์ 1 …….……………….……. 121
14 สรุ ปวิธีการดําเนินการตามขันตอนที 3 การวิจยั (R2 : Research) …………………....... 122
15 เกณฑ์การตรวจแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา ……………….……… 124
16 แสดงเกณฑ์การประเมินความสามารถในการแก้ปัญหา ………………………..……... 125
17 สรุ ปวิธีการดําเนินการตามขันตอนที 4 การพัฒนา (D2 : Development) ……………… 126
18 ผลการวิเคราะห์ความสามารถในการแก้ปัญหา (ก่อนเรี ยน) ……….……………......… 131
19 ข้อมูลพืนฐานและความต้องการในการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ ……….……………….... 132
20 สถานภาพและข้อมูลทัวไปของครู กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ……….…………. 135
21 การคํานวณหาประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กทักษะ แบบรายบุคคล ……….………..……. 141
22 การคํานวณหาประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กทักษะ แบบกลุ่มเล็ก ………..………..…..…. 141
23 การคํานวณหาประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กทักษะ แบบภาคสนาม ……….………….…... 142


ตารางที หน้า
24 ประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 …………..……. 145
25 ผลการเปรี ยบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหา ก่อนและหลังใช้แบบฝึ กทักษะ
วิชาคณิ ตศาสตร์ โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปัญหาเป็ นฐาน สําหรับนักเรี ยน
ชันมัธยมศึกษาปี ที 1 …………………………………...………………..……. 146
26 ผลการเปรี ยบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหา ก่อนและหลังใช้แบบฝึ กทักษะ
วิชาคณิ ตศาสตร์ ตามขันตอนการแก้ปัญหาแบบปัญหาเป็ นฐาน สําหรับนักเรี ยน
ชันมัธยมศึกษาปี ที1/1 ด้วย t – test แบบ Dependent …………………….……. 147
27 ผลการศึกษาความคิดเห็นของนักเรี ยนทีมีต่อแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์
เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปัญหาเป็ นฐานเพือส่ งเสริ ม
ความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 ………... 148
28 คะแนนความสามารถในการแก้ปัญหา (ก่อนเรี ยน) วิชาคณิ ตศาสตร์ …………………. 197
29 ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) แบบสอบถามเกียวกับการศึกษาข้อมูลพืนฐานและ
ความต้องการของนักเรี ยนต่อการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ …………………….…... 214
30 ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) แบบสัมภาษณ์เกียวกับการถามข้อคิดเห็นและ
ข้อเสนอแนะเกียวกับการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ สําหรับครู กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
คณิ ตศาสตร์ ………………………………………...………………….…….. 215
31 ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) แผนการจัดการเรี ยนที 1 รู ปเรขาคณิ ต ………….……. 216
32 ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) แผนการจัดการเรี ยนที 2 รู ปเรขาคณิ ต ………….……. 218
33 ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) แผนการจัดการเรี ยนที 3 จํานวนนับ ...………….……. 220
34 ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) แผนการจัดการเรี ยนที 4 จํานวนนับ ...………….……. 222
35 ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) แผนการจัดการเรี ยนที 5 ร้อยละในชีวติ ประจําวัน ….... 224
36 ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) แผนการจัดการเรี ยนที 6 ร้อยละในชีวติ ประจําวัน ….... 226
37 ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) แผนการจัดการเรี ยนที 7 ปัญหาชวนคิด …………….... 228
38 ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) แผนการจัดการเรี ยนที 8 ปัญหาชวนคิด …………….... 230
39 ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของแบบฝึ กทักษะ เล่มที 1 ………………………….... 232


ตารางที หน้า
40 ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของแบบฝึ กทักษะ เล่มที 2 ………………………….... 233
41 ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของแบบฝึ กทักษะ เล่มที 3 ………………………….... 234
42 ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของแบบฝึ กทักษะ เล่มที 4 ………………………….... 235
43 ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรี ยน(หลังเรี ยน)….... 236
44 ค่าดัชนีความสอดคล้องจากการประเมินความเหมาะสมและความสอดคล้องของ
แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา ……........................……..….. 237
45 การหาค่าความเชือมันของแบบทดสอบอัตนัย เรื องการประยุกต์1 ……….…….…...... 238
46 ผลการคํานวณหาประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กทักษะ แบบรายบุคคล ……….…….…….. 240
47 ผลการคํานวณหาประสิ ทธิ ภาพของแบบฝึ กทักษะ แบบกลุ่มเล็ก ………..…..…...…... 240
48 ผลการคํานวณหาประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กทักษะ แบบภาคสนาม ……….………….. 241
49 ค่าประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กทักษะทดลองจริ งกับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1/1……. 242
50 คะแนนความสามารถพืนฐานในการแก้ปัญหา เรื องการประยุกต์1 …………..……….. 287


สารบัญแผนภูมิ

แผนภูมิที หน้า
1 กรอบแนวคิดในการวิจยั ……………………………………………………….…….. 16
2 ขันตอนในการสร้างแบบฝึ กทักษะ ……………………………………………….….. 39
3 ขันตอนในการจัดการเรี ยนรู ้แบบปั ญหาเป็ นฐาน ……………………………………. 68
4 กรอบดําเนินการวิจยั ………………………………………………………………….. 91
5 ขันตอนการสร้างแบบสอบถาม ……………………………………………………….. 95
6 ขันตอนการสร้างแบบสัมภาษณ์ ……………………………………………………… 98
7 ขันตอนในการสร้างแบบฝึ กทักษะประกอบการจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน …... 105
8 ขันตอนการสร้างแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ……………………………………………… 110
9 ขันตอนการสร้างแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา ……………………. 112
10 ขันตอนในการสร้างแบบสอบถามความคิดเห็นทีมีต่อแบบฝึ กทักษะ……………….... 115


1

บทที่ 1
บทนํา

ความสําคัญและความเปนมาของปญหา
สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว เปนผลสืบเนื่องมาจากความเจริญ กาวหนา
ของวิทยาการตางๆสังคมปจจุบันจึง เปนสัง คมที่ ใชวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและเปนสั งคมของ
ขอมูลขาวสารหรือสังคมสารสนเทศมากขึ้นระบบการศึกษาปจจุบันชวยพัฒนามนุษยใหเปนผูที่มี
ความรูความสามารถรูจักติดตามขอมูล ขาวสาร วิทยาการใหมๆ รูเทาทันการเปลี่ยนแปลงตางๆที่
เกิดขึ้นอยางรวดเร็วและหลากหลาย รูจักคิดวิเคราะห ตัดสินใจ ใหเหตุผลและแกปญหาไดอยาง
สรา งสรรค มีค วามสามารถและทั ก ษะในการติ ดตอ สื่อสารกั บ บุ คคลอื่น ซึ่ง สอดคลองกั บ ยุ ค
ศตวรรษที่ 21 คนที่จะประสบความสําเร็จในชีวิตจะมีเพียงความรูอยางเดียวคงจะไมเพียงพอ แต
ตองมีทักษะในการแกปญหาและคิดริเริ่มสรางสรรค หาสิ่งที่แปลกใหมควบคูกัน (Shinn, 2004)
ดังนั้นการจัดการศึกษาซึ่งถือเปนการเตรียมพรอมในการสรางคนใหมีศักยภาพ จึงจําเปน
ตองมีการปรับปรุง พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนใหเหมาะสม เพื่อสงเสริมนักเรียนใหมีศักยภาพ
เพียงพอที่จะดํารงชีวิตไดอยางดีและมีความสุข ซึ่งในประเทศไทยเองไดมีการพัฒนาการจัดการ
ศึกษาใหสอดคลองดวย ดังจะเห็นไดจากการปฏิรูปการศึกษาในป 2542 ที่เนนใหความสําคัญกับ
การจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญและพัฒนาทักษะการคิด และทักษะตางๆ ใหกับ
ผูเรียนอยางเต็มตามศักยภาพ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2548) จึงกําหนดใหหลักสูตรแกนกลางการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เปนหลักสูตรที่มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการ
เรียนรู และเกิดสมรรถนะสําคัญ 5 ประการ คือ 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถใน
การคิด 3) ความสามารถในการแกปญหา 4) ความสามารถในการใชทักษะชีวิต และ 5) ความ
สามารถในการใชเทคโนโลยี โดยกําหนดความสามารถดานการคิด ใหผูเรียนมีความสามารถในการ
คิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิดอยางสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณและการคิดเปน
ระบบ เพื่อนําไปสูการสรางองคความรูหรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคม
ไดอยางเหมาะสม (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551 : ความนํา) อีกทั้งยังตองยึดการจัดการศึกษาที่สอด
คลองกับ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545หมวด 4

1
1
2

แนวการจัดการศึกษา มาตรา 22 ที่ระบุวา “การจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความ


สามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดและถือว าผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษา
ตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ” การจัดการเรียนการ
สอนวิชาคณิตศาสตรจึงมีสวนสําคัญยิ่งที่จะชวยในการพัฒนาทักษะการคิด และศักยภาพของผูเรียน
ใหสูงขึ้น เพราะดวยวิชาคณิตศาสตรเปนวิชาที่ฝกกระบวนการคิด ฝกการแกปญหา สงเสริมความมี
เหตุผล มีความคิดริเริ่ม ความคิดสรางสรรค มีระบบระเบียบในการคิด และชวยพัฒนาศักยภาพของ
แตละบุคคลใหเปนคนที่สมบูรณ ดังเห็นไดจากพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ 2542 แกไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ที่ไดสะทอนถึงความสําคัญของคณิตศาสตรที่เนนใหผูเรียนมีความรู
และทักษะทางคณิตศาสตร
ด ว ยความสํ า คั ญ ของคณิ ต ศาสตร ดั ง กล า ว หลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน
พุทธศักราช 2551 จึงไดกําหนดใหมีกลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร โดยการกําหนดคุณภาพของ
ผูเรียนไวดังนี้ เมื่อผูเรียนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ป สามารถใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา
ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหาในสถานการณ
ตางๆ ไดอยางเหมาะสม ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม ใชภาษา
และสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ ไดอยางถูกตอง
และชั ด เจน เชื่ อ มโยงความรู ต า งๆในคณิ ต ศาสตร แ ละนํ า ความรู หลั ก การ กระบวนการทาง
คณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่นๆและมีความคิดริเริ่มสรางสรรค
เมื่อพิจารณาดานคุณภาพของผูเรียนแลว พบวาเปาหมายที่สําคัญ คือใหผูเรียนรูจักใชวิธี คิด
และมีทักษะในการแกปญหาเกี่ยวกับคณิตศาสตรในชีวิตประจําวัน ดังนั้นในการจัดการเรียนการ
สอนคณิตศาสตรจึงจําเปนตองเนนใหผูเรียนพัฒนาทัก ษะการแก โจทย ปญหาคณิตศาสตร โดย
มุงเนนใหผูเรียนฝกฝนการแกโจทย ปญหา เพื่อที่จะใหผูเรียนไดพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จําเปน ใน
การแก ปญหา สะสมประสบการณที่ ดีเกี่ ยวกั บ การแก ป ญหาตามระดับ ความสามารถแตล ะคน
(วิไลวรรณ อันทะลัย , 2548: 2 ,อางอิงใน สมิท พรหมมา, 2534: 4) ไดกลาววา โจทยปญหา
คณิตศาสตรเปรียบเสมือนเครื่องมือในการฝกผูเรียนใหมีทักษะที่จะสามารถคิดแกปญหาเกี่ยวกับ
คณิตศาสตร แลวความสามารถที่เกิดขึ้นจะเปนกระบวนการซึ่งสามารถถายโยงไปสูความสามารถ
ในการคิดแกปญหาอื่นๆ ได
คณิตศาสตรจึงมีบทบาทสําคัญอยางยิ่งตอการพัฒนาความคิดของมนุษย ทําใหมนุษยมี
ความคิดสรางสรรค คิดอยางมีเหตุผล เปนระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะหปญหาหรือ
สถานการณไดอยางถี่ถวน รอบคอบ ชวยใหคาดการณ วางแผน ตัดสินใจ แกปญหา และนําไปใชใน
ชี วิ ต ประจํ า วั น ได อ ย า งถู ก ต อ งเหมาะสม นอกจากนี้ ยั ง เป น เครื่ อ งมื อ ในการศึ ก ษาทางด า น
3

วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและศาสตรอื่นๆ คณิตศาสตรจึงมีประโยชนตอการดํา เนินชีวิต ชวยพัฒนา


คุณภาพชีวิตใหดีขึ้น การเปนมนุษย ที่ส มบูรณและสามารถอยู รวมกั บผูอื่นไดอยา งมีค วามสุ ข
(กระทรวงศึกษาธิการ, 2551: 47)
สํา หรั บ การพั ฒ นาทั ก ษะกระบวนการทางคณิ ต ศาสตร นั้ น จํ า เป น ต องเน น เรื่ อ งทั ก ษะ
กระบวนการแกปญหาเปนหลัก เนื่องจากในระหวางที่มีการแกปญหานั้น ผูเรียนจําเปนตองมีการ
แสดงออกถึงการใหเหตุผล การสื่อสาร สื่อความหมาย การนําเสนอ รูจักเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับ
ศาสตรอื่นๆ และเกิ ดความคิดริเริ่มสรางสรรคควบคูกันดวย (สถาบันส งเสริม วิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี, 2550: 339)
การแกโจทยปญหาปจจุบันพบวา ผูเรียนไมสามารถแกโจทยปญหาได คือ ผูเรียนไมรูจักวิธี
คิด ไมทราบวาจะเริ่มตนแกโจทยปญหานั้นอยางไร อานโจทยแลวไมเขาใจวาจะดําเนินการแกโจทย
ปญหานั้นอยางไร ซึ่งพฤติก รรมดัง กลาวทําใหผูเรียนไมเกิดทักษะการแกปญหา (มหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช, 2543: 251) การจัดการเรียนรูใหผูเรียนเกิดกระบวนการแกปญหานั้น นับวา
เปนเรื่องยากสําหรับผูสอน เนื่องจากผูเรียนสวนใหญมักมีปญหาเกี่ยวกับความสามารถในการแก
ปญหา ทั้งที่มีความสามารถและทักษะในการคํานวณ แตหากขาดทักษะในดานของการแกปญหา ก็
จะทําใหผูเรียนไมสามารถเขาใจโจทย ไม สามารถวิเคราะหและหารูปแบบหรือแนวคิดของการแก
ปญหา ผูเรียนก็ไมสามารถแกปญหานั้นไดอยางถูกตอง (วิไลวัลย เมืองโคตร, 2548: 2) การสอน
วิธีแกปญหาไมใชสิ่งใหม แตเปนสิ่งที่ตองฝกฝนใหเกิดความชํานาญ ครูสวนมากพบวาผูเรียนไม
สามารถแกปญหาไดตั้งแตเริ่มเรียนคณิตศาสตร ทั้งนี้มาจากหลายสาเหตุหลายประการ เชน ผูเรียน
ไดรับคําบอกเลามาวาคณิตศาสตรเปนวิชาที่ยากไมสามารถทําความเขาใจได จึงทําใหผูเรียนไมชอบ
คณิตศาสตร ดังนั้นครูจึงควรพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนวิธีการแกปญหา เนนใหมีการ
เรียนการสอนการแกปญหาในโรงเรียนเพื่อใหผูเรียนมีเจตคติที่ดีตอการแกปญหาและสามารถแก
ปญหาตางๆได (สิริพร ทิพยคง, 2545: 4-6)
ซึ่งผลการจัดการเรียนรูวิชาคณิตศาสตรของประเทศไทยยังประสบปญหาและไมสามารถ
บรรลุตามวัตถุประสงคที่ตองการ จากรายงานการประเมินระดับชาติ สะทอนวานักเรียนไทยยังขาด
ความรูความเขาใจเชิงลึกในมโนทัศน ไมสามารถเชื่อมโยงความรูไปใชในชีวิตประจําวันได และ
พบวานักเรียนไทยขาดทักษะการคิด ไมวาจะเปนการคิดวิเคราะห การคิดอยางมีวิจารณญาณ การคิด
สรางสรรค และการคิดแกปญหา (NIETS 2008 , IPST : 2009) ผลประเมินการจัดการศึกษาระดับ
ชาติ (O-NET) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ทั้งประเทศ ในปการศึกษา 2553 พบวา มีคะแนน
เฉลี่ยวิชาคณิตศาสตรเพียง 24.18 คะแนน ปการศึกษา 2554 พบวา มีคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร
32.08 คะแนน ปการศึกษา 2555 พบวา มีคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร 26.95 คะแนน ซึ่งไดคะแนน
4

เฉลี่ยไมถึงรอยละ 50 ของคะแนนเต็ม และเมื่อพิจารณาในระดับโรงเรียน ผลการสอบ (O-NET)


ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนไทรโยคมณีกาญจนวิทยา ปการศึกษา 2553 – 2555
คะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร มีคะแนนเฉลี่ยต่ํากวารอยละ50 กลาวคือในปการศึกษา 2553 คะแนน
เฉลี่ยวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เทากับ 22.58 คะแนน ปการศึกษา 2554 มี
คะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร เทากับ 31.98 คะแนน และปการศึกษา 2555 มีคะแนนเฉลี่ยวิชา
คณิตศาสตร เทากับ 25.79 คะแนน ซึ่งเมื่อพิจารณาผลการสอบ (O-NET) ระดับโรงเรียน ดานทักษะ
การแกปญหา พบวา คะแนนเฉลี่ยมาตรฐานการเรียนรูต่ํากวาคะแนนเฉลี่ยทั้งประเทศ ทําใหทักษะ
การแกปญหาของโรงเรียนไทรโยคมณีกาญจนวิทยาควรไดรับการปรับปรุงและพัฒนาอยางเรงดวน
(สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ, 2555: ออนไลน)
จากผลประเมินคุณภาพการศึกษา แสดงใหเห็นวาผูเรียนประสบปญหาดานการแกปญหาที่
ควรไดรับการปรับปรุง แกไข อยางเรงดวน ครูผูสอนวิชาคณิตศาสตรจึงตองหาวิธีการหรือรูปแบบ
ที่เหมาะสมมาจัดการเรียนรู โดยในชวงเวลาที่ผานมา มีทฤษฎีการเรียนรูเกิดขึ้นหลายทฤษฎีและ
ทฤษฎีที่ไดรับความสนใจมากในปจจุบันคือ ทฤษฎีกลุมสรางสรรคนิยม(Constructivism) ซึ่งเชื่อวา
การเรียนรูจะเกิดขึ้นเมื่อผูเรียนไดสรา งความรูที่เปนของตนเองขึ้นมาจากความรู ที่มีอยูเดิมหรือจาก
ความรูที่ไดรับใหม แนวคิดนี้เปนแนวคิดหลักการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ มีรูปแบบการเรียนรู
ที่เกิดจากแนวคิดนี้หลายรูปแบบเชน การเรียนรูแบบรวมมือ (Cooperative Learning) การเรียนรู
แบบชวยเหลือกัน (Collaborative Learning) การเรียนรูโดยการคนควาอยางอิสระ (Independent
Investigation Method) การเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน (Problem Based Learning : PBL) เปนตน
(มัณฑรา ธรรมบุศย , 2545: 12) ซึ่งรูปแบบการสอนรูปแบบหนึ่งที่ครูสามารถนํา มา ใชจัดการ
เรียนรู เพื่อแกไขปญหาดังกลาวหรือสงเสริมความสามารถในการแกปญหาของนักเรียนใหสูงขึ้นคือ
วิธีการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน
การจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน (Problem Based Learning : PBL) คือ การจัดการ
เรียนรูแบบใชปญหาเปนฐานวาเปนยุทธวิธีในการจัดการเรียนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญแบบหนึ่ง เพื่อ
สงเสริมและพัฒนาทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณและทักษะการแกปญหา และวิธีการเรียนรูอยาง
มีความหมายอีกวิธีหนึ่ง โดยจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ใชปญหาเปนหลักหรือจุดเริ่มตนเพื่อกระตุน จูง
ใจ เราความสนใจเพื่อเรียนรูและสรางความรูดวยตนเอง โดยปญหาเปนฐานสําหรับกิจกรรมการ
เรียนรูและกระบวนการเรียนรูนั้น ซึ่งปญหานั้นจะตองเปนปญหาที่มาจากตัวนักเรียน เปนปญหาที่
นักเรียนสนใจ ตองการการแสวงหา คนควาคําตอบและหาเหตุผลมาแกปญหาหรือทําใหปญหานั้น
ชั ดเจนจนมองเห็นแนวทางแก ไ ข ซึ่ง จะทํา ใหเ กิ ดการเรียนรู สามารถผสมผสานความรูนั้นไป
ประยุกตใชไดอยางมีประสิทธิภาพ ที่สําคัญการจัดการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐานจะสงเสริมการ
5

เรียนรูอยา งกระตือรือรนของนักเรีย น จึง ทําใหวิธีก ารสอนรูป แบบนี้ มีการกลา วถึงอยางมากใน


วงการวิจัยเพื่อการศึกษาเชน วาสนา กิ่มเทิ้ง (2553: บทคัดยอ)ไดมีการ ศึกษาผลการจัดกิจกรรมการ
เรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน (Problem Based Learning : PBL) ที่มีตอทักษะการแกปญหา ทักษะ
การเชื่อมโยงทางคณิตศาสตรและความใฝ รูใฝเรียนของนักเรียนชั้ นมัธยมศึกษาปที่ 3 และวันดี
ตอเพ็ง (2553: บทคัดยอ) ไดมีการศึกษาผลของการจัดการเรียนรูโดยใชปญหาเปนหลักที่มีตอ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร เรื่อง โจทยปญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 นอกจากนี้ สุภามาส เทียนทอง (2553: บทคัดยอ) ไดมีการศึกษาการ
พัฒนาความสามารถในการแกปญหา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่จัดการเรียนรูโดยใช
ปญหาเปนฐาน รวมทั้งอรรณพ ชุมเพ็งพันธ (2553: บทคัดยอ)ไดมีการศึกษาการพัฒนาผลการเรียนรู
เรื่องสารในชีวิตประจําวัน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่จัดการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน
เปนตน การเรียนรูนี้มุงเนนพัฒนาผูเรียนในดานทักษะและกระบวนการเรียนรูและพัฒนาผูเรียนให
สามารถเรียนรูโดยชี้นําตนเอง ซึ่งผูเรียนจะไดฝกฝนการสรางองคความรูโดยผานกระบวนการคิด
ดวยการแกปญหาอยางมีความหมายตอผูเรีย น (สํานักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู ,
2550: 1) สอดคลองกับวอลตัน และแมททิวส (Walton and Matthews, 1998: 456-459) กลาววาการ
ใหปญหาตั้งแตตนจะเปนตัวกระตุนใหนักเรียนอยากเรียนรู และถานักเรียนแกปญหาได จะมีสวน
ชวยใหนักเรียนจําเนื้อหาความรูได งายและนานขึ้น เพราะมีประสบการณตรงในการแกปญหาดวย
ความรูดังกลาว ปญหาที่ใชเปนตัวกระตุนมักเปนปญหาที่ตองการคําอธิบายหรือความรูจากหลายๆ
วิชา ทําใหนักเรียนไดเห็นถึงความสัมพันธความตอเนื่องความเกี่ยวของของวิชาตางๆ เปนเรื่องราว
เดียวกัน แตกตางจากการสอนแบบเดิมที่สอนวิชาใดก็จะสอนวิชานั้นๆจนจบและอาจไมเห็น
ความสัมพันธของแตละวิชา ทําใหนักเรียนไมสามารถเรียนรูไดดีเทาที่ควร (นภา หลิมรัตน, 2540:
13) นอกจากนี้ยังพบวานักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนการสอนโดยใชปญหาเปนฐานจะมีทักษะ
ทางคณิตศาสตรเพิ่มขึ้น เชน ทักษะการเชื่อมโยง ทักษะการแกปญหา การตัดสินใจ การสรางตัว
แบบ ทักษะการใหเหตุผล และเบาเลอร (Boaler 1998: 41-62) กลาววา การเรียนรูโดยใชปญหาเปน
ฐานเปนวิธีการแหงการแกปญหา รวมทั้ง ปรีชา เนาวเย็นผล (2544 : 56) กลาววา การเรียนรู
คณิตศาสตรที่มีความเชื่อมโยงกับสิ่งที่ไดพบเห็น หรือมีอยูในชีวิตประจําวัน เปนการเรียนรูอยางมี
ความหมาย ผูเรียนสามารถเรียนรูอยางเขาใจถองแทจากตัวอยางที่สัมผัสไดจริง ทําใหรูสึกวาวิชา
คณิตศาสตรมีประโยชน มีคุณคา สามารถนําไปใชไดในชีวิตจริง ทําใหผูวิจัยไดตระหนักถึง
ความสําคัญตอการจัดการเรียนรูที่สงเสริมความสามารถในการแกปญหา จึงมีการนําแบบฝกทักษะ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู คอมพิวเตอรชวยสอน (CAI) ฯลฯ เขามาเปนสื่อหรือนวัตกรรมใหผูเรียน
สามารถแกปญหาไดอยางเหมาะสม
6

“ แบบ ฝกทักษะ ” เปนสื่อหรือนวัตกรรมที่จําเปนอยางหนึ่ง ที่จะทําใหการเรียนการสอน


บรรลุผล อีกทั้งยังสามารถชวยในการฝกทักษะผูเรียนไดดี ซึ่ง สลาย ปลั่งกลาง (2552: 31-32) กลาว
วา แบบฝกหัดหรือแบบฝกทักษะ หมายถึง สื่อการเรียนการสอนที่ใชสําหรับใหผูเรียนฝกความ
ชํานาญในทักษะตางๆ จนเกิดความคิดรวบยอดในเรื่องที่ฝกและสามารถนําทักษะไปใชในการ
แกปญหาได ดังตัวอยางงานวิจัยของ วิวัฒพงษ พัทโท (2550: บทคัดยอ) ไดศึกษาการพัฒนาแบบ
ฝกทักษะวิชาคณิตศาสตร เรื่องสถิติ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 งานวิจัยของ มัณฑนา ไทรวัฒนะศักดิ์
(2548: บทคัดยอ) ผลการใชแบบฝกที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโจทยปญหาทางคณิตศาสตร ของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 งานวิจัยของ จันตรา ธรรมแพทย (2550: บทคัดยอ) ไดทําวิจัย เรื่อง
การพัฒนาแบบฝกทักษะการแกโจทยปญหาคณิตศาสตร สําหรับนักเรียนชวงชั้นที่ 2 ที่มีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนคณิตศาสตร ต่ํา และยังสอดคลอง วันเพ็ญ คุณพิริยะทวี (2548: 63)ไดเสนอแนวคิด
เกี่ยวกับลักษณะแบบฝกทักษะที่ดีไววา ควรมีความสอดคลองกับเนื้อหาในบทเรียน เปนไปตามลําดับ
ความยากงายเนื้อเรื่อง ควรเกี่ ย วข อ งกั บ ชีวิตประจําวันหรือสิ่งที่ผูเรียนพบเห็นเหมาะสมกับวัย
และความสามารถของผูเรียน มีรู ป แบบหลากหลาย สีสวย จูงใจผูเรียนและควรเปนขอความ
หรือบทความที่สั้น ซึ่งจะทําใหผูเรียนมีความสนใจในการเรียน ดังที่ นฤดี ผิวงาม (2545: 19)ได
กลาววา แบบฝกทักษะชวยใหเกิดความสนุกสนานในขณะเรียน และทราบความกาวหนาของตนเอง
นอกจากนี้ สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ (2546: 146 - 147) และวิมลรัตน
สุนทรโรจน (2545: 114) ไดเสนอขั้นตอนในการสรางแบบฝก ทักษะในลักษณะเดียวกันดังนี้
1) ศึกษาปญหาและความตองการ โดยศึกษาจากการผานจุดประสงคการเรียนรูและผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน รวบรวมปญหาและความตองการในการแกปญหาหรือความตองการที่จะพัฒนาการ
เรียนการสอน 2) กําหนดจุดประสงคการเรียนรูในการสรางแบบฝกใหชัดเจน เพื่อตอบคําถามวา
สรางแบบฝกเพื่ออะไร ตองการใหนักเรียนเปนอยางไร 3) วิเคราะหเนื้อหาหรือทักษะที่เปนปญหา
ออกเปนเนื้อหาหรือทักษะยอย ๆ เพื่อใชในการสรางแบบทดสอบและแบบฝก 4) ศึกษาจิตวิทยาการ
เรี ย นรู จิ ต วิ ท ยาการเขี ย นของนั ก เรี ย นในแต ล ะชั้ น ว า เด็ ก แต ล ะวั ย มี ค วามสนใจเรื่ อ งอะไร
ตัวอยางเชน จิตวิทยาการเขียนที่นํามาใชในการสรางแบบฝกทักษะการเขียนประกอบดวย 4.1)
ความใกลชิด คือ ถาใชสิ่งเราและการตอบสนองเกิดขึ้นในเวลาใกลเคียงกันจะสรางความพอใจ
ใหแกผูเรียน 4.2) การฝกหัด คือ การใหผูเรียนไดทําซ้ํา ๆ เพื่อชวยสรางความรูความเขาใจที่แมนยํา
4.3) กฎแหงผล คือ การที่ผูเรียนไดทราบผลการทํางานของตนดวยการเฉลยคําตอบจะชวยใหผูเรี ยน
ทราบขอบกพรองเพื่อปรับปรุงแกไข และเปนการสรางความพอใจใหแกผูเรียน 4.4) การจูงใจ คือ
การจัดแบบฝกเรียงลําดับจากแบบฝกที่งายและสั้นไปเรื่องยาวและยาวขึ้น ควรมีภาพประกอบและมี
หลายรูปแบบ เปนตน 5) กําหนดกรอบการสรางแบบฝกวา ควรประกอบ ดวยเรื่องอะไรบาง แตละ
7

เรื่องควรมีลัก ษณะอย า งไร มีกิ จกรรมอะไรบ า ง มีค วามยาวเพี ยงไรจะนํา เสนอโดยใช รู ปภาพ
ประกอบหรือไม 6) สรางแบบทดสอบ ซึ่งอาจมีแบบทดสอบเชิงสํารวจ แบบทดสอบเพื่อวินิจฉัย
ข อ บกพร อ ง แบบทดสอบความก า วหน า เฉพาะเรื่ อ ง เฉพาะตอบแบบทดสอบที่ ส ร า งจะต อ ง
สอดคลองกับเนื้อหาหรือทักษะที่วิเคราะหไว 7) นําแบบฝกทักษะไปทดลองใช เพื่อหาขอบกพรอง
คุณภาพของแบบฝกและคุณภาพของแบบทดสอบ 8) ปรับปรุงแกไข 9) รวบรวมเปนชุด จัดทําคํา
ชี้แจง คูมือการใช สารบัญ เพื่อใชประโยชนตอไปและพรรณี ชูไทย (2546: 9) กลาวถึงหลักการ
พัฒนาแบบฝก ทักษะวา ครูผูส รา งตองคํา นึง ถึง ระดับชั้นความรู ความสามารถของผู เรียน ความ
แตกตางของผูเรีย น เรีย งเนื้อหาจากง า ยไปหายาก เน นการแก ป ญหา มี คํา ชี้แจงสั้นๆ ใชเวลา
เหมาะสม เนื้อหานาสนใจ มีหลากหลาย ทาทายความสามารถ จะเห็นไดวาการพัฒนาแบบฝกทักษะ
ที่เหมาะสมจะทําใหผูเรียนมีพัฒนาการเรียนรู ความชํานาญ ความสามารถในการแกปญหา ทราบความสามารถ
ในการเรียนและสามารถตรวจสอบความกาวหนาของตนเองได
ดวยความสําคัญขางตน ผูวิจัยจึงไดพัฒนาแบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตรเรื่องการประยุกต1
โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่1 โดยการศึกษาขอมูลพื้นฐาน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนไทรโยคมณีกาญจนวิทยา พุทธศักราช
2553 (ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง 2556) กลุ ม สาระการเรี ย นรู ค ณิ ต ศาสตร ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต น
(ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1- 3) ศึกษาความตองการและความสามารถของผูเรียน ตลอดจนเอกสารและ
งานวิจัยที่เกี่ยวของกับ ความสามารถในการแกปญหา การจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน และ
แนวคิดการดําเนินการวิจัยและพัฒนา มาสรางแบบฝกทักษะ เพื่อที่จะเปนสื่อ นวัตกรรม ใชเปน
แนวทางในการพัฒนาความสามารถในการแกปญหา และเปนการวางรากฐานใหผูเรียนมีทักษะดาน
การคิดแกปญหา เพื่อเปนกําลังสําคัญในการแกปญหาของชาติและสรางสรรคสิ่งใหมๆตอไป

กรอบแนวคิดในการวิจัย
การวิจัย เรื่อง การพัฒนาแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1 โดยใชการ
จัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปที่1 ผูวิจัยไดทําการศึกษาคนควาแนวคิด ทฤษฎีตางๆเปนแนวทางในการพัฒนาแบบ
ฝกทักษะดังกลาว ไดแก ทฤษฎี การเรียนรูของธอรนไดค (Thorndike) เกี่ยวกับกฎแหงการฝกหัด
(Law of Exercise) วา ถาบุคคลไดกระทํา หรือฝกฝน ทบทวนบอยๆ ก็จะกระทําไดดีและเกิดความ
ชํานาญ แตถาไมไดฝกฝนหรือทบทวนบอยๆ ก็จะกระทําสิ่งนั้น ไดไมดีและไมเกิดความชํานาญ
นอกจากนี้ทฤษฎีการวางเงื่อนไขและการเสริมแรงของสกินเนอร เนนที่ปฏิกิริยาตอบสนอง คือ
พฤติกรรมที่ทําดวยความสมัครใจและสิ่งที่กระทําใหปฏิกิริยาตอบสนอง คือ ตัวเสริมแรง ทฤษฎี
8

ของสกินเนอรสนับสนุนใหใชเครื่องชวยสอน คือแบบฝก ทักษะใหความสําคัญของการเสริมแรง


ควรทําอยางสม่ําเสมอ จัดสิ่งเราใหกับผูเรียนจนผูเรียนคนพบตัวเองในที่สุด กระทรวงศึกษาธิการ
ใหคํานิยามของแบบฝกทักษะคือ สื่อการเรี ย นการสอนประเภทเอกสารที่ผูสอนสรางขึ้น สําหรับ
ใหนกั เรียนใชฝกฝนทักษะ ดวยตนเอง เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่ผูสอนตั้งไวและเกิดความชํานาญ
แบบฝกทักษะจึงเปนเครื่องมือชนิดหนึ่ง ที่ครูสามารถนํามาจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหบรรลุผลได
ซึ่ง วราภรณ ระบาเลิศ (2552: 34) กลาววา แบบฝกทักษะ หมายถึงงานหรือกิจกรรมที่ครู
จัดใหนักเรียนไดฝกทักษะการปฏิบัติบอย ๆ จนเกิดความชํานาญมีความรูความเขาใจในเนื้อหาวิ ชา
ที่เรียน และสามารถนําความรูนั้นไปใชในชีวิตประจําวันได และ สลาย ปลั่งกลาง (2552: 31-32)
กลาววา แบบฝกหัดหรือแบบฝกทักษะ หมายถึง สื่อการเรียนการสอนที่ใชสําหรับใหผูเรียนฝก
ความชํานาญในทักษะตาง จนเกิดความคิดรวบยอดในเรื่องที่ฝกและสามารถนําทักษะไปใชในการ
แกปญหาได นอกจากนี้ ดรุณี เรือนใจมั่น (2546: 48) ไดเสนอวิธีการสรางแบบฝกทักษะไว ดังนี้ 1)
วิเคราะหปญหาแลวกําหนดปญหาในการสอน 2) กํ าหนดจุดมุง หมายและจุดประสงค 3) เลือก
เนื้อหารายวิชา โดยเรียงตามลําดับเนื้อหาเพื่อชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรู 4) กําหนดวิธีการสอน
และส วนประกอบของการสอน เช น นํ าเสนอเนื้อหาขั้ นฝ ก ปฏิ บั ติ 5) เลือกสื่อการสอน 6) ใช
แบบทดสอบหรือสถานการณในการประเมินผลเพื่อการพัฒนาของผูเรียน 7) ประเมินสื่อ ปรับปรุงสื่อ
ใหสอดคลองกับการจุดประสงค บัทส (Butts 1974 : 85, อางถึงใน นฤดี ผิวงาม, 2545 : 8 ) ไดเสนอ
หลักการสรางแบบฝก ทักษะไวดังนี้ 1) กอนสรางแบบฝก ทักษะตองกําหนดโครงรางกอนวาจะ
เขียนแบบฝกเกี่ยวกับอะไร 2) ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับเรื่องที่จะทํา 3) เขี ย นจุ ด ประสงค เชิง
พฤติกรรมและเนื้อหาใหสอดคลองกัน 4) แบงจุดประสงคเชิงพฤติกรรม ออกเปนกิจกรรมยอย โดย
กําหนดถึงความเหมาะสมของผูเรียนที่จะเรียนและเรียงกิจกรรมหรืองานที่นักเรียนตองฝกปฏิบัติ
จากงายไปหา ยาก 5) กําหนดอุปกรณที่ใชในแตละขั้นตอนใหเหมาะสม 6) กําหนดเวลาที่ใชในการ
ฝกแตละตอนใหเหมาะสม 7) ควรประเมินกอนเรียนและหลังเรียน นอกจากนี้ กรมวิชาการ (2542:
29 - 32) ไดเสนอหลักทฤษฎีการเรียนรูทางจิตวิทยา ในการสรางแบบฝกทักษะไวดังนี้ 1) การฝกหัด
การใหผูเรียนไดกระทํากิจกรรมซ้ําๆ ยอมทําใหผูเรียนมีความรูและความเขาใจที่แมนยํา 2) ความ
แตกตางระหวางบุคคลในการสรางแบบฝก ทักษะ ควรคํานึงวาผูเรียนแตละคนมีความรู ความถนัด
ความสามารถและความสนใจที่แตกตางกัน ดังนั้นควรพิจารณาถึงความเหมาะสม คือ ไมยากหรือ
งายเกินไปและควรมีหลายรูปแบบ 3)การจูงใจผูเรียนโดยเริ่มฝกจากงายไปหายาก เพื่อเปนการดึงดูด
ความสนใจของผูเรียน 4) การใหผูเรียนทราบผลการทํางานของตน การเฉลยคําตอบใหทราบ เพื่อให
ผูเรียนทราบผลงานของตนวา ตองปรั บ ปรุ ง แกไขหรื อ ก า วหน า เพียงใด และในสวน ตัวผูสอนเอง
ก็จะไดทราบวา ผูเรียนคนใดควรจะไดรับความชวยเหลืออยางไร
9

สรุปไดวา หลักการสรางแบบฝก ทักษะ ควรคํานึงถึง หลักจิตวิทยาความแตกตางระหวาง


บุคคล ความสนใจ การใชภาษาที่เหมาะสมกับวัยและความสามารถของผูเรียน เนื้อหาตองมี
ความเกี่ยวของกับบทเรียน เรียงลําดับจากงายไปหายาก เพื่อฝกสิ่งที่ผูเรียนไดเรียนไปแลวใหเกิด
ทักษะความชํานาญ ความรูที่ค งทนถาวรและสามารถนําไปใชในชีวิต ประจําวันได และแบบฝก
ทักษะตองสามารถกระตุนจูงใจใหคิด ศึกษาคนควา ซึ่ง จะตองมีคําสั่ง คําชี้แจงสั้นๆ งายๆ มีตัวอยาง
ชัดเจน มีภาพประกอบ มีการกําหนดรูปแบบที่เปนระเบียบสวยงาม มีการเสริมแรงในแตละกิจกรรม
และที่ สํา คั ญ การสร า งแบบฝ ก ทั ก ษะที่ ดี จ ะตอ งสามารถแก ป  ญ หาการเรีย นการสอนได อย างมี
ประสิทธิภาพ
สําหรับขั้นตอนการพัฒนาแบบฝกทักษะ ซีลสและกลาสโกว (Seels and Glasgow, 1990: 3)
ไดเสนอขั้นตอนในการสรางแบบฝก ทักษะไว ดังนี้ 1) การวิเคราะหขอมูล (Analysis) 2) สรางหรือ
ออกแบบ (Design) 3) พัฒนาเครื่องมือ (Development) 4) ทดลองใชเครื่องมือ(Implementation)
5) ประเมินผล (Evaluation) นอกจากนี้ สุนันทา สุนทรประเสริฐ (2544: 44) ไดเสนอขั้นตอนการ
พัฒนาแบบฝกทักษะไวดังนี้ 1) วิเคราะหปญหาและสาเหตุของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2)
ศึกษารายละเอียดหลักสูตร เพื่อวิเคราะหเนื้อหา จุดประสงค กิจกรรม 3) พิจารณาแนวทางการแก
ปญหาที่เกิดจากขอ 1 โดยการสรางแบบฝกทักษะและเลือกเนื้อหาในสวนที่จะสรางแบบฝก ทักษะ
นั้นวาจะทําเรื่องใดบาง กําหนด เปนโครงเรื่องไว 4) ศึ ก ษารู ป แบบของการสรางแบบฝกจาก
เอกสารตัวอยาง 5) ออกแบบชุ ด ฝ ก ทั ก ษะแตละชุดใหมีรูปแบบที่หลากหลาย นาสนใจ 6) ลงมือ
สรางแบบฝกทักษะในแตละชุด พรอมทั้งขอสอบกอนและหลังเรียนใหสอดคลองกับเนื้อหาและจุด
ประสงคการเรียนรู 7) สงใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบ 8) นําไปทดลองใช แลวบันทึกผลเพื่อนํามาปรับ
ปรุงแกไขสวนที่บกพรอง 9) ปรับปรุงจนมีประสิทธิภาพตามเกณฑที่ตั้งไว 10) นําไปใชจริง และ
เผยแพรตอไป
จากการศึกษากระบวนการดังกลาวผูวิจัยไดสังเคราะหขั้น ตอน เพื่อนํามาเปนกรอบแนวคิด
ในการพัฒนาแบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1 โดยใชการจัดการเรียนรู แบบ
ปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่1 มี
กระบวนการวิจัยในการพัฒนาแบบฝกทักษะประกอบดวย 4 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 วิจัย (R1 : Research) : ศึกษาขอมูลพื้นฐานและความตองการในการ
พัฒนาแบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปน
ฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่1 โดยมีขั้นตอน
ดังนี้ วิเคราะหหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนไทรโยคมณีกาญจนวิทยา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวกับการ
10

พัฒนาแบบฝกทักษะ ศึกษาขอมูลพื้นฐานและความตองการของผูเรียนเกี่ยวกับ 1) องคประกอบของ


แบบฝกทักษะ2) เนื้อหา 3) การวัดและประเมินผลของแบบฝกทักษะโดยใชวิธีการตอบแบบสอบถาม
การศึกษาความสามารถในการแกปญหา (กอนเรียน) โดยการทําแบบทดสอบวัดความสามารถใน
การแก ป ญ หา และศึ กษาความคิ ดเห็ น จากคณะครู ก ลุ ม สาระการเรี ย นรู ค ณิ ต ศาสตร เ กี่ ย ว กั บ
องค ป ระกอบของแบบฝ ก ทั ก ษะ เนื้ อหาของแบบฝก ทั ก ษะและการประเมิ นผล โดยใช วิธี ก าร
สัมภาษณ
ขั้นตอนที่ 2 พัฒนา (D1 : Development) : การพัฒนาและหาประสิทธิภาพแบบฝก
ทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1 โดยใช การจัดการเรียนรู แบบปญหาเปนฐาน เพื่อ
สงเสริมความสามารถในการแก ปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป ที่ 1 โดยมีขั้นตอนดัง นี้
ดํ า เนิ น การสร า งแบบฝ ก ทั ก ษะฉบั บ ร า ง ซึ่ ง ประกอบด ว ยชื่ อ เรื่ อ ง คํ า นํ า คํ า ชี้ แ จง สารบั ญ
วัตถุประสงค แบบทดสอบกอนเรียน แบบฝกทักษะ แบบทดสอบหลังเรียน และหาประสิทธิภาพ
ของแบบฝกทักษะตามเกณฑ 80/80
ขั้นตอนที่ 3 วิจัย (R2 : Research) : การทดลองใชแบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตร
เรื่องการประยุกต 1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการ
แกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่1 ผูวิจัยไดไปทดลองใชกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่
1/1 ที่เปนกลุมตัวอยาง จํานวน 35 คน
ขั้นตอนที่ 4 พั ฒนา (D2 : Development) : การประเมินผลและปรับปรุง
แบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อ
สงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ผูวิจัยประเมินความ
สามารถในการแก ป ญ หาของนักเรียนจากแบบทดสอบหลังเรี ย นและประเมินความคิดเห็นของ
นั ก เรี ย นตอการพัฒนาแบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1 โดยใชการจัดการเรียนรู
แบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่1
ดานเนื้อหา กิ จ กรรมการเรียนรู ระยะเวลาและประโยชนที่ไดรับ
การจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน (Problem Based Learning : PBL) เปนวิธีหนึ่งที่
ไดรับการกลาวถึงอยางมากในวงการวิจัยเพื่อการศึกษา การเรียนรูแบบนี้มุงเนนพัฒนาผูเรียนในดาน
ทักษะและกระบวนการเรียนรู และพัฒนาผูเรียนใหสามารถเรียนรูโดยชี้นําตนเอง ซึ่งผูเรียนจะได
ฝกฝนการสรางองคความรูโดยผานกระบวนการคิดดวยการแกปญหาอยางมีความหมายตอผูเรียน
(สํานักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู 2550: 1) วอลตันและแมททิวส (Walton and
Matthews, 1998: 456-459) กลาววาการใหปญหาตั้งแตตนจะเปนตัวกระตุนใหนั กเรียนอยากเรียนรู
และถานักเรียนแกปญหาไดก็จะมีสวนชวยใหนักเรียนจําเนื้อหาความรูนั้นไดงายและนานขึ้น เพราะ
11

มีประสบการณตรงในการแกปญหาดวยความรูดังกลาว ซึ่ง นภา หลิมรัตน (2540: 13)ไดกลาววา


ปญหาที่ใชเปนตัวกระตุนมักเปนปญหาที่ตองการคําอธิบายหรือความรูจากหลายๆ วิชา ทําให
นักเรียนไดเห็นถึงความสัมพันธความตอเนื่องความเกี่ยวของของวิชาตาง ๆ เปนเรื่องราวเดียวกัน
แตกตางจากการสอนแบบเดิมที่สอนวิชาใดก็จะสอนวิชานั้นๆ จนจบและอาจไมเห็นความสัมพันธ
ของแตละวิชา ทําใหนักเรียนไมสามารถเรียนรูไดดีเท าที่ควรและดูซ (Duch 1995: Online)
กลาววา การเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน เปนวิธีการเรียนการสอนที่มีลักษณะใชปญหาเกี่ยวกับ
ชีวิตประจําวันของนักเรียน ฝกใหนักเรียนคิดวิเคราะหและพัฒนาทักษะการแกปญหา นักเรียนจะ
เรียนรูทักษะการเรียนรูตลอดชีวติ ซึ่งประกอบดวยความสามารถในการคนควาและใชทรัพยากรการ
เรียนรูอยางมีคุณภาพ และความรูตาง ๆ ที่มีอยูแลวเปนสิ่งที่มีความสําคัญสําหรับการเรียนรูโดยใช
ปญหาเปนฐาน (พวงรัตน บุญญานุรักษ, 2544: 42 , อางอิงจาก Barraws and Tamblyn, 1980: 18) ได
กลาวถึงความหมายของการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐานไววา เปนการเรียนรูที่เปนผลของกระบวน
การทํางาน ที่มุงสรางความเขาใจและหาทางแกปญหา ตัวปญหาจะเปนจุดตั้งตนของกระบวนการ
เรียนรูและเปนตัวกระตุนตอไปในการพัฒนาทักษะการแกปญหาดวยเหตุผล และการสืบคนขอมูลที่
ตองการ เพื่อสรางความเขาใจกลไกของตัวปญหา รวมทั้งวิธีการแกปญหาจากความหมายของการ
เรีย นรูโดยใชปญหาเปนฐานที่ ก ลาวมาข า งตนสรุป ไดวา การเรียนรูโดยใช ป ญหาเปนฐานเป น
รูปแบบหรือวิธีการเรียนรูแบบหนึ่งที่ใชการตั้งคําถามหรือปญหาเปนตัวกระตุนหรือนําทางผูเ รียน
ใหเกิดความสนใจอยากรู  ตัวปญหาจะเปนจุดตั้งตนของกระบวนการเรียนรูและเปนตัวกระตุนใน
การพัฒนาทักษะการแกปญหา และเปนการพัฒนาผูเรียนสูการเปนผูที่สามารถเรียนรูโดยการชี้นํา
ตนเองไดเพื่อแกปญหาหรือสถานการณเกี่ยวกับชีวิตประจําวันสําหรับขั้นตอนของการเรียนรูโดย
ใชปญหาเปนฐานรูปแบบของการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน มีอยูดวยกันหลายรูปแบบซึ่งแตละ
แบบก็จะมีขั้นตอนที่คลายๆ กัน ศูนยการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน (Center for Problem Based
Learning) ของมหาวิทยาลัยอิลลินอยส (Illinois University) สหรัฐอเมริกา (Torp and Sage, 1998 :
33-43 : CitingIllinois Problem Based Learning Network, 1996 : unpaged) ไดกลาวถึงขั้นตอนการ
เรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียมความพรอมของผูเรียน ในขั้นนี้มีจุดมุงหมาย
เพื่อเตรียมใหผูเรียน มีความพรอมในการเปนผูเผชิญกับการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน ซึ่งการ
เตรียมความพรอมนี้ ขึ้นอยูกับอายุ ความสนใจ ภูมิหลังของผูเรียน ในการเตรียมความพรอมนี้จะให
ผูเรียนไดอภิปรายเกี่ยวเนื่องถึงเรื่องที่จะสอนอยางกวางๆ ซึ่งจะตองตระหนักวาการเตรียมความ
พรอมนี้ไมใชการสอนเนื้อหากอน เพราะการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐานตางจากการเรียนรูแบบอื่น
ตรงที่ความรูหรือทักษะที่ผูเรียนไดรับจะเปนผลมาจากการแกปญหา ขั้นที่ 2 ขั้นพบปญหา ในขั้นนี้
มีจุดมุง หมายสนับสนุนใหผูเรียนกํา หนดบทบาทของตนในการแกปญหาและกระตุนใหผูเรีย น
12

ตองการที่จะแกปญหา ซึ่งครูอาจจะใชคําถามในการกระตุนใหนักเรียนไดอภิปรายและเสนอความ
คิดเห็นตอปญหา เมื่อมองเห็นถึงความเปนไปไดในการแกปญหา ขั้นที่ 3 ขั้นนิยามวา เรารูอะไร
(What We Know) เราจําเปนตองรูอะไร (What We Need to Know) และแนวคิดของเรา (Our Ideas)
ในขั้นนี้มีจุดมุงหมายเพื่อสงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาสิ่งที่ตนรู อะไรที่จําเปนตองรู และแนวคิด
อะไรที่ไ ดจ ากสถานการณป ญหา สง เสริม ใหผูเรียนไดพิ จารณาถึงความรูที่ตนเองมี เกี่ ยวกั บ
สถานการณปญหาและเตรียมใหผูเรียนพรอมที่จะรวบรวมขอมูล เพื่อนําไปแกปญหา ในขั้นนี้
ผูเรียนจะทําความเขาใจปญหาและพรอมที่สํารวจ คนควาหาความรูเพื่อการแกปญหา ครูจะให
นักเรียนไดกําหนดสิ่งที่ตนรูจากสถานการณปญหา สิ่งที่จําเปนตองเรียนรูเพิ่มเติมที่จะมาสงเสริมให
สามารถแกปญหาได ขั้นที่ 4 ขั้นกําหนดปญหา จุดมุงหมายในขั้นนี้ เพื่อสนับสนุนใหผูเรียนกําหนด
ปญหาที่แทจริงจากสถานการณที่ไดเผชิญ และกําหนดเงื่อนไขที่ขัดแยงกับเงื่อนไขที่ปรากฏใน
สถานการณปญหาที่กําหนดให ซึ่งจะชวยใหไดคําตอบของปญหาที่ดี ขั้นที่ 5 ขั้นการคนควา
รวบรวมขอมูล และเสนอขอมูล ผูเรียนจะชวยกันคนควาขอมูลที่จําเปนตองรูจากแหลงขอมูลที่
กําหนดไวแลวนําขอมูลเหลานั้น มาเสนอตอกลุมใหเขาใจตรงกันจุดมุงหมายในขั้นนี้ ประการแรก
เพื่อสนับสนุนใหผูเรียนวางแผนและดําเนินการรวบรวมขอมูลอยางมีประสิทธิภาพ พรอมทั้งเสนอ
ขอมูลนั้นตอกลุม ประการที่สองเพื่อสงเสริมใหผูเรียนเขาใจวาขอมูลใหมที่คนความา ทําใหเขาใจ
ปญหาอยางไร และจะประเมินขอมูลใหมเหลานั้นวาสามารถชวยเหลือใหเขาใจปญหาไดอยางไร
ดวย ประการที่สาม เพื่อสงเสริมใหผูเรียนมีความสามารถทางการสื่อสารและการเรียนรูแบบรวมมือ
ซึ่งชวยใหการแกปญหามีประสิทธิภาพ ขั้นที่ 6 ขั้นการหาคําตอบที่เปนไปได จุดมุงหมายในขั้นนี้
เพื่อใหผูเรียนไดเชื่อมโยงระหวางขอมูลที่คนควากับปญหาที่กําหนดไวแลวแกปญหาบนฐานขอมูล
ที่คนความา เนื่องจากปญหาที่ใชในการเรียนรู สามารถมีคําตอบไดหลายคําตอบ ดังนั้นในขั้นนี้
ผูเรียนจะตองคนหาคําตอบที่สามารถเปนไปไดใหมากที่สุด ขั้นที่ 7 ขั้นการประเมินคาของคําตอบ
จุดมุงหมายในขั้นนี้ เพื่อสนับสนุนใหผูเรียนทําการประเมินคาสิ่งที่มาชวยในการแกปญหา(ขอมูลที่
คนความา) และผลของคําตอบที่ไดในแตละปญหาวาทําใหเรียนรูอะไร ซึ่งนักเรียนจะแสดงเหตุผล
และรวมกันอภิปรายในกลุม โดยใชขอมูลที่คนความาเปนพื้นฐาน ขั้นที่ 8 ขั้นการแสดงคําตอบและ
การประเมินผลงาน ในขั้นนี้มีจุดมุงหมาย เพื่อสนับสนุนใหผูเรียนเชื่อมโยงและแสดงถึงสิ่งที่ผูเรียน
ไดเรียนรู ไดความรูมาอยางไร และทําไมความรูนั้นถึงสําคัญ ในขั้นนี้นักเรียนจะเสนอผลงานออก
มาที่แสดงถึงกระบวนการเรียนรูตั้งแตตนจนไดคําตอบของปญหา ซึ่งเปนการประเมินผลงานของ
ตนเองและกลุมไปดวย ขั้นที่ 9 ขั้นตรวจสอบปญหาเพื่อขยายการเรียนรู ในขั้นนี้มีจุดมุงหมาย
เพื่อใหผูเรียนรวมกันกําหนดสิ่งที่ ตองการเรียนรูตอไป นักเรียนจะพิจารณาจากปญหาที่ไดดําเนิน
การไปแลววามีประเด็นอะไรที่ตนสนใจอยากเรียนรูอีก เพราะในขณะดําเนินการเรียนรูนักเรียน
13

อาจจะมีสิ่งที่อยากรู นอกจากที่ครูจัดเตรียมไวให จากขั้นที่ 1 ถึงขั้นที่ 9 การดําเนินการเรียน รูจะ


ดําเนินเปนวงจร หากขั้นใดมีขอสงสัยก็ยอนกลับไปยังขั้นกอนหนานั้นได และเมื่อจบการเรียนรูจาก
ปญหาหนึ่งๆ แลวจะกําหนดปญหาใหมของการเรียนรูจากขั้นที่ 9 ที่นักเรียนมีความตองการเรียนรู
และในแตละขั้นจะประกอบดวยการประเมินผลการเรียนรูไปพรอมดวย
สํานักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู (2550: 7-8) ไดกลาวถึงขั้นตอนในการ
จัดการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน ดังนี้ ขั้นที่ 1 กําหนดปญหา เปนขั้นที่ผูสอนจัดสถานการณ
ตาง ๆ กระตุนใหผูเรียนเกิดความสนใจ และมองเห็นปญหา สามารถกําหนดสิ่งที่เปนปญหาที่ผูเรียน
อยากรูอยากเรียนไดและเกิดความสนใจที่จะคนหาคําตอบ ขั้นที่ 2 ทําความเขาใจกับปญหา ผูเรียน
จะตองทําความเขาใจกับปญหาที่ตองการเรียนรู ซึ่งผูเรียนจะตองสามารถอธิบายสิ่งตาง ๆ ที่เกี่ยว
ของกับปญหาได ขั้นที่ 3 ดําเนินการศึกษาคนควา ผูเรียนกําหนดสิ่งที่ตองเรียน ดําเนินการ ศึกษา
คนควาดวยตนเองดวยวิธีการหลากหลาย ขั้นที่ 4 สังเคราะหความรู เปนขั้นที่ผูเรียนนําความรูที่ได
คนความาแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน อภิปรายผลและสังเคราะหความรูที่ไดมาวามีความเหมาะ สม
หรือไมเพียงใด ขั้นที่ 5 สรุปและประเมินคาของคําตอบ ผูเรียนแตละกลุมสรุปผลงานของกลุม
ตนเองและประเมินผลงานวาขอมูลที่ศึกษาคนความีความเหมาะสมหรือไมเพียงใด โดยพยายาม
ตรวจสอบแนวคิดภายในกลุมของตนเองอยางอิสระทุกกลุมชวยกันสรุปองคค วามรูในภาพรวมของ
ปญหาอีกครั้ง ขั้นที่ 6 นําเสนอและประเมินผลงาน ผูเรียนนําขอมูลที่ไดมาจัดระบบองคความรูและ
นําเสนอเปนผลงานในรูปแบบที่หลากหลาย ผูเรียนทุกกลุมรวมทั้งผูที่เกี่ยวของกับปญหารวมกัน
ประเมินผลงาน เปนตน
จากขั้นตอนของการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐานที่กลาวมาขางตน สรุปไดวาการจัดการ
เรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน เปนรูปแบบของการจัดการเรียนการสอนที่เริ่มตนจากปญหา เพื่อ
แกปญหาหรือสถานการณเกี่ยวกับชีวิตประจําวัน ตัวปญหาจะเปนจุดตั้งตนของกระบวนการเรียนรู
และเป น ตั ว กระตุ น การพั ฒ นาทั ก ษะการแก ป ญ หา มุ ง เน น พั ฒ นาผู เ รี ย นในด า นทั ก ษะและ
กระบวนการเรียนรู และพัฒนาผูเรียนใหสามารถเรียนรูโดยการชี้นําตนเอง ซึ่งสังเคราะหขั้นตอนใน
การจัดการเรียนรูดังนี้
ขั้นที่ 1 การเชื่อมโยงปญหาและนําเสนอ (The Related Problem and Problem
Presentation) เปนขั้นตอนในการสรางปญหา เพราะในการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน ผูเรียน
จะตองมีความ รูสึกวาปญหานั้นมีความสําคัญตอตนกอน ครูควรเลือกหรือออกแบบปญหาให
สอดคลองกับผูเรียน ดังนั้นในขั้นนี้ครูจะสํารวจประสบการณความสนใจของผูเรียนแตละบุคคล
กอนเพื่อเปนแนวทางในการเลือกหรือออกแบบปญหา โดยครูจะยกประเด็นที่เกี่ยวของกับปญหา
ขึ้นมารวมกันอภิปรายกอนแลวครูและนักเรียนชวยกันสรางปญหาที่ผูเรียนสนใจขึ้นมาเพื่อนําไป
14

เปนปญหาสําหรับการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน ประเด็นที่ครูยกมานั้นจะตองเปนประเด็นที่มี
ความสัมพันธกับความรูในเนื้อหาวิชาและทักษะที่ตองการใหนักเรียนไดรับ
ขั้นที่ 2 ทําความเขาใจกับปญหา (Understanding of The Problem) นักเรียนรวมกัน
เรียนรู ใหผูเรียนรวมอภิปรายแสดงความคิดเห็นเพื่อทําความเขาใจกับปญหาใหชัดเจน และสามารถ
อธิบายสิ่งตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับปญหาได เชน โจทยกําหนดอะไร ตองการอะไร
ขั้นที่ 3 ดําเนินการศึกษาคนควาปญหา (The Study of Problem) เปนขั้นที่นักเรียน
แตละคน ดําเนินการศึกษาคนควา เพื่อวางแผนการแกปญหาดวยวิธีการที่หลากหลาย หรืออาจมา
จากความรู/ประสบการณเดิม และสามารถหาไดจากแหลงขอมูล หรือสื่อตางๆเชนใบความรู ใบ
กิจกรรม เอกสารแนะแนวทาง หนังสือเรียน Internet เปนตน
ขั้นที่ 4 สังเคราะหขอมูลและปฏิบัติ (The Synthesis of Data and Procedure)
กิจกรรมในขั้นตอนนี้เนนฝกทักษะการคิดแกปญหา ใหกับผูเรียน เปนขั้นที่ผูเรียนแตละคนสราง
ทางเลือกหรือกําหนดแนวทางการแกปญหา อาจมีการสรางสื่อ วาดภาพประกอบหรือจัดการกับ
สาระความรูใหม ซึ่ง แตกตา งจากการทํ า รายงานธรรมดา แตเ ปนการนํ าเสนอแนวทาง วิธีก าร
แกปญหาที่ชัดเจน ดําเนินการแกปญหาตามวิธีการแกปญหาที่หลากหลาย ภายใตพื้นฐานของการคิด
วิเคราะห การคิดริเริ่มสรางสรรค เปนตน
ขั้นที่ 5 สรุปผลการแกไขปญหาและความรูที่ได (The Conclusion of Solution)
การจัดกิจกรรมในขั้นตอนนี้เปนการฝกคิดแกปญหา เปนขั้นที่ผูเรียนแตละคนนําความรูที่ไดจาก
การคิดแกปญหา ความคิด/วิธีการที่แปลกใหม หรือแนวทางจากการศึกษาคนควาเพิ่ มเติม และนํามา
สรางมโนทัศนคําอธิบายของสถานการณปญหาดวยตนเอง ตรวจคําตอบ ประมวลความรูที่ไดวามี
ความสอดคลองเหมาะสมสําหรับการแกปญหาที่เกิดขึ้นเพียงใด และสรุปเปนภาพรวม
รูปแบบการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐานนี้ จึง มีสวนชวยใหผูเรียนไดพัฒนาทักษะ
ความสามารถในการแกปญหา สามารถนําความรูไปประยุกตใชในการแกปญหาตอไปไดอยางมี
ประสิทธิภาพ (Barrows and Tamblyn, 1980: 193, Delisle 1997 : 7, Erickson 1999 : 520, Hmelo
and Evensen, 2000 : 6, Illinois Mathematics and Science Academy, 2001 และสุนทรี คนเที่ยง,
2544 : 12) และยังมีสวนในการสงเสริมพัฒนาความคิดสรางสรรคของผูเรียนอีกดวย (Illinoi
Mathematics and Science Academy, 2001) ความสามารถในการแกปญหาและความคิดสรางสรรค
ทางคณิตศาสตรจึงเปนทักษะที่มีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่ง ตอการสงเสริมและพัฒนาบุคคลให
มีคุณภาพ ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถและความชํานาญในการใชกระบวนการ
ตางๆ ทางสมอง ประสบการณ การเขาใจปญหา ตลอดจนความพยายามในการคิดคนหาคําตอบ
เพื่อใหไดคําตอบ โดยการนําความรู ทักษะรวมถึงวิธีการตาง ๆ ในการหาคําตอบเมื่ อกําหนด
15

สถานการณหรือคําถามที่เปนปญหาทางคณิตศาสตรมาให ซึ่งกระบวนการดังกลาวมีการดําเนินการ
เปนลําดับขั้นตอนและจะตองใชยุทธวิธีตางๆเพื่อนําไปสูความสําเร็จในการแกปญหา
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2544: 191-195) ไดเสนอยุทธวิธีการ
แกปญหาทางคณิตศาสตรไวดังนี้
การจัดการเรียนรูเพื่อใหผูเรียนมีทักษะกระบวนการแกปญหาไดนั้น ผูสอนตองให
โอกาสผูเรียนไดฝกคิดดวยตนเองใหมากโดยจัดสถานการณหรือปญหาหรือเกมที่นาสนใจทาทาย
ใหอยากคิด เริ่มดวยปญหาที่เหมาะกับศักยภาพของผูเรียนแตละคนหรือผูเรี ยนแตละกลุม โดยอาจ
เริ่ ม ด ว ยป ญ หาที่ ผู เ รี ย นสามารถใช ค วามรู ที่ เ รี ย นมาแล ว มาประยุ ก ต ก อ น ต อ จากนั้ น จึ ง เพิ่ ม
สถานการณหรือปญหาที่แตกตางจากที่เคยพบมา สําหรับผูเรียนที่มีความสามารถสูงผูสอนการควร
เพิ่มปญหาที่ยาก ซึ่งตองใชความรูที่ซับซอนหรือมากกวาที่กําหนดไวในหลักสูตรใหนักเรียนไดฝก
คิดดวย การจัดการเรียนรูที่ใชกระบวนการแกปญหาดังกลาวนี้ ผูสอนสามารถจัดกิจกรรมใหผูเรียน
รูอยางคอยเปนคอยไป โดยกําหนดประเด็นคําถามนําใหคิดและหาคําตอบเปนลําดับเรื่อยไปจน
ผูเรียนหาคําตอบไดหลังจากนั้นใหปญหาตอๆไป ผูสอนจึงคอยๆ ลดประเด็นคําถามลงไปจนสุด
ทาย เมื่อเห็นวาผูเรียนมีทักษะในการแกปญหาเพียงพอแลวก็ไมจําเปน ตองใหประเด็นคําถามชี้นําก็
ได ในการจัดใหผูเรียนรูกระบวนการแกปญหาตามลําดับขั้นตอนนั้น เมื่อผูเรียนเขาใจกระบวนการ
แลว การพัฒนาใหมีทักษะ ผูสอนควรเนนฝกการวิเคราะหแนวคิดอยางหลากหลายในขั้นวางแผน
แกปญหาใหมาก เพราะเปนขั้นตอนที่มีความสําคัญและยากสําหรับผูเรียน จากการศึกษาคนควา
ขางตน ยุทธวิธีการแกปญหาคณิตศาสตรนั้นจําเปนตองใหผูเรียนรูจักขั้นตอนการแกปญหา เลือก
วิธีการแกปญหาใหเหมาะสมกับปญหาและในการสอนของครูนั้นจะตองมีการกระตุนใหผูเรียนได
รูจักคิดอยูเสมอ เพื่อใหไดมาซึ่งวิธีการที่เหมาะสมที่สุด ภายใตยุทธวิธีการแกปญหาของผูเรียน
จากแนวคิ ด และขั้ น ตอนต า งๆในการพั ฒ นาแบบฝ ก ทั ก ษะวิ ช าคณิ ต ศาสตร เรื่ อ ง
การประยุ ก ต 1 โดยใช ก ารจัดการเรียนรู แบบป ญหาเป นฐาน เพื่ อสง เสริม ความสามารถในการ
แกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ที่กลาวมาขางตน ผูวิจัยไดกําหนดกรอบแนวคิดใน
การวิจัย ดังแสดงไวในแผนภูมิที่ 1
16

แนวคิด ทฤษฎี แบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1


การพัฒนาแบบฝกทักษะ โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน
เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา
ธอรนไดคและสกินเนอร (1814 - สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
1990), ซีลส และกลาสโกว (1990:
3),วราภรณ ระบาเลิศ (2552:34) , องคประกอบของแบบฝกทักษะ
วิมลรัตน สุนทรโรจน (2549:98), - ชื่อเรื่อง
สุนันทา สุนทรประเสริฐ (2544 : - คํานํา
44) และ ดรุณี เรือนใจมั่น (2546 :
- คําชี้แจง
48)
- สารบัญ
แนวคิด ทฤษฎี การจัดการ - วัตถุประสงค (มาตรฐาน/ผลการ
เรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เรียนรู)
วอลตัน และแมททิวส (Walton & - แบบทดสอบกอนเรียน ความสามารถใน
Matthews 1998 : 456-459) , ดีไล - แบบฝกทักษะ การแกปญหา
เซิล (Delisle 1997: 26-36), สเตป
เพี ย นและแกลแลกเกอร (Stepien
- แบบทดสอบหลังเรียน
W.J. and Gallagher S.A. 1993 , การจัดกิจกรรมการเรียนรู
อางถึงใน วัชรา เลาเรียนดี 2554 : 1. การเชื่อมโยงปญหาและนําเสนอปญหา
110) , เซวอย และฮิวจ (Savoil and
Hugles 1994 , อางถึงใน วัชรา เลา
2. ทําความเขาใจกับปญหา ความคิดเห็นตอ
3. ดําเนินการศึกษาคนควา แบบฝกทักษะ
เรียนดี 2554 : 110-111) และ สํานัก
วิชาคณิตศาสตร
มาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการ 4. สังเคราะหขอมูลและปฏิบัติ
เรียนรู (2550 : 7-8) เรื่องการประยุกต 1
5. สรุปผลการแกไขปญหาและความรูที่ได
โดยใชการจัดการ
แนวคิด ทฤษฎี การประเมินผล เรียนรูแบบ
ความสามารถในการแกปญหา - ความสามารถในการแกปญหา ปญหาเปนฐาน
บรังคา (ชัยรัตน สุลํานาจ 2547 : 6 , - ความคิดเห็นของนักเรียนที่มตี อ
อางอิงจาก Branca 1980 :3 – 8), รัส แบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร
เซล (Russel 1961: 255), ชารล
เรื่องการประยุกต 1 โดยใชการจัดการเรียนรู
และเลสเตอร (Charles & Lester
1982 : 6-10),และโพลยา (Polya แบบปญหาเปนฐาน
1985: 123-127)

แผนภูมิที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดในการวิจัย
17

คําถามการวิจัย
1. ขอมูล พื้นฐานและความตองการในการพัฒนาแบบฝกทั ก ษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่อง
การประยุกต1 โดยใช การจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการ
แกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เปนอยางไร
2. แบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหา
เปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ที่ผูวิจัย
สรางขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 หรือไม
3. การทดลองใช แบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการ
เรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยม
ศึกษาปที่ 1 เปนอยางไร
4. ผลการประเมินและปรับปรุงแบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใช
การจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เปนอยางไร
4.1 ความสามารถในการแกปญหาหลังเรียนสูงกวากอนเรียนหรือไม
4.2 ความคิดเห็นของนักเรียนตอแบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1
โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 อยูในระดับใด

วัตถุประสงคการวิจัย
1. เพื่อศึกษาขอมูลพื้นฐานและความตองการในการพัฒนาแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร
เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการ
แกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
2. เพื่อพัฒนาแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรู
แบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่1
ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80
3. เพื่อทดลองใชแบบฝก ทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใช การจัดการ
เรีย นรู แบบปญ หาเป นฐาน เพื่ อส งเสริม ความสามารถในการแก ป ญหา สํ า หรับ นั ก เรีย นชั้ น
มัธยมศึกษาปที่ 1
18

4. การประเมินผลและปรับปรุงแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใช


การจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 มีวัตถุประสงคเฉพาะดังนี้
4.1 เพื่อเปรียบเทียบ ความสามารถในการแกปญหา กอนและหลังใชแบบฝกทักษะ
วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริม
ความสามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
4.2 เพื่อศึ กษาความคิ ดเห็นของนั ก เรี ย นที่มีตอแบบฝกทักษะ วิช าคณิตศาสตร
เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการ
แกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1

สมมติฐานการวิจัย
1. แบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหา
เป นฐาน เพื่ อสง เสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับนัก เรียนชั้นมั ธยมศึ กษาปที่ 1 มี
ประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80
2. ความสามารถในการแกปญหาหลังใชแบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1
โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 สูงกวากอนเรียน
3. ความคิดเห็นของนั ก เรี ย นที่มีตอแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1
โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 อยูในระดับมาก

ขอบเขตของการวิจัย
1. ประชากรและกลุมตัวอยาง
ประชากร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนไทรโยคมณีกาญจนวิทยา
จังหวัดกาญจนบุรี ที่กําลังศึกษาอยูในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2557 จํานวน 5 หองเรียน จํานวน
165 คน
กลุมตัวอยาง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่1/1 โรงเรียนไทรโยคมณีกาญจนวิทยา
จังหวัดกาญจนบุรี ที่กําลังศึกษาอยูในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2557 จํานวน 35 คน ที่ไดมาดวย
วิธีการสุมอยางงาย (Simple Random Sampling) โดยการใชหองเรียนเปนหนวยสุม(Sampling Unit)
19

2. ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรตน คือ แบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตรและการจัดการเรียนรูแบบปญหา
เปนฐาน
ตัวแปรตาม คือ 1. ความสามารถในการแกปญหา
2. ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอแบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตร
โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน
3. ขอบเขตของเนื้อหา
เนื้อหาที่ใชในการทดลอง หนวยการเรียนรูที่1 วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1
เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับนัก เรียนชั้นมัธ ยมศึ กษาป ที่ 1 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551และหลักสูตรสถานศึกษา กลุมสาระการเรียนรู
คณิตศาสตร โรงเรียนไทรโยคมณีกาญจนวิทยา ประกอบดวยเนื้อหาและระยะเวลาเรียนตอไปนี้
1. รูปเรขาคณิต จํานวน 4 ชั่วโมง
2. จํานวนนับ จํานวน 4 ชั่วโมง
3. รอยละ ในชีวิตประจําวัน จํานวน 4 ชั่วโมง
4. ปญหาชวนคิด จํานวน 4 ชั่วโมง
4. ระยะเวลาในการทดลอง
ผูวิจัยกําหนดระยะเวลาในการทดลองจํานวน 8 แผนการเรียนรู แตละแผนใชเวลา
2 ชั่วโมง รวมระยะเวลาเปน 16 ชั่วโมง รวมเปนเวลา 8 สัปดาห ในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2557
นิยามศัพทเฉพาะ
1. แบบฝกทักษะ หมายถึ งสื่อ เอกสารที่ผูวิจัยสรางขึ้น เพื่อสงเสริมความสามารถในการ
แกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ซึ่งสอดคลองกับมาตรฐานและผลการเรียนรู วิชา
คณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้ นฐาน พุทธศักราช 2551 ดําเนินการสรางแบบ
ฝกทักษะ ทั้งหมด 4 ชุด ประกอบดวยชื่อเรื่อง คํานํา คําชี้แจง สารบัญ วัตถุประสงค แบบทดสอบ
กอนเรียน แบบฝกทักษะการแกปญหา และแบบทดสอบหลังเรียน
2. การพัฒนาแบบฝกทักษะ หมายถึง กระบวนการสรางแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร
เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการ
แกปญหา โดยดําเนินการตามขั้นตอนดังนี้ 1) ศึกษาขอมูลพื้นฐานและความตองการในการพัฒนา
แบบฝกทักษะ 2) พัฒนาแบบฝกทักษะ 3) ทดลองใชแบบฝกทักษะ และ 4) การประเมินผลและ
ปรับปรุงแบบฝกทักษะ
20

3. การจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน (Problem Based Learning : PBL) หมายถึง


กระบวนการของการจัด การเรีย นการสอนที่ เริ่ ม ต นจากป ญหา เพื่ อ แก ป ญหาหรือ สถานการณ
เกี่ยวกับชีวิตประจํา วัน ตัวปญหาจะเปนจุดตั้งตนของกระบวนการเรียนรูและเปนตัวกระตุนการ
พัฒนาทักษะการแกปญหา มุงเนนพัฒนาผูเรียนในดานทักษะและกระบวนการเรียนรู และพัฒนา
ผูเรียนใหสามารถเรียนรูโดยการชี้นําตนเอง วิธีการจัดการเรียนการสอนแบบปญหาเปนฐาน สรุป
เปนขั้นตอนในการจัดการเรียนรู ซึ่งประกอบดวย 5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 การเชื่อมโยงปญหาและ
นําเสนอปญหา (The Related Problem and Problem Presentation) ขั้นที่ 2 ทําความเขาใจกับปญหา
(Understanding of The Problem) ขั้นที่ 3 ดําเนินการศึกษาคนควาปญหา (The Study of Problem)
ขั้นที่ 4 สังเคราะหขอมูลและปฏิบัติ (The Synthesis of Data and Procedure) และขั้นที่ 5 สรุปผล
การแกไขปญหาและความรูที่ได (The Conclusion of Solution)
4. แบบฝกทักษะโดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน หมายถึง เอกสารที่ผูวิจัยสราง
ขึ้น โดยใชขั้นตอนการจัดการเรียนรู แบบปญหาเปนฐาน 5 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 การเชื่อมโยงปญหา
และนําเสนอปญหา (The Related Problem and Problem Presentation) ขั้นที่ 2 ทําความเขาใจกับ
ปญหา (Understanding of The Problem) ขั้นที่ 3 ดําเนินการศึกษาคนควา (The Study of Problem)
ขั้นที่ 4 สังเคราะหขอมูลและปฏิบัติ (The Synthesis of Data and Procedure) และขั้นที่ 5 สรุปผล
การแกไขปญหาและความรูที่ได (The Conclusion of Solution) มาชวยในการแกโจทยปญหาทาง
คณิตศาสตร
5. ประสิทธิภาพของแบบฝกทักษะ หมายถึง ผลการใชแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่อง
การประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา
ซึ่ง เมื่ อนั ก เรีย นไดฝ ก ทํ า แบบฝก ทั ก ษะแล วสามารถทํ า คะแนนของแบบฝก ทั ก ษะได ม ากที่ สุ ด
ไมต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน คือ 80/80
80 ตัวแรก หมายถึง คะแนนเฉลี่ยรอยละ ของคะแนนที่นักเรียนไดจากการทําแบบ
ทดสอบของแบบฝกทักษะระหวางเรียนของนักเรียนกลุมตัวอยาง ไดรอยละ 80
80 ตัวหลัง หมายถึง คะแนนเฉลี่ยรอยละ ของคะแนนที่นักเรียนทั้งหมดทําแบบ
ทดสอบของแบบฝกทักษะหลังเรียนของนักเรียนกลุมตัวอยาง ไดรอยละ 80
6. ความสามารถในการแกปญหา หมายถึง การแกโจทยปญหาที่ใชความรู กระบวนการคิด
ขอเท็จจริงของปญหา ที่ผานการรวบรวมความรูหรือเชื่อมโยงประสบการณเดิมกับสถานการณ
ปญหาเขาดวยกัน โดยแสดงวิธีการแกปญหา 5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 การเชื่อมโยงปญหาและ
นําเสนอปญหา (The Related Problem and Problem Presentation) ขั้นที่ 2 ทําความเขาใจกับปญหา
(Understanding of The Problem) ขั้นที่ 3 ดําเนินการ ศึกษาคนควา (The Study of Problem)
21

ขั้นที่ 4 สังเคราะหขอมูลและปฏิบัติ (The Synthesis of Data and Procedure) และขั้นที่ 5 สรุปผล


การแกไขปญหาและความรูที่ได (The Conclusion of Solution) แกปญหาในสถานการณตางๆอยาง
มีเหตุผล ถูกตองและชัดเจน
7. ความคิดเห็น หมายถึง ระดับของความรูสึก และขอคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการใช
แบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อ
สงเสริมความสามารถในการแกปญหา ที่มีตอการจัดกิจกรรมการเรียนรู บรรยากาศในการเรียนรู
การวัดและประเมินผล และประโยชนที่ไดรับ ซึ่งไดจากการทําแบบสอบถามความคิดเห็น
8. นักเรียน หมายถึง ผูที่กําลังศึกษาอยูในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนไทรโยคมณีกาญจน
วิทยา จังหวัดกาญจนบุรี สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา
2557

ประโยชนที่ไดรับ
1. ไดแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร โดยใชการจัดการเรียนรู แบบปญหาเปนฐาน เพื่อ
สงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 1 ที่ พั ฒ นาขึ้ น ตรงกั บ
ความตองการของผูเรียน
2. เปนแนวทางในการพัฒนาความสามารถในการแกปญหา ในการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนของนักเรียนใหดียิ่งขึ้นตอไป
3. เพื่อเปนแรงจูงใจใหครูคณิตศาสตรแสวงหาวิธีการสอนและผลิตเครื่องมือ เพื่อสงเสริม
ใหนักเรียนมีความสามารถในการแกปญหา
4. เปนประโยชนตอผูที่ตองการศึกษาหาขอมูลเพิ่มเติมในการพัฒนาแบบฝกทักษะ วิชา
คณิ ตศาสตร เรื่ อ งการประยุ ก ต 1 โดยใช ก ารจัด การเรี ย นรู แ บบป ญ หาเป น ฐาน เพื่ อ สง เสริ ม
ความสามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
22

บทที 2
วรรณกรรมทีเกียวข้ อง
การวิจยั เรื อง การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การ
จัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชัน
มัธยมศึกษาปี ที 1 ผูว้ จิ ยั ได้ศึกษาหลักการ แนวคิดและงานวิจยั ทีเกียวข้องตามหัวข้อดังต่อไปนี
1. หลัก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขันพื นฐาน พุ ท ธศัก ราช 2551 และหลัก สู ตร
สถานศึกษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ โรงเรี ยนไทรโยคมณี กาญจน์วทิ ยา
2. แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยั ทีเกียวกับการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ
3. แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยั เกียวกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบปั ญหาเป็ นฐาน
4. แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยั เกียวกับความสามารถในการแก้ปัญหา
. หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสู ตรสถานศึกษา กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนไทรโยคมณีกาญจน์ วิทยา จังหวัดกาญจนบุรี
วิสัยทัศน์
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนทุกคนซึ งเป็ น
กําลังของชาติ ให้เป็ นมนุษย์ทีมีความสมดุล ทังด้านร่ างกายความรู ้ คุณธรรม มีจิตสํานึ กในความเป็ น
พลเมืองไทยและเป็ นพลโลกยึดมันในการปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตย อันมีพระมหากษัตริ ย ์
ทรงเป็ นประมุข มีความรู ้และทักษะพืนฐาน รวมทังเจตคติทีจําเป็ นต่อการศึกษาต่อการประกอบ
อาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญบนพืนฐานความเชือว่า ทุกคนสามารถ
เรี ยนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
หลักการ
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551 มีหลักการทีสําคัญดังนี
1. เป็ นหลักสู ตรการศึกษา เพือความเป็ นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐาน
การเรี ยนรู้ เป็ นเป้ าหมายสําหรับพัฒนาเด็กและเยาวชน ให้มีความรู้ทกั ษะเจตคติและคุณธรรมบน
พืนฐานของความเป็ นไทยควบคู่กบั ความเป็ นสากล
2. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาเพือปวงชน ทีประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษา
อย่างเสมอภาคและมีคุณภาพ
3. เป็ นหลักสู ตรการศึกษา ทีสนองการกระจายอํานาจให้สังคม มีส่วนร่ วมในการ
จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิน

22
23

4. เป็ นหลักสู ตรการศึกษา ทีมีโครงสร้ างยืดหยุ่นทังด้านสาระการเรี ยนรู ้เวลาและ


การจัดการเรี ยนรู้
5. เป็ นหลักสู ตรการศึกษา ทีเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ
6. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาสําหรับการศึกษาในระบบนอกระบบและตามอัธยาศัย
ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้ าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรี ยนรู้และประสบการณ์
จุดหมาย
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เป็ นคนดี
มีปัญญา มีความสุ ข มีศกั ยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชี พ จึงกําหนดเป็ นจุดหมายเพือให้
เกิดกับผูเ้ รี ยน เมือจบการศึกษาขันพืนฐานดังนี
1. มีคุณธรรมจริ ยธรรมและค่านิ ยมทีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเองมีวินยั และ
ปฏิบตั ิตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนาทีตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
2. มีความรู้ ความสามารถในการสื อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี
และมีทกั ษะชีวติ
3. มีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตทีดีมีสุขนิสัยและรักการออกกําลังกาย
4. มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมันในวิถีชีวติ
และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข
5. มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา
สิ งแวดล้อม มีจิตสาธารณะทีมุ่งทําประโยชน์และสร้างสิ งทีดีงามในสังคมและอยูร่ ่ วมกันในสังคม
อย่างมีความสุ ข
สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน
การพัฒนาผูเ้ รี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนา
ผูเ้ รี ยนให้มีสมรรถนะสําคัญ 5 ประการดังนี
1. ความสามารถในการสื อสาร เป็ นความสามารถในการรั บ และส่ ง สาร มี
วัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู ้ ความเข้าใจความรู ้ สึกและทัศนะของตนเอง
เพือแลกเปลียนข้อมูล ข่าวสารและประสบการณ์อนั จะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม
รวมทังการเจรจาต่อรอง เพือขจัดและลดปั ญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรั บหรื อไม่รับข้อมูล
ข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื อสารทีมีประสิ ทธิ ภาพโดย
คํานึงถึงผลกระทบทีมีต่อตนเองและสังคม
24

2. ความสามารถในการคิ ด เป็ นความสามารถในการคิ ด วิเ คราะห์ การคิ ด


สังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและการคิดเป็ นระบบ เพือนําไปสู่ การ
สร้างองค์ความรู้หรื อสารสนเทศ เพือการตัดสิ นใจเกียวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ต่างๆทีเผชิ ญได้อย่างถูกต้องเหมาะสม บนพืนฐานของหลักเหตุผลคุณธรรมและข้อมูล สารสนเทศ
เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลียนแปลงของเหตุการณ์ ต่างๆในสังคม แสวงหาความรู ้ ประยุกต์
ความรู ้มาใช้ในการป้ องกันและแก้ไขปั ญหาและมีการตัดสิ นใจทีมีประสิ ทธิ ภาพ โดยคํานึ งถึ งผล
กระทบทีเกิดขึนต่อตนเองสังคมและสิ งแวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ ทักษะชี วิต เป็ นความสามารถในการนํากระบวนการ
ต่างๆไปใช้ในการดําเนิ นชีวิตประจําวัน การเรี ยนรู ้ ดว้ ยตนเอง การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื องการทํางาน
และการอยูร่ ่ วมกันในสังคม ด้วยการสร้างเสริ มความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างบุคคล การจัดการปั ญหา
และความขัดแย้ง ต่า งๆอย่า งเหมาะสม การปรั บ ตัว ให้ ท ันกับ การเปลี ยนแปลงของสั ง คมและ
สภาพแวดล้อมและการรู ้จกั หลีกเลียงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ทีส่ งผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ ืน
5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เป็ นความสามารถในการเลื อกและใช้
เทคโนโลยีด้านต่า งๆและมี ท กั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื อการพัฒนาตนเองและสั ง คม
ในด้านการเรี ยนรู้ การสื อสาร การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
การพัฒนาผูเ้ รี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนา
ผูเ้ รี ยนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพือให้สามารถอยู่ร่วมกับผูอ้ ืนในสังคมได้อย่างมีความสุ ข
ทังในฐานะพลเมืองไทยและพลโลกดังนี
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
2. ซือสัตย์ สุ จริ ต
3. มีวนิ ยั
4. ใฝ่ เรี ยนรู้
5. อยูอ่ ย่างพอเพียง
6. มุ่งมันในการทํางาน
7. รักความเป็ นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
25

สาระและมาตรฐานการเรี ยนรู้ สาระการเรี ยนรู้ คณิตศาสตร์ หลักสู ตรแกนกลางการศึ กษา


ขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551
สาระที 1 จํานวนและการดําเนินการ
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและการใช้จาํ นวนในชี วิตจริ ง
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลทีเกิดขึนจากการดําเนินการของจํานวนและความสัมพันธ์ระหว่าง
การดําเนินการต่าง ๆ และใช้การดําเนินการในการแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคํานวณและแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจระบบจํานวนและนําสมบัติเกียวกับจํานวนไปใช้
สาระที 2 การวัด
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพืนฐานเกียวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ งทีต้องการวัด
มาตรฐาน ค 2.2 แก้ปัญหาเกียวกับการวัด
สาระที 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิ ตสองมิติและสามมิติ
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (Visualization) ใช้เหตุผลเกียวกับปริ ภูมิ (Spatial Reasoning)
และใช้แบบจําลองทางเรขาคณิ ต (Geometric Model) ในการแก้ปัญหา
สาระที 4 พีชคณิต
มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรู ป (Pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั
มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิ ตศาสตร์ (Mathematical
Model) อืน ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนําไปใช้
แก้ปัญหา
สาระที 5 การวิเคราะห์ ข้อมูลและความน่ าจะเป็ น
มาตรฐาน ค 5.1 เข้าใจและใช้วธิ ีการทางสถิติในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วธิ ี การทางสถิติและความรู ้เกียวกับความน่าจะเป็ นในการคาดการณ์ได้อย่าง
สมเหตุสมผล
มาตรฐาน ค 5.3 ใช้ความรู้เกียวกับสถิติและความน่าจะเป็ นช่วยในการตัดสิ นใจและแก้ปัญหา
สาระที 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื อสาร การสื อความหมาย
ทางคณิ ตศาสตร์ และการนําเสนอ การเชื อมโยงความรู ้ต่าง ๆ ทางคณิ ตศาสตร์
และเชือมโยงคณิ ตศาสตร์ กบั ศาสตร์ อืนๆ และมีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์
26

หลักสู ตรสถานศึกษา โรงเรียนไทรโยคมณีกาญจน์ วิทยา จังหวัดกาญจนบุรี

วิสัยทัศน์
โรงเรี ยนไทรโยคมณี กาญจน์วิทยา เป็ นสถานศึกษาทีปฏิ รูปการเรี ยนรู้ ให้ผูเ้ รี ยนสามารถ
พัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ

พันธกิจ
1. จัดกระบวนการเรี ยนการสอนทีเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ โดยใช้วิธีการสอนทีหลากหลาย
มุ่งเน้นให้ ผูเ้ รี ยนเป็ นคนดี มีปัญญา อยูใ่ นสังคมอย่างมีความสุ ข สามารถนําความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวติ ประจําวันได้อย่างเหมาะสม
2. จัดและพัฒนาการเรี ยนการสอนให้ตอบสนองความต้องการของชุมชน เสริ มสร้างความ
สัมพันธ์และความร่ วมมือระหว่างโรงเรี ยน ผูป้ กครอง ชุมชน
3. จัดการเรี ยนการสอน ให้นกั เรี ยนมีความรู ้และทักษะพืนฐานตามหลักสู ตรและสามารถ
สื อสารกับผูอ้ ืนได้อย่างเหมาะสม
4. พัฒนาการวัดผลและประเมินผลทีหลากหลายอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
5. พัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยน ให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และได้ตามมาตรฐานการศึกษา
ของชาติ
6. จัดกิจกรรมส่ งเสริ มอนุรักษ์ธรรมชาติ สิ งแวดล้อม และภูมิปัญญาท้องถิน
เป้าประสงค์
นักเรี ยนโรงเรี ยนไทรโยคมณี กาญจน์วิทยา สามารถพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพและมี
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ

คุณลักษณะทีพึงประสงค์ ของนักเรียน
1. นักเรี ยนมีความรับผิดชอบ
มีระเบียบวินยั
. ซือสัตย์ สุ จริ ต
. ขยัน หมันเพียร
. เมตตา กรุ ณา
. กิริยางดงาม
. ปลอดยาเสพติด
27

คุณภาพผู้เรียน
เมือจบชันมัธยมศึกษาปี ที 3
มีความคิดรวบยอดเกี ยวกับจํานวนจริ ง มีความเข้าใจเกี ยวกับอัตราส่ วน สัดส่ วน
ร้อยละ เลขยกกําลังทีมีเลขชีกําลังเป็ นจํานวนเต็ม รากทีสองและรากทีสามของจํานวนจริ ง สามารถ
ดําเนิ นการเกียวกับจํานวนเต็ม เศษส่ วน ทศนิ ยม เลขยกกําลัง รากทีสองและรากทีสามของจํานวน
จริ ง ใช้การประมาณค่าในการดําเนินการและแก้ปัญหา และนําความรู ้เกียวกับจํานวนไปใช้ในชี วิต
จริ งได้
มีความรู ้ ความเข้าใจเกี ยวกับพืนทีผิวของปริ ซึม ทรงกระบอก และปริ มาตรของ
ปริ ซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม เลือกใช้หน่วยการวัดในระบบต่าง ๆ เกียวกับความ
ยาว พืนที และปริ มาตรได้อย่างเหมาะสม พร้อมทังสามารถนําความรู ้เกียวกับการวัดไปใช้ในชี วิต
จริ งได้
สามารถสร้างและอธิบายขันตอนการสร้างรู ปเรขาคณิ ตสองมิติ โดยใช้วงเวียนและ
สันตรง อธิ บายลักษณะและสมบัติของรู ปเรขาคณิ ตสามมิติซึงได้แก่ ปริ ซึม พีระมิด ทรงกระบอก
กรวย และทรงกลมได้
มีความเข้าใจเกียวกับสมบัติของความเท่ากันทุ กประการและความคล้ายของรู ป
สามเหลียม เส้นขนาน ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ และสามารถนําสมบัติเหล่านันไปใช้ใน
การให้ เ หตุ ผ ลและแก้ ปั ญ หาได้ มี ค วามเข้า ใจเกี ยวกับ การแปลงทางเรขาคณิ ต (Geometric
Transformation)ในเรื องการเลือนขนาน (Translation) การสะท้อน (Reflection) และการหมุน
(Rotation) และนําไปใช้ได้
สามารถนึกภาพและอธิบายลักษณะของรู ปเรขาคณิ ตสองมิติและสามมิติ
สามารถวิเคราะห์และอธิ บายความสัมพันธ์ของแบบรู ป สถานการณ์ หรื อปั ญหา
และสามารถใช้สมการเชิ งเส้นตัวแปรเดียว ระบบสมการเชิ งเส้นสองตัวแปร อสมการเชิ งเส้นตัว
แปรเดียว และกราฟในการแก้ปัญหาได้
สามารถกําหนดประเด็น เขียนข้อคําถามเกี ยวกับปั ญหาหรื อสถานการณ์ กําหนด
วิธีการศึก ษา เก็บ รวบรวมข้อมูล และนําเสนอข้อมูล โดยใช้แผนภูมิรูป วงกลม หรื อรู ปแบบอื นที
เหมาะสมได้
เข้าใจค่ากลางของข้อมูลในเรื องค่าเฉลียเลขคณิ ต มัธยฐาน และฐานนิ ยมของข้อมูล
ทียังไม่ได้แจกแจงความถี และเลื อกใช้ได้อย่างเหมาะสม รวมทังใช้ความรู ้ ในการพิจารณาข้อมูล
ข่าวสารทางสถิติ
28

เข้าใจเกียวกับการทดลองสุ่ ม เหตุการณ์ และความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ สามารถ


ใช้ความรู ้เกียวกับความน่าจะเป็ นในการคาดการณ์ และประกอบการตัดสิ นใจในสถานการณ์ ต่างๆ
ได้
ใช้วธิ ี การทีหลากหลายแก้ปัญหาใช้ความรู ้ ทักษะและกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์
และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการ
ตัดสิ นใจ และสรุ ปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ ในการสื อสาร การ
สื อความหมาย และการนําเสนอ ได้อย่างถูกต้อง และชัดเจน เชือมโยงความรู ้ต่างๆ ในคณิ ตศาสตร์
นําความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ ไปเชือมโยงกับศาสตร์ อืนๆ และมีความคิดริ เริ ม
สร้างสรรค์

โครงสร้ างหลักสู ตรสถานศึกษา โรงเรียนไทรโยคมณีกาญจน์ วทิ ยา พุทธศักราช 2553


(ฉบับปรับปรุ ง 2556) กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั นมัธยมศึกษาตอนต้ น ปี ที 1 - 3

ชันมัธยมศึกษาปี ที 1
รายวิชา คณิ ตศาสตร์ พนฐาน
ื รหัสวิชา ค 21101 จํานวน 60 ชัวโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
รายวิชา คณิ ตศาสตร์ พนฐาน
ื รหัสวิชา ค 21102 จํานวน 60 ชัวโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
รายวิชา คณิ ตศาสตร์ เพิมเติม รหัสวิชา ค 21201 จํานวน 40 ชัวโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต
รายวิชา คณิ ตศาสตร์ เพิมเติม รหัสวิชา ค 21202 จํานวน 40 ชัวโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต

ชันมัธยมศึกษาปี ที 2
รายวิชา คณิ ตศาสตร์ พนฐาน
ื รหัสวิชา ค 22101 จํานวน 60 ชัวโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
รายวิชา คณิ ตศาสตร์ พนฐาน
ื รหัสวิชา ค 22102 จํานวน 60 ชัวโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
รายวิชา คณิ ตศาสตร์ เพิมเติม รหัสวิชา ค 22201 จํานวน 40 ชัวโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต
รายวิชา คณิ ตศาสตร์ เพิมเติม รหัสวิชา ค 22202 จํานวน 40 ชัวโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต

ชันมัธยมศึกษาปี ที 3
รายวิชา คณิ ตศาสตร์ พนฐาน
ื รหัสวิชา ค 23101 จํานวน 60 ชัวโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
รายวิชา คณิ ตศาสตร์ พนฐาน
ื รหัสวิชา ค 23102 จํานวน 60 ชัวโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
รายวิชา คณิ ตศาสตร์ เพิมเติม รหัสวิชา ค 23201 จํานวน 40 ชัวโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต
รายวิชา คณิ ตศาสตร์เพิมเติม รหัสวิชา ค 23202 จํานวน 40 ชัวโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต
29

คําอธิบายรายวิชา
ค 21201 คณิตศาสตร์ เพิมเติม จํานวน 40 ชัวโมง/ภาค 1.0 หน่ วยกิต
ศึ กษา ฝึ กทักษะการคิ ดคํานวณ ฝึ กการแก้ปั ญหา และฝึ กทักษะกระบวนการทาง
คณิ ตศาสตร์ เกี ยวกับการประยุกต์ รู ปเรขาคณิ ต จํานวนนับ ร้อยละในชีวิตประจําวัน ปั ญหาชวน
คิดจํานวนและตัวเลข ระบบตัวเลขโรมัน ระบบตัวเลขฐานต่าง ๆ การเปลียนฐานในระบบตัวเลข การ
ประยุกต์ของจํานวนนับและเลขยกกําลัง การคิดคํานวณ โจทย์ปัญหา การสร้าง การแบ่งส่ วนของ
เส้นตรง การสร้างมุมต่าง ๆ การสร้างรู ปสามเหลียมและรู ปสี เหลียมด้านขนาน
โดยการจัดประสบการณ์ หรื อการสร้ างสถานการณ์ ทีใกล้ตวั ให้ผูเ้ รี ยนได้ศึก ษา
ค้นคว้า โดยการปฏิบตั ิจริ ง พิสูจน์ สรุ ป รายงานผล เพือพัฒนาทักษะ กระบวนการในการคิดคํานวณ
การแก้ปั ญหา การให้เหตุ ผล การสื อความหมายทางคณิ ตศาสตร์ และการนําประสบการณ์ ด้า น
ความรู ้ ความคิด ทักษะกระบวนการทีได้ ไปใช้ในการเรี ยนรู ้สิงต่าง ๆ และใช้ในชี วิตประจําวันอย่าง
สร้างสรรค์ รวมทังเห็นคุณค่าและมีเจตคติทีดีต่อคณิ ตศาสตร์ สามารถทํางานอย่างเป็ นระบบระเบียบ
รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความเชือมันในตนเอง มีความซื อสัตย์สุจริ ต มีวินยั
ใฝ่ เรี ยนรู ้ มีความมุ่งมันในการทํางาน มีจิตสาธารณะ และมีคุณธรรมจริ ยธรรม เพือการพัฒนาสู่
ประชาคมอาเซียน
ผลการเรียนรู้ (จํานวน 11 ผลการเรี ยนรู้)
1. อ่านและเขียนเลขโรมันได้
2. บอกค่าของเลขโดดและเขียนตัวเลขฐานต่างๆ ทีกําหนดให้ได้
3. ใช้ความรู ้เกียวกับจํานวนเต็มและเลขยกกําลังในการแก้ปัญหาได้
4. ใช้การประมาณค่าในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม
5. ใช้การสร้างพืนฐาน สร้างมุมขนาดต่างๆได้
6. ใช้ความรู้และทักษะกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ แก้ปัญหาต่างๆได้
7. ใช้วธิ ี การทีหลากหลายในการแก้ปัญหาได้
8. ให้เหตุผลประกอบการตัดสิ นใจและสรุ ปผลได้อย่างเหมาะสม
9. ใช้ภาษาสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ในการสื อสาร การสื อความหมาย และการนําเสนอได้
อย่างถูกต้องและชัดเจน
10. เชือมโยงความรู ้ต่างๆในคณิ ตศาสตร์และนําความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์
ไปเชือมโยงกับศาสตร์ อืนๆได้
11. มีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์
30

ตารางที 1 โครงสร้างรายวิชาคณิ ตศาสตร์ ค 21201


ภาคเรี ยนที 1 ชันมัธยมศึกษาปี ที 1 เวลา 40 ชัวโมง จํานวน 1.0 หน่วยกิต

ชือหน่ วย เวลา นําหนัก


ที ผลการเรียนรู้ สาระสําคัญ
การเรียนรู้ (ชัวโมง) คะแนน
1 การ 1. ใช้ความรู ้และทักษะกระบวนการทาง 1) รู ปเรขาคณิ ต 16 10
ประยุกต์ 1คณิ ตศาสตร์แก้ปัญหาต่างๆได้ 2) จํานวนนับ
2. ใช้ วิ ธี ก ารที หลากหลายในการ 3) ร้อยละใน
แก้ปัญหาได้ ชีวติ ประจําวัน
3. เชื อมโยงความรู ้ต่างๆในคณิ ตศาสตร์ 4) ปั ญหาชวนคิด
และนําความรู ้ หลักการ กระบวนการทาง
คณิ ตศาสตร์ ไปเชื อมโยงกับศาสตร์ อืนๆ
ได้
4. มีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์
2 จํานวนและ 1. อ่านและเขียนเลขโรมันได้ 1) ระบบตัวเลขโรมัน 8 10
ตัวเลข 2. บอกค่าของเลขโดดและเขี ยนตัวเลข 2) ระบบตัวเลขฐานต่าง ๆ
ฐานต่างๆ ทีกําหนดให้ได้ 3) การเปลียนฐานใน
ระบบตัวเลข
3 การ 1. ใช้ความรู ้เกี ยวกับจํานวนเต็มและเลข 1) การคิดคํานวณ 8 10
ประยุกต์ ยกกําลังในการแก้ปัญหาได้ 2) โจทย์ปัญหา
ของจํานวน 2. ใช้การประมาณค่าในสถานการณ์ต่างๆ
นับและเลข ได้อย่างเหมาะสม
ยกกําลัง 3. ให้เหตุผลประกอบการตัดสิ นใจและ
สรุ ปผลได้อย่างเหมาะสม
4 การสร้าง 1. ใช้ก ารสร้ า งพื นฐานสร้ า งมุ ม ขนาด 1)การแบ่งส่วนของ 8 5
ต่างๆได้ เส้นตรง
2.ใช้ภาษาสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ ใน 2) การสร้างมุมขนาดต่าง ๆ
การสื อสาร การสื อความหมายและการ 3) การสร้างรู ปสามเหลียม
นําเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน และรู ปสี เหลียมด้าน
ขนาน
31

ตารางที 1 โครงสร้างรายวิชาคณิ ตศาสตร์ ค 21201 (ต่อ)


ภาคเรี ยนที 1 ชันมัธยมศึกษาปี ที 1 เวลา 40 ชัวโมง จํานวน 1.0 หน่วยกิต

ชือหน่ วย เวลา นําหนัก


ที ผลการเรียนรู้ สาระสําคัญ
การเรียนรู้ (ชัวโมง) คะแนน
5 สอบวัดผล 1. ใช้ความรู ้และทักษะกระบวนการทาง 1) รู ปเรขาคณิ ต - 20
กลางภาคเรี ยน คณิ ตศาสตร์แก้ปัญหาต่างๆได้ 2) จํานวนนับ
2.ใช้วธิ ีการทีหลากหลายในการแก้ปัญหา 3) ร้อยละใน
3. เชือมโยงความรู ้ต่างๆในคณิ ตศาสตร์และ ชีวติ ประจําวัน
นําความรู ้ หลักการ กระบวนการทาง 4) ปั ญหาชวนคิด
คณิ ตศาสตร์ไปเชือมโยงกับศาสตร์อืนๆ 5) ระบบตัวเลขโรมัน
4. มีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์ 6) ระบบตัวเลขฐานต่าง ๆ
5. อ่านและเขียนเลขโรมันได้ 7) การเปลียนฐานใน
6. บอกค่าของเลขโดดและเขียนตัวเลขฐาน ระบบตัวเลข
ต่างๆ ทีกําหนดให้ได้
6 สอบวั ด ผล 1. ใช้ความรู ้ เ กี ยวกับจํานวนเต็มและเลขยก 1) การคิดคํานวณ - 30
ป ล า ย ภ า ค กําลังในการแก้ปัญหาได้ 2) โจทย์ปัญหา
เรี ยน 2. ใช้การประมาณค่าในสถานการณ์ต่างๆได้ 3) การแบ่งส่วนของ
อย่างเหมาะสม เส้นตรง
3. ให้เหตุผลประกอบการตัดสิ นใจและ 4) การสร้างมุมขนาดต่าง ๆ
สรุ ปผลได้อย่างเหมาะสม 5) การสร้างรู ปสามเหลียม
4. ใช้การสร้างพืนฐานสร้างมุมขนาดต่างๆได้ และรู ปสี เหลียมด้าน
5.ใช้ภาษาสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ในการ ขนาน
สื อสาร การสื อความหมายและการนําเสนอ
ได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
7 คะแนน 15
คุณลักษณะ
- - -
อันพึง
ประสงค์
รวม 40 100
32

จาก ตารางที 1 โครงสร้างรายวิชาคณิ ตศาสตร์ ค 21201 ภาคเรี ยนที1 ชันมัธยมศึกษาปี ที 1


เวลา 40 ชัวโมง จํานวน 1.0 หน่ วยกิ ต มี 4 หน่ วยการเรี ยนรู ้ คือ หน่ วยการเรี ยนรู ้ ที 1 เรื อง
การประยุกต์ 1 หน่วยการเรี ยนรู ้ที 2 เรื องจํานวนและตัวเลข หน่วยการเรี ยนรู ้ที 3 เรื องการประยุกต์
ของจํานวนนับและเลขยกกําลัง และหน่วยการเรี ยนรู ้ที 4 เรื องการสร้าง
ผูว้ ิจยั เลือกหน่วยการเรี ยนรู ้ที 1 เรื องการประยุกต์ 1 มาทดลองกับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษา
ปี ที 1 โดยใช้แบบฝึ กทักษะ ประกอบการจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เนื อหาประกอบด้วย
สาระสําคัญดังนี 1) รู ปเรขาคณิ ต 2) จํานวนนับ 3) ร้อยละในชี วิตประจําวัน และ 4) ปั ญหาชวนคิด
เป็ นเนื อหาที มีความหลากหลาย เหมาะแก่การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาและ มี ผลการเรี ยนรู้ ที
สอดคล้องกับ การใช้ท กั ษะต่า งๆในการแก้ปั ญหา คื อ 1) ใช้ความรู้ แ ละทัก ษะกระบวนการทาง
คณิ ตศาสตร์ แก้ปัญหาต่างๆได้ 2)ใช้วธิ ี การทีหลากหลายในการแก้ปัญหาได้ 3) เชือมโยงความรู ้ต่างๆ
ในคณิ ตศาสตร์และนําความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ ไปเชื อมโยงกับศาสตร์ อืนๆได้
4) มีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์ และหน่วยการเรี ยนรู ้ ที 1 เรื องการประยุกต์ 1 ใช้เวลาในการจัดการ
เรี ยนรู้ทงหมด
ั 16 ชัวโมง
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
เนือหาทีใช้ในการทดลอง หน่วยการเรี ยนรู ้ที 1 เรื องการประยุกต์ 1 วิชาคณิ ตศาสตร์ สําหรับ
นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1
สาระที 1 จํานวนและการดําเนินการ
มาตรฐานค 1.2 เข้าใจถึงผลทีเกิดขึนจากการดําเนินการของจํานวนและความ
สัมพันธ์ระหว่างการดําเนินการต่างๆและใช้การดําเนินการในการแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจระบบจํานวนและนําสมบัติเกียวกับจํานวนไปใช้
สาระที 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิ ตสองมิติและสามมิติ
สาระที 4 พีชคณิต
มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิ ตศาสตร์
(Mathematical Model) อืนๆแทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนําไปใช้แก้ปัญหา
สาระที 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื อสาร
การสื อความหมายทางคณิ ตศาสตร์ และการนําเสนอ การเชือมโยงความรู ้ต่างๆ ทางคณิ ตศาสตร์ และ
เชือมโยงคณิ ตศาสตร์ กบั ศาสตร์ อืนๆและมีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์
33

ตารางที 2 ผลการเรี ยนรู้ของแต่ละแบบฝึ กทักษะ หน่วยการเรี ยนรู ้ที 1 เรื องการประยุกต์ 1

แผนการ เวลา
แบบฝึ กทักษะ ผลการเรียนรู้ เนือหา
จัดการเรียนรู้ (ชัวโมง)
1 1. ใช้ความรู้และทักษะ - ทดสอบความรู ้ก่อนเรี ยน 2
กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ - สมบัติของรู ปสามเหลียม
2 รู ปเรขาคณิ ต แก้ปัญหาต่างๆได้ - จุดภายใน จุดภายนอก 2
สะกิดใจ 2.ใช้วธิ ีการทีหลากหลายใน - แทนแกรม
การแก้ปัญหา
3. มีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์
3 จํานวนนับ 1. ใช้ความรู้และทักษะ - จํานวนเฉพาะ 2
4 หรรษา กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ - การหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. 2
แก้ปัญหาต่างๆได้
5 1. ใช้ความรู้และทักษะ - ร้อยละ เปอร์ เซ็นต์ ต้นทุน 2
ร้อยละใน กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ ขาดทุน กําไร ค่านายหน้า
ชีวติ ประจําวัน แก้ปัญหาต่างๆได้ ดอกเบีย
6 2.ใช้วธิ ีการทีหลากหลายใน - โจทย์ปัญหาร้อยละ 2
การแก้ปัญหา
7 1. ใช้ความรู้และทักษะ - กิจกรรมผลบวกของจํานวนคี 2
กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ มีอะไรอยูเ่ ท่าไร เงิน จํานวน
แก้ปัญหาต่างๆได้ เรี ยงอิฐปูพนื
8 2.ใช้วธิ ีการทีหลากหลายใน - กิจกรรมแบ่งทีดินปลูกผัก 2
การแก้ปัญหา - มีลูกอมอยูก่ ีเม็ด
ปัญหาชวนคิด 3. เชือมโยงความรู ้ต่างๆใน - ทดสอบความรู้หลังเรี ยน
คณิ ตศาสตร์ และนําความรู้
หลักการ กระบวนการทาง
คณิ ตศาสตร์ไปเชือมโยงกับ
ศาสตร์อืนๆ
4. มีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์
34

จาก ตารางที 2 ผลการเรี ยนรู ้ ของแต่ละแบบฝึ กทักษะ หน่ วยการเรี ยนรู ้ ที 1 เรื องการ
ประยุกต์ 1 มีแบบฝึ กทักษะจํานวน 4 เล่ม ประกอบด้วย เล่ มที 1 เรื องรู ปเรขาคณิ ต สะกิ ดใจ
ประกอบด้วย การทดสอบความรู ้ก่อนเรี ยน สมบัติของรู ปสามเหลียม จุดภายใน จุดภายนอก และ
แทนแกรม ใช้แผนการจัดการเรี ยนรู้ที 1 และ 2 จํานวน 4 ชัวโมง มีผลการเรี ยนรู้ คือ 1) ใช้ความรู้
และทักษะกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ แก้ปัญหาต่างๆได้ 2)ใช้วธิ ีการทีหลากหลายในการแก้ปัญหา
3) มีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์ เล่มที 2 เรื อง จํานวนนับหรรษา ประกอบด้วย จํานวนเฉพาะและการ
หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ใช้แผนการจัดการเรี ยนรู้ที 3 และ 4 จํานวน 4 ชัวโมง มีผลการเรี ยนรู้ คือใช้
ความรู้ และทักษะกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ แก้ปัญหาต่างๆได้ เล่มที 3 เรื องร้ อยละในชี วิต
ประจําวัน ประกอบด้วยร้อยละ เปอร์ เซ็นต์ ต้นทุ น ขาดทุ น กําไร ค่านายหน้า ดอกเบีย และโจทย์
ปัญหาร้อยละ ใช้แผนการจัดการเรี ยนรู้ที 5 และ 6 จํานวน 4 ชัวโมง มีผลการเรี ยนรู้ คือ 1)ใช้ความรู้
และทักษะกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์แก้ปัญหาต่างๆได้ 2)ใช้วธิ ีการทีหลากหลายในการแก้ปัญหา
และเล่มที 4 เรื องโจทย์ปัญหาชวนคิด ประกอบด้วย กิจกรรมผลบวกของจํานวนคี มีอะไรอยูเ่ ท่าไร
เงิน จํานวนเรี ยงอิฐปูพนื กิจกรรมแบ่งทีดินปลูกผัก มีลูกอมอยูก่ ีเม็ดและทดสอบความรู้หลังเรี ยน ใช้
แผนการจัดการเรี ยนรู้ที 7 และ 8 จํานวน 4 ชัวโมง มีผลการเรี ยนรู ้คือ1)ใช้ความรู้และทักระบวนการ
ทางคณิ ตศาสตร์ แก้ปัญหาต่างๆได้ 2)ใช้วิธีการทีหลากหลายในการแก้ปัญหา 3) เชือมโยงความรู้
ต่างๆในคณิ ตศาสตร์ และนําความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ ไปเชื อมโยงกับศาสตร์
อืนๆ 4) มีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์
. แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยทีเกียวกับการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ
แบบ ฝึ กทักษะ ถื อเป็ นสื อหรื อนวัตกรรมที จําเป็ นอย่างหนึ งที จะทําให้การเรี ยนการสอน
บรรลุ ผ ล อี ก ทังยัง สามารถช่ ว ยในการฝึ กทัก ษะผู ้เ รี ย นได้ดี นัก การศึ ก ษาได้ใ ห้ ค วามหมาย
ความสําคัญ การสร้างแบบฝึ กทักษะและประเด็นต่างๆทีสําคัญไว้หลายประการดังต่อไปนี
ความหมายของแบบฝึ กทักษะ
แบบฝึ กทักษะ หรื อ แบบฝึ ก มีความหมายเดี ยวกันซึ งบางครังจะเรี ยกว่า แบบฝึ ก
บางครั งก็ เรี ย กว่า แบบฝึ กทัก ษะ เพราะเป็ นนวัตกรรมที ครู นํา มาใช้ใ นการฝึ กทัก ษะของผูเ้ รี ย น
เพือให้เกิ ดรู ปแบบในการเรี ยนการสอนและเพิมประสิ ทธิ ภาพของการเรี ยนให้สูงยิงขึ น ดังมีนัก
การศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมายของแบบฝึ กทักษะไว้ ดังนี
35

วราภรณ์ ระบาเลิศ (2552: 34) กล่าวว่า แบบฝึ กทักษะ หมายถึงงานหรื อกิจกรรมที


ครู จดั ให้นักเรี ย นได้ฝึกทัก ษะการปฏิ บ ตั ิ บ่ อย ๆ จนเกิ ดความชํา นาญมี ความรู้ ความเข้าใจใน
เนือหาวิชาทีเรี ยน และสามารถนําความรู ้นนไปใช้ ั ในชีวติ ประจําวันได้
สลาย ปลังกลาง (2552: 31-32) กล่าวว่า แบบฝึ กหัดหรื อแบบฝึ กทักษะ หมายถึง สื อ
การเรี ยนการสอนทีใช้สําหรับให้ผเู ้ รี ยนฝึ กความชํานาญในทักษะต่างๆ จนเกิดความคิดรวบยอดใน
เรื องทีฝึ กและสามารถนําทักษะไปใช้ในการแก้ปัญหาได้
จารุ วรรณ เขียวอ่อน (2551: 52) กล่าวว่า แบบฝึ กทักษะ หมายถึง สื อการสอนที
สร้างขึนสําหรับให้นกั เรี ยนฝึ กปฏิบตั ิเพือให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจ และความชํานาญในเรื องนันๆ
มากขึน
สมศรี อภัย (2552: 21) กล่าวว่า แบบฝึ กทักษะ หมายถึง สื อการสอนทีครู สร้างขึน
เพือให้นกั เรี ยนได้ฝึกปฏิ บตั ิให้เกิ ดความรู ้ ความเข้าใจ และความชํานาญในเรื องนันๆ มากขึน
นักเรี ยนมีทกั ษะเพิมขึนสามารถแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง
นอกจากนี กุลธิ ดา ปั ญ ญาจิ ร วุ ฒิ ( : 63 ) อุ บ ลวรรณ ปรุ งวนิ ช พงษ์
( : 56) อัจฉราวรรณ ศิริรัตน์ ( : ) และพัฒนพงศ์ บรรณการ ( : 60 ) ได้ให้ความหมาย
ของแบบฝึ กทัก ษะไว้ท าํ นองเดี ย วกัน ว่า แบบฝึ กทัก ษะ หมายถึ ง เอกสารประเภทหนึ งหรื อสื อ
ประเภทเอกสารที ผูว้ จิ ยั สร้างขึนเพือให้นกั เรี ยนใช้ฝึกทักษะ/ปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง ประกอบด้วย ชือเรื อง
คํานํา คําชี แจง(วัต ถุ ป ระสงค์ /ผลการเรี ยนรู้ ) คู่มือครู คู่มือนักเรี ยนและแบบทดสอบเพื อพัฒ นา
ทัก ษะฝึ ก ให้ผูเ้ รี ย นปฏิ บ ัติ ใ ห้ เ กิ ด ความชํา นาญ โดยเรี ย งเนื อหาจากง่ า ยไปหายาก มี รู ป แบบ
หลากหลาย เร้าความสนใจของผูเ้ รี ยน
กั น เทอร์ แ ละคณะ(Gunter, et al. 1990 : 80 ,อ้างถึงใน อัจฉราวรรณ ศิริรัตน์ ,
: 82) กล่าวว่า แบบฝึ กทักษะมักใช้ในการให้นกั เรี ยนฝึ กเรี ยนด้วยตนเองและแบบฝึ กทักษะควร
จะมีการให้คาํ แนะนําในการทําแก่นกั เรี ยน โดยการทีครู แสดงตัว อย่ า งแก่ นกั เรี ยนก่อน เช่นครู ให้
นักเรี ยนทังชันช่ วยกันตอบคําถามข้อแรกและครู ช่วยให้คาํ แนะนํา หลังจากนัน จึ งให้นกั เรี ยนทํา
ด้วยตนเองและหลังจากนัก เรี ยนทําแบบฝึ กเสร็ จ ครู และนัก เรี ยนควรอภิ ป รายตรวจสอบและ
ซักถามข้อสงสัยในข้อคําถามและคําตอบของแบบฝึ กร่ วมกัน
มณฑนกร เจริ ญรักษา (2552) ให้ความหมายหมายของแบบฝึ กทักษะว่าเป็ นสื อ
การเรี ยนการสอนทีใช้ฝึกให้นกั เรี ยนมีความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ โดยมีการฝึ กสร้างคํา
การเขียนประโยค การเขียนเป็ นข้อความสันๆ หรื อการเขียนเป็ นเรื องราว ประกอบด้วยชื อแบบฝึ ก
คํานํา คําแนะนําการใช้ เนือหาแบบฝึ ก แบบทดสอบประเมินผล
36

และสุ ภาวดี คําฝึ กฝน (2552) ได้ให้ความหมายหมายของแบบฝึ กทักษะว่าเป็ นสื อ


การเรี ยนการสอนประเภทหนึง สําหรับผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิเพือให้เกิดความรู ้ความเข้าใจ และมีทกั ษะเพิม
มากขึน ซึ งมี ลกั ษณะเป็ นสื อประสม ครู เป็ นผูอ้ าํ นวยความสะดวก และให้คาํ ปรึ กษาเมื อมี ปัญหา
เกี ยวกับกิจกรรม แบบฝึ กทักษะทําให้นกั เรี ยนมีพฒั นาการทางภาษาทีดี เพราะนักเรี ยนมีโอกาสนํา
ความรู ้ทีเรี ยนมาแล้วฝึ กให้เกิดความเข้าใจยิงขึน ในการทําแบบฝึ กจะต้องคํานึ งถึงการจัดเนื อหาให้
ตรงกับจุดมุ่งหมาย มีคาํ ชี แจงง่ายๆ สันๆ เพือให้นกั เรี ยนเข้าใจ และการใช้เวลาในการทําแบบฝึ ก
ต้องให้เหมาะสมกับวัยของนักเรี ยน นักเรี ยนควรได้ทาํ แบบฝึ กหลายๆ แบบ เพือให้เกิดการเรี ยนรู ้ ที
กว้างขวางขึน ซึ งสามารถทําให้นักเรี ยนมีความสามารถทางการเรี ยนตามเป้ าหมาย และแบบฝึ ก
ทักษะมีองค์ประกอบต่อไปนี ชือเรื อง คํานํา คําชีแจง แบบฝึ กทักษะ แบบทดสอบ
ตารางที 3 การสังเคราะห์ความหมายขอบแบบฝึ กทักษะ
ชื อผู้วจิ ัย ความหมาย
วราภรณ์ งานหรื อกิจกรรมทีครู จดั ให้นกั เรี ยนได้ฝึกทักษะการปฏิบตั ิบ่อย ๆ จนเกิดความ
ระบาเลิศ ชํานาญมีความรู ้ความเข้าใจในเนือหาวิชาทีเรี ยน และสามารถนําความรู ้นนไปใช้

(2552: 34) ในชีวติ ประจําวันได้
สลาย ปลังกลาง สื อการเรี ยนการสอนทีใช้สําหรับให้ผเู ้ รี ยนฝึ กความชํานาญในทักษะต่าง จนเกิด
(2552: 31-32) ความคิดรวบยอดในเรื องทีฝึ กและสามารถนําทักษะไปใช้ในการแก้ปัญหาได้
จารุ วรรณ เขียว กล่าวว่า แบบฝึ กทักษะ หมายถึง สื อการสอนทีสร้างขึนสําหรับให้นกั เรี ยนได้ฝึก
อ่อน (2551: 52) ปฏิบตั ิเพือให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจ และความชํานาญในเรื องนัน ๆ มากขึน

สมศรี อภัย สื อการสอนทีครู สร้างขึนเพือให้นกั เรี ยนได้ฝึกปฏิบตั ิให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจ


(2552: 21) และความชํานาญในเรื องนัน ๆ มากขึน นักเรี ยนมีทกั ษะเพิมขึนสามารถ
แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง
มณฑนกร เจริ ญ ให้ความหมายหมายของแบบฝึ กทักษะว่าเป็ นสื อการเรี ยนการสอนทีใช้ฝึกให้
รักษา (2552) นักเรี ยนมีความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ โดยมีการฝึ กสร้างคํา การ
เขียนประโยค การเขียนเป็ นข้อความสันๆ หรื อการเขียนเป็ นเรื องราว
อนุรักษ์ เร่ งรัด เอกสารทีผูว้ ิจยั สร้างขึน เพือพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับ
(ผูว้ จิ ยั ) นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 ซึงสอดคล้องกับมาตรฐานและผลการเรี ยนรู ้วชิ า
คณิ ตศาสตร์ ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551
37

จากตารางที 3 จึ งสรุ ปได้ว่าแบบฝึ กทักษะหมายถึ งเอกสารที ผูว้ ิจยั สร้ างขึน เพือพัฒนา
ความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 ซึ งสอดคล้องกับมาตรฐานและ
ผลการเรี ยนรู้ วิชาคณิ ตศาสตร์ ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551
ตารางที 4 การสังเคราะห์องค์ประกอบของแบบฝึ กทักษะ
องค์ประกอบของ แบบทดสอบ แบบทดสอบ
ชือ คํา คํา วัตถุประสงค์ แบบฝึ ก
แบบฝึ กทักษะ สารบัญ ก่ อนเรียน หลังเรียน
เรือง นํา ชีแจง การเรียนรู้ ทักษะ
ชือผู้วจิ ัย
วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์ (2545) √ - √ √ - √ √ √
อุบลวรรณ ปรุ งวนิชพงษ์ (2548) √ √ √ - √ √ √ √
วราภรณ์ ระบาเลิศ (2552) √ √ √ √ √ √ √ √
สุภาวดี คําฝึ กฝน (2552) √ √ √ - √ √ √ √
พัฒนพงศ์ บรรณการ (2552) √ √ √ - √ √ - √

มณฑนกร เจริ ญรักษา (2552) √ √ √ - - √ √ √


อนุรักษ์ เร่ งรัด (ผูว้ ิจยั ) √ √ √ √ √ √ √ √

ดังนันจากตารางที 4 จึงสรุ ปได้วา่ องค์ประกอบของแบบฝึ กทักษะทีสําคัญ มีดงั นี ชือเรื อง


คํานํา คํา ชี แจง สารบัญ วัตถุ ประสงค์ก ารเรี ยนรู้ แบบฝึ กทักษะ ส่ ว นแบบทดสอบก่ อนเรี ยนจะ
ปรากฎอยู่ในแบบฝึ กทักษะเล่มที 1 คือ ก่อนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ และแบบทดสอบหลังเรี ยน
จะปรากฎอยูใ่ นแบบฝึ กทักษะเล่มสุ ดท้าย คือ หลังการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ และแผนการจัด การ
เรี ยนรู้ สํา หรั บ ครู ผู้ส อน
ความสํ าคัญและประโยชน์ ของแบบฝึ กทักษะ
คณิ ตศาสตร์ เป็ นวิชาทักษะทีต้องอาศัย การฝึ กฝนอย่างสมําเสมอ เพราะการฝึ กฝน
จะทําให้เกิ ดความชํานาญ ความแม่นยํา มีพฒั นาการทางการคิด แบบฝึ กทักษะจึงเป็ นสื อการเรี ยนที
อํานวยประโยชน์ ต่ อ การเรี ย นรู ้ จึ ง มี ผู ้เ สนอความสํ า คัญ และประโยชน์ ข องแบบฝึ กทัก ษะไว้
ดังต่อไปนี
38

กรี นและวอลเตอร์ (Green and Walter, 1971: 496) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของแบบ


ฝึ กทักษะไว้ ดังนี ) แบบฝึ กทักษะเป็ นอุปกรณ์ การสอนที ช่ วยลดภาระของครู ได้มาก ) ช่ วยให้
นักเรี ยนได้ฝึกฝนทักษะในการใช้ภาษาได้ดีขึน ) ช่วยในเรื องความแตกต่ า งระหว่างบุคคล ทําให้
ประสบผลสําเร็ จทางด้านจิตใจมากขึน )ช่วยเสริ มทักษะทางภาษาให้ค งทนโดยมีการฝึ กซําหลายๆ
ครัง ) ช่วยเป็ นเครื องมื อวัดผลการเรี ยนหลังจากเรี ยนจบแล้ ว ) ช่วยให้นกั เรี ยนสามารถทบทวน
ได้ด้วยตนเอง ) ช่ วยให้ครู มองเห็นปั ญหาต่างๆของนักเรี ยน ได้ชดั เจนขึน ) ช่วยให้นกั เรี ยนได้
ฝึ กฝนให้เต็มที นอกเหนือจากเรี ยนในหนังสื อเรี ยน ) ช่วยประหยัดแรงงานและเวลาของครู )ช่วย
ให้นกั เรี ยนเห็นความก้าวหน้าของตนเอง
อัจฉราวรรณ ศิริรัตน์ (2549: 84) แบบฝึ กทักษะมีความสําคัญและจําเป็ น เพราะจะ
ช่ วยให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจในบทเรี ยนได้ดียิงขึน สามารถจดจําเนื อหาบทเรี ยนได้คงทน ทําให้เกิ ดความ
สนุ กสนานในขณะเรี ยน ทราบความก้าวหน้าของตนเอง สามารถนําแบบฝึ กหัดมา ทบทวนเนือหา
เดิมได้ดว้ ยตนเอง นํามาวัดผลการเรี ยนหลังจากทีเรี ยนแล้ว ตลอดจนสามารถทราบข้อบกพร่ องของ
นักเรี ยนและนําไปปรับปรุ งแก้ไขได้ทนั ท่วงที ซึ งจะทําให้ครู ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย และลด
ภาระของครู ได้ม าก ช่ วยในเรื องความแตกต่างระหว่างบุ คคล นักเรี ยนมี ทศั นคติ ทีดี ต่อการเรี ย น
นอกจากนียังทําให้นกั เรี ยนสามารถนําภาษาไปใช้สือสารได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพด้วย
อุบลวรรณ ปรุ งวนิชพงษ์ (2551: 86) แบบฝึ กทักษะช่วยในการฝึ กฝนทักษะทักษะ
การใช้ภาษา และลดปั ญหาด้านความแตกต่างระหว่างบุคคล และมีทกั ษะทางภาษาทีคงทน ช่วยให้
ครู ประหยัดเวลาในการทีต้องเตรี ยมแบบฝึ กหัดตลอดเวลา และทราบถึงปั ญหาต่างๆ ของนักเรี ยนได้
ชัดเจนขึน นอกจากนี แบบฝึ กยังช่ วยให้นักเรี ยนสามารถทบทวนสิ งทีเรี ยนไปแล้วได้ด้วยตนเอง
และทราบถึงความก้าวหน้าในการเรี ยนของตน และพัฒนาทักษะทางการเรี ยนของตนอีกด้วย
จากการที กล่ า วมาแล้ว สรุ ป ได้ว่า แบบฝึ กทัก ษะมี ค วามสํา คัญ และมี ป ระโยชน์ ต่อ ทัง
ครู ผูส้ อนและนัก เรี ย น ในด้า นของครู ผูส้ อนนันทํา ให้ ทราบข้อบกพร่ องของนัก เรี ย นล ดความ
แตกต่ า งระหว่ า งนักเรี ยน ทราบความก้าวหน้าจะช่วยพัฒนา การเรี ยนรู ้แก่นกั เรี ยน นอกจากนียัง
ช่วยลดภาระค่า ใช้จ่ายและประหยัดเวลา ด้านนักเรี ยนแบบฝึ กทักษะช่วยให้นกั เรี ยนเข้าใจบทเรี ยน
มากขึ น ส ามารถฝึ กฝนทบทวนบทเรี ย นด้ว ยตนเองก่ อ ให้ เกิ ด ความเข้า ใจที คงทน เกิ ดความ
สนุกสนานในขณะเดียวกันก็ทราบความก้าวหน้าของตนเองอีกด้วย
39

หลักในการสร้ างแบบฝึ กทักษะ


การสร้างแบบฝึ กทักษะให้มีประสิ ทธิ ภาพ จําเป็ นต้องมีขนตอนหรื
ั อแนวดําเนินการ
ซึงมีขอ้ เสนอแนะ เกียวกับหลักในการสร้างแบบฝึ กทักษะไว้ต่างๆ กัน ดังนี
ซี คและกลาสโกว์ (Seels and Glasgow, 1990: 4) ได้เสนอแนะว่าในการจัด
สถานการณ์ทางการสอนสามารถกําหนดขอบเขตเนื อหาหลักสู ตรจากหน่วยการเรี ยนระดับเนือหา
หลัก สู ตร จากหน่ วยการเรี ย นระดับ เล็ กสู่ ระดับใหญ่ และในการออกแบบการสอนควรคํานึ งถึ ง
ส่ วนประกอบ ดังนี
1. เนือหาทีคัดเลือกมาต้องอิงจุดประสงค์รายวิชา
2. กลวิธีทีใช้ในการสอนต้องอิงทฤษฎีและผลงานทางการวิจยั ทีได้มีผทู้ าํ ไว้
3. การวัดผลต้องอิงพฤติกรรมการเรี ยนรู้
4. รู้จกั นําเทคโนโลยีมาใช้ เพือให้แบบฝึ กทักษะมีประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิ ผลและ
คุม้ ค่าซึ งมีขนตอนในการสร้
ั างแบบฝึ กทักษะดังนี

แผนภูมิที 2 ขันตอนในการสร้างแบบฝึ กทักษะ


จากแผนภูมิอธิบายได้ ดังนี
1. วิเคราะห์ปัญหา กําหนดปั ญหาการสอน โดยรวบรวมปั ญหาจากการประเมิ น
ความต้องการของผูเ้ รี ยน
2. วิเคราะห์ภาระงาน โดยรวบรวมข้อมูลจากทักษะต่างๆ รวมไปถึงพฤติกรรมทาง
การเรี ยนและทัศนคติ จากนันจึงวิเคราะห์วธิ ีการสอน เพือกําหนดวิธีทีต้องการ
40

3. เขียนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม และกําหนดเกณฑ์การทดสอบเพือให้สัมพันธ์กบั
จุดประสงค์
4. กําหนดกลวิธีการสอนหรื อส่ วนประกอบของการสอน เช่น ขันนํา เสนอเนื อหา
หรื อขันฝึ กปฏิบตั ิ
5. เลือกรู ปแบบการสอนและสื อทีจะนํามาสร้างเป็ นแบบฝึ กทักษะ
6. วางแผนการผลิต พัฒนาสื อ ตรวจสอบขันตอนในการพัฒนาสื อ เพือให้สอด
คล้องกับโครงสร้างการสอน
7. วางแผน และกําหนดกลวิธีทีจะใช้ในการประเมินผลขันปฏิบตั ิการ (Formative
Evaluation) รวบรวมข้อมูลในขันการวัดการเรี ยนรู ้รายจุดประสงค์ เพือนําไปพิจารณาปรับปรุ งหรื อ
อาจมีการทดสอบใหม่
8. วางแผนขันตอนในการใช้เครื องมือ
9. ดําเนินการประเมินผลขันสรุ ป
10. นําแบบฝึ กทักษะทีผลิตออกเผยแพร่
วิมลรัตน์ สุ นทรโรจน์ (2549: 98) ได้กล่าวถึงขันตอนการสร้างแบบฝึ กทักษะ ดังนี
1. ศึกษาปัญหาและความต้องการ โดยศึกษาจากการผ่านจุดประสงค์การเรี ยนรู ้และ
ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน
2. วิเคราะห์เนื อหาหรื อทักษะทีเป็ นปั ญหา ออกเป็ นเนื อหาหรื อทักษะย่อยๆ เพือใช้
ในการสร้างแบบทดสอบและแบบฝึ ก
3. พิจารณาวัตถุประสงค์ รู ปแบบ และขันตอนในการใช้แบบฝึ ก เช่น จะนําแบบฝึ ก
ไปใช้อย่างไร ในแต่ละชุดประกอบด้วยอะไรบ้าง
4. สร้างแบบทดสอบ ซึ งอาจเป็ นแบบทดสอบเชิงสํารวจ แบบทดสอบเพือวินิจฉัย
ข้อบกพร่ อง แบบทดสอบความก้าวหน้าเฉพาะตอน โดยแบบทดสอบทีสร้างจะต้องสอดคล้องกับ
เนือหาหรื อทักษะทีวิเคราะห์ในตอนที 2
5. สร้างบัตรฝึ กหัด เพือใช้พฒั นาทักษะแต่ละทักษะ ในแต่ละบัตรจะมีคาํ ถามให้
นักเรี ยนตอบ
6. สร้างบัตรอ้างอิง เพือใช้อธิ บายคําตอบหรื อแนวทางการตอบแต่ละเรื องการสร้าง
บัตรอ้างอิงนีอาจทําเพิมเติมเมือได้นาํ แบบฝึ กนันไปทดลองใช้แล้ว
7. สร้างแบบบันทึกความก้าวหน้า เพือใช้บนั ทึกผลการทดสอบหรื อผลการเรี ยนใน
แต่ละเรื องแต่ละตอน สอดคล้องกับแบบทดสอบความก้าวหน้า
41

8. นําแบบฝึ กไปทดลองใช้เพือหาข้อบกพร่ อง คุณภาพของแบบฝึ ก และคุณภาพ


ของแบบทดสอบ
9. ปรับปรุ งแก้ไข
10. รวบรวมเป็ นชุดจัดทําคําชีแจง คู่มือใช้ สารบัญ เพือใช้ประโยชน์ต่อไป
สํานักนิเทศและพัฒนามาตรฐานการศึกษาและสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษา
แห่ งชาติ (2544: 51-55) ได้จดั ทําแบบฝึ กทักษะเป็ นนวัตกรรมทีใช้แก้ปัญหาด้านความรู ้ ความเข้าใจ
ของผูเ้ รี ยนและเสนอกระบวนการในการพัฒนาแบบฝึ กทักษะทีสําคัญไว้ดงั นี
ขันที 1 ศึ ก ษาหลัก การ แนวคิ ด หรื อผลงานวิ จ ั ย ที เกี ยวข้อ งหรื อทฤษฎี ข อง
แบบฝึ กทักษะ
ขันที 2 ออกแบบแบบฝึ กทักษะ ซึ งมีสิงทีควรคํานึงถึงดังนี
2.1 วัตถุประสงค์ของผลทีต้องการให้เกิดหลังจากใช้แบบฝึ กทักษะ คืออะไร
2.2 ขอบข่ายของผูใ้ ช้ ควรระบุวา่ แบบฝึ กทักษะทีสร้างขึนเหมาะกับนักเรี ยน
ระดับใด
2.3 โครงสร้างของแบบฝึ กทักษะควรสอดคล้องหรื อเหมาะสมกับผูใ้ ช้
2.4 การเสนอแนวทางหรื อเทคนิคในการนําไปใช้จริ ง
2.5 ควรมีคู่มือหรื อเอกสารแนะนําการใช้
ขันที 3 สร้างหรื อพัฒนา เป็ นการลงมือทําตามรู ปแบบและโครงสร้างทีกําหนด
ขันที 4 การตรวจสอบคุณภาพของแบบฝึ กทักษะ
4.1 ตรวจสอบคุณภาพของตัวแบบฝึ กทักษะเอง โดยทดลองใช้กบั กลุ่มเล็กๆ
เพือปรับปรุ งคุณภาพของส่ วนต่างๆ เช่นภาษา การจัดลําดับเนือหา เป็ นต้น
4.2 หาประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กทักษะ
4.3 นําไปจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้และหาประสิ ทธิ ผลของแบบฝึ กทักษะใน
สถานการณ์จริ ง
ขันที 5 การประเมินผลการใช้แบบฝึ กทักษะโดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยเทคนิ ค
ต่างๆ เมือจบการใช้แบบฝึ กทักษะแล้ว รายงานขยายผลการใช้ ถ้าได้ผลแสดงว่าสามารถลดสภาพ
ปัญหาหรื อแก้ปัญหาได้
ไชยยศ เรื องสุ วรรณ (2521: 138 , อ้างถึงใน จิราภรณ์ ฉัตรทอง, 2545: 21) กล่าว
ว่าการกําหนดเกณฑ์ประสิ ทธิภาพของบทเรี ยนนิยมตังไว้ 90/90 สําหรับเนื อหาทีเป็ นความรู ้ความจํา
และเนือหาวิชาทักษะจะตังไว้ไม่ตากว่
ํ า 80/80
42

สํา หรั บ ชัย ยงค์ พรหมวงศ์แ ละคณะ (2540: 101-102, อ้า งถึ ง ใน วัน เ พ็ ญ
คุ ณ พิ ริ ยะเทวี , 2548: 67) ได้กาํ หนดตัวเลขเป็ นร้อยละของประสิ ทธิภาพมีค่าเป็ น E1/E2

E1 = × 100

E1 หมายถึง ประสิ ทธิ ภาพของผลลัพธ์เป็ นร้อยละ


∑x หมายถึง คะแนนรวมของกิจกรรมหรื องานทุกชินทีทําได้ถูกต้อง
A หมายถึง คะแนนเต็มของกิจกรรมหรื องานทุกชินทีทําได้ถูกต้อง
N หมายถึง จํานวนผูเ้ รี ยน

E2 = × 100

E2 หมายถึง ประสิ ทธิ ภาพของผลลัพธ์เป็ นร้อยละ


∑F หมายถึง คะแนนรวมของผลสอบหลังเรี ยน
B หมายถึง คะแนนเต็มของการสอบหลังเรี ยน
N หมายถึง จํานวนผูเ้ รี ยน
การทดสอบหาประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กทักษะทําได้ โดย
1) แบบรายบุคคล (Individual Tryout) ( : ) คือ การทดลองกับนักเรี ยน คน
นําแบบฝึ กทักษะไปทดลองใช้กบั นักเรี ยน ทีมีระดับความรู้ สู ง ปานกลาง และตํา นํามาคํานวณหา
ประสิ ทธิภาพแล้วนําข้อบกพร่ องมาปรับปรุ งแก้ไข
2) แบบกลุ่มเล็ก (Small Group Tryout) ( : 0) คือ การทดลองกับนักเรี ยน -
คน นําแบบฝึ กทักษะทีปรั บ ปรุ งแก้ไขจากขันการทดลองแบบรายบุคคลไปทดลองใช้กบั นักเรี ยน
ที มี ร ะดับ ความรู้ สู ง ปานกลาง และตํา ซึ งระดับ ความรู ้ แ ตกต่ า งกัน แล้ว นํา มาคํา นวณหา
ประสิ ทธิ ภาพแล้วปรับปรุ งแก้ไขให้ดีขึน
3) แบบภาคสนาม (Field Tryout) ( : 00) คือการทดลองใช้กบั นักเรี ยน 30 – 100
คน นําแบบฝึ กทักษะทีผ่านขันการทดลองแบบรายบุคคลและแบบกลุ่มเล็กและได้รับการปรับปรุ ง
แก้ไขแล้วไปทดลองใช้กบั นักเรี ยน แล้วนํามาคํานวณ หาประสิ ทธิ ภาพ เพือปรับปรุ งแก้ไขให้ดีขึน
หากการทดลองในภาคสนามมีค่า E1 และ E2ไม่ถึงเกณฑ์ทีตังไว้ จะต้องปรับปรุ งแบบฝึ กทักษะด้วย
ตนเองและทดสอบหาประสิ ทธิ ภาพซําอีก
43

ในกรณี ทีมีประสิ ทธิ ภาพของแบบฝึ กทักษะทีสร้างไม่ถึงเกณฑ์ทีตังไว้ เนื องจากมี


ตัวแปรทีควบคุมไม่ได้ เช่นความพร้อมของนักเรี ยน บทบาทของครู ผสู้ อน ความเชียวชาญในการใช้
แบบฝึ กทักษะ เป็ นต้น จะมีการกําหนดระดับค่าความคลาดเคลือนในการยอมรั บ หรื อไม่ยอมรั บ
ประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กทักษะไว้ร้อยละ2.5 ถึงร้อยละ 5
เกณฑ์ ประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กทักษะ กําหนดไว้ 3 ระดับ คือ
1. สู งกว่าเกณฑ์ เมือประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กทักษะสู งกว่าเกณฑ์ทีตังไว้ร้อยละ 2.5 ขึนไป
2. เท่ากับเกณฑ์ เมือประสิ ทธิ ภาพของแบบฝึ กทักษะสู งกว่าหรื อเท่ากับเกณฑ์ทีตังไว้ แต่ไม่
เกินร้อยละ 2.5
. ตํากว่าเกณฑ์ เมือประสิ ทธิ ภาพของแบบฝึ กทักษะตํากว่าเกณฑ์ทีตัง แต่ไม่ตากว่
ํ าร้อยละ
2.5 ถือว่าแบบฝึ กทักษะยังมีประสิ ทธิภาพทียอมรับได้
ริ เวอร์ (River, : - ) สรุ ปถึงหลักการสร้างแบบฝึ กทักษะไว้ ดังนี
1. ต้องมีการฝึ กนักเรี ยนมากพอควรในเรื องหนึงๆ ก่อนทีจะมีการฝึ กเรื องอืนๆ
ต่อไป ทังนีทําขึนเพือการสอนมิใช่เพือการทดสอบ
2. แต่ละบทควรฝึ กโดยใช้แบบประโยคเพียงหนึงแบบเท่านัน
3. ฝึ กโครงสร้างใหม่กบั สิ งทีเรี ยนรู ้แล้ว
4. ประโยคทีฝึ กควรเป็ นประโยคสันๆ
5. ประโยคและคําศัพท์ควรเป็ นแบบทีใช้พดู กันในชีวิตประจําวันและรู ้จกั กันดีแล้ว
6. เป็ นแบบฝึ กทักษะทีนักเรี ยนใช้ความคิดด้วย
7. แบบฝึ กทักษะควรมีหลายๆแบบ เพือไม่ให้นกั เรี ยนเกิดความเบือหน่าย
8. ควรฝึ กให้นกั เรี ยนใช้สิงทีเคยเรี ยนไปแล้วไปใช้ในชีวติ ประจําวันได้ แบบฝึ ก
ทักษะทีสร้างขึนสําหรับฝึ กทักษะนักเรี ยน จะประกอบด้วยองค์ประกอบหลายอย่าง
จากหลักการสร้างแบบฝึ กทักษะ สรุ ปได้วา่ ในการสร้างแบบฝึ กทักษะให้มีป ระสิ ทธิ ภ าพ
นั นผูส้ ร้างจะต้องคํานึงถึงปัจจัยทีเกียวข้องหลายประการดังนี คือต้องมีการวิเคราะห์ปัญหาก่อนจาก
ตัวนัก เรี ย น จากนันวิเ คราะห์ ภาระงาน เขี ย นจุ ดประสงค์เชิ ง พฤติ ก รรมและเกณฑ์ก ารทดสอบ
กําหนดองค์ประกอบในการสอนเช่ น ขันนําเสนอเนื อหา หรื อขันฝึ กปฏิ บตั ิ เลือกรู ปแบบการสอน
และสื อทีจะนํามาสร้างแบบฝึ กทักษะ วางแผนการผลิ ตและพัฒนาสื อ วางแผนและกําหนดวิธีการ
ประเมินผลแบบฝึ กทักษะ ทังนี ในการสร้ างแบบฝึ กทักษะยังต้องคํานึ งหลักจิตวิทยามาเรี ยงลําดับ
เนื อหาจากง่ า ยไปหายาก มี กิ จกรรมสันๆ หลากหลายไม่ซําซาก และเหมาะสมกับ ระดับ วัยของ
นักเรี ยน
44

หลักจิตวิทยาทีเกียวกับการสร้ างแบบฝึ กทักษะ


การสร้างแบบฝึ กทักษะให้มีประสิ ทธิ ภาพสําหรับนําไปใช้ ในการจัดการเรี ยนการ
สอนนัน ควรคํานึงถึงหลักจิตวิทยามาใช้เป็ นองค์ประกอบ และใช้เพือเป็ นแนวทางในการสร้างแบบ
ฝึ กทักษะให้มีความเหมาะสมกับวัย ความสนใจ และความสามารถของผูเ้ รี ยน การศึกษาทฤษฎีการ
เรี ยนรู้ จ ากข้อมูล ทีนักจิ ตวิทยาได้ค ้นพบและทดลองเกี ยวกับการสร้ างแบบฝึ กทักษะในส่ วนที มี
ความสัมพันธ์ ดังนี
สุ นนั ทา สุ นทรประเสริ ฐ (2544: 4 - 5) กล่าวว่า การศึกษาในเรื องจิตวิทยาการ
เรี ยนรู้ เป็ นสิ งที ผูส้ ร้ า งแบบฝึ กทัก ษะมิ ควรละเลย เพราะการเรี ย นรู ้ จะเกิ ดขึนได้ต้องขึนอยู่ก ับ
ปรากฏการณ์ของจิต และพฤติกรรมทีจะตอบสนองนานาประการ โดยอาศัยกระบวนการทีเหมาะสม
และเป็ นวิธีทีดีทีสุ ด
ธอร์ นไดค์ (ประสาท อิศรปรี ดา, 2547: 217 – 219, อ้างอิงมาจาก Thorndike,
1874 - 1949: unpaged) ได้อธิบายกฎการเรี ยนรู้ทีสําคัญ คือ
1. กฎความพอใจ (Law of Effect) กฎนี มีใจความว่า พันธะหรื อตัวเชื อมระหว่าง
สิ งเร้ า และการตอบสนองจะเข้มแข็งหรื ออ่อนกําลังลง ย่อมขึ นอยู่ก ับผลต่ อเนื องหลังจากที ได้
ตอบสนองไปแล้วกล่าวคือรางวัล จะมีผลให้พนั ธะระหว่างสิ งเร้ าและการตอบสนองเข้มแข็งขึ น
ส่ วนการลงโทษจะไม่มีผลใดๆ ต่อความเข้มแข็งหรื อการอ่อนกําลังลงของพันธะระหว่างสิ งเร้าและ
การตอบสนองเลย กฎข้อนี เน้นทีการสร้ างแรงจูงใจ การให้รางวัลหรื อการเสริ มแรง ธอร์ นไดค์
เชือว่า การเสริ มแรงหรื อรางวัลหรื อความ สําเร็ จจะส่ งเสริ มการแสดงพฤติกรรมต่างๆ หรื อก่อให้เกิด
การเรี ยนรู ้ขึน
2. กฎการฝึ กหัด (Law of Exercise) กฎการฝึ กหัดได้แบ่งออกเป็ นกฎย่อยๆ 2 กฎ
คือ
2.1 กฎการได้ใช้ (Law of Use) มีใจความว่าพันธะหรื อตัวเชื อมระหว่างสิ งเร้า
และการตอบสนองจะเข้มแข็งเมือได้ทาํ บ่อยๆ
2.2 กฎการไม่ได้ใช้ (Law of Disuse) มีใจความว่าพันธะหรื อตัวเชื อมระหว่าง
สิ งเร้ าและการตอบสนองจะอ่อนกําลังลง เมือไม่ได้ทาํ อย่างต่อเนื อง มีการขาดตอนหรื อไม่ได้ทาํ
บ่อยๆ
3. กฎความพร้อม (Law of Readiness) กฎนีมีใจความสรุ ปว่า “ เมือบุคคลพร้อม
ทีจะทําแล้วได้ทาํ เขาย่อมเกิดความพอใจ” “เมือบุคคลพร้อมทีจะทําแล้วไม่ได้ทาํ เขาย่อมเกิดความ
ไม่พอใจ” “เมือบุคคลไม่พร้อมทีจะทําแต่ตอ้ งทํา เขาย่อมเกิดความไม่พอใจ” ความพร้อมตามความ
หมายนีรวมถึงวุฒิภาวะทางกายวุฒิภาวะทางปั ญญา ความรู ้พืนฐานหรื อประสบการณ์เดิมและสภาพ
45

แรงจูงใจความพอใจเป็ นภาวะทีต้องการได้รับและจะไม่พยายามหลีกหนี ความไม่พอใจเป็ นภาวะไม่


ต้องการได้รับและพยายามหลีกหนี
ดังนันผูส้ ร้ างแบบฝึ กทักษะจึงต้องกําหนดกิจกรรม ตลอดจนคําสังต่างๆ ในแบบฝึ ก
ทักษะให้ผฝู้ ึ กได้แสดงพฤติกรรมสอดคล้องกับจุดประสงค์ทีผูส้ ร้างต้องการ
ทฤษฎีพฤติกรรมนิ ยมของสกินเนอร์ ซึ งมีความเชื อว่าสามารถควบคุมบุคคลให้ทาํ
ตามความประสงค์ หรื อแนวทางทีกําหนดได้โดยไม่ตอ้ งคํานึงถึงความรู้สึกทางจิตใจของบุคคลผูน้ นั
ว่าจะรู ้สึก นึกคิดอย่างไร เขาจึงได้ทดลองและสรุ ปได้วา่ บุคคลสามารถเรี ยนรู้ได้ดว้ ยการกระทํา โดย
มีการเสริ มแรงเป็ นตัวการ เมือบุคคลตอบสนองการเร้าของสิ งเร้าควบคู่กนั ในช่วงเวลาทีเหมาะสม
สิ งเร้านันจะรักษาระดับหรื อเพิมการตอบสนองให้เข้มขึน การสร้างแบบฝึ กทักษะ จึงควรยึดทฤษฎี
การเรี ยนรู้ของสกินเนอร์ ดว้ ย เพราะบุคคลจะเกิดการเรี ยนรู ้ได้ดว้ ยการกระทํา
วิธีการสอนของกาเย่ ซึ งมีความเห็นว่าการเรี ยนรู ้ มีลาํ ดับขัน และผูเ้ รี ยนจะต้อง
เรี ยนรู ้เนือหาทีง่ายไปหายาก
แนวคิ ดของบลูม ซึ งกล่ าวว่า ธรรมชาติ ผูเ้ รี ย นแต่ล ะคนว่ามี ค วามแตกต่ างกัน
ผูเ้ รี ยนจะสามารถเรี ยนรู ้ เนื อหาในหน่วยย่อยต่าง ๆ ได้โดยใช้เวลาเรี ยนทีแตกต่างกัน ดังนันการ
สร้างแบบฝึ กทักษะจึงต้องมีการกําหนดเงือนไขทีจะช่วยให้ผเู ้ รี ยนทุกคน สามารถผ่านลําดับขันตอน
ของทุกหน่วยการเรี ยนได้ ถ้านักเรี ยนได้เรี ยนตามอัตราการเรี ยนของตน ก็จะทําให้นกั เรี ยนประสบ
ความสําเร็ จมากขึน
จากแนวคิ ดของนักจิตวิทยาที กล่ าวมาข้างต้นสรุ ปได้ว่า ในการสร้ างแบบฝึ กทักษะ
เพือทีจะให้ผเู ้ รี ยนเกิ ดการเรี ยนรู ้ได้นนั จะต้องอาศัยกฎการเรี ยนรู้คือกฎความพร้อมผลทีได้รับกฎ
แห่ งความพอใจจากการได้ทราบคะแนนหรื อคําตอบทีตนเองทําได้ เป็ นการสร้ างความพึงพอใจ
ให้ แ ก่ ผูเ้ รี ย นการเรี ย นรู้ โดยการกระทํา โดยมี ก ารเสริ ม แรงหรื อ สิ งเร้ า ควบคู่ ก ัน ในช่ ว งเวลาที
เหมาะสม การสร้ างแบบฝึ กทักษะและให้นักเรี ยนเรี ยนรู ้ตามลําดับขันจากง่ ายไปหายากจะทําให้
นักเรี ยนเกิดความคิดรวบยอดสามารถแก้ไขปั ญหาทีเกิดขึนได้ดว้ ยตนเอง ไม่ใช่ครู เป็ นคนบอก และ
คํานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ดังนันการสร้างแบบฝึ กทักษะ จึงต้องมีการกําหนดเงือนไขทีจะ
ช่วยให้ผเู ้ รี ยนทุกคนสามารถผ่านลําดับขันตอนของทุกหน่วยการเรี ยนได้ และถ้านักเรี ยนได้เรี ยน
ตามความสนใจ จะทําให้นกั เรี ยนประสบความสําเร็ จมากขึน
46

ลักษณะแบบฝึ กทักษะทีดี
การสร้างแบบฝึ กทักษะให้มีคุณภาพ เหมาะสําหรับการนําไปใช้กบั นักเรี ยนแต่ละ
ระดับ ชั น ต้องศึกษาองค์ประกอบหลายๆ ประการ มีนกั การศึกษาหลายท่านได้เสนอแนะเกียวกับ
ลักษณะของแบบฝึ กทักษะทีดีไว้ ดังนี
ศรศักดิ ศรี ตระกูล ( : 22-23) ได้เสนอแนะลักษณะแบบฝึ กทักษะทีดีไว้ ดังนี
. ควรมีขอ้ เสนอแนะในการใช้
. ควรมีคาํ หรื อข้อความให้อย่างจํากัดและฝึ กอย่างเสรี
. คําสังหรื อตัวอย่างไม่ควรยาวเกินไป
. ถ้าต้องการให้ศึกษาด้วยตนเอง แบบฝึ กควรมีหลายรู ปแบบ
. ควรใช้จิตวิทยาและกระบวนการเรี ยนรู้ของเด็ก
. ควรสร้างขึนเพือฝึ กสิ งทีจะสอนและเกียวข้องกับนักเรี ยน
. คําพูดหรื อเนื อหาควรเกียวข้องกับชี วิตประจําวัน และเป็ นสิ งทีนักเรี ยน
พบเห็นอยูแ่ ล้ว
. สิ งทีฝึ กแต่ละครังควรเป็ นบทสันๆและเข้าใจง่ายไม่น่าเบือและทีสําคัญ
ต้องยัวยุและกระตุน้ ให้เด็กสนใจอยากฝึ ก
นอกจากนี ริ เวอร์ (River, 1968: 33) ได้กล่าวถึงลักษณะของแบบฝึ กทักษะทีดีดงั นี
1. ต้องมีการฝึ กนักเรี ยนมากพอควร ในเรื องใดเรื องหนึงก่อนทีจะมีการฝึ ก
เรื องอืนๆ ต่อไป
2. แต่ละบทควรฝึ กโดยใช้แบบประโยคเพียงหนึงแบบ
3. ฝึ กทังโครงสร้างใหม่และสิ งทีเรี ยนมาแล้ว
4. ประโยคทีฝึ กควรเป็ นประโยคสันๆ
5. ควรใช้ประโยคและคําศัพท์ทีใช้พดู กันในชีวติ ประจําวันทีนักเรี ยนรู ้จกั ดี
6. เป็ นแบบฝึ กทักษะทีนักเรี ยนใช้ความคิดด้วย
7. แบบฝึ กทักษะควรมีหลายๆ แบบเพือไม่ให้นกั เรี ยนเกิดความเบือหน่าย
8. ควรฝึ กให้นกั เรี ยนสามารถนําสิ งทีเรี ยนมาแล้วไปใช้ประโยชน์ใน
ชีวติ ประจําวัน
9. ฝึ กให้นกั เรี ยนสามารถใช้สิงทีเรี ยนมาแล้วติดต่อกับผูอ้ ืนได้
วันเพ็ญ คุณพิริยะทวี (2548: 63)ได้เสนอแนวคิดเกียวกับลักษณะแบบฝึ กทักษะทีดีไว้
ว่าควรมีความสอดคล้องกับเนือหาในบทเรี ยน เป็ นไปตามลําดับความยากง่ายเนือเรื องควรเกี ยวข้ อ ง
47

กั บ ชีวติ ประจําวันหรื อสิ งทีผูเ้ รี ยนพบเห็นเหมาะสมกับวัยและความสามารถของผูเ้ รี ยน รู ปแบบ


หลากหลาย สี สวย จูงใจผูเ้ รี ยนและควรเป็ นข้อความหรื อบทความทีสัน
สรุ ปได้วา่ ลักษณะของแบบฝึ กทักษะทีดีตอ้ งมีความสอดคล้องกับเนื อหา สามารถ
ฝึ กฝนให้ นัก เรี ยนบรรลุ ผ ลการเรี ยนรู้ ที คาดหวัง ที ต้อ งการฝึ กปฏิ บ ัติ ด้ว ยตนเองและทราบ
ความก้าวหน้าของตน มีความสอดคล้องกับหลักจิตวิทยาและพัฒนาการของเด็ก ประกอบด้วย คํา
ชี แจงทีสันกระชับ และชัดเจน เรี ยงลําดับเนื อหาจากง่ ายไปหายาก มี รูปแบบทีหลากหลายสี สัน
สดใส สอดคล้องกับความต้องการของนักเรี ยน สามารถนําไปใช้ในชีวิตประจําวันได้ สร้างเจตคติที
ดีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์ เป็ นต้น
งานวิจัยเกียวกับการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ
ดรุ ณี เรื อนมันใจ (2546: บทคัดย่อ) ได้พฒั นาแบบฝึ กทักษะการอ่านเสริ มเพื อ
พัฒนาความสามารถในการอ่านเอกสารจริ ง สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 5 ผลการวิจยั พบว่า
ประสิ ทธิ ภาพของแบบฝึ กการอ่าน เพือการสื อสารโดยใช้เอกสารจริ งมีค่า 78.47/78.78 ซึ งถือว่ามี
ประสิ ทธิ ภาพดี ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรี ยนหลังทําแบบฝึ กการอ่านสู งกว่า
ก่อนการทําแบบฝึ กการอ่านอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 และนักเรี ยนมีความคิดเห็นต่อ
แบบฝึ กการอ่าน เพือการสื อสารโดยใช้เอกสารจริ งอยูใ่ นระดับดี
วุฒิ ถนอมวิริยะกุล (2547: บทคัดย่อ) ได้ทาํ การวิจยั เรื องการสร้างแบบฝึ กทักษะ
การโจทย์ปัญหาคณิ ตศาสตร์ สาระจํานวนและการดําเนินการ สําหรับนักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที 4
จังหวัดระยอง ผลการวิจยั พบว่า ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนหลังใช้แบบฝึ ก
ทักษะการแก้โจทย์ปัญหาคณิ ตศาสตร์ สูงกว่าก่อนใช้ อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .05
อาจารี ย ์ สฤษดิไพศาล (2547: บทคัดย่อ) ได้ทาํ การวิจยั เรื อง การพัฒนาแบบฝึ ก
ทักษะวิชาคณิ ตศาสตร์ สําหรับนักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที 3 ผลการวิจยั พบว่า ผลสัมฤทธิ ทางการ
เรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนชันประถมศึ กษาปี ที 3 ทีได้รับการสอนโดยใช้แบบฝึ กทักษะ
คณิ ตศาสตร์หลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .01
จักรพรรดิ คงนะ (2550: บทคัดย่อ) ได้พฒั นาแบบฝึ กการอ่ านภาษาอังกฤษที
เกี ยวกับ ปั ญ หาของวัย รุ่ นตอนต้น สํา หรั บ นัก เรี ย นชันประถมศึ ก ษาปี ที 6 ผลการวิจยั พบว่า
ประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กเสริ มการอ่านภาษาอังกฤษมีประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ ความสามารถในการ
อ่านของนักเรี ยนหลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน และนักเรี ยนมีความคิดเห็ นทีดี ต่อแบบฝึ กเสริ มทักษะ
การอ่านภาษาอังกฤษ
48

จันตรา ธรรมแพทย์ (2550: บทคัดย่อ) ได้ทาํ วิจยั เรื อง การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ


การแก้โจทย์ปัญหาคณิ ตศาสตร์ สําหรับนักเรี ยนช่วงชันที 2 ทีมีผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนคณิ ตศาสตร์
ตํา ผลการวิจยั พบว่า ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยน ช่วงชันที 2 ทีมี
ผลสั ม ฤทธิ ทางการเรี ยนคณิ ต ศาสตร์ ต ํา ภายหลัง การใช้ แ บบฝึ กทัก ษะการแก้ โ จทย์ปั ญ หา
คณิ ตศาสตร์ สู งกว่าเกณฑ์และสู งกว่าการใช้ อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .01
สมหมาย ศุภพินิ (2551: บทคัดย่อ) ได้พฒั นาแบบฝึ กทักษะกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
คณิ ตศาสตร์ เรื อง ร้อยละ ชันประถมศึกษาปี ที 5 ผลการวิจยั พบว่าแบบฝึ กทักษะกลุ่มสาระการ
เรี ยนรู ้ คณิ ตศาสตร์ เรื องร้ อยละ ชันประถมศึกษาปี ที 5 มี ประสิ ทธิ ภาพเท่ากับ 76.69/79.61 และ
นักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที 5 มีผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน เรื อง ร้อยละ หลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน
ด้วยแบบฝึ กทักษะอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .01
อุบลวรรณ ปรุ งวนิชพงษ์ (2551: บทคัดย่อ) ได้พฒั นาแบบฝึ กทักษะการอ่านภาษา
อังกฤษ โดยใช้กิจกรรมการอ่านให้คล่อง สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 4 ผลการวิจยั พบว่า
ประสิ ทธิ ภาพของแบบฝึ กทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยใช้กิจกรรมการอ่านให้คล่องมีค่าเท่ากับ
81.97/84.75 ถือว่ามีประสิ ทธิ ภาพดี ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรี ยนหลังการใช้
แบบฝึ กทักษะการอ่านภาษาอังกฤษอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 นักเรี ยนมีความคิดเห็นต่อ
แบบฝึ กทักษะการอ่านภาษาอังกฤษอยูใ่ นระดับดีทุกบทเรี ยน
เนาวรัตน์ เจตดุ (2555: บทคัดย่อ) ได้พฒั นาแบบฝึ กเสริ มทักษะการเขียนสรุ ป
ความ โดยใช้ ข ้อ มู ล ท้อ งถิ นไทยทรงดํา อํา เภอเขาย้อ ย จัง หวัด เพชรบุ รี สํ า หรั บ นัก เรี ย นชัน
มัธยมศึกษาปี ที 2 ผลการวิจยั พบว่านักเรี ยนและผูเ้ กี ยวข้องต้องการให้สร้ างแบบฝึ กที มีเนื อหา
เกี ยวกับประวัติความเป็ นมาอาหารและประเพณี ของไทยทรงดําโดยมี รูปแบบที หลากหลายสี สัน
สดใส มี ภ าพประกอบใช้ ร่ ว มกับ การไปศึ ก ษานอกสถานที สื บ ค้น ข้อ มู ล จากอิ น เตอร์ เ น็ ต และ
สัมภาษณ์ผรู้ ู ้ในท้องถินโดยมีครู นกั เรี ยนและผูร้ ู ้ทอ้ งถินประเมินร่ วมกันแบบฝึ กเสริ มทักษะการเขียน
สรุ ปความ
อัชปาณี นนทสุ ต (2555: บทคัดย่อ) ผลการวิจยั พบว่าประสิ ทธิ ภาพของแบบฝึ ก
ทักษะการอ่านภาษาทีสร้างขึนมีประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์ 75/75 ได้ค่าประสิ ทธิ ภาพ 83.40/92.50
ความสามารถในการอ่ า นภาษาอัง กฤษของนั ก เรี ย นหลัง จากการใช้ แ บบฝึ กเสริ ม ทัก ษะอ่ า น
ภาษาอัง กฤษสู งกว่า ความสามารถในการอ่ า นภาษาอัง กฤษก่ อนการใช้แ บบฝึ กเสริ ม ทัก ษะอ่ า น
ภาษาอังกฤษซึ งมีนยั สําคัญทางสถิติทีแตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญ .05
49

3. แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยทีเกียวกับการจัดการเรียนรู้ แบบปัญหาเป็ นฐาน


วิธี ก ารใช้ปัญหาเป็ นฐานในการเรี ย นมี ประวัติมาอย่างยาวนานเพื อใช้ใ นการสนับ สนุ น
ประสบการณ์ในการเรี ยน ทฤษฎีและการวิจยั ทางจิตวิทยาแสดงให้เห็นว่าการใช้ปัญหาเป็ นฐานทํา
ให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้ผา่ นประสบการณ์ในการแก้ปัญหา ซึ งเป็ นได้ทงการเรี
ั ยนเนือหาและวิธีการคิด
การใช้ปัญหาเป็ นฐานเป็ นวิธีการเรี ยนการสอนทีนักเรี ยนได้เรี ยนรู ้ ผ่านการแก้ปัญหา เป็ นศูนย์การ
เรี ยนรู ้ของนักเรี ยนเกียวกับปั ญหาทีซับซ้อนทีไม่ได้มีคาํ ตอบทีถูกเพียงคําตอบเดียว นักเรี ยนทํางาน
ร่ วมกันเป็ นกลุ่มในการค้นหาสิ งทีพวกเขาจําเป็ นต้องรู ้เพือทีจะแก้ปัญหา นักเรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ดว้ ย
ตนเองและประยุกต์ใช้ความรู้ใหม่นนในการแก้ ั ไขปั ญหาและสะท้อนประสิ ทธิ ภาพของกลยุทธ์ ที
พวกเขาได้เรี ยนรู ้ ครู ทาํ หน้าทีเป็ นผูอ้ าํ นวยความสะดวกในการเรี ยนมากกว่าที จะเป็ นผูใ้ ห้ความรู ้
เป้ าหมายของการใช้ปัญหาเป็ นฐาน ประกอบด้วยการช่วยให้นกั เรี ยนพัฒนา 1) ความรู้ทีมีความ
ยืดหยุน่ 2) ทักษะในการแก้ปัญหา 3) ทักษะการเรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง 4) ทักษะการทํางานร่ วมกัน และ
5) สร้างแรงจูงใจภายใน (Cindy and Silver, 2004)

ความหมายของการจัดการเรียนรู้ แบบใช้ ปัญหาเป็ นฐาน


การจัดการเรี ยนรู้แบบใช้ปัญหาเป็ นฐาน (Problem Based Learning : PBL) ตาม
แนวคิดของ Barbara Duch เป็ นการเรี ยนทีเริ มต้นด้วยปั ญหา ซึ งนักเรี ยนทํางานร่ วมกันเป็ นกลุ่มเล็กๆ
เพือแก้ปัญหาทีเกิดขึนจริ ง เป็ นการปฏิบตั ิ และกระบวนการของนักเรี ยนในการแยกแยะว่าอะไรคือ
สิ งทีเขารู ้ และสิ งทีสําคัญมากกว่าคือ อะไรคือสิ งทีเขายังไม่รู้ แรงจูงใจทีนักเรี ยนมีในการแก้ปัญหา
จะเป็ นแรงจูงใจทีทําให้เขาค้นหาและประยุกต์ความรู ้ทีมีเพือแก้ปัญหานัน
Gallagher (2001) กล่าวถึงการเรี ยนรู ้แบบใช้ปัญหาเป็ นฐานว่า เป็ นการทําการเรี ยน
ให้เหมือนกับโลกจริ ง ดังนี
1. ใช้ปัญหาเป็ นจุดเริ มต้น ไม่ใช่จุดจบ
2. ปัญหาทีใช้มีโครงสร้างหลวม ๆ
3. ทําให้การเรี ยนเกียวข้องกับปั ญหา
4. ทํานักเรี ยนให้เป็ นผูเ้ รี ยนรู้
5. ให้นกั เรี ยนรับผิดชอบการกําหนดปั ญหาและวางแผนการเรี ยน/กิจกรรม
ทิศนา แขมมณี (2554: 137-138) ได้ให้หลักการการจัดการเรี ยนรู้แบบใช้ปัญหาเป็ น
ฐาน (Problem Based Learning : PBL) ว่าเป็ นการจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็ นหลัก เป็ น
การจัดสภาพการณ์ของการเรี ยนการสอนทีใช้ปัญหาเป็ นเครื องมือในการช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้
ตามเป้ าหมาย โดยผูส้ อนอาจนําผูเ้ รี ยนไปเผชิ ญสถานการณ์ปัญหาจริ ง หรื ออาจจัดสภาพการณ์ ให้
50

ผูเ้ รี ยนเผชิญปัญหา และฝึ กกระบวนการวิเคราะห์ปัญหาและแก้ปัญหาร่ วมกันเป็ นกลุ่ม ซึ งจะช่วยให้


ผูเ้ รี ยนเกิดความเข้าใจในปั ญหานันอย่างชัดเจน ได้เห็ นทางเลื อกและวิธีการทีหลากหลายในการ
แก้ปั ญหานัน รวมทังช่ ว ยให้ผูเ้ รี ย นเกิ ด ความใฝ่ รู ้ เกิ ดทัก ษะกระบวนการคิ ด และกระบวนการ
แก้ปัญหาต่างๆ
วัชรา เล่าเรี ยนดี (2554: 107) ได้ให้ความหมายของการจัดการเรี ยนรู้แบบใช้ปัญหา
เป็ นฐาน ว่าเป็ นยุทธวิธีในการจัดการเรี ยนทีเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญแบบหนึง เพือส่ งเสริ มและพัฒนา
ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะการแก้ปัญหา และวิธีการเรี ยนรู ้อย่างมีความหมายอีกวิธี
หนึ ง โดยจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ทีใช้ปัญหาเป็ นหลักหรื อจุดเริ มต้นเพือกระตุน้ จูงใจ เร้าความสนใจ
เพื อเรี ยนรู ้ แ ละสร้ า งความรู ้ ด้ ว ยตนเอง โดยปั ญ หาเป็ นฐานสํ า หรั บ กิ จ กรรมการเรี ยนรู ้ แ ละ
กระบวนการเรี ยนรู ้ นัน ซึ งปั ญหานันจะต้องเป็ นปั ญหาทีมาจากตัวนักเรี ยน เป็ นปั ญหาทีนักเรี ยน
สนใจ ต้องการการแสวงหา ค้นคว้าคําตอบและหาเหตุผลมาแก้ปัญหาหรื อทําให้ปัญหานันชัดเจนจน
มองเห็นแนวทางแก้ไข ซึ งจะทําให้เกิดการเรี ยนรู ้ สามารถผสมผสานความรู ้ นนไปประยุ ั กต์ใช้ได้
อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ ทีสําคัญการจัดการเรี ยนรู ้ โดยใช้ปัญหาเป็ นฐานจะส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ อย่า ง
กระตือรื อร้นของนักเรี ยน
งานนวัตกรรมการเรี ยนรู ้และการเรี ยนการสอน ส่ วนส่ งเสริ มวิชาการ มหาวิทยาลัย
วลัยลักษณ์ ได้เสนอแนวคิดเกียวกับการเรี ยนรู ้แบบใช้ปัญหาเป็ นฐานว่า เป็ นกระบวนการเรี ยนรู ้โดย
ใช้ปัญหาเป็ นตัวกระตุน้ ให้ผูเ้ รี ยนตังสมมติฐาน สาเหตุ และกลไกของการเกิ ดปั ญหานัน ค้นคว้า
ความรู ้พนฐานที
ื เกียวข้องกับปัญหา เพือจะนําไปสู่ การแก้ปัญหาต่อไป โดยผูเ้ รี ยนอาจจะไม่มีความรู ้
ในเรื องนันๆ มาก่ อน แต่อาจใช้ความรู ้ ที ผูเ้ รี ย นมี อยู่เดิ ม หรื อเคยเรี ยนมา โดยการเรี ย นรู ้ แบบนี มี
ลักษณะสําคัญ คือ เน้นกระบวน การคิดอย่างมีเหตุผลและเป็ นระบบ เนือหาวิชาจะเป็ นลักษณะของ
การบูรณาการ เรี ยนเป็ นกลุ่มย่อย โดยมีอาจารย์ประจํากลุ่มเป็ นผูส้ นับสนุ น และค้นคว้าหาความรู้
ตามวัตถุประสงค์ทีตนเองหรื อกลุ่มตังไว้
จากความหมายของการเรี ยนรู้แบบใช้ปัญหาเป็ นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
สรุ ปได้วา่ การเรี ยนรู้แบบใช้ปัญหาเป็ นฐาน เป็ นรู ปแบบของการจัดการเรี ยนการสอนทีเริ มต้นจาก
ปั ญ หา เพื อแก้ปั ญ หาหรื อ สถานการณ์ เ กี ยวกับ ชี วิ ต ประจํา วัน ตัว ปั ญ หาจะเป็ นจุ ด ตังต้น ของ
กระบวนการเรี ยนรู ้และเป็ นตัวกระตุน้ การพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา มุ่งเน้นพัฒนาผูเ้ รี ยนในด้าน
ทักษะและกระบวนการเรี ยนรู้ และพัฒนาผูเ้ รี ยนให้สามารถเรี ยนรู ้โดยการชี นําตนเอง ครู จึงจะเป็ น
เพียงผูอ้ าํ นวยความสะดวกและเรี ยนรู ้ไปพร้อม ๆ กับนักเรี ยน ดังนันปั ญหาทีนํามาใช้ในการเรี ยนจึง
ต้องเป็ นปั ญหาทีมีแนวทางการแก้ไขปั ญหาทีหลากหลาย มี ความยุ่งยาก ซับซ้อนและมีประโยชน์
สําหรับนักเรี ยนเพือทีจะทําให้นกั เรี ยนเกิดแรงจูงใจในการเรี ยนรู ้
51

วัตถุประสงค์ ของการจัดการเรียนรู้ แบบใช้ ปัญหาเป็ นฐาน (Problem Based Learning : PBL)


Cindy and Silver (2004) กล่าวถึง เป้ าหมายของการใช้ปัญหาเป็ นฐานว่า ประกอบด้วย
1. ช่วยพัฒนาความรู ้ทีมีความยืดหยุน่
2. ทักษะในการแก้ปัญหา
3. ทักษะการเรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง
4. ทักษะการทํางานร่ วมกัน
5. สร้างแรงจูงใจภายใน
ซึ งสอดคล้องกับ วัชรา เล่าเรี ยนดี (2554: 109) ทีได้กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการ
จัดการเรี ยนรู้แบบปัญหาเป็ นฐาน โดยได้เพิมเติมทักษะอืนไว้ดว้ ย ดังนี
1. เพือพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา
2. พัฒนาทักษะการเรี ยนรู้ดว้ ยตัวเอง
3. พัฒนาความสามารถในการแสวงหาข้อมูลทีเหมาะสม
4. พัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
5. เพือใช้ความรู ้พนฐานที
ื สามารถวัดได้
6. สร้างความพึงพอใจในตัวเองและแรงจูงใจให้ตวั เอง
7. ใช้คอมพิวเตอร์ เป็ น และแสวงหาความรู ้ดว้ ยวิธีอืน ๆ เช่น การสัมภาษณ์
และทลองปฏิบตั ิสอบถามผูร้ ู้
8. พัฒนาทักษะความเป็ นผูน้ าํ
9. พัฒนาความสามารถในการทํางานเป็ นทีม
10. พัฒนาทักษะการสื อความหมาย
11. พัฒนาการใช้ความคิดเชิงรุ ก
12. พัฒนาทักษะการทํางานในสถานทีทํางานทีตนทํางานร่ วมกับบุคคลอืน

ในขณะทีสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน (2550) ก็ได้กล่าวถึงวัตถุ


ประสงค์ของการจัดการเรี ยนรู ้ แบบใช้ปัญหาเป็ นฐานไปในแนวทางเดี ยวกันว่า เพือให้ผูเ้ รี ยนได้
เรี ย นรู้ ก ระบวนการเรี ยนรู้ ด้ว ยการแก้ปั ญ หาการทํา งานร่ ว มกัน และมี ก ระบวนการคิ ด ในการ
แก้ปัญหาอย่างเป็ นระบบ
จากข้อมูลวัตถุประสงค์ของการจัดการเรี ยนรู ้แบบใช้ปัญหาเป็ นฐานจะเห็นได้วา่ การจัดการ
เรี ยนรู้แบบใช้ปัญหาเป็ นฐานมีวตั ถุประสงค์หลัก เพือให้นกั เรี ยนเรี ยนรู ้ ดว้ ยตนเอง ส่ งเสริ มทักษะ
กระบวนการในการคิดแก้ปัญหาอย่างเป็ นระบบของนักเรี ยน
52

เสนอแนวทางการปฏิบัติใ นการจัดการเรี ยนรู้ แบบใช้ ปัญหาเป็ นฐาน (Problem Based


Learning : PBL)
วัชรา เล่าเรี ยนดี (2554: 111) ได้เสนอแนวทางการปฏิบตั ิในการจัดการเรี ยนรู้แบบ
ใช้ปัญหาเป็ นฐานไว้ ดังนี
1. จัดกิจกรรมให้นกั เรี ยนได้เผชิ ญกับปั ญหา ได้แสวงหาค้นพบปั ญหาด้วย
ตัวเอง (จัดสถานการณ์ บทบาทสมมติ เรื องสัน หรื อใช้วดี ิทศั น์ เป็ นต้น)
2. จัดกลุ่มนักเรี ยนร่ วมมือกันเรี ยนรู ้ (3-5 คน) ให้เด็กร่ วมอภิปรายแสดง
ความคิดเห็นเพือทําความเข้าใจกับปั ญหาให้ชดั เจน
3. ให้นกั เรี ยนถามคําถามในเรื องทีเขาสงสัย ไม่รู้ หรื อไม่เข้าใจในเรื องที
เกียวข้องกับปัญหา (ครู คอยกระตุน้ ให้นกั เรี ยนถามคําถาม)
4. นักเรี ยนร่ วมกันคิดหาวิธีแก้ปัญหา วางแผนแก้ปัญหา และระบุสือ วัสดุ
อุปกรณ์ทีต้องใช้
5. นักเรี ยนร่ วมกันแสวงหาความรู ้และเก็บรวบรวมข้อมูลเพือแก้ปัญหา
6. นักเรี ยนร่ วมกันแก้ปัญหา หาคําตอบของปั ญหาทีเลือก และนําเสนอผล
การเรี ยนรู้ หรื อผลการแก้ปัญหาอาจจะนําเสนอในรู ปโครงงาน การแสดงนิ ทรรศการ แสดงผลงาน
และผลการหาคําตอบของปัญหา
7. ร่ วมกันประเมินผลการทํางานกลุ่มและผลงานกลุ่ม นําเสนอข้อเสนอแนะใน
การพัฒนาการเรี ยนรู ้ต่อไป

ทิศนา แขมมณี (2554: 138) ได้เสนอตัวบ่งชีเกียวกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบใช้ปัญหา


เป็ นฐาน ไว้ดงั นี
1. ผูส้ อนและผูเ้ รี ยนมีการร่ วมกันเลื อกปั ญหาทีตรงกับความสนใจหรื อ
ความต้องการของผูเ้ รี ยน
2. ผูส้ อนและผูเ้ รี ยนมีการออกไปเผชิญสถานการณ์ปั ญหาจริ ง หรื อผูส้ อน
มีการจัดสภาพการณ์ให้ผเู้ รี ยนเผชิญปัญหา
3. ผูส้ อนและผูเ้ รี ยนมีการร่ วมกันวิเคราะห์ปัญหาและหาสาเหตุของปั ญหา
4. ผูเ้ รี ยนมีการวางแผนการแก้ปัญหาร่ วมกัน
5. ผูส้ อนมีการให้คาํ ปรึ กษาแนะนํา และช่วยอํานวยความสะดวกแก่ผเู้ รี ยน
ในการแสวงหาแหล่งข้อมูล การศึกษาข้อมูล และการวิเคราะห์ขอ้ มูล
6. ผูเ้ รี ยนมีการศึกษาค้นคว้า และแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง
53

7. ผูส้ อนมีการกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนแสวงหาทางเลือกในการแก้ปัญหาทีหลาก


หลายและพิจารณาเลือกวิธีทีเหมาะสม
8. ผูเ้ รี ยนมีการลงมือแก้ปัญหา รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ขอ้ มูล สรุ ปและ
ประเมินผล
9. ผูส้ อนมีการติดตามการปฏิบตั ิงานของผูเ้ รี ยน และให้คาํ ปรึ กษา
10. ผูส้ อนมีการประเมินผลการเรี ยนรู้ ทังทางด้านผลงานและกระบวนการ
ขันตอนในการจัดการเรียนรู้แบบใช้ ปัญหาเป็ นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
สเตปเพียน และแกลแลกเกอร์ (Stepien and Gallagher, 1993, อ้างถึงใน วัชรา
เล่าเรี ยนดี, 2554: 110) ได้เสนอขันตอนการเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐานไว้ 3 ขันตอน ดังนี
ขันที 1 เข้าสู่ ปัญหาและนิ ยามปั ญหา (Encountering and Defining The
Problem) ผูเ้ รี ยนจะได้รับสถานการณ์ ทีเกียวข้องกับปั ญหาจริ ง ให้อ่านวิเคราะห์ ทําความเข้าใจกับ
สถานการณ์ทีเป็ นปั ญหานันหรื อให้ดูจาก VDO จากสถานทีจริ งโดยอาจให้ตงคํ ั าถาม ถามตัวเองว่า
1. รู ้อะไรบ้างเกียวกับปั ญหาหรื อคําถามนี
2. จําเป็ นต้องรู ้อะไรบ้างเพือจะได้แก้ปัญหานีได้
3. ต้องใช้ขอ้ มูลสื อการเรี ยนรู ้อะไรบ้างเพือจะได้แนวทางการแก้
ปัญหาหรื อสมมติฐาน
ในขันตอนนี ก็ควรได้คาํ ถามที ชัดเจน ถึงแม้ว่าแนวทางการแก้ปัญหานัน
จะต้องใช้ความรู ้ใหม่ เพือสร้างความเข้าใจเกียวกับวิธีแก้ปัญหา
ขันที 2 หาข้อมูล รวบรวมข้อมูลทีเกียวข้อง (Data Collection) ประเมิน
ข้อมูลและนําไปใช้เมือผูเ้ รี ยนได้ปัญหาทีชัดเจนจากขันที 1 ผูเ้ รี ยนจะต้องศึกษาข้อมูลต่าง ๆ หรื อสื อ
ต่าง ๆ ทีต้องใช้ ซึ งข้อมูลและสื อต่าง ๆ ต้องมีการประเมินความถูกต้อง ความเหมาะสม ความคุม้ ค่า
ก่อนนําไปใช้แก้ปัญหา
ขันที 3 สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ (Synthesis and Performance) เป็ นขัน
ทีผูเ้ รี ยนสร้ าง หรื อกําหนดแนวทางการแก้ปัญหา อาจมีการสร้ างสื อประกอบหรื อจัดการกับสาระ
ความรู ้ใหม่ ซึ งแตกต่างจากการทํารายงานธรรมดา แต่เป็ นการนําเสนอแนวทาง วิธีการแก้ปัญหาที
ชัดเจน และดําเนินการแก้ปัญหา สรุ ปผล หรื อหลักการทัวไปทีได้จากการแก้ปัญหาและนําเสนอผล
การเรี ยนรู ้ในชันเรี ยน
54

เดลลีส (Delisle, 1997: 26-36)ได้เสนอขันตอนการเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐานไว้


ดังนี
ขันที 1 การเชือมโยง (Connecting with the Problem)เป็ นขันตอนเชือมโยง
ความรู้เดิมหรื อประสบการณ์เดิ มเข้ากับประสบการณ์ของผูเ้ รี ยน หรื อกิจกรรมในชี วิตประจําวันที
ผูเ้ รี ยนต้องเผชิ ญกับปั ญหาต่างๆ เพือให้ผูเ้ รี ยนเห็ นความสําคัญและคุ ณค่าของปั ญหานันต่อการ
ดําเนิ นชี วิต ประจําวัน ในขันนี ผูส้ อนต้องพยายามกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนได้คิดและแสดงความคิดเห็ น
อย่างหลากหลาย แล้วจึงนําเสนอสถานการณ์ปัญหาทีเตรี ยมไว้
ขันที 2 การกําหนดกรอบการศึกษา (Setting Up the Structure) ผูเ้ รี ยนอ่าน
วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา แล้วร่ วมกันวางแนวทางในการศึกษาค้นคว้า หาข้อมูลเพิมเติมเพือ
นํามาใช้ในการแก้ปัญหา ในขันนีผูเ้ รี ยนจะต้องร่ วมกันอภิปราย แสดงความคิดเห็นเพือกําหนดกรอบ
การศึกษา 4 กรอบดังนี
1. แนวคิด / แนวทางในการแก้ปัญหา (Ideas) คือวิธีการ หรื อแนวทางใน
การหาคําตอบทีน่าจะเป็ นไปได้ ซึ งเปรี ยบเสมือนสมมติฐานทีตังไว้ก่อนการทดลอง
2. ข้อเท็จจริ ง (Facts) คือข้อมูลความรู ้ ทีเกี ยวข้องกับปั ญหานัน ซึ งเป็ น
ความรู้ /ข้อมูล ทีปรากฏอยูใ่ นสถานการณ์ปัญหาหรื อข้อเท็จจริ ง ทีเกียวข้องกับปั ญหาทีเกิดจากการ
อภิปรายร่ วมกัน หรื อเป็ นข้อมูลความรู้เดิมทีได้เรี ยนรู้มาแล้ว
3. ประเด็นทีต้องศึกษาค้นคว้า (Learning Issues) คือข้อมูลทีเกียวข้องกับ
ปั ญหาแต่ผเู้ รี ยนยังไม่รู้ จําเป็ นต้องศึกษาค้นคว้าเพิมเติมเพือนํามาใช้ในการแก้ปัญหา จะอยูใ่ นรู ป
คําถามทีต้อง การคําตอบ นิยาม หรื อประเด็นการศึกษาอืนๆ ทีต้องการทราบ
4. วิธีการศึกษา (Action Plan) คือวิธีการทีจะดําเนินการ เพือให้ได้มาซึ ง
ข้อมูลทีต้องการ โดยระบุวา่ ผูเ้ รี ยนจะสามารถศึกษาข้อมูลได้อย่างไร จากใคร แหล่งใด กรอบการ
เรี ยนรู ้ทงั 4 กรอบทีกล่าวมา สามารถแสดงความสัมพันธ์กนั ได้ดงั ตารางต่อไปนี
ตารางที 5 กรอบการเรี ยนรู้ โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน

แนวคิด/แนวทาง
ข้อเท็จจริ ง ประเด็นทีต้องศึกษาค้นคว้า วิธีการศึกษา
ในการแก้ปัญหา
55

ขันที 3 การศึกษาปั ญหา (Visiting the Problem) ผูเ้ รี ยนจะใช้กระบวนการ


กลุ่มในการสํารวจปั ญหาตามกรอบการเรี ยนรู ้ในขันตอนที 2 แต่ละกลุ่มร่ วมกันวางแผนการศึกษา
ค้นคว้า และดําเนิ นการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิมเติมตามประเด็นทีต้องศึกษาค้นคว้าเพิมเติม จาก
แหล่งการเรี ยนรู ้ต่างๆ แล้วนําความรู ้ ทีได้มาเสนอต่อกลุ่ม จนได้ขอ้ มูลหรื อความรู้เพียงพอสําหรับ
การแก้ปัญหา ซึ งขันนีผูเ้ รี ยนจะมีอิสระในการกําหนดแต่ละหัวข้อเอง ผูส้ อนจะเป็ นแค่เพียงผูส้ ังเกต
และอํานวยความสะดวกในการเรี ยนรู ้เท่านัน
ขันที 4 การรวบรวมความรู้ ตัดสิ นใจเลือกแนวทางแก้ปัญหา (Revisiting
the Problem) หลังจากทีแต่ละกลุ่มได้ขอ้ มูลครบถ้วนแล้ว ให้กลับเข้าชันเรี ยนและรายงานผล
การศึกษาค้นคว้าต่อชันเรี ยน หลังจากนันให้ผเู ้ รี ยนร่ วมกันพิจารณาผลการศึกษาค้นคว้าอีกครัง ว่า
ข้อมูลทีได้เพียงพอต่อการแก้ปัญหาหรื อไม่ ประเด็นใดแปลกใหม่น่าสนใจ มีประโยชน์ต่อการ
แก้ปัญหา และประเด็นใดทีไม่เป็ นประโยชน์ควรจะตัดทิง แล้วแต่ละกลุ่มร่ วมกันตัดสิ นใจเลื อก
แนวทางหรื อวิธีการทีเหมาะสมทีสุ ดทีจะใช้ในการแก้ปัญหา ในขันตอนนี ผูเ้ รี ยนจะได้พฒั นาทักษะ
การคิดวิเคราะห์การตัดสิ นใจ รวมทังผูเ้ รี ยนจะค้นพบแนวทางในการแก้ปัญหาใหม่ๆ จากการ
แลกเปลียนความรู ้ความคิดเห็นซึ งกันและกัน
ขันที 5 การสร้างผลงาน หรื อปฏิบตั ิตามทางเลือก (Producing a Product or
Performance) เมือตัดสิ นใจเลื อกแนวทางหรื อวิธีการแก้ปัญหาแล้ว แต่ละกลุ่มสร้างผลงานหรื อ
ปฏิบตั ิตามแนวทางทีเลือกไว้ ซึ งมีความแตกต่างกันไปแต่ละกลุ่ม
ขันที 6 การประเมินผลการเรี ยนรู้และปั ญหา (Evaluating Performance
and the Problem) เมือขันตอนการสร้างผลงานสิ นสุ ดลง ผูเ้ รี ยนจะทําการประเมิ ลผลการปฏิบตั ิงาน
ของตนเองของกลุ่ม และคุณภาพของปั ญหา พร้อมทังผูส้ อนจะทําการประเมินกระบวนการทํางาน
กลุ่มของผูเ้ รี ยนด้วย
เซวอย และฮิวจ์ (Savoil and Hugles, 1994, อ้างถึ งใน วัชรา เล่าเรี ยนดี , 2554:
110-111) ได้เสนอขันตอนการเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน ไว้ 5 ขันตอน ดังนี
ขันที 1 ระบุปัญหาทีเหมาะสมสําหรับผูเ้ รี ยน
ขันที 2 เชือมโยงปั ญหากับบริ บทของผูเ้ รี ยนเพือมีโอกาสในการปฏิบตั ิจริ ง
ขันที 3 มอบหมายความรับผิดชอบให้ผเู้ รี ยนเรี ยนรู้จากประสบการณ์ของ
ตนเองให้วางแผนแก้ปัญหา
ขันที 4 กระตุน้ ความร่ วมมือ โดยการจัดกลุ่มให้ร่วมเรี ยนรู ้และปฏิบตั ิตาม
ขันที 5 ตังความคาดหวังหรื อกําหนดเป้ าหมายว่า ผูเ้ รี ยนจะต้องแสดงหรื อ
นําเสนอผลการเรี ยนรู ้ของตัวเองโดยแสดงผลงาน ชินงาน หรื อการปฏิบตั ิงานให้ดู
56

วิธีการวัดประเมินผลเป็ นการประเมินผลทังความรู ้ ความเข้าใจ และความสามารถ


ทีแสดงออกด้วย การให้เหตุผลทีถูกต้อง เป็ นเหตุเป็ นผล ใช้ขอ้ มูลอ้างอิงทีมาจากความเข้าใจมากกว่า
การท่องจําและประเมินชินงานตามเกณฑ์ทีกําหนดโดยใช้ Rubrics Score

Barrows and Roblyn (1980: 144- 145) ได้กล่าวถึง ขันตอนการเรี ยนการสอนโดย


ใช้ปัญหาเป็ นฐานว่าประกอบด้วย ขันตอน 4 ขันตอน ดังนี
ขันที 1 นําเสนอด้วยปัญหา
ขันที 2 สร้างประเด็นการเรี ยนในระหว่างการอภิปรายภายในกลุ่ม
ขันที 3 จัดลําดับความสําคัญของประเด็นการเรี ยนและการมอบหมายงาน
ขันที 4 สรุ ปความรู้ทีได้หลังการเรี ยน

สํานักงานเลขาธิ การสภาการศึกษา (2550) ได้เสนอขันตอนการจัดการเรี ยนรู ้แบบ


ใช้ปัญหาเป็ นฐาน ไว้ดงั นี
ขันที 1 กําหนดปั ญหา เป็ นขันทีผูส้ อนจัดสถานการณ์ต่าง ๆ ทีกระตุน้ ให้
ผูเ้ รี ยนเกิดความสนใจ และมองปั ญหา สามารถกําหนดสิ งทีเป็ นปัญหาทีผูเ้ รี ยนอยากรู ้อยากเรี ยน และ
เกิดความสนใจทีจะค้นคว้าหาคําตอบ
ขันที 2 ทําความเข้าใจปั ญหา ผูเ้ รี ยนทําความเข้าใจเกี ยวกับปั ญหานัน ๆ
โดยการอธิบายสภาพปัญหา หรื อการหาข้อมูลเพิมเติมเพือทําให้ปัญหาเกิดความกระจ่างมากยิงขึน
ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า ผูเ้ รี ยนแต่ละคนกําหนดและวางแผนการ
ดําเนิน การศึกษาค้นคว้าเพือแก้ไขปั ญหานันโดยใช้วธิ ี การทีหลากหลาย
ขันที 4 สรุ ปผลการแก้ไขปั ญหาและความรู ้ทีได้ เป็ นขันทีผูเ้ รี ยนแต่ละคน
นําความรู้ ทีได้จากการศึกษาค้นคว้ามาแลกเปลียนเรี ยนรู ้ กนั ในกลุ่ มย่อย ประมวลความรู ้ ทีได้ว่ามี
ความสอดคล้องเหมาะสมสําหรับการแก้ปัญหาทีเกิดขึนเพียงใด
ขันที 5 สรุ ปและประเมินค่าของคําตอบ ผูเ้ รี ยนแต่ละกลุ่มสรุ ปผลงานกลุ่ม
ของตนเอง และประเมินผลงานว่าข้อมูลทีศึ กษาค้นคว้ามีความเหมาะสมหรื อไม่เพียงใด โดยการ
ตรวจสอบความคิดภายในกลุ่มของตนเอง และสรุ ปเป็ นภาพรวมของกลุ่ม
ขันที 6 นําเสนอและประเมินผลงาน ผูเ้ รี ยนนําข้อมูลได้จากการแก้ปัญหา
มาจัดระบบ และนําเสนอเป็ นผลงานในรู ปแบบทีหลากหลาย ผูเ้ รี ยนทุกกลุ่มรวมทังผูท้ ีเกียวข้องกับ
ปัญหาร่ วมกันประเมินผลงาน
57

ส่ วนส่ ง เสริ ม วิช าการ มหาวิท ยาลัย วลัย ลัก ษณ์ ได้จดั ทําคู่ มื อการเรี ย นรู ้ แ บบใช้
ปัญหาเป็ นฐาน โดยเสนอขันตอนการจัดการเรี ยนรู ้ไว้ทงสิ ั น 7 ขันตอน ดังนี
ขันที 1 อธิ บายคําศัพท์ทีไม่เข้าใจ (Clarifying Unfamiliar Terms) กลุ่ม
ผูเ้ รี ยนทําความเข้าใจคําศัพท์และข้อความทีปรากฏอยูใ่ นโจทย์ปัญหาให้ชดั เจน
ขันที 2 ตังปั ญหา (Problem Definition) กลุ่มผูเ้ รี ยนร่ วมกันระบุปัญหาหลัก
ทีปรากฏในโจทย์ปัญหานันว่าเป็ นปั ญหาอะไร
ขันที 3 ระดมสมอง (Brainstorm) กลุ่มผูเ้ รี ยนระดมสมองวิเคราะห์ปัญหา
โดยอาศัยความรู ้เดิมของสมาชิกกลุ่มทุกคนและทุกความคิดมีค่า
ขันที 4 วิเคราะห์ปัญหา (Analyzing the Problem) กลุ่มผูเ้ รี ยนอธิ บายและ
ตังสมมติ ฐานที เชื อมโยงกัน กับ ปั ญ หาตามที ได้ร ะดมสมองกัน ช่ ว ยกัน คิ ดอย่า งมี เ หตุ ผ ล สรุ ป
รวบรวมความรู ้และแนวคิดของกลุ่ม
ขันที 5 สร้างประเด็นการเรี ยนรู้ (Formulating Learning Issues) กลุ่ม
ผูเ้ รี ยนกําหนดวัตถุ ประสงค์การเรี ยนรู ้ เพือค้นหาข้อมูลที จะอธิ บายผลการวิเคราะห์ ทีตังไว้ กลุ่ ม
ร่ วมกันสรุ ป ว่าความรู ้ ส่วนใดรู ้ แล้ว ส่ วนใดที ยังไม่รู้หรื อจําเป็ นต้องไปค้นคว้าเพิมเติ มเพือจะได้
อธิบายปั ญหานัน
ขันที 6 ค้นคว้าหาความรู้ดว้ ยตนเอง (Self - Directed Learning) กลุ่มผูเ้ รี ยน
ค้นคว้า รวบรวมสารสนเทศจากสื อและแหล่งการเรี ยนรู ้ต่างๆ เช่น ห้องสมุด อินเตอร์ เน็ต ฯลฯ เพือ
พัฒนาทักษะการเรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง
ขันที 7 รายงานต่อกลุ่ม (Reporting) กลุ่ มผูเ้ รี ยนนํารายงานข้อมูลหรื อ
สารสนเทศใหม่ทีได้มาจากการค้นคว้าเพิมเติ มมาอภิปราย วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพือสรุ ปเป็ นองค์
ความรู้
กุลยา ตันติผลาชีวะ (2548: 79) อธิ บายไว้วา่ กระบวนการแก้ปัญหาเป็ นขันตอนที
สําคัญของการเรี ยนรู้แบบเน้นปั ญหาเป็ นฐาน จากประเด็นปั ญหาทีกลุ่มผูเ้ รี ยนได้รับจากผูส้ อน เมือ
ผูส้ อนแนะนําเกียวกับการศึกษาปั ญหา แหล่งข้อมูลประกอบการศึกษาแล้วผูเ้ รี ยนต้องดําเนิ นการ
เรี ยนเอง 4 ขันตอน ดังนี
ขันที 1 ศึกษาปั ญหาและตังสมมุติฐาน เมือกลุ่มผูเ้ รี ยนได้รับประเด็น
ปัญหาแล้วให้กลุ่มทําความเข้าใจให้ตรงกันก่อนว่าจุดประสงค์การเรี ยนรู ้คืออะไร แล้วจึงจะวิเคราะห์
ประเด็นปั ญหา ตังสมมุ ติฐานเพือหาคําตอบ โดยผูเ้ รี ยนประเมิ นตนเองว่าต้องใช้ความรู ้ อะไร
สาขาวิชาใด จะค้นหาจากแหล่งไหน เพือเป็ นพืนฐานของการศึกษาหาเหตุผลและคําอธิ บาย เพือ
ประมวลว่าอะไรคือประเด็นปั ญหาสาเหตุและคําตอบปั ญหาให้ได้
58

ขันที 2 ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เพือให้ได้ขอ้ ความรู้ทีจะนํามาตอบคําถาม


ทีกลุ่มกําหนดขึน การค้นหาข้อความรู้อาจทําได้หลายวิธี เช่น สัมภาษณ์ ซักถามผูเ้ ชียวชาญ ทดสอบ
ตรวจสอบทางห้องทดลอง อ่านตํารา อ่านผลงานวิจยั หรื อรายงานต่างๆ ทีเกียวข้องมาประกอบการ
ตอบคําถาม ในขันตอนนีผูเ้ รี ยนจัดทําแผนการเรี ยนรู ้โดยกําหนดความต้องการการเรี ยนรู ้ของตนเอง
ว่าต้องการยกระดับสมรรถนะการเรี ยนของตนจากทีมีอยูเ่ ดิมในปั จจุบนั ทังด้านความรู ้ ทักษะและ
เจตคติให้เพิมขึน แผนการเรี ยนรู ้นีจะเป็ นแนวทางของการค้นคว้าความรู ้ และจํากัดขอบเขตการ
ค้นหาความรู ้สู่ ระดับทีต้องการ เมือค้นหาความรู้ได้แล้วผูเ้ รี ยนต้องทําบันทึกความรู้ทีได้ไว้ดว้ ย
ขันที 3 ประยุกต์ความรู้ เป็ นขันตอนการนําข้อความรู้ทีได้จากการศึกษา
ค้นคว้ามาตอบคําถามปั ญหา ทบทวนและสังเคราะห์สิงทีได้คน้ พบมานําเสนอเป็ นผลงานให้ผสู ้ อน
ประเมินผูส้ อนกระตุน้ ด้วยคําถาม เพือให้มีการสื บค้นทีถูกต้องและอาจต้องมีบรรยายเพิมเติมในส่ วน
ทีผูเ้ รี ยนขาดและจําเป็ นต้องเรี ยนรู้
ขันที 4 ประเมินผลการเรี ยนรู้ การเรี ยนรู้แบบเน้นปั ญหาเป็ นฐานเป็ นการ
เรี ยนทีผูเ้ รี ยนสามารถประเมินสมรรถนะทางการเรี ยนได้ดว้ ยตนเองว่าสามารถศึกษาได้ครอบคลุ ม
ตามจุดประสงค์ของการเรี ยนหรื อไม่ ใช้เวลาอย่างไร ใช้กระบวนการให้ได้มาซึ งข้อมูลทีต้องเรี ยนรู้
แบบไหน มีคุณค่าพอกับการเรี ยนรู ้หรื อไม่ ผูเ้ รี ยนต้องประเมินตนเองเกียวกับเหตุผล ทักษะการ
แก้ปัญหา ทักษะการค้นคว้าความรู้ทีเพิมขึน รวมทังความรู ้จากกลุ่ม ส่ วนการประเมินโดยผูอ้ ืน เช่น
เพือน ผูส้ อน และผูท้ ีเกียว ข้องจะเน้นในแง่ของความสามารถในการบูรณาการความรู้ การให้เหตุผล
ในการแก้ปัญหาอย่างสมเหตุสมผลและการแสดงถึงการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง
จากการศึกษาขันตอนการเรี ยนการสอน โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน สามารถสรุ ปได้วา่ การเรี ยน
การสอนโดยใช้ปัญหาเป็ นฐานจะเริ มต้นด้วยปั ญหา ซึ งผูส้ อนเป็ นผูก้ าํ หนด โดยมีจุดมุ่งหมายเพือนํา
ผูเ้ รี ยนไปสู่ เนือหาสาระของรายวิชา ซึ งปั ญหาจะถูกอธิ บายเป็ นสถานการณ์หรื อเหตุการณ์ทีสามารถ
พบได้ในชีวิตประจําวัน สามารถอธิ บายด้วยทฤษฎีและการฝึ กปฏิบตั ิ เมือปั ญหาถูกนําเสนอจะเป็ น
จุดเริ มต้นในกระบวนการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน โดยทีปั ญหาถูกนําเสนอแก่ผเู ้ รี ยน เพือการอภิปรายใน
กลุ่มการเรี ยน ซึ งจะต้องอธิ บายเหตุการณ์ โดยกระบวนการแสวงหาความรู ้ของกลุ่มตนเอง ผูเ้ รี ยน
ต้องใช้ความรู้เดิมทีได้มาจากการศึกษาของตนเองในสถานการณ์ทีคล้ายกัน จากนันจึงอภิปราย โดย
ใช้กระบวนการกลุ่ม ซึ งจําเป็ นต้องปฏิบตั ิให้สมบูรณ์ เพือให้เกิดผลในการเรี ยนรู้ในปั ญหามากทีสุ ด
และนําหลักการ แนวคิดที สอดคล้องกัน มากําหนดเป็ นขันตอนการจัดการเรี ยนรู ้ แบบใช้ปั ญหา
เป็ นฐาน โดยผลการวิเคราะห์และสังเคราะห์ ดังตารางที 6
59

ตารางที 6 การสังเคราะห์ขนตอนการจั
ั ดการเรี ยนรู ้แบบปัญหาเป็ นฐาน
สเตปเพียน และแกล เดลลีส เซวอย และฮิวจ์ Barrows และ สํานักงาน ส่ วนส่ งเสริ ม กุลยา อนุรักษ์
แลกเกอร์ (Stepien (Delisle, (Savoil and Hugles Roblyn เลขาธิการ วิชาการ ตันติผลา เร่ งรัด
and Gallagher, 1993 1997: 1994, อ้างถึงใน (1980: สภาการศึกษา มหาวิทยาลัย ชีวะ(2548: (ผูว้ ิจยั )
, อ้างถึงใน วัชรา เล่า 26-36 วัชรา เล่าเรี ยนดี, 144 - 145) (2550) วลัยลักษณ์ 79)
เรี ยนดี , 2554: 110) 2554 : 110-111)
ขันที 1 ขันที 1 ขันที 1 ขันที 1 ขันที 1 ขันที 1 ขันที 1 ขันที 1
เข้าสู่ปัญหาและ การ ระบุปัญหาที นําเสนอด้วย กําหนดปัญหา อธิ บายคําศัพท์ ศึกษาปัญหา การเชือม
นิยามปัญหา เชือมโยง เหมาะ สม ปัญหา ทีไม่เข้าใจ และตัง โยงปัญหา
สําหรับผูเ้ รี ยน สมมุติฐาน และนํา เสนอ
ปัญหา

ขันที 2 ขันที 2 ขันที 2 เชือมโยง ขันที 2 สร้าง ขันที 2 ขันที 2 ขันที 2 ศึกษา ขันที 2
หาข้อมูล รวบรวม กําหนด ปัญหากับบริ บทของ ประเด็นการ ทําความเข้าใจ ตังปัญหา ค้นคว้าด้วย ทําความ
ข้อมูลทีเกียวข้อง กรอบ ผูเ้ รี ยน เรี ยนระหว่าง ปัญหา ตนเอง เข้าใจกับ
การศึกษา อภิปรายกลุ่ม ปัญหา

ขันที 3สังเคราะห์ ขันที 3 ขันที 3 มอบหมาย ขันที 3 ขันที 3 ขันที 3 ขันที 3 ขันที 3
ข้อมูลและปฏิบตั ิ การศึกษา ความรับผิด ชอบให้ จัดลําดับ ดําเนิน ระดมสมอง ประยุกต์ ดําเนิน
ปัญหา ผูเ้ รี ยน ความสําคัญ การศึกษา ความรู ้ การศึกษา
ของประเด็น ค้นคว้า ค้นคว้า
การเรี ยนและ
การมอบงาน
ขันที 4 ขันที 4 ขันที 4 ขันที 4 ขันที 4 ขันที 4 ขันที 4
การรวบ กระตุน้ ความร่ วมมือ สรุ ปความรู ้ที สรุ ปผลการ วิเคราะห์ปัญหา ประเมินผล สังเคราะห์
รวมความ ได้หลังการ แก้ไขปัญหา การเรี ยนรู ้ ข้อมูลและ
รู ้ เลือก เรี ยน และความรู ้ทีได้ ปฏิบตั ิ
แนวทาง
แก้ปัญหา

ขันที 5 ขันที 5 ขันที 5 ขันที 5 ขันที 5


การสร้าง ตังความคาดหวัง สรุ ปและ สร้างประเด็น สรุ ปผลการ
หรื อ หรื อกําหนด ประเมินค่าของ การเรี ยนรู ้ แก้ไขปัญหา
ปฏิบตั ิตาม เป้ าหมาย คําตอบ และความรู ้ที
ทางเลือก ได้

ขันที 6 ขันที 6
นําเสนอและ ค้นคว้า
ประเมินผลงาน หาความรู ้
ด้วยตนเอง

ขันที 7
รายงานต่อกลุ่ม
60

จากตารางที 6 การสังเคราะห์ขนตอนการจั
ั ดการเรี ยนรู ้แบบปั ญหาเป็ นฐาน ใช้ขนตอนใน

การวิจยั ครังนี 5 ขันตอนต่อไปนี
ขันที 1 การเชือมโยงปั ญหาและนําเสนอปั ญหา(The Related Problem and Problem
Presentation) เป็ นขันตอนในการสร้างปั ญหา เพราะในการเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน ผูเ้ รี ยน
จะต้องมีความรู้ สึกว่าปั ญหานันมี ความสําคัญต่อตนก่ อน ครู ควรเลือกหรื อออกแบบปั ญหาให้
สอดคล้องกับผูเ้ รี ยน ดังนันในขันนี ครู จะสํารวจประสบการณ์ ความสนใจของผูเ้ รี ยนแต่ละบุคคล
ก่อนเพือเป็ นแนวทางในการเลือกหรื อออกแบบปั ญหา โดยครู จะยกประเด็นทีเกียวข้องกับปั ญหา
ขึนมาร่ วมกันอภิปรายก่อนแล้วครู และนักเรี ยนช่วยกันสร้างปั ญหาทีผูเ้ รี ยนสนใจขึนมาเพือนําไป
เป็ นปั ญหาสําหรับการเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน ประเด็นทีครู ยกมานันจะต้องเป็ นประเด็นทีมี
ความสัมพันธ์กบั ความรู ้ในเนือหาวิชาและทักษะทีต้องการให้นกั เรี ยนได้รับ
ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปั ญหา (Understanding of the Problem ) นักเรี ยนร่ วมมือ
กันเรี ยนรู้ ให้ผูเ้ รี ยนร่ วมอภิ ปรายแสดงความคิ ดเห็ นเพือทําความเข้าใจกับปั ญหาให้ชัดเจน และ
สามารถอธิ บายสิ งต่าง ๆ ทีเกียวข้องกับปัญหาได้ เช่น โจทย์กาํ หนดอะไร ต้องการอะไร
ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า (The Study of Problem) เป็ นขันทีนักเรี ยนแต่ละ
คน ดําเนิ นการศึกษาค้นคว้า เพือวางแผนการแก้ปัญหาด้วยวิธีการทีหลากหลาย หรื ออาจมาจาก
ความรู้ /ประสบการณ์ เ ดิ ม และสามารถหาได้จ ากแหล่ ง ข้อ มู ล หรื อ สื อต่ า งๆ เช่ น ใบความรู ้
ใบกิจกรรม เอกสารแนะแนวทาง หนังสื อเรี ยน Internet เป็ นต้น
ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ (The Synthesis of Data and Procedure)
กิ จกรรมในขันตอนนี เน้นฝึ กทักษะการคิดแก้ปัญหาให้กบั ผูเ้ รี ยน เป็ นขันทีผูเ้ รี ยนแต่ละคนสร้ าง
ทางเลื อกหรื อกําหนดแนวทางการแก้ปัญหา อาจมี การสร้ างสื อ วาดภาพประกอบหรื อจัดการกับ
สาระความรู้ ใ หม่ ซึ งแตกต่ า งจากการทํา รายงานธรรมดา แต่เ ป็ นการนํา เสนอแนวทาง วิ ธี ก าร
แก้ปัญหาทีชัดเจน ดําเนินการแก้ปัญหาตามวิธีการแก้ปัญหาทีหลากหลาย ภายใต้พืนฐานของการคิด
วิเคราะห์ การคิดริ เริ มสร้างสรรค์ เป็ นต้น
ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ปัญหาและความรู ้ทีได้ (The Conclusion of Solution)
การจัดกิจกรรมในขันตอนนีเป็ นการฝึ กคิดแก้ปัญหา เป็ นขันทีผูเ้ รี ยนแต่ละคนนําความรู ้ทีได้จากการ
คิดแก้ปัญหา ความคิด/วิธีการทีแปลกใหม่ หรื อแนวทางจากการศึ กษาค้นคว้าเพิมเติ ม และนํามา
สร้างมโนทัศน์คาํ อธิบายของสถานการณ์ปัญหาด้วยตนเอง ประมวลความรู ้ทีได้วา่ มีความสอดคล้อง
เหมาะสมสําหรับการแก้ปัญหาทีเกิดขึนเพียงใด และสรุ ปเป็ นภาพรวม
61

บทบาทของผู้เรียนและผู้สอนในการเรียนรู้ โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน


ได้มีผูก้ ล่ าวถึ งบทบาทของผูเ้ รี ยนและผูส้ อนในการเรี ยนรู ้ โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน
ดังนี ศูนย์การเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน (Center for Problem-Based Learning) ของมหาวิทยาลัย
อิลลินอยส์ (Illinois University) สหรัฐอเมริ กา (Torp and Sage, 1998: 33-43: citing Illinois Problem
Based Learning Network, 1996: unpaged) ได้กล่าวถึง บทบาทของครู และนักเรี ยนในขณะดําเนิน
กระบวนการเรี ยนรู ้เพือแก้ปัญหา ดังนี
บทบาทของครูในขณะทีดําเนินกระบวนการเรียนรู้ มีดังนี
1. ครู ออกแบบและกระตุน้ ความสนใจนักเรี ยน ในกระบวนการเรี ยนรู้จดั โครงสร้าง
ของการแก้ปัญหาหรื อสร้างยุทธวิธีในการแก้ปัญหา
2. ครู มอบความเป็ นอิสระให้กบั นักเรี ยนในการเป็ นผูส้ ํารวจและควบคุมกระบวน
การสํารวจด้วยตนเอง พร้อมกับเป็ นผูใ้ ห้คาํ แนะนํา ส่ งเสริ มให้คิดและฝึ กฝนกระบวนการเรี ยนรู ้โดย
ใช้ปัญหาเป็ นฐานให้กบั นักเรี ยน
3. ครู ฝึกฝน แนะนํานักเรี ยนโดยอยูห่ ่าง ๆ ในขณะทีนักเรี ยนดําเนินกระบวนการ
เรี ยนรู้จนได้คาํ ตอบของปัญหาออกมา
บทบาทของผู้เรียนในขณะทีดําเนินกระบวนการเรียนรู้ มีดังนี
1. นักเรี ยนดําเนิ นการเรี ยนรู้ โดยใช้กระบวนการเรี ยนรู้ ดึ งดูดความสนใจและมี
ปัญหาเป็ นตัวกระตุน้ การเรี ยนรู้
2. นักเรี ยนจะสํารวจ ค้นคว้าข้อมูลทีต้องการ ดําเนินการสํารวจอย่างมีเหตุผลและ
ปฏิบตั ิกิจกรรมการเรี ยนรู ้อย่างอิสระ
3. นักเรี ยนเป็ นผูค้ วบคุมการเรี ยนโดยใช้ปัญหาเป็ นศูนย์กลางของการเรี ยนรู้
4. นักเรี ยนประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ เพือแก้ปัญหา
5. นักเรี ยนพัฒนาตนเองให้เป็ นผูเ้ รี ยนโดยการชีนําตนเองและเป็ นนักแก้ปัญหา
จอห์นสัน ฟิ นูเคน และพรี ดีอคั (Johnson , Finucane and Prideaux, 1999: 353-354)
ได้กล่าวถึงบทบาทของครู ทีจะทําให้การเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนประสบความสําเร็ จว่า บทบาทหลักของ
ครู คือ การส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนเป็ นศูนย์กลางมากทีสุ ด และส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนทํางานเป็ นทีมในการ
แก้ปัญหา นันคือ ครู จะเป็ นผูอ้ าํ นวยความสะดวกให้กบั การเรี ยนรู ้โดยการชี นําตนเองของนักเรี ยน
ครู จะต้องหลีกเลียงการเป็ นผูต้ ดั สิ นหรื อสรุ ปในการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน ตัวอย่างเช่นถ้ามีสมมุติฐาน
ในการทดสอบ 2 สมมุติฐานทีสร้างมาจากนักเรี ยนในกลุ่มครู จะต้องไม่ตดั สิ นหรื อสรุ ปว่าสมมุติฐาน
ใดถูกหรื อผิด แต่จะใช้คาํ ถามในการกระตุ น้ ให้นักเรี ยนไปค้นคว้าหาข้อมูลมาเพือการตัดสิ นเอง
62

ครู จะต้องไม่เข้าไปแทรกแซงการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน แต่จะให้อิสระในการดําเนิ นการเรี ยนรู้และ


กําหนดทิศทางการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง ในการประเมินผลครู ตอ้ งมอบภาระการประเมินผลให้นกั เรี ยน
ได้ประเมินผลตนเองด้วย ซึ งการประเมินผลตนเองของนักเรี ยนช่ วยสนับสนุ นให้นักเรี ยนได้ทาํ
ความเข้าใจกับปั ญหาทีเกิดกับกระบวนการเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐานในแต่ละขันตอน ช่ วยให้
นักเรี ยน สามารถแก้ปัญหาได้และช่วยในการประเมินผลการเรี ยนรู ้ทีทําโดยครู
ทองจันทร์ หงส์ลดารมณ์ (2537: 12-17) ได้กล่าวถึงบทบาทของผูเ้ รี ยนในกลุ่มย่อย
และบทบาทของผูส้ อนในการการเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน ดังนี
บทบาทของผู้เรียนในกลุ่มย่ อย
บทบาทของผูเ้ รี ยนในกลุ่มย่อย เป็ นกระบวนการหนึงของการเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหา
เป็ นฐานโดยผูเ้ รี ยนจะต้องมีบทบาทร่ วมกันเพือแก้ปัญหาทีได้รับ ให้ความร่ วมมือภายในกลุ่มเพือ
สร้างวัตถุประสงค์การศึกษา ถกเถียง ต่อรอง เพือสร้างกฎเกณฑ์ของกลุ่มร่ วมกันทํางานอย่างมี
ประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลพร้ อมทีจะให้คาํ ติชมอย่างเปิ ดเผยตรงไปตรงมาต่อสมาชิ กของกลุ่ม
ทุกคน และต้องมีความซือสัตย์ต่อกลุ่ม โดยทุกคนทํางานทีกลุ่มมอบหมายให้ตรงตามเวลาทีกําหนด
จุดมุ่งหมายของการเรี ยนการสอนแบบกลุ่มย่อย คือ การเรี ยนการสอนในระหว่างสมาชิ กด้วยกันเป็ น
กลุ่มร่ วมมือกันทํางานทังในชันเรี ยนและนอกชันเรี ยน จะต้องมี ผทู ้ าํ หน้าทีเป็ นผูน้ าํ กลุ่มในการ
ดําเนินการเรี ยนการสอน ได้แก่ ประธาน และเลขาของกลุ่ม ดังนัน สมาชิ กทุกคนในกลุ่มจะต้องผลัด
กันเป็ นผูน้ าํ กลุ่มเพือเพิมพูนประสบการณ์ในการเป็ นผูน้ าํ กลุ่มได้ทวทุ
ั กคน

บทบาทผู้สอน
การเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน อาจารย์ผสู ้ อนจะมีบทบาททีแตกต่างไปจากการ
เรี ยนการสอนแบบเดิม คือ ไม่ใช่ผเู ้ ชียวชาญทีทําหน้าทีให้ความรู ้ ถ่ายทอดความรู ้แก่ผเู ้ รี ยนเพียงอย่าง
เดียว แต่จะเป็ นผูจ้ ดั ประสบการณ์ให้ผเู ้ รี ยนรักในวิชานันให้มีวิธีเรี ยนทีถูกวิธีและเสริ มสร้างปั ญญา
ในระดับสู ง นอกจากนี อาจารย์ยงั มีบทบาทเป็ นผูอ้ าํ นวยความสะดวกในการเรี ยน สร้างบทเรี ยนที
เป็ นสถานการณ์ปัญหาทีจะกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ในเนื อหาทีเป็ นแนวคิดสําคัญของปั ญหานัน
ตลอดจนการประเมินผลการเรี ยนการเป็ นผูอ้ าํ นวยความสะดวกในการเรี ยน การทีผูเ้ รี ยนรู้ดว้ ยตนเอง
ได้นนอาจารย์
ั ผสู้ อน จะต้องมีดว้ ยกัน 2 กลุ่ม คือ
1. ผูเ้ ชี ยวชาญ (Resource Person) เป็ นผูใ้ ห้ความรู ้แก่ผเู ้ รี ยนในแขนงทีตนเอง
เชียวชาญ จะสอนเมือเป็ นความต้องการของผูเ้ รี ยน และสอนในขอบเขตเนือหาทีผูเ้ รี ยนต้องการ
63

2. ผูอ้ าํ นวยความสะดวกในการเรี ยน (Facilitator or Tutor) อาจารย์จะต้องมี


สมรรถภาพในการช่วยเหลือให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ได้ โดยมีความสามารถในการแนะนํา (Guide)
ไม่ใช่ชีนํา (Direct) อํานวยความสะดวกการเรี ยนรู้ (Facilitator Learning) ไม่ใช่ให้ความรู ้ (Dispense
Information) อาจารย์จะต้องทําให้ผูเ้ รี ยนในกลุ่มเรี ยนรู ้ จากปั ญหา มี กิจกรรมทีแข่งขันและเปิ ด
โอกาสให้ผเู้ รี ยนเรี ยนรู้จากการค้นพบด้วยตนเอง ความสามารถของอาจารย์เป็ นตัวบ่งชี สําคัญของ
คุณภาพและความสําเร็ จของการจัดการเรี ยนการสอนแบบนี
นอกจากนี อาจารย์ยงั มีบทบาทในการสอนแบบติวเตอร์ (Small Group Tutorial) ที
จะช่วยสนับสนุนให้ผเู้ รี ยนเรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง พัฒนาทักษะ การคิด การให้เหตุผล ดังนัน อาจารย์ควร
มีบทบาทของติวเตอร์ คือ
1. อาจารย์พยายามทําให้เกิดโยนิ โสมนสิ การ คือ การถาม หรื อกระตุน้ ให้ผเู้ รี ยนคิด
ใคร่ ครวญ ตริ ตรองตลอดการเรี ยน
2. ต้องแนะนําให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้ผา่ นขันตอนการเรี ยนรู ้ทีละขัน
3. ส่ งเสริ มผลักดันให้เกิดความรู ้ความเข้าใจในระดับทีลึกซึ ง
4. หลีกเลียงการให้ความเห็นต่อการอภิปรายของผูเ้ รี ยนผิดหรื อถูก การบอกข้อมูล
ข่าวสาร แต่ให้ผเู ้ รี ยนไปค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งอืน เช่น ตํารา วารสาร เป็ นต้น
5. จัดสภาพการเรี ยนไม่ให้ผเู ้ รี ยนเบือ ร่ วมกันอภิปราย โต้ตอบกันระหว่างผูเ้ รี ยน
6. การตัดสิ นใจทีเกิดขึนทังหมด ควรเกิ ดขึนโดยกระบวนการกลุ่ม อาจารย์เป็ น
ผูด้ ูแลให้ทุกคนมีส่วนร่ วมในทุกกิจกรรมของกลุ่ม
สํานักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรี ยนรู้ (2550: 9-13) ได้กล่าวถึงบทบาท
ของผูส้ อนและนักเรี ยนในการเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน ดังนี
บทบาทของผู้สอน
ผูส้ อนมีบทบาทโดยตรงต่อการจัดการเรี ยนรู ้ ดังนันลักษณะของผูส้ อนทีเอือต่อการ
จัดการเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน ควรมีลกั ษณะดังนี
1. ผูส้ อนต้องมุ่งมัน ตังใจสู ง รู ้จกั แสวงหาความรู ้เพือพัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ
2. ผูส้ อนต้องรู้จกั ผูเ้ รี ยนเป็ นรายบุคคลเข้าใจศักยภาพของผูเ้ รี ยนเพือสามารถให้
คําแนะนํา ช่วยเหลือผูเ้ รี ยนได้ทุกเมือทุกเวลา
3. ผูส้ อนต้องเข้าใจขันตอนของแนวทางการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน
อย่างถ่องแท้ชดั เจนทุกขันตอน เพือจะได้แนะนําให้คาํ ปรึ กษาแก่ผเู ้ รี ยนได้ถูกต้อง
64

4. ผูส้ อนต้องมีทกั ษะและศักยภาพสู งในการจัดการเรี ยนรู้ และการติดตามประเมิน


ผลการพัฒนาของผูเ้ รี ยน
5. ผูส้ อนต้องเป็ นผูอ้ าํ นวยความสะดวกด้วยการจัดหา สนับสนุนสื ออุปกรณ์เรี ยนรู้
ให้เหมาะสมเพียงพอ จัดเตรี ยมแหล่งเรี ยนรู ้ จัดเตรี ยมห้องสมุด อินเทอร์เน็ต ฯลฯ
6. ผูส้ อนต้องมีจิตวิทยาสร้างแรงจูงใจแก่ผเู ้ รี ยน เพือกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนเกิดการตืนตัว
ในการเรี ยนรู้ตลอดเวลา
7. ผูส้ อนต้องชี แจงและปรับทัศนคติของผูเ้ รี ยนให้เข้าใจและเห็ นคุ ณค่าของการ
เรี ยนรู ้แบบนี
8. ผูส้ อนต้องมีความรู้ ความสามารถ ด้านการวัดและประเมินผลผูเ้ รี ยนตามสภาพ
จริ งให้ครอบคลุมทังด้านความรู ้ ทักษะกระบวนการและเจตคติครบทุกขันตอนของการจัดการเรี ยนรู ้
สํ าหรับเทคนิคหรือเงือนไขจําเป็ นในการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน มีดังนี
1. เทคนิคในการเลือกเนือหาทีเหมาะสมในแต่ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ควรเป็ นเรื อง
ทีเกียวข้องในชีวติ ประจําวัน เรื องใกล้ตวั เป็ นรู ปธรรม ทันต่อเหตุการณ์ หรื อมีความชัดเจน
2. การใช้คาํ ถามในการกําหนดปั ญหา ต้องเชือมโยงเข้าสู่ เนือหาสาระทีต้องการให้
ผูเ้ รี ยนเรี ยนรู้ เป็ นคําถามทีท้าทาย กระตุน้ ความสนใจของผูเ้ รี ยน เพือให้ผเู้ รี ยนอยากค้นคว้าหา
คําตอบด้วยตนเอง
3. ในขันการทําความเข้าใจกับปั ญหา ควรให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมช่ วยกันกําหนด
ปัญหาและให้ทุกคนได้รับทราบพร้อมกันอย่างชัดเจน เทคนิคหนึ งทีน่าสนใจและใช้ได้ผลดี คือ การ
นําเสนอเป็ นแผนผังความคิด โดยให้สมาชิกจากทุกกลุ่มได้ช่วยกันคิดและบันทึกลงบนกระดานหน้า
ชันเรี ยน แสดงขอบเขตทีจะศึกษาในปัญหานันๆ
4. การเตรี ยมผูเ้ รี ยนให้เกิดความพร้อมเป็ นองค์ประกอบสําคัญของการเรี ยนรู ้ ใน
การดําเนินการวิธีการจัดกลุ่มโดยคละเพศชายหญิงและคละความสามารถในการเรี ยน โดยพิจารณา
จากข้อมูลพืนฐานทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยน กําหนดให้สมาชิกกลุ่มแต่ละคนมีบทบาทหน้าที ประธาน
เลขานุการ ผูส้ นับสนุน และผูร้ ายงาน และถ้ามีการเรี ยนรู ้โดยกระบวนการกลุ่มแต่ละครังผูเ้ รี ยนต้อง
หมุนเวียนเปลียนหน้าทีกัน เพือให้ทุกคนได้มีโอกาสทํางานในทุกบทบาทหน้าที การแนะนําให้
ผูเ้ รี ยนรู ้จกั เทคนิควิธีการทีจะเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐานนัน ผูเ้ รี ยนจะต้องเปลียนบทบาท จากการ
เป็ นผูร้ ับฟั งเพียงอย่างเดียวมาเป็ นผูค้ น้ คว้าศึ กษาหาความรู ้ ดว้ ยตนเอง ผูส้ อนจึงต้องเตรี ยมความ
พร้อมผูเ้ รี ยนมากพอสมควร โดยผูส้ อนใช้เทคนิ คในการใช้คาํ ถามเพือนําผูเ้ รี ยนไปสู่ การเรี ยนรู ้ตาม
วัตถุประสงค์ของแผนการจัดการเรี ยนรู ้ทีกําหนดไว้
65

5. ในการสอนโดยใช้การเรี ยนรู ้ โดยใช้ปัญหาเป็ นฐานนันจะมี ความเหมาะสม


สอดคล้องกับธรรมชาติของการเรี ยนรู ้ในวิชาวิทยาศาสตร์ แต่ในบางเนือหาอาจยากเกินไป เช่น การ
คํานวณ ซึงผูส้ อนจําเป็ นต้องอธิบายให้ผเู้ รี ยนเข้าใจ หรื อเนือหาทียากต่อการสื บค้นข้อมูลของผูเ้ รี ยน
ตลอดจนข้อจํากัดของผูเ้ รี ยน เช่ น ผูเ้ รี ยนขาดความรับผิดชอบหรื อมีภาระงานมาก มีปัญหาด้าน
เศรษฐกิจ และเวลาทีไม่เพียง พอของผูเ้ รี ยน ผูส้ อนจําเป็ นต้องใช้เทคนิคนันเข้ามาแทรกในการจัด
กิจกรรมการเรี ยนรู ้ ซึ งมีหลากหลายวิธีตามความเหมาะสมกับเนือหาสาระ เช่น การเรี ยนรู้จากการฟัง
ผูส้ อนอธิ บายแสดงเหตุผลประกอบกับการซัก ถาม เพือให้ผูเ้ รี ยนเกิ ดข้อสรุ ป การเรี ย นรู้ จาก
สถานการณ์จริ ง โดยเฉพาะในสาระทีเกียวกับทักษะภาษา เช่น ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ซึ งมี
ข้อจํากัดพอสมควร โดยทีวิชาภาษาไทยต้องฝึ กทักษะการอ่าน ฟัง พูด เขียนมากกว่าการตังปั ญหาให้
ผูเ้ รี ยนศึกษาค้นคว้า ทําให้ไม่สามารถใช้ขนตอนการสอนในแนวทางนี
ั ได้สมบูรณ์ และโดยเฉพาะ
วิชาภาษาอังกฤษเพราะผูเ้ รี ยนต้องใช้ความสามารถคิดสองภาษา
6. ระยะเวลาในการสอนควรยืดหยุ่นพอสมควร และค่อนข้างจะใช้เวลามากกว่า
เวลาในหลักสู ตรปกติ เพราะผูเ้ รี ยนต้องมีการระดมความคิด อภิปราย และค้นคว้าจากแหล่งความรู ้
7. การเรี ยนรู้ทีให้ผเู้ รี ยนฝึ กกระบวนการคิด ควรจัดให้เป็ นการบูรณาการสู่ สาระ
การเรี ยน รู ้ อืนทังในด้านเนื อหาและการประเมินผล จะเป็ นการทํางานทีไม่ซับซ้อน เป็ นการสื บ
ค้นหาข้อมูล จากแหล่ง เดี ยว แต่สามารถตอบคําถามประเด็นจากหลายวิช า อย่า งน้อยในระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลายควรมีการบูรณาการ 2 รายวิชาขึนไป
8. การเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐานนี จะสร้างศักยภาพให้แก่ผเู ้ รี ยนทีสนใจใฝ่ รู ้เรื อง
นันได้เป็ นอย่างดี ทําให้ผเู้ รี ยนเข้าใจเรื องทีตนเองศึกษาอย่างถ่องแท้ ลึกซึ ง และจดจําได้นานกว่าการ
บอกความรู้ของผูส้ อน แต่ในวัฒนธรรมการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนไทยยังคุน้ เคยกับวิธีการเรี ยนแบบเดิม
ๆ ทีให้ผสู้ อนบอกความรู้ ดังนันการสร้างวัฒนธรรมในการเรี ยนรู ้แบบใหม่นีน่าจะเริ มใช้ในระดับ
ชันประถม ศึกษา เพือเป็ นการวางรากฐานก่อน โดยสร้างทักษะทีจําเป็ น โดยเฉพาะการสื บค้นข้อมูล
ซึ งผูส้ อนและผูบ้ ริ หารต้องมีส่วนในการจัดบรรยากาศและแหล่งเรี ยนรู ้ให้เพียงพอแก่ผเู ้ รี ยน โดยไม่
ส่ งผลกระทบต่อผูเ้ รี ยนด้านเศรษฐกิจมากเกินไป
9. การจัดการเรี ย นรู ้ มี ค วามจําเป็ นอย่า งยิงที ผูส้ อนต้องหารื อวางแผนการจัด
กิจกรรม นํา เสนอขอความเห็นชอบจากผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน ฝ่ ายวิชาการ ผูป้ กครองและผูท้ ีมีส่วน
เกียวข้องทุกฝ่ าย เนือง จาก การจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน จะมีความแตกต่างจากการสอน
โดยใช้เทคนิ คอืน นันคือ ผูเ้ รี ยนเรี ยนรู้จากประสบการณ์เดิม เชื อมโยงไปสู่ สาระการเรี ยนรู ้ตาม
หลักสู ตร ผูเ้ รี ยนจะไม่เปิ ดหนังสื อตําราแบบเรี ยนแบบเรี ยงไปทีละหน้า เมือใดทีมีปัญหาและผูเ้ รี ยน
อยากเรี ยนรู้ในเรื องใด ผูเ้ รี ยนจะต้องค้นคว้าจากหนังสื อจํานวนมากเพือหาคําตอบในเรื องทีผูเ้ รี ยน
66

สนใจ ซึ งแหล่งความรู ้ไม่ได้จาํ กัดเฉพาะในหนังสื อแบบเรี ยน แต่เป็ นเอกสารทุกเรื องไม่วา่ จะเป็ น


หนังสื อพิมพ์ วารสาร บทความ สารานุกรม เอกสารงานวิชาการ อินเทอร์ เน็ต รวมไปถึงการเรี ยนรู้
จากผูป้ กครอง ชาวบ้านหรื อแม้แต่แหล่งเรี ยนรู ้ทีเป็ นสถานทีต่าง ๆ หน่วยงานราชการในพืนที จึง
สรุ ปได้วา่ การสอนโดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน เป็ นการสอนให้ผเู ้ รี ยนมีปฏิสัมพันธ์กบั ทุกอย่างรอบตัว
และสิ งแวดล้อมรอบข้างของผูเ้ รี ยนจะเป็ นผูส้ อนของเขาโดยธรรมชาติ
10. ควรมีการสรุ ปหลังการปฏิ บตั ิกิจกรรมทุกครัง เพือกลันกรองการสร้ างองค์
ความรู ้ให้ความรู้ทีถูกต้องแก่ผเู ้ รี ยน โดยผูส้ อนอาจช่วยผูเ้ รี ยนสรุ ปหรื อเพิมเติมแก้ไขให้สมบูรณ์
บทบาทของผู้เรียน
1. ผูเ้ รี ยนต้องปรับทัศนคติในบทบาทหน้าทีและการเรี ยนรู้ของตนเอง
2. ผูเ้ รี ยนต้องมีคุณลักษณะด้านการใฝ่ รู้ ใฝ่ เรี ยน มีความรับผิดชอบสู ง รู้จกั การ
ทํางานร่ วมกันอย่างเป็ นระบบ
3. ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการวางพืนฐาน และฝึ กทักษะทีจําเป็ นในการเรี ยนรู้ตามรู ปแบบ
การเรี ยนรู้ทีเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ เช่น กระบวนการคิด การสื บค้นข้อมูล การทํางานกลุ่ม การ
อภิปราย การสรุ ป การนําเสนอผลงานและการประเมินผล
4. ผูเ้ รี ยนต้องมีทกั ษะการสื อสารทีดีพอ
จากบทบาทของผูเ้ รี ยนและผูส้ อนในการเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน สามารถสรุ ปได้ดงั นี
บทบาทของผู้เรียน
1. ผูเ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในการออกแบบการเรี ยนรู ้ บอกถึงความสนใจ ความถนัด
ประสบการณ์ต่าง ๆ ทีตนมีให้กบั ผูส้ อนเพือรับทราบ และแสดงความคิดเห็นในการคัดเลือกกิจกรรม
การเรี ยนรู้และการสร้างปัญหาในการเรี ยนรู้
2. ผูเ้ รี ยนเป็ นผูส้ ร้างองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง โดยมีปัญหาเป็ นตัวกระตุน้ ผูเ้ รี ยนเป็ นผู้
กําหนดทิศทางการเรี ยนรู ้ของตนเองตามขันตอนของการเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน
3. ผูเ้ รี ยนต้องพัฒนาตนเองให้เป็ นผูเ้ รี ยนรู ้โดยการชีนําตนเอง
4. ผูเ้ รี ยนเป็ นผูป้ ระเมินผลร่ วมกับครู ประเมินผลตนเองเพือทราบความก้าวหน้าใน
การเรี ยนรู้ ประเมินผลผูส้ อนเพือสะท้อนให้ผสู้ อนได้รับทราบแล้วนําไปปรับปรุ ง
บทบาทของผู้สอน
1. เป็ นผูอ้ อกแบบการเรี ยนรู้ พิจารณาเลือกเนื อหาสาระความรู ้ ทักษะทีต้องการให้
ผูเ้ รี ยนได้รับ รวมถึ งออกแบบกิจกรรมการเรี ยนรู ้ทีจะสามารถส่ งเสริ มการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยนให้เป็ น
ผูเ้ รี ยนรู ้โดยการชีนําตนเองได้
67

2. สร้างปัญหาทีใช้เป็ นตัวกระตุน้ การเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยน


3. เป็ นผูแ้ นะนํา อํานวยความสะดวกในการเรี ยนรู ้ให้กบั ผูเ้ รี ยน ใช้คาํ ถามในการ
กระตุน้ ให้ผเู้ รี ยนได้คิด ในขณะเรี ยนรู้ผสู้ อนจะต้องเปิ ดโอกาสให้ผเู้ รี ยนได้คิดมากทีสุ ด ส่ งเสริ มให้
ผูเ้ รี ยนสร้างองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง
4. เป็ นผูป้ ระเมินผล รวมทังการประเมิ นผลปั ญหาทีใช้ในการเรี ยนรู ้ประเมินผล
ผูเ้ รี ยนทังในด้านทักษะและด้านความรู ้ และประเมินผลตนเอง
จากบทบาทของครู และผูเ้ รี ยนข้างต้น สามารถสรุ ปได้ดงั ตารางต่อไปนี
ตารางที 7 บทบาทของครู และผูเ้ รี ยนในการจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน
บทบาทของครู บทบาทของผู้เรียน
1. เป็ นผูอ้ อกแบบการเรี ย นรู้ ครู ต้อ งพิ จ ารณา 1. ผูเ้ รี ยนจะต้องมี ส่วนร่ วมในการ
เลื อกเนื อหาสาระความรู้ ทัก ษะที ต้องการให้ผู้เรี ย น ออกแบบการเรี ยนรู้ บอกถึ งความสนใจ
ได้รับ รวมถึ ง คัดเลื อกกิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ที สามารถ ความถนัด ประสบการณ์ ต่ า งๆ ที ตนมี
ส่ ง เสริ มการเรี ย นรู ้ ข องผู้เ รี ยน ให้ เ ป็ นผู้ที สามารถ ให้ ก ับ ครู เพื อรั บ ทราบและแสดงความ
เรี ยนรู ้โดยการชีนําตนเองได้ และสร้างปั ญหาทีใช้เป็ น คิดเห็นในการคัดเลือกกิจกรรมการเรี ยนรู ้
ตัว กระตุ ้น การเรี ย นรู้ ข องผู้เ รี ย น ซึ งทังหมดนี จะใช้ และสร้างปัญหา
ฐานข้อมูลการพิจารณาจากความสนใจประสบการณ์
ความรู้ ความสามารถของผูเ้ รี ยน
2. ครู เป็ นผูแ้ นะนํา เป็ นผูอ้ าํ นวยความสะดวกใน 2. ผูเ้ รี ยนจะต้องเป็ นผูท้ ีสร้างองค์
การเรี ยนรู ้ ใ ห้ ก ั บ ผู ้เ รี ยน ครู จะไม่ ส อนหรื อชี แนะ ความรู้ ด้ ว ยตนเอง โดยมี ปั ญหาเป็ น
โดยตรง แต่จะใช้คาํ ถามในการกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนได้คิด ตัว กระตุ ้น ผู้เ รี ยนจะเป็ นผู ้ก ํา หนดทิ ศ
ในขณะเรี ยนรู้ ครู จะต้องเปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รี ย นได้คิ ด ทางการเรี ยนรู ้ของตนเองตามขันตอนการ
มากที สุ ด ครู จะต้องส่ ง เสริ ม ผูเ้ รี ย นให้เกิ ดการเรี ยนรู ้ เรี ย นรู้ โ ดยใช้ปั ญ หาเป็ นฐาน ผูเ้ รี ย นจะ
โดยการชีนําตนเอง เพือสร้างองค์ความรู ้ดว้ ยตัวเอง ต้องพัฒนาตนเองให้เป็ นผูเ้ รี ยนรู้ โดยการ
ชีนําตนเอง
3. เป็ นผู้ป ระเมิ น ผล ซึ งต้อ งมี ก ารประเมิ น ผล 3. ผูเ้ รี ย นจะต้องเป็ นผูป้ ระเมิ นผล
ปั ญหาทีใช้ในการจัดการเรี ยนรู้ ประเมินผลผูเ้ รี ยนทัง ปั ญหารวมกับ ครู ประเมิ นตนเองเพื อ
ในด้านทักษะและด้านความรู้ และประเมินตนเอง การ ทราบความ ก้าวหน้าในการเรี ยนรู ้ และ
ประเมินผลจะทําตังแต่การสร้างปั ญหาจนเสร็ จสิ นการ ประเมิ น ผลครู เ พื อสะท้อ นให้ ค รู ไ ด้รั บ
เรี ยนรู ้ในแต่ละหน่วยการเรี ยนรู ้ ทราบและนําไปปรับปรุ ง
68

ขันตอนการเรียนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน


การเตรียมการสอนของผู้สอน

● ศึกษาขันตอนการสอน
บทบาทผู้สอน ● จัดทําแผนการจัดการเรี ยนรู ้
บทบาทผู้เรียน
ในการจัดการเรียนรู้ ● จัดทําเครื องมือวัดและประเมินผล

● แนะแนวทางฯ/วิธีการเรี ยนรู ้ ขันที 1 การเชือมโยงปั ญหา ● เสนอปั ญหาหลากหลาย


● ยกตัวอย่างปั ญหา/สถานการณ์
และนําเสนอปั ญหา ● เลือกปั ญหาทีสนใจ
● ตังคําถามให้คิดต่อ

● ถามคําถามให้คิดละเอียด ● ตังคําถามในประเด็นทีอยากรู ้
ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปั ญหา ● ระดมสมองหาความหมาย/นิ ยาม
● กระตุน้ ยัวยุ ให้คิดต่อ
● ช่วยตรวจสอบแนะนําความ ● อธิ บายสถานการณ์ของปั ญหา

● ศึกษาหาข้อมูลเพิมเติม ● แบ่งงาน แบ่งหน้าที


● อํานวยความสะดวกสื อความรู ้ ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า ● กําหนดเป้ าหมายงาน /ระยะเวลา
ต่างๆ และแนะนํา ให้กาํ ลังใจ ● ค้นคว้าศึกษาและบันทึก

● แลกเปลียนข้อมูล ความคิดเห็น ● ผูเ้ รี ยนแต่ละคนนําความรู ้เสนอ

● ตังคําถามเพือสร้างความคิดรวบ ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ ภายชันเรี ยน


ยอด ● ตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสม

● ช่วยตรวจสอบการประมวลสร้าง ● แต่ละคนนําเสนอข้อมูลทีได้
ความรู้ใหม่ ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ปัญหาและ ทังหมดมาประมวลสร้างเป็ นองค์
● พิจารณาความเหมาะสม ความรู ้ทีได้ ความรู ้ใหม่และสรุ ปผล

แผนภูมิที 3 แสดงขันตอนการเรี ยนรู ้แบบปั ญหาเป็ นฐานและการเตรี ยมการสอนของผูส้ อน


69

การประเมินผลการเรียนรู้ โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน


ในชันเรี ย นแบบเดิ ม จะใช้ก ารประเมิ น ผลเพื อชี วัด ความสามารถและแบ่ ง ชัน
ความสามารถของผูเ้ รี ยนมากกว่าทีจะประเมินเพือการแก้ปัญหาการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน และวิธีการ
ประเมินจะประเมินจากการทดสอบหรื อจากผลงานที ผูเ้ รี ยนทํา เพือวัดว่าผูเ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้อะไร
ระดับใดผ่านเกณฑ์หรื อไม่ผา่ น แต่การเรี ยนรู ้โดยการชี นําตนเองเป็ นเป้ าหมายของการสอนโดยใช้
ปั ญหาเป็ นฐาน ซึ งได้กาํ หนดไว้วา่ “ความรับผิดชอบหลักของผูเ้ รี ยนคือ กิจกรรมการวางแผน การ
ดําเนินการตามแผน และการประเมินผลการเรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง” ดังนันเครื องมือในการประเมินผลที
ใช้จึงต้องประเมินพัฒนาการของผูเ้ รี ยน โดยสอดคล้องกับหลักการทางการเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ น
ฐานด้วย (พวงรัตน์ บุญญารักษ์, 2544: 123, อ้างอิงจาก Brockett, 1983: Unpage) การประเมินผลของ
การเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน ได้มีผเู ้ สนอวิธีไว้ดงั นี
ดีไลเซิ ล (Delisle, 1997: 37-47) ได้กล่าวว่า การประเมินผลจะต้องบูรณาการตังแต่
ขันตอนการสร้างปั ญหา ขันตอนการเรี ยนรู ้ ความสามารถและผลงานทีนักเรี ยนแสดงออกมาเข้า
ด้วยกัน โดยได้เสนอว่าการประเมินควรกระทํา 3 ส่ วน คือ การประเมินผลนักเรี ยน การประเมินผล
ตนเองของครู และการประเมินผลปัญหาทีใช้ในการเรี ยนรู้ โดยในแต่ละการประเมินผลนักเรี ยนจะมี
ส่ วนร่ วมด้วยและการประเมินผลจะดําเนิ นไปตลอดเวลาของการเรี ยนรู ้ คือตังแต่สร้างปั ญหาจนถึง
รายงานการแก้ปัญหานัน ซึ งมีรายละเอียดดังนี
1. การประเมินผลนักเรี ยน การประเมินผลความสามารถของนักเรี ยนจะ
เริ มต้นตังแต่วนั แรกของการเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน จนกระทังวันสุ ดท้ายทีได้เสนอผลออกมา
ครู จะใช้ขนตอนการเรี
ั ยนรู้เป็ นเครื องมือในการติดตามความสามารถของนักเรี ยน ซึ งพิจารณาทังใน
ด้านความรู้ ทักษะ และการทํางานกลุ่ม
2. การประเมินผลตัวเองของครู ในขณะทีนักเรี ยนสะท้อนผลการเรี ยนรู้
และความสามารถออกมา ครู ก็ควรจะพิจารณาตนเองถึ งทักษะและบทบาทของตนเองทีได้แสดง
ออกไปว่าส่ งเสริ มผูเ้ รี ยนหรื อไม่อย่างไรด้วย การประเมินตนเองของครู มี 2 รู ปแบบ คือ รู ปแบบที
เขียนบรรยายและแบบให้เลือกระดับความสามารถว่าดีมาก ดี หรื อพอใช้ ของแต่ละพฤติกรรมทีครู
แสดงแล้วส่ งเสริ มการเรี ยนรู้ให้กบั นักเรี ยน
3. การประเมินผลปั ญหา ในขณะทีนักเรี ยนประเมินผลตนเอง และครู ทาํ
การประเมินผลนักเรี ยนและตนเอง ก็ควรทําการประเมินผลปั ญหาเพือดูความมีประสิ ทธิ ภาพของ
ปัญหา ในการจัดการเรี ยนการสอนด้วย
70

บาเรลล์ (Barell, 1998: 159-160) กล่าวว่า การประเมินผลการเรี ยนรู้ โดยใช้ปัญหา


เป็ นฐาน มีลกั ษณะดังนี
1. การประเมินผลด้วยวิธีการทีหลากหลาย ไม่ประเมินผลด้วยการสอน
เพียงอย่างเดียว และไม่ควรประเมินผลแค่ตอนจบบทเรี ยนเท่านัน
2. ประเมินผลจากสภาพจริ ง โดยให้มีความสัมพันธ์กบั ประสบการณ์ของ
นักเรี ยนทีสามารถเจอในชีวติ ประจําวัน
3. ประเมินผลทีความสามารถทีแสดงออกมาหรื อจากการทํางาน ทีแสดง
ให้เห็นถึงความเข้าใจในความคิดรวบยอด

จากการประเมิ น ผลการเรี ย นรู ้ โดยใช้ปั ญ หาเป็ นฐานที กล่ า วมาข้า งต้น ในการ
ประเมินนันควรจะทําตังแต่เริ มแรกของการเรี ยนการสอน ซึ งสามารถสรุ ปได้ดงั นี
1. การประเมินผลผูเ้ รี ยน ผูส้ อนทําการประเมิ นผูเ้ รี ยนทังในด้านของ
ความรู้ ทักษะและการทํางานกลุ่ม
2. การประเมินผลของตัวผูส้ อนเอง เพือเป็ นการสะท้อนตัวผูส้ อนเองว่า
ผูเ้ รี ย นบรรลุ ผลการเรี ยนรู ้ หรื อไม่ จากการจัดกิ จกรรมโดยใช้ปั ญหาเป็ นฐาน และเพื อเป็ นการ
ปรับปรุ งในการเรี ยนการสอนครังต่อไป
3. การประเมินผลปั ญหาทีใช้ในการจัดการเรี ยนรู้ เพือดูวา่ เหมาะสมกับ
ผูเ้ รี ยนหรื อไม่และปัญหานันทําให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองหรื อไม่
4. ใช้วธิ ีการในการประเมินทีหลากหลาย และประเมินผูเ้ รี ยนตังแต่เริ มแรก
จนจบบทเรี ยน
5. ประเมินผลตามสภาพจริ ง

งานวิจัยเกียวกับการจัดการเรียนรู้ แบบใช้ ปัญหาเป็ นฐาน


งานวิจัยในประเทศ
เมธาวี พิมวัน (2549: บทคัดย่อ) ได้ทาํ การวิจยั เกียวกับ เรื องชุดการเรี ยนการสอน
โดยใช้ปัญหาเป็ นฐานเรื องพืนทีผิว ระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 3 โรงเรี ยนศรี สุขวิทยา ผลการวิจยั
พบว่านักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 3 ทีเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐานเรื องพืนทีผิวด้วยชุดการเรี ยนการ
สอนโดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน มีผลการเรี ยนผ่านเกณฑ์ตงแต่ ั ร้อยละ 60 ขึนไปของคะแนนเต็มเป็ นจาน
วนมากกว่าร้อยละ 60 ของจํานวนนักเรี ยนทังหมดทีระดับนัยสําคัญ .01 และนักเรี ยนมีความพึงพอใจ
ต่อการเรี ยนโดยใช้ปัญหาเป็ นฐานในระดับมาก
71

สายใจ จําปาหวาย (2549: บทคัดย่อ) ได้ทาํ การวิจยั เกียวกับเรื อง ผลการเรี ยนด้วย


การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐานและรู ปแบบของ สสวท. เรื องบทประยุกต์ ทีมีต่อผล
การเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที6 ผลการวิจยั พบว่า แผนการจัดการเรี ยนรู ้กลุ่มสาระการ
เรี ยนรู้คณิ ตศาสตร์ เรื อง บทประยุกต์ ชันประถมศึกษาปี ที 6 โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน มีประสิ ทธิ ภาพ
81.41/79.44 ซึ งสู งกว่าเกณฑ์ทีกําหนด และดัชนีประสิ ทธิ ผล 0.7104 หรื อมีคะแนนเพิมขึนคิดเป็ น
ร้อยละ 71.04 นักเรี ยนทีเรี ยนด้วยกิจกรรมการเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน มีความสามารถในการให้
เหตุผลทางคณิ ตศาสตร์ เจตคติต่อวิชาคณิ ตศาสตร์ และผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนมากกว่านักเรี ยนที
เรี ยนรู้ตามรู ปแบบของ สสวท. อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .05 และนักเรี ยนทีเรี ยนคณิ ตศาสตร์
เรื อง บทประยุกต์ ด้วยกิจกรรมการเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน และนักเรี ยนทีเรี ยนรู้ตามรู ปแบบ
ของ สสวท. มีความคงทนในการเรี ยนรู้
เบญจมาศ เทพบุตรดี (2550: บทคัดย่อ) ได้ทาํ การวิจยั เกี ยวกับเรื อง การ
เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน ความสามารถในการวิเคราะห์ และความสามารถในการให้
เหตุผลทางคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที 6 ระหว่างการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหา
เป็ นฐาน (PBL) และการจัดการเรี ยนรู้แบบปกติ เรื อง การบวก ลบ คูณ หารทศนิยม ผลการวิจยั พบว่า
นักเรี ยนกลุ่มทีจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน มีผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน ความสามารถ
ในการคิดวิเคราะห์ สู งกว่ากลุ่มทีจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบปกติ อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ
.05 แต่มีความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิ ตศาสตร์ หลังเรี ยนไม่แตกต่างกัน
รัชนี วรรณ สุ ขเสนา (2550: 127) ได้ทาํ วิจยั เรื อง การเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ
ทางการเรี ยน เรื อง บทประยุกต์ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที 5
ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน(PBL) กับการเรี ยนรู ้ตามคู่มือครู ผลการวิจยั
สรุ ป พบว่า 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน (PBL) เรื อง บทประยุกต์ กลุ่ม
สาระการเรี ยนรู ้ คณิ ตศาสตร์ ชันประถมศึ กษาปี ที 5 และการเรี ยนรู ้ ตามคู่มือครู มีประสิ ทธิ ภาพ
80.60/82.10 และ 80.06 /77.82 ซึ งสู งกว่าเกณฑ์ทีกําหนด 2) ดัชนีประสิ ทธิ ผลของแผนการจัด
กิจกรรมการเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน (PBL) เรื อง บทประยุกต์ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์
ชันประถมศึกษาปี ที 5 และการเรี ยนรู ้ตามคู่มือครู มีค่าเท่ากับ 0.6211 และ 0.5384
เพ็ญศรี พิลาสันต์ (2551: บทคัดย่อ) ได้ทาํ การวิจยั เกียวกับ เรื อง การเปรี ยบเทียบ
ผลสัมฤทธิทางการเรี ยนและแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ ทางการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ เรื อง
เศษส่ วน ของนักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที 5 ระหว่างการจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหาเป็ น
ฐาน (PBL) กับการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ตามวิธีการปกติ ผลการวิจยั พบว่า แผนการจัดกิจกรรมการ
เรี ยนรู้ เรื อง เศษส่ วน ชันประถมศึกษาปี ที 5 ทีจัดกิจกรรมการเรี ยนรู โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน(PBL)
72

และทีจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ตามวิธีปกติมีประสิ ทธิ ภาพเท่ากับ 81.99/79.76 และ 80.90/74.66 ตามลา


ดับ ซึ งสู งกว่าเกณฑ์ทีกําหนด มีดชั นี ประสิ ทธิ ผลเท่ากับ 0.6374 และ 0.5450 ตามลาดับ นักเรี ยนชัน
ประถมศึกษาปี ที 5 ทีจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน (PBL) มีผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน
และแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ ทาง การเรี ยนสู งกว่านักเรี ยนที เรี ยนด้วยกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ ตามวิธีปกติ
อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .05 ส่ วนความคงทนในการเรี ยนรู ้ ไม่แตกต่างกัน
มณฑนา บรรพสุ ทธิ (2553: บทคัดย่อ) ทําวิจยั เรื อง การพัฒนาความสามารถใน
การคิดแก้ปัญหาทักษะชี วิต ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 2 ด้วยการจัดการเรี ยนรู้ แบบปั ญหา
เป็ นฐาน โดยผลการวิจยั พบว่า 1) ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาทักษะชีวติ ของนักเรี ยนก่อนและ
หลัง การจัด การเรี ย นรู ้ แ บบปั ญ หาเป็ นฐานแตกต่ า งกัน อย่ า งมี นัย สํ า คัญ ทางสถิ ติ ที ระดับ .01
2) นักเรี ยนมีพฒั นาการของความสามารถในการคิดแก้ปัญหาทักษะชี วิต หลังการจัดการเรี ยนรู ้แบบ
ปั ญหาเป็ นฐานโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และ 3) นักเรี ยนมี ความคิ ดเห็นต่อการจัดการ
เรี ยนรู ้แบบปั ญหาเป็ นฐานอยูใ่ นระดับเห็นด้วยมากทุกด้าน เมือพิจารณาเป็ นรายด้าน พบว่า นักเรี ยน
ส่ วนใหญ่เห็ นด้วยมากในด้านบรรยากาศการเรี ยนรู ้ รองลงมา คือ ด้านกิจกรรมการเรี ยนรู ้ และด้าน
ประโยชน์ทีได้รับจากการเรี ยนรู้ ตามลําดับ
สุ ภาวดี พยัคชน (2555: บทคัดย่อ) ได้ทาํ การวิจยั เรื อง การสร้างชุดกิจกรรม กลุ่ม
สาระการเรี ยนรู้คณิ ตศาสตร์ เรื อง บทประยุกต์ ชันประถมศึกษาปี ที 6 โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู้โดย
ใช้ปัญหาเป็ นฐาน ผลการวิจยั พบว่า ชุ ดกิจกรรมกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ เรื อง
บทประยุกต์ ชันประถมศึกษาปี ที 6 โดยใช้รูปแบบการเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน ที ผูว้ ิจยั สร้างขึน
นัน มีประสิ ทธิภาพ86.66 /82.47 ซึ งสู งกว่าเกณฑ์มาตรฐานทีกําหนด

งานวิจัยต่ างประเทศ
เอลเชฟเฟ (Elshafei, 1998: Online) ได้ทาํ การศึกษาเพือเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู้
ของนักเรี ยนทีเรี ยนด้วยวิธีการเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐานกับการเรี ยนแบบปกติในวิชาพีชคณิ ต 2
โดยได้ทาํ การวิจยั กึงทดลองกับนักเรี ยนโรงเรี ยนมัธยมศึกษาตอนปลายในรัฐแอตแลนตา จํานวน 15
ห้องเรี ยน 342 คน แบ่งเป็ นห้องเรี ยนแบบปกติ 8 ห้อง และเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน 7 ห้อง
ผลการวิจยั พบว่านักเรี ยนทีเรี ยนด้วยวิธีการเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน มีผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน
สู งกว่านักเรี ยนทีเรี ยนด้วยวิธีการเรี ยนแบบปกติอย่างมีนยั สําคัญ ซึ งเป็ นผลมาจากการทีนักเรี ยน
เรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน สามารถสร้างองค์ความรู้ได้ดว้ ยตนเอง มีการรวมกลุ่มกันแก้ปัญหาและ
สามารถคิดค้นวิธีการแก้ปัญหาได้ดีกว่านักเรี ยนทีเรี ยนแบบปกติ
73

ปี เดอร์ เซน (Pedersen, 2000) ได้ศึกษาผลของเครื องมือช่วยให้คาํ แนะนําในการ


เรี ยนโดยใช้ปัญหาเป็ นหลักพบว่าเครื องมือช่วยให้คาํ แนะนํา โดยตัวแบบพุทธิ ปัญญามีประสิ ทธิ ภาพ
กว่าแบบอืนๆ และยังพบว่าการเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหาเป็ นหลักสร้างแรงจูงใจในการเรี ยนมากกว่าการ
เรี ยนแบบอืน
แม็คคาธี (McCarthy, 2001: Online) ได้ทาํ การทดลองสอนด้วยวิธีการเรี ยนรู้โดยใช้
ปัญหาเป็ นฐานในวิชาคณิ ตศาสตร์ระดับประถมศึกษา เพือพัฒนาความคิดรวบยอดเรื องทศนิยม โดย
ทําการทดลองกับนักเรี ยนเกรด 12 กลุ่มเล็ก ๆ ในเวลา 8 คาบเรี ยน คาบเรี ยนละ 45 นาที โดยมี
จุดมุ่งหมายเพือสํารวจความรู้ทีมีอยูก่ ่อนแล้วในตัวของนักเรี ยน และมีการวิเคราะห์วา่ การเรี ยนรู ้โดย
ใช้ปัญหาเป็ นฐานสามารถพัฒนาความคิดรวบยอดทางคณิ ตศาสตร์ ได้อย่างไร จากหลักฐานการ
บันทึกวิดีโอได้ชีให้เห็นว่า นักเรี ยนมีการพัฒนาความเข้าใจในคณิ ตศาสตร์ ตลอดเวลาทีได้พยายาม
หาวิธีแก้ปัญหา โดยนักเรี ยนใช้ภาษาพูดเป็ นตัวบ่งชี ถึงความรู ้เกียวกับทศนิ ยมทีตัวนักเรี ยนมีอยูก่ ่อน
แล้ว และความเข้าใจความคิดรวบยอดใหม่ทีเกิดขึนเกียวกับทศนิยมอย่างถูกต้อง
ชอร์ และคนอืนๆ (Shore and others, 2004: 183-189) ได้ศึกษาปั จจัยภายนอกที
สนับสนุ นการพัฒนาการเรี ยนโดยใช้ปัญหาเป็ นหลักในวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยการพัฒนาหนังสื อ
คณิ ตศาสตร์ จํานวน 450 หน้า เนือหาประกอบด้วยปั ญหาทีหลากหลายสาขา แบบทดสอบก่อนเรี ยน
และหลังเรี ยน แบบสอบถาม ผลการวิจยั พบว่านักเรี ยนทีเรี ยนโดยใช้หนังสื อดังกล่าวมีคะแนนสู ง
กว่ากลุ่มควบคุมทีสอนโดยครู คนเดียวกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติ
แคนเตอร์ ก และเบเซอร์ (Canturk and Baser, 2009a: 134-155 , 2009b: 451-482 )
ได้ศึกษาเจตคติของนักเรี ยน ครู และคณาจารย์ในมหาวิทยาลัยทีมีต่อการเรี ยนโดยใช้ปัญหาเป็ นหลัก
เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์นกั เรี ยน 7 ระดับชัน จํานวน 20 คน ครู สอนวิชาคณิ ตศาสตร์ จํานวน 7
คน และคณาจารย์ 6 คน จาก 2 คณะในมหาวิทยาลัยทีใช้วิธีการนี ในปี การศึกษา 2005-2006 ผล
การศึกษาพบว่า นักเรี ยน ครู และคณาจารย์ในมหาวิทยาลัยมีเจตคติทีดี และได้ศึกษาผลของการ
จัดการเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหาเป็ นหลักทีมี ต่อทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรี ยน ใช้แบบ
แผนการทดลองแบบ One Group Pretest-Posttest Design กลุ่มทดลองได้รับการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้
ปั ญหาเป็ นหลัก กลุ่มควบคุ มได้รับการจัดการเรี ยนรู ้แบบปกติ ผลการศึกษาพบว่านักเรี ยนทีได้รับ
การจัดการเรี ยนรู้โดยปั ญหาเป็ นหลัก มีทกั ษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณสู งกว่านักเรี ยนทีเรี ยนรู ้จาก
แบบปกติ
74

โคติก และ ซูลเจน (Cotic and Zuljan, 2009 : 297-310) ได้ศึกษาเกียวกับการจัดการ


เรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นหลัก และผลของการสอนทีมี ต่อความรู ้ของนักเรี ยน กลุ่มตัวอย่างเป็ น
นักเรี ยนอายุ 9 ปี จํานวน 179 คนทีได้รับการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นหลัก ผลการศึกษาพบว่า
ผลการจัดการเรี ยนรู้ของครู ทียังไม่จบการศึกษา ครู ฝึกหัด และครู มีค่าเท่ากัน
จากการศึกษางานวิจยั ข้างต้น การจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐานนัน สามารถพัฒนา
ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน ความสามารถในการแก้ปัญหา ความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการเชือมโยง
ความคิดรวบยอดทางคณิ ตศาสตร์ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรี ยน ซึ งผูส้ อนอาจจัดการ
เรี ยนรู ้ในรู ปของชุ ดการเรี ยนการสอน แบบฝึ กทักษะ หรื อกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ ทีใช้ปัญหาเป็ นฐาน
เพือพัฒนานักเรี ยนในด้านต่างๆ ผูว้ ิจยั จึงได้สนใจทีจะพัฒนาแบบฝึ กทักษะวิชาคณิ ตศาสตร์ เรื อง
การประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้ แบบใช้ปัญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการ
แก้ปัญหา สําหรับชันมัธยมศึกษาปี ที 1

4. แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยทีเกียวกับความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
ความหมายของปัญหาและการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
มีนกั การศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมายของการแก้ปัญหาไว้ดงั นี
บรังคา (ชัยรัตน์ สุ ลาํ นาจ 2547: 6, อ้างอิงจาก Branca, 1980: 3 – 8)ได้ให้ความหมาย
ของการแก้ปัญหาไว้ 3 ประการ ดังนี
1. การแก้ปัญหาในฐานะที เป็ นเป้ าหมายของการเรี ยนรู ้ คณิ ตศาสตร์ (Problem
Solving as a Goal) ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็ นเหตุผลหนึ งทีสําคัญต่อการเรี ยนคณิ ตศาสตร์
ดังนันในการแก้ปัญหาจึงเป็ นอิสระจากคําถามหรื อปั ญหาเฉพาะเจาะจงใด ๆ หรื อวิธีการและเนือหา
สาระใด ๆ
2. การแก้ปัญหาในฐานะทีเป็ นกระบวนการ (Problem Solving as a Process) สิ งที
ถือว่าสําคัญเมือการแก้ปัญหาเป็ นกระบวนการ คือ วิธีการ ยุทธวิธี หรื อเทคนิคเฉพาะต่างๆ ที
นักเรี ยนจําเป็ นต้องใช้ในการแก้ปัญหาแบบต่าง ๆ กระบวนการแก้ปัญหาเหล่านี จึงเป็ นสาระสําคัญ
และเป็ นเป้ าหมายหลักของหลักสู ตรคณิ ตศาสตร์
3. การแก้ปัญหาในฐานะเป็ นทักษะพืนฐาน (Problem Solving as a Basic Skill) เมือ
การแก้ปัญหาจัดเป็ นทักษะพืนฐานการเรี ยนการสอนคณิ ตศาสตร์ จึงให้ความสําคัญกับลักษณะเฉพาะ
ของโจทย์ปัญหา แบบของปั ญหา และวิธีการแก้ปัญหาต่าง ๆ ทีควรรู้ จุดเน้นอยูท่ ีสาระสําคัญของ
การแก้ปัญหาทีทุกคนต้องเรี ยนรู ้ การเลือกปั ญหาและเทคนิควิธีการแก้ปัญหาเหล่านัน
75

ดอสเซย์ และคนอืนๆ (Dossey and others, 2002: 72) กล่าวว่า การแก้ปัญหา คือ
กระบวนการโดยให้ตอบคําถามหรื อการจัดการกับสถานการณ์ ปั ญหาทียากและน่ าเบือ สําหรับ
บุคคลหนึ งอาจเป็ นเรื องปกติ และการคํานวณที คล่องแคล่วสําหรับอีกบุ คคลหนึ ง กระบวนการ
แก้ปัญหาจึงต้องใช้การสร้างองค์ความรู ้ตามวิถีทางใหม่ ๆ หรื อทีแตกต่างจากเดิม ใช้หลักในการ
วางแผนหรื อยุทธวิธีทีจะนําไปสู่ เป้ าหมายทีต้องการ และการได้มาซึงความรู ้ใหม่ทีเป็ นไปได้เกียวกับ
สถานการณ์นนๆกระบวนการนี
ั อาจจะยุง่ ยากซับซ้อนขึน เมือมีการต้องการสร้างการเชื อมโยง ซึ ง
นักเรี ยนจะได้ประสบการณ์จากกระบวนการนีและสามารถพัฒนายุทธวิธีการแก้ปัญหาทีหลากหลาย
เบลล์ (Bell, 1978: 311 ) กล่าวว่า การแก้ปัญหามีความสําคัญและเหมาะทีจะใช้ใน
การเรี ยนการสอนคณิ ตศาสตร์ ทังนีเพราะการแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์ ช่วยให้นกั เรี ยนพัฒนาศักยภาพ
ในการวิเคราะห์ และเป็ นเครื องมื อช่ วยให้ประยุกต์ศกั ยภาพเหล่ านันไปสู่ สถานการณ์ ใหม่ การ
แก้ปัญหาช่วยให้นกั เรี ยนเรี ยนรู ้ ขอ้ เท็จจริ ง ทักษะ มโนคติและหลักการต่างๆโดยการแสดงการ
ประยุกต์ใช้ในคณิ ตศาสตร์ เองและสัมพันธ์กบั สาขาอืนๆ
โพลยา (Polya, 1980: 1) กล่าวว่า การแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์ เป็ นการหาวิถีทางทีจะ
หาสิ งไม่รู้ในปั ญหา เป็ นการหาวิธีการทีจะนําสิ งทียุง่ ยากออกไป หาวิธีการทีจะเอาชนะอุปสรรคที
เผชิ ญอยู่ เพือจะให้ขอ้ สงสัย ลงเอยหรื อคําตอบที มีความชัดเจน แต่ ว่าสิ งเหล่ านี ไม่ไ ด้เกิ ดขึ น
ทันทีทนั ใด
เพอดิคาริ ส (Perdikaris, 1993: 423) กล่าวว่า การแก้ปัญหาเป็ นการเตรี ยมการพัฒนา
ทักษะคณิ ตศาสตร์ ทีนําไปสู่ แนวความคิดใหม่ เป็ นการกระตุน้ การเรี ยนรู้และการสร้างสรรค์ทาง
คณิ ตศาสตร์แก่นกั เรี ยน ความสําคัญในการแก้ปัญหาจะทําให้เกิดการพัฒนาคุณลักษณะทีต้องการแก่
นักเรี ยน เช่น ความใฝ่ รู้ ความอยากรู้ อยากเห็น
เคนเนดี และทิป(Kennedy and Tipp, 1997: 81) กล่าวว่า การแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์
หมายถึงการแสดงออกของแต่ละบุคคลในการตอบสนองสถานการณ์ทีเป็ นปั ญหา
นัฎกัญญา เจริ ญเกียรติบวร (2547: 32) กล่าวว่าการแก้ปัญหา หมายถึง สถานการณ์
หรื อคําถาม ทีผูแ้ ก้ปัญหาต้องค้นคว้าหาวิธีการมาแก้ปัญหา เพือให้ได้คาํ ตอบโดยไม่มีการระบุวิธีการ
ในการแก้ปัญหาไว้อย่างชัดเจน ทังนี ขึนอยูก่ บั วิธีการ การใช้ความรู้ประสบการณ์และการตัดสิ นใจ
ของผูแ้ ก้ปัญหาอย่างเหมาะสม
จันทรา ประเสริ ฐกุล (2547: 32) กล่าวว่า กระบวนการหรื อวิธีการ ยุทธวิธี เทคนิค
เฉพาะต่างๆทีผูแ้ ก้ปัญหาต้องใช้ความรู ้ มโนคติ การคิดวิเคราะห์ ประสบการณ์ และทักษะพืนฐาน
ต่างๆทีมีอยูไ่ ปประยุกต์ใช้ตลอดจนหาแนวทางปฏิบตั ิ เพือให้ปัญหานันหมดไปและบรรลุจุดหมายที
ต้องการ
76

สภาครู คณิ ตศาสตร์ แห่ งชาติสหรั ฐอเมริ กา NCTM (2000: 52) กล่ าวว่าการ
แก้ปัญหาคือ ชิ นงานทีทําโดยยังไม่รู้วิธีการทีได้มาซึ งคําตอบในทันที ในการหาคําตอบ นักเรี ยน
จะต้องใช้ประโยชน์จากความรู ้ทีมีอยู่เหล่านันเพือนําไปสู่ กระบวนการแก้ปัญหา นักเรี ยนจะต้อง
ฝึ กฝนบ่อย ๆ เพือทีจะพัฒนาและทําให้เกิดความรู ้ใหม่ ๆ การแก้ปัญหาไม่ได้มีเป้ าหมายในการหา
คําตอบเพียงอย่างเดียวแต่ขึนอยูก่ บั วิธีการของการกระทําให้ได้มาของคําตอบ นักเรี ยนจะต้องหา
โอกาส ฝึ กฝนอยูเ่ ป็ นประจํา รวมทังได้แก้ปัญหาทีซับซ้อนขึนและให้มีการสะท้อนแนวคิดในการ
แก้ปัญหานันออกมาด้วย ซึ งได้กาํ หนดมาตรฐานของการแก้ปัญหาสําหรับนักเรี ยนอนุ บาลถึงเกรด
12 ดังนี
1. สร้างองค์ความรู ้เกียวกับคณิ ตศาสตร์ จากปั ญหาต่าง ๆ
2. การแก้ปัญหานันได้บงั เกิดขึนในคณิ ตศาสตร์ และในบริ บทอืน ๆ
3. ประยุกต์และดัดแปลงยุทธวิธีอย่างหลากหลายในการแก้ปัญหา
4. ควบคุมและพิจารณาบนกระบวนการการแก้ปัญหาเกียวกับคณิ ตศาสตร์
ณัฐธยาน์ สงคราม (2547: 4) กล่าวว่า การแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์ หมายถึง การแสดง
แนวคิดในการแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์ ซึ งอาศัยกระบวนการทางสมอง ประสบการณ์ ความรู้ทีได้
ศึกษามา ความพยายามทีได้ตดั สิ นใจว่าจะใช้วิธีการใดในการแก้ปัญหา วัดจากความสามารถใน
4 ด้าน ดังนี
1. ความสามารถในการแก้ปัญหา หมายถึง การแปลความหมายปั ญหา พิจารณา
ปัญหาว่าต้องการอะไร ปั ญหากําหนดอะไรให้บา้ ง สาระความรู ้ใดทีเกียวข้องบ้าง คําตอบของปั ญหา
จะอยูใ่ นรู ปแบบใดการทําความเข้าใจปั ญหาอาจใช้วิธีการต่างๆ เช่น การเขียนรู ป การเขียนแผนภาพ
การเขียนสาระด้วยถ้อยคําของตนเอง
2. ความสามารถในการวางแผน หมายถึง การพิจารณาว่าจะแก้ปัญหาด้วยวิธีการใด
จะแก้ปัญหาอย่างไร
3. ความสามารถในการดําเนิ นการตามแผน หมายถึง การลงมือปฏิบตั ิตามแผนที
วางไว้โดยเริ มตรวจสอบความเป็ นไปได้ของแผน การแสดงเหตุผลในการคิดแล้วลงมือปฏิ บตั ิ
จนกระทังหาคําตอบได้
4. ความสามารถในการตรวจสอบผล หมายถึง การมองย้อนกลับทีขันตอนต่างๆที
ผ่านมาซึงวัดได้โดยใช้แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์
77

จากการศึ กษาค้นคว้าข้า งต้น สามารถสรุ ป ได้ว่า การแก้ปั ญหาทางคณิ ตศาสตร์ เป็ น


ความสามารถและความชํานาญในการใช้กระบวนการต่าง ๆ ทางสมอง ประสบการณ์ การเข้าใจ
ปั ญหา ตลอดจนความพยายามในการคิดค้นหาคําตอบ เพือให้ได้คาํ ตอบ โดยการนําความรู้ ทักษะ
รวมถึงวิธีการต่างๆในการหาคําตอบเมือกําหนดสถานการณ์หรื อคําถามทีเป็ นปั ญหาทางคณิ ตศาสตร์
มาให้ ซึ งกระบวนการดังกล่าวมีการดําเนินการเป็ นลําดับขันตอนและจะต้องใช้ยุทธวิธีต่างๆ เพือนํา
ไปสู่ ความสําเร็ จในการแก้ปัญหา
ประเภทของปัญหาคณิตศาสตร์
จากความหมายของปั ญหาคณิ ตศาสตร์ ข ้า งต้น ได้มี ผูแ้ บ่ ง ปั ญหาคณิ ตศาสตร์
ออกเป็ นประเภทต่างๆ ดังนี
รัสเซล (Russel, 1961: 255) แบ่งปั ญหาออกเป็ น 2 ประเภทคือ
1. ปัญหาทีมีรูปแบบ ได้แก่ ปั ญหาทีมีปรากฏอยูใ่ นแบบเรี ยน และหนังสื อทัวไป
2. ปัญหาทีไม่มีรูปแบบ ได้แก่ ปัญหาทีพบทัว ๆ ไป ในชีวติ ประจําวัน
ครู ลิค และ เรย์ (Krulik and Reys, 1980: 24) ได้แบ่งปั ญหาไว้ ดังนี
1. ปัญหาทีเป็ นความรู้ความจํา
2. ปัญหาทางด้านพีชคณิ ต
3. ปัญหาทีเป็ นการประยุกต์ใช้
4. ปัญหาทีไม่สมบูรณ์ หรื อ ให้คน้ หาส่ วนทีหายไป
5. ปัญหาทีเกียวกับสถานการณ์
ชาร์ ล และเลสเตอร์ (Charles and Lester, 1982 : 6-10) ได้จาํ แนกประเภทของปั ญหาและ
เป้ าหมายของการฝึ กแก้ปัญหาแต่ละประเภท ดังนี
1. ปั ญหาทีใช้ฝึก (Drill Exercise) เป็ นปั ญหาทีใช้ฝึกขันตอนวิธีและการคํานวณ
เบืองต้น
2. ปัญหาข้อความอย่างง่าย (Simple Translation Problem) เป็ นปั ญหาข้อความทีเคย
พบ เช่ น ปั ญหาในหนังสื อเรี ยน ต้องการฝึ กให้คุน้ เคยกับการเปลี ยนประโยคภาษาเป็ นประโยค
สัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ เป็ นปั ญหาขันตอนเดียวมุ่งให้มีความเข้าใจมโนมติทางคณิ ตศาสตร์ และ
ความสามารถในการคิดคํานวณ
3. ปั ญหาข้อความทีซับซ้อน (Complex Translation Problem) คล้ายกับปั ญหาอย่าง
ง่ายแต่เพิมเป็ นปั ญหาทีมี 2 ขันตอนหรื อมากกว่า 2 ขันตอน หรื อมากกว่า 2 การดําเนินการ
78

4. ปั ญหาทีเป็ นกระบวนการ (Process Problem) เป็ นปั ญหาทีไม่เคยพบมาก่อน ไม่


สามารถเปลียนเป็ นประโยคทางคณิ ตศาสตร์ ได้ทนั ที จะต้องจัดปั ญหาให้ง่ายขึน หรื อแบ่งเป็ น
ขันตอนย่อยๆ แล้วหารู ปแบบทัวไปของปั ญหา ซึ งนําไปสู่ การคิดและการแก้ปัญหาเป็ นการพัฒนา
ยุทธวิธีต่างๆ เพือความเข้าใจ วางแผนการแก้ปัญหาและการประเมินผลคําตอบ
5. ปั ญหาการประยุกต์ (Applied Problem) เป็ นปั ญหาทีต้องใช้ทกั ษะ ความรู้
มโนมติและการดําเนินการทางคณิ ตศาสตร์ การได้มาซึ งคําตอบอาศัยวิธีทางคณิ ตศาสตร์ เป็ นสําคัญ
เช่ นการจัดกระทํา การรวบรวม และการแทนข้อมูล และต้องการตัดสิ นใจเกียวกับข้อมูลในเชิ ง
ปริ มาณเป็ นปั ญหาทีเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้ใช้ทกั ษะ กระบวนการ มโนมติและข้อเท็จจริ งในการ
แก้ปั ญหาในชี วิต จริ ง ซึ งจะทํา ให้นัก เรี ย นเห็ น ประโยชน์ แ ละเห็ น คุ ณ ค่ า ของคณิ ต ศาสตร์ ใ น
สถานการณ์ปัญหาในชีวติ จริ ง
6. ปั ญหาปริ ศนา (Puzzle Problem) เป็ นปั ญหาทีบางครังได้คาํ ตอบจากการเดาสุ่ ม
ไม่จาํ เป็ นต้องใช้คณิ ตศาสตร์ ในการแก้ปัญหา บางครังต้องใช้เทคนิ คเฉพาะ เป็ นปั ญหาทีเปิ ดโอกาส
ให้นกั เรี ยนได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ มีความยืดหยุน่ ในการแก้ปัญหาและเป็ นปั ญหาทีมองได้หลาย
มุมมอง
โพลยา (Polya, 1985: 123-127) ได้แบ่งปัญหาคณิ ตศาสตร์ออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1. ปั ญหาให้คน้ หา (Problems to Find) เป็ นปั ญหาให้คน้ หาสิ งทีต้องการ ซึ งอาจ
เป็ นปั ญหาในเชิ งทฤษฎีหรื อปั ญหาในเชิ งปฏิบตั ิ อาจเป็ นรู ปธรรมหรื อนามธรรม ส่ วนสําคัญของ
ปัญหานีแบ่งเป็ น 3 ส่ วน คือ สิ งทีต้องการหา ข้อมูลทีกําหนดให้ และเงือนไข
2. ปัญหาให้พิสูจน์ (Problems to Prove) เป็ นปั ญหาทีให้แสดงอย่างสมเหตุสมผลว่า
ข้อความทีกําหนดให้เป็ นจริ งหรื อเป็ นเท็จ ส่ วนสําคัญของปั ญหานี แบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน คือ
สมมติฐาน หรื อสิ งทีกําหนดให้และผลสรุ ปหรื อสิ งทีจะต้องพิสูจน์
ซุ ยดัม และสิ นด์ควิสท์ (Suysdam and Lindquist, 1992: 29) แบ่งปั ญหาคณิ ตศาสตร์ ได้เป็ น
2 ประเภท คือ
1. ปั ญหาธรรมดา (Routine Problems) เป็ นปั ญหาทีเกี ยวกับการประยุกต์ใช้การ
ดําเนิน การทางคณิ ตศาสตร์ เป็ นปั ญหาทีมีโครงสร้างไม่ซบั ซ้อนนัก ผูแ้ ก้ปัญหามีความคุ น้ เคยใน
โครงสร้างและวิธีการแก้ปัญหา
2. ปั ญหาแปลกใหม่ (Non Routine Problems) เป็ นปั ญหาทีมีโครงสร้างซับซ้อนใน
การแก้ปัญหา ผูแ้ ก้ปัญหาต้องประมวลความรู ้ ความสามารถหลายอย่างเข้าด้วยกัน เพือนํามา
79

แก้ปัญหาผูแ้ ก้ปัญหาต้องประมวลความรู ้ความสามารถหลายอย่างเข้าด้วยกัน เพือนํามาใช้ในการ


แก้ปัญหา
แฮทฟิ ลด์ เอดเวิดส์ และบิทเทอร์ (Hatfield, Edwards, and Bitter 1993: 37) แบ่งปั ญหา
ออกเป็ น 3 ลักษณะ คือ
1. ปั ญหาปลายเปิ ด (Open-Ended) เป็ นปั ญหาทีมีจาํ นวนคําตอบทีเป็ นได้หลาย
คําตอบปัญหาลักษณะนีจะมองว่ากระบวนการแก้ปัญหาเป็ นสิ งสําคัญมากกว่าคําตอบ
2. ปั ญหาให้คน้ พบ (Discovery) เป็ นปั ญหาทีจะได้คาํ ตอบในขันตอนสุ ดท้ายของ
การแก้ปัญหา เป็ นปัญหาทีมีวธิ ีแก้ได้หลากหลายวิธี
3. ปั ญหาทีกําหนดแนวทางในการค้นพบ (Guided Discovery) เป็ นปั ญหาทีมี
ลักษณะ ร่ วมของปั ญหา มีคาํ ชีแนะ (Clues) และคําชี แจงในการแก้ปัญหา ซึ งนักเรี ยนอาจไม่ตอ้ ง
ค้นหาหรื อ ไม่ตอ้ งกังวลในการหาคําตอบ
นอกจากนี ยังมีนกั การศึกษาหลายท่านได้แบ่งประเภทของปั ญหาดังนี
บารู ดี (Baroody 1993: 260-261) แบ่งปั ญหาออกเป็ น 2 ประเภท สรุ ปได้ ดังนี
1. ปั ญหาธรรมดา เป็ นปั ญหาทีผูแ้ ก้ปัญหาคุ น้ เคยในวิธีการ ในโครงสร้างของ
ปัญหาอาจเคยพบด้วยตนเองมาก่อน และการหาคําตอบทีจะมุ่งเน้นการฝึ กทักษะใดทักษะหนึง
2. ปั ญหาไม่ธรรมดา เป็ นปั ญหาทีผูแ้ ก้ปัญหาจะต้องประมวลความรู ้ความสามารถ
หลายอย่างเข้าด้วยกัน เพือนํามาใช้ในการแก้ปัญหา วิธีการหาคําตอบอาจมีได้หลายวิธีการ คําตอบก็
อาจจะมากกว่าหนึงคําตอบ
จากการศึกษาเอกสารดังกล่าวข้างต้นสรุ ปได้วา่ ปัญหาคณิ ตศาสตร์ แบ่งได้ดงั นี
1. ปั ญหาธรรมดา คือ ปั ญหาทีไม่ซบั ซ้อน ใช้ความรู้ความจํา ความเข้าใจในการ
แก้ปัญหา ผูแ้ ก้ปัญหามีความคุน้ เคยในโครงสร้างและวิธีในการแก้ปัญหา
2. ปั ญหาไม่ธรรมดา คือ ปั ญหาทีมีความซับซ้อน ผูแ้ ก้จะต้องบูรณาการความรู้
หลาย ๆ อย่างเข้าด้วยกันในการหาวิธีแก้ปัญหา วิธีการหาคําตอบอาจมีได้หลายวิธีการ และคําตอบก็
อาจจะมีมากกว่าหนึงคําตอบ
องค์ ประกอบทีส่ งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
มีนกั การศึกษาได้กล่าวถึงองค์ประกอบทีส่ งเสริ มในการแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์ ดังนี
โพลยา (Polya, 1957: 225) ได้กล่าวถึง สิ งทีสัมพันธ์กบั ความสามารถในการแก้ปัญหา ซึ ง
เป็ นสิ งทีมีส่วนช่วยในการแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์ คือความรู ้ สึกเกียวกับความเป็ นไปได้ของปั ญหา
ความเป็ นไปได้ของคําตอบและกลวิธีต่างๆ เช่น การลองผิดลองถูก เป็ นต้น
80

ไคลต์ (Clyde, 1967: 112) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบในการแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์ ของ


นักเรี ยนไว้ดงั นี
1. วุฒิภาวะและประสบการณ์จะช่วยให้นกั เรี ยนแก้ปัญหาได้ดีขึน
2. ความสามารถในการอ่าน
3. สติปัญญา
ออซู เบล (Ausubel, 1968: 538) ได้กล่ าวว่า “ในการแก้ปัญหาโดยทัวไปนันต้องใช้
องค์ประกอบหลายอย่าง เช่น สติปัญญาและองค์ประกอบทางการคิด เช่น ความยืดหยุน่ ทางการคิด
การรวบรวมความคิด ความตังใจ”
สเตอร์ นเบอร์ ก (Sternberg, 1986: 41-78) ได้กล่าวถึงกระบวนการประมวลผลข้อมูลอย่าง
สมบูรณ์แบบ (Executive Information Processing) ซึ งมีความสําคัญต่อการพัฒนาสติปัญญาในการ
วางแผน การตรวจสอบ การประเมินการแก้ปัญหา ตลอดจนการปฏิบตั ิทีเรี ยกว่า Metacomponents
วิธีการนีสามารถนําไปใช้ในการแก้ปัญหาได้เป็ นอย่างดี โดยสเตอร์ นเบอร์ ก เสนอแนะไว้ 6 ขันตอน
ดังนี
1. การนิ ยามธรรมชาติของปั ญหา เป็ นการทบทวนปั ญหาเพือทําความ
เข้าใจจากนันเป็ นการตังเป้ าหมาย และนิยามปัญหา เพือทีจะนําไปสู่ เป้ าหมายทีตังไว้
2. การเลือกองค์ประกอบ หรื อขันตอนทีจะใช้ในการแก้ปัญหา เป็ นการ
กําหนดขันตอนให้แต่ละขันตอนมีขนาดทีเหมาะสม ไม่กว้างเกินไป หรื อไม่แคบเกินไป ขันแรกควร
เป็ นขันตอนทีง่ายไว้ก่อน เพือเป็ นการเริ มต้นทีดี ก่อนทีจะกําหนดขันตอนต่อไป ควรจะพิจารณา
รายละเอียดในแต่ละขันตอนให้ถีถ้วนก่อน
3. การเลื อกยุทธวิธีในการจัดลําดับองค์ประกอบในการแก้ปัญหา ต้อง
แน่ใจว่า การเรี ยงลําดับขันตอนเป็ นไปตามลักษณะธรรมชาติ หรื อหลักเหตุผลทีจะนําไปสู่ เป้ าหมาย
ทีต้องการ
4. การเลือกตัวแทนทางความคิดเกียวกับข้อมูลของปั ญหา ซึ งต้องทราบ
รู ปแบบความสามารถของตน ใช้ตวั แทนทางความคิดในรู ปแบบต่างๆ จากคามสามารถที มีอยู่
ตลอดจนการใช้ตวั แทนจากภายนอกมาเพิมเติม
5. การกําหนดแหล่งข้อมูลที จะเป็ นประโยชน์ จะต้องมีการทุ่มเทเวลา
ให้กบั การวางแผนอย่างรอบคอบ ใช้ความรู ้ ทีมีอยู่อย่างเต็มทีในการวางแผน และการกําหนด
แหล่งข้อมูลทีจะนํามาใช้ประโยชน์ มีความยืดหยุน่ ในการเปลียนแปลงแผนและแหล่งข้อมูล เพือให้
สอดคล้องกับสภาพการณ์ในการแก้ปัญหาและหาแหล่งข้อมูลทีเป็ นประโยชน์แหล่งใหม่ๆ อยูเ่ สมอ
81

6. การตรวจสอบวิธีการแก้ปัญหา ว่าเป็ นวิธีการทีนําไปสู่ เป้ าหมายทีวางไว้


หรื อไม่
ครู ลิค (Krulik, 1987: 45-46) ได้เสนอขันตอนในการแก้ปัญหาทีสามารถนําไปประยุกต์ ใช้
แก้ปัญหาทัวๆ ไปได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ด้วยวิธีการแก้ปัญหาทีตรงจุด (Heuristic) โดยแบ่งเป็ น
5 ขันตอน ดังนี
1. การอ่านโจทย์ (Read) ประกอบด้วยการบันทึกคําสําคัญจากโจทย์ การ
อธิบายปัญหาการทวนปัญหาด้วยคําพูดของตนเอง บอกว่าโจทย์ไม่มีอะไร และบอกว่าโจทย์กาํ หนด
ข้อมูลใดมาให้บา้ ง
2. การสํารวจรายละเอียดของปั ญหา (Explore) ประกอบด้วย การจัดระบบ
ข้อมูล การบอกว่าข้อมูลเพียงพอหรื อไม่ การบอกว่าข้อมูลมากเกินไปหรื อไม่ การวาดรู ป หรื อ
ไดอะแกรม และการเขียนแผนภูมิ หรื อตาราง
3. การเลือกยุทธวิธี (Select a Strategy) ประกอบด้วย การระลึกรู ปแบบ
การทํางานย้อนกลับการคาดคะเน และการตรวจสอบ การสร้างสถานการณ์ หรื อการทดลอง การ
เขียนโครงสร้างในการจัดระบบ หรื อรายการทีจะช่วยในการแก้ปัญหา การอนุมานทางตรรกศาสตร์
และการแบ่งปั ญหาออกเป็ นตอนๆ เพือเตรี ยมการแก้ปัญหา
4. การลงมือแก้ปัญหา (Solve) ประกอบด้วย การดําเนินการตามแผน การ
ใช้ทกั ษะการคํานวณ การใช้ทกั ษะทางเรขาคณิ ต การใช้ทกั ษะทางพีชคณิ ต และการใช้ตรรกศาสตร์
เบืองต้น
5. การพิจารณาคําตอบ และการขยายผล (Review and Extend)
ประกอบด้วย การทบทวนคําตอบ การพิจารณาข้อความปั ญหาบางตอนทีน่าสนใจ การใช้คาํ ถาม ถ้า
...แล้ว (if …then) และการอภิปรายการแก้ปัญหา
ไฮเมอร์ และทรู บลัด (Heimer and Trueblood, 1997: 30 - 32) ได้กล่าวว่าองค์ประกอบที
สําคัญบางประการทีมีผลต่อความสามารถของนักเรี ยนในการแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์ ทีเกี ยวข้องกับ
ภาษาหรื อคําพูด สรุ ปได้ดงั นี
1. ความรู้เกียวกับศัพท์เฉพาะ
2. ความสามารถในการคํานวณ
3. ความสามามารถในการรวบรวมความรู้รอบตัว
4. ความสามารถในการรับรู ้ถึงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลทีกําหนดให้มา
5. ความสามารถในการให้เหตุผลสําหรับคําตอบทีตังจุดมุ่งหมายไว้
82

6. ความสามารถในการเลือกวิธีการทางคณิ ตศาสตร์ทีถูกต้อง
7. ความสามารถในการค้นหาข้อมูลทีขาดหายไป
8. ความสามารถในการเปลียนปั ญหาทีเป็ นประโยคภาษาให้เป็ นประโยค
สัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์
จากการศึกษาเอกสารข้างต้นสรุ ปได้วา่ องค์ประกอบทีส่ งเสริ มในการแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์
มี 2 ประการ คือ
1. องค์ประกอบทีเกียวกับผูแ้ ก้ปัญหา ซึ งเกียวกับความสามารถในการศึกษาปั ญหา
แล้วตีความปัญหา แปลงปัญหาจากรู ปแบบหนึงไปอีกรู ปแบบหนึง จัดลําดับขันตอนในการวิเคราะห์
หารู ปแบบและข้อสรุ ปในการแก้ปัญหา
2. องค์ประกอบทีเกียวกับสภาพแวดล้อม มีบรรยากาศทีเอือต่อการพัฒนาความ
สามารถในการแก้ปัญหา
ขันตอนการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
กระบวนการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ตามแนวคิดของ โพลยา (Polya, 1957: 16 -17)
ประกอบ ด้วย ขันตอนสําคัญ 4 ขันตอน คือ
ขันที 1 ขันทําความเข้าใจปั ญหา เป็ นการมองไปที ตัวปั ญหาพิจารณาว่าปั ญหา
ต้องการอะไร ปั ญหากําหนดอะไรให้บา้ งมีสาระความรู ้ใดทีเกียวข้องบ้าง คําตอบของปั ญหาจะอยูใ่ น
รู ปแบบใด การทําความเข้าใจปั ญหาอาจใช้วิธีการต่างๆ เช่น การเขียนรู ป เขียนแผนภูมิ การเขียน
สาระปัญหาด้วยถ้วยคําของตนเอง
ขันที 2 ขันวางแผนเป็ นขันตอนสําคัญทีจะต้องพิจารณาว่าจะแก้ปัญหาด้วยวิธีการ
ใด จะแก้ปัญหาอย่างไรปั ญหาทีให้มีความสัมพันธ์กบั ปั ญหาทีเคยมีประสบการณ์ในการแก้มาก่อน
หรื อไม่ ขันวางแผนเป็ นขันตอนทีผูแ้ ก้ปัญหาจะต้องพิจารณาความสัมพันธ์ของสิ งต่างๆ ในปั ญหา
ผสมผสานกับประสบการณ์ในการแก้ปัญหาทีผูแ้ ก้ปัญหามีอยู่ แล้วกําหนดแนวทางในการแก้ปัญหา
ขันที 3 ขันดําเนินการตามแผนเป็ นขันตอนทีต้องลงมือปฏิบตั ิตามแผนทีวางไว้โดย
เริ มตรวจสอบความเป็ นไปได้ของแผน เพิมเติมรายละเอียดต่างๆ ของแผนให้ชดั เจน แล้วลงมือ
ปฏิบตั ิจนกระทังสามารถหาคําตอบได้หรื อค้นพบวิธีการแก้ปัญหาใหม่
ขันที 4 ขันตรวจสอบเป็ นขันตอนทีผูแ้ ก้ปัญหาต้องมองย้อนกลับไปทีขันตอนต่างๆ
ทีผ่านมา เพือพิจารณาความถูกต้องของคําตอบและวิธีการแก้ปัญหาและมีวิธีการแก้ปัญหาอืนอีก
หรื อไม่
83

สถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (2544: 191-192) ได้สรุ ปขันตอนการ


แก้ปัญหาไว้ดงั นี
ในการเริ มต้นพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีทกั ษะในกระบวนการแก้ปัญหา ผูส้ อนต้องสร้าง
พืนฐานให้ผเู ้ รี ยนเกิดความคุน้ เคยกับกระบวนการแก้ปัญหาซึ งมีอยู่ 4 ขันตอนก่อน แล้วจึงฝึ กทักษะ
ในการแก้ ปัญหา กระบวนการแก้ปัญหา 4 ขันตอน มีดงั นี
ขันที 1 ทําความเข้าใจปั ญหา หรื อวิเคราะห์ปัญหา
ขันที 2 วางแผนการแก้ปัญหา
ขันที 3 ดําเนินการแก้ปัญหา
ขันที 4 ตรวจสอบ หรื อมองย้อนกลับ
ในกระบวนการแก้ปัญหา 4 ขันตอนนียังอาศัยทักษะอืนๆ ประกอบด้วย
ขันที 1 ขันทําความเข้าใจปั ญหา หรื อวิเคราะห์ปัญหา ต้องอาศัยทักษะที
สําคัญและจําเป็ นอีกหลายประการ เช่น ทักษะการอ่านโจทย์ปัญหา ทักษะการแปลความหมายทาง
ภาษาซึ งผูเ้ รี ยนควรแยกแยะได้ว่าโจทย์กาํ หนดอะไรให้และโจทย์ตอ้ งการให้หาอะไร หรื อพิสูจน์
ข้อความใด
ขันที 2 ขันวางแผนการแก้ปัญหาเป็ นขันตอนทีสําคัญทีสุ ด ต้องอาศัย
ทักษะใน การนําความรู้หลักการหรื อทฤษฎีทีเรี ยนรู้มาแล้ว ทักษะในการเลือกใช้ยุทธวิธีทีเหมาะสม
เช่น เลือกใช้การเขียนรู ป หรื อแผนภาพ ตาราง การสังเกตหาแบบรู ปหรื อความสัมพันธ์ เป็ นต้น ใน
บางปั ญหาอาจใช้ทกั ษะในการประมาณค่า คาดการณ์ หรื อคาดคะเนคําตอบประกอบด้วย ผูส้ อน
จะต้องหาวิธีฝึกวิเคราะห์แนวคิดในขันนีให้มาก
ขันที 3 ขันดําเนินการแก้ปัญหา ต้องอาศัยทักษะในการคิดคํานวณหรื อการ
ดํา เนินการทางคณิ ตศาสตร์ ทักษะในการพิสูจน์หรื อการอธิบายและแสดงเหตุผล
ขันที 4 ขันตรวจสอบ หรื อมองย้อนกลับ ต้องอาศัยทักษะในการคํานวณ
การประมาณคําตอบ การตรวจสอบผลลัพธ์ทีหาได้โดยอาศัยความรู้สึกเชิงจํานวน (Number Sense)
หรื อความรู้สึกเชิงปริ ภูมิ (Spatial Sense) ในการพิจารณาความสมเหตุสมผลของคําตอบทีสอดคล้อง
กับสถานการณ์หรื อปั ญหา
สํานักงานเลขาธิ การสภาการศึกษา (2550) ได้เสนอขันตอนการจัดการเรี ยนรู้แบบใช้ปัญหา
เป็ นฐาน ไว้ดงั นี
ขันที 1 กําหนดปั ญหา เป็ นขันทีผูส้ อนจัดสถานการณ์ต่าง ๆ ทีกระตุน้ ให้
ผูเ้ รี ยนเกิดความสนใจ และมองปัญหา สามารถกําหนดสิ งทีเป็ นปัญหาทีผูเ้ รี ยนอยากรู ้อยากเรี ยน และ
เกิดความสนใจทีจะค้นคว้าหาคําตอบ
84

ขันที 2 ทําความเข้าใจปั ญหา ผูเ้ รี ยนทําความเข้าใจเกี ยวกับปั ญหานัน ๆ


โดยการอธิบายสภาพปัญหา หรื อการหาข้อมูลเพิมเติมเพือทําให้ปัญหาเกิดความกระจ่างมากยิงขึน
ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า ผูเ้ รี ยนแต่ละคนกําหนดและวางแผนการ
ดําเนิน การศึกษาค้นคว้าเพือแก้ไขปัญหานันโดยใช้วธิ ี การทีหลากหลาย
ขันที 4 สรุ ปผลการแก้ไขปัญหาและความรู ้ทีได้ เป็ นขันทีผูเ้ รี ยนแต่ละคน
นําความรู้ ทีได้จากการศึกษาค้นคว้ามาแลกเปลี ยนเรี ยนรู ้ กนั ในกลุ่มย่อย ประมวลความรู ้ ทีได้ว่ามี
ความสอดคล้องเหมาะสมสําหรับการแก้ปัญหาทีเกิดขึนเพียงใด
ขันที 5 สรุ ปและประเมินค่าของคําตอบ ผูเ้ รี ยนแต่ละกลุ่มสรุ ปผลงานกลุ่ม
ของตนเอง และประเมินผลงานว่าข้อมูลทีศึ กษาค้นคว้ามีความเหมาะสมหรื อไม่เพียงใด โดยการ
ตรวจสอบความคิดภายในกลุ่มของตนเอง และสรุ ปเป็ นภาพรวมของกลุ่ม
ขันที 6 นําเสนอและประเมินผลงาน ผูเ้ รี ยนนําข้อมูลทีได้จากการแก้ปัญหา
มาจัดระบบ และนําเสนอเป็ นผลงานในรู ปแบบทีหลากหลาย ผูเ้ รี ยนทุกกลุ่มรวมทังผูท้ ีเกียวข้องกับ
ปัญหาร่ วมกันประเมินผลงาน
จากการศึกษาเอกสารข้ างต้ นสามารถสรุ ปขันตอนของการแก้ ปัญหาได้ ดังนี
ขันที 1 การเชือมโยงปัญหาและนําเสนอปัญหา เป็ นขันตอนทีเชือมโยงความรู ้เก่า
หรื อสร้างความรู้ใหม่มาใช้ในการแก้โจทย์ปัญหา
ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปั ญหา สามารถอธิ บายสิ งต่าง ๆ ทีเกียวข้องกับปั ญหาได้
เช่น โจทย์กาํ หนดอะไร และต้องการอะไร
ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า วางแผนการแก้ปัญหาด้วยวิธีการทีหลากหลาย
หรื ออาจมาจากความรู้/ประสบการณ์เดิม
ขันที 4 สั ง เคราะห์ ข ้อมูล และปฏิ บตั ิ สร้ า งทางเลื อกหรื อกํา หนดแนวทางการ
แก้ปัญหา อาจมีการสร้างสื อ วาดภาพประกอบหรื อจัดการกับสาระความรู ้ใหม่
ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ปัญหาและความรู ้ ทีได้ นําความรู้ทีได้จากการคิ ดแก้ปัญหา
ความคิด/วิธีการทีแปลกใหม่ สร้างมโนทัศน์คาํ อธิ บายของสถานการณ์ปัญหาด้วยตนเอง ประมวล
ความรู้ทีได้วา่ มีความสอดคล้องเหมาะสมสําหรับการแก้ปัญหาทีเกิดขึนเพียงใด และสรุ ปคําตอบ
85

ยุทธวิธีในการแก้ ปัญหาคณิตศาสตร์
ในด้านยุทธวิธีของการแก้ปัญหาได้มีผทู ้ ีเสนอยุทธวิธีในการแก้ปัญหาไว้ได้แก่
แคโรล กรี นส์และคณะ (ยุพิน พิพิธกุล, 2530: 134-135 , อ้างอิงจาก Carole Greens
and Others, 1972: 67; Problem Solving in The Mathematics Laboratory) ได้กล่าวถึงวิธีการในการ
แก้ปัญหาว่าอาจจะใช้กลวิธีหลายๆ อย่าง จึงจะแก้ปัญหาได้ กลวิธีต่างๆ มีดงั นี
1. วิธีการคาดคะเนหรื อเดาคําตอบไว้ล่วงหน้า ลองเดาดูเสี ยก่อนเพือจะได้
หาสิ งทีจะต้องอ้างถึงต่อไป
2. การทําให้เป็ นอย่างง่ายๆ มี 2 แบบ คือ
2.1 ทําโจทย์ให้เป็ นกรณี ทีง่ายๆ เท่าทีจะทําได้แล้วลองหารู ปและ
ความ สัมพันธ์เพือขยายไปเป็ นโจทย์เดิมทีซับซ้อนขึน
2.2 แยกแยะโจทย์เดิม วิเคราะห์ปัญหาย่อยๆ แล้วรวบรวมผลเข้าสู่
ปัญหาเดิม
3. การทดลอง ใช้การทดลองเพือแก้ปัญหา เช่น การโยนลูกเต๋ า การสร้าง
รู ป การวัดการคํานวณ ฯลฯ คอยสังเกตดูวา่ จะเปลียนแปลงอย่างไร เป็ นการทดลองเพือเก็บข้อมูล
พิจารณา
4. การสร้างแผนภาพ ช่วยทําให้ปัญหาเป็ นรู ปธรรมทีเห็นได้ชดั เจน ซึ งทํา
ให้มองเห็นแนวทางในการคิด ช่วยในการหาคําตอบได้
5. การทําตารางเก็บข้อมูลจากโจทย์ปัญหา การทําตารางจะช่วยให้มองเห็น
ข้อทีเหมือนกันหรื อแตกต่างกัน เห็นรู ปแบบได้ชดั เจน อันจะนําไปสู่ การสรุ ปการแก้ปัญหาได้
6. การเขียนกราฟ กราฟเป็ นแทนข้อมูลต่างๆช่วยให้เห็นความสัมพันธ์ของ
ข้อมูลเห็นแนวทางของสิ งทีน่าจะเป็ นไปได้
สถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (2544: 191-195) ได้เสนอ
ยุทธวิธีการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ไว้ดงั นี
การจัดการเรี ยนรู้เพือให้ผเู้ รี ยนมีทกั ษะ / กระบวนการแก้ปัญหาได้ ผูส้ อนต้องให้
โอกาสผูเ้ รี ยนได้ฝึกคิดด้วยตนเองให้มาก โดยจัดสถานการณ์หรื อปั ญหาหรื อเกมทีน่าสนใจ ท้าท้าย
ให้อยากคิด เริ มด้วยปั ญหาทีเหมาะกับศักยภาพของผูเ้ รี ยนแต่ละคนหรื อผูเ้ รี ยนแต่ละกลุ่ม โดยอาจ
เริ มด้วยปั ญหาทีผูเ้ รี ยนสามารถใช้ความรู ้ทีเรี ยนมาแล้วมาประยุกต์ก่อนต่อจากนันจึงเพิมสถานการณ์
หรื อปั ญหาทีแตกต่างจากทีเคยพบมา สําหรับผูเ้ รี ยนทีมีความสามารถสู งผูส้ อนการควรเพิมปั ญหาที
ยากซึ งต้องใช้ความรู ้ ทีซับซ้อนหรื อมากกว่าทีกําหนดไว้ในหลักสู ตรให้นกั เรี ยนได้ฝึกคิดด้วย การ
86

จัดการเรี ยนรู้ ทีใช้กระบวนการแก้ปัญหาดังกล่าวนี ผูส้ อนสามารถจัดกิจกรรมให้ผเู ้ รี ยนรู ้อย่างค่อย


เป็ นค่อยไป โดยกําหนดประเด็นคําถามนําให้คิดและหาคําตอบเป็ นลําดับเรื อยไป จนผูเ้ รี ยนหา
คําตอบได้หลังจากนันให้ปัญหาต่อๆ ไป ผูส้ อนจึงค่อยๆ ลดประเด็นคําถามลงไปจนสุ ดท้ายเมือเห็น
ว่าผูเ้ รี ยนมีทกั ษะในการแก้ปัญหาเพียงพอแล้วก็ไม่จาํ เป็ นต้องให้ประเด็นคําถามชีนําก็ได้ ในการจัด
ให้ผเู ้ รี ยนรู ้กระบวนการแก้ปัญหาตามลําดับขันตอนนัน เมือผูเ้ รี ยนเข้าใจกระบวนการแล้ว การ
พัฒนาให้มีทกั ษะ ผูส้ อนควรเน้นฝึ กการวิเคราะห์แนวคิดอย่างหลากหลายในขันวางแผนแก้ปัญหา
ให้มาก เพราะเป็ นขันตอนทีมีความสําคัญและยากสําหรับผูเ้ รี ยน
จากการศึกษาค้นคว้าข้างต้น ยุทธวิธีการแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์ นนจํ ั าเป็ นต้องให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกั
ขันตอนการแก้ปัญหา เลื อกวิธีการแก้ปัญหาให้เหมาะสมกับปั ญหา และในการสอนของครู นัน
จะต้องมีการกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนได้รู้จกั คิดอยู่เสมอ เพือให้ได้มาซึ งวิธีการทีเหมาะสมทีสุ ด ภายใต้
ยุทธวิธีการแก้ปัญหาของผูเ้ รี ยน

งานวิจัยทีเกียวข้ องกับความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
งานวิจัยในประเทศ
ณัฐธยาน์ สงคราม (2547: บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการพัฒนาความสามารถในการ
แก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 โดยใช้กิจกรรมประกอบเทคนิ คการ
ประเมินจากสภาพจริ ง ผลการวิจยั พบว่า ความสามารถในการแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยน
กลุ่มทีใช้กิจกรรมประกอบเทคนิคการประเมินจากสภาพจริ งหลังจากการใช้กิจกรรมสู งกว่าก่อนการ
ใช้กิจกรรม อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .01
นัฏกัญญา เจริ ญเกียรติบวร (2547: บทคัดย่อ) ได้ทาํ การวิจยั เพือศึกษาความสามารถ
ในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เรื องฟังก์ชนั ของนักเรี ยนระดับประกาศนี ยบัตรวิชาชี พชันปี ที 2
ก่อนการทดลองและหลังการทดลอง โดยใช้การเรี ยนแบบร่ วมมือ ผลการศึกษาพบว่า ความสามารถ
ในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนหลังจากใช้การเรี ยนแบบร่ วมมือ สู งกว่าก่อนใช้แบบ
การเรี ยนแบบร่ วมมือ อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .01
วลีพร เดชเดชา (2547: บทคัดย่อ) ได้ทาํ การวิจยั เพือการศึกษาความสามารถใน
การแก้ปัญหาของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 3 ทีได้รับการสอนซ่อมเสริ มภาพลักษณ์มโนทัศน์ทาง
เรขาคณิ ต ผลการวิจยั พบว่า ความสามารถในการแก้ปัญหาทางเรขาคณิ ตของนักเรี ยนชันมัธยมปี ที 3
ทีได้รับการสอนซ่ อมเสริ มภาพลักษณ์ มโนทัศน์ทางเรขาคณิ ต หลังการทดลองสู งกว่าก่ อนการ
ทดลอง อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .01
87

มาเลียม พินิจรอบ (2549: บทคัดย่อ) ได้ศึกษาวิจยั เกียวกับผลการจัดกิจกรรม


คณิ ตศาสตร์ ดว้ ยกระบวนการกลุ่มทีมีต่อทักษะการแก้ปัญหา เรื องอัตราส่ วนและร้อยละของนักเรี ยน
ชันมัธยมศึกษาปี ที 2 โรงเรี ยนพระหฤทัยคอนแวนต์ เขตคลองเตย กรุ งเทพมหานคร โดยใช้การจัด
กิ จกรรมคณิ ตศาสตร์ ดว้ ยกระบวนการกลุ่ม ผลการศึกษาพบว่า การจัดกิ จกรรมคณิ ตศาสตร์ ดว้ ย
กระบวนการกลุ่ม เรื องอัตราส่ วนและร้อยละของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 2 หลังการสอนมีทกั ษะ
การแก้ปัญหาสู งกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .01

งานวิจัยต่ างประเทศ
การ์ ดูโน (Garduno, 1998: 3053-A) ได้ศึกษาผลกระทบของการสอนวิธีการ
แก้ปัญหาโดยใช้เทคนิ คการเรี ยนรู้ร่วมกันทีมีต่อผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ เจตคติทีมี
ต่อวิชาคณิ ตศาสตร์ ความสามารถส่ วนตัวทางคณิ ตศาสตร์ และองค์ความรู ้ทงหมด ั งานวิจยั นีได้ใช้
แบบแผนการทดลองแบบสอบก่อนทดลองและหลังทดลอง มีกลุ่มควบคุมโดยเลือกนักเรี ยนอย่างสุ่ ม
เข้าเป็ นกลุ่มควบคุมกลุ่มหนึ งในระหว่างการเรี ยนพิเศษภาคฤดูร้อนนักเรี ยนทัง 3 กลุ่ม จะต้องเรี ยน
วิชาสถิติและความน่าจะเป็ นโดยวิธีแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์แบบเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง นักเรี ยนในกลุ่ม
ทดลองทัง 2 กลุ่มจะใช้วิธีการสอนด้วยเทคนิ คการเรี ยนรู ้ ร่วมกัน โดยกลุ่มทดลองแรกจะจัดให้
นักเรี ยนชาย-หญิงเรี ยนร่ วมกัน ส่ วนกลุ่มทดลองทีสองจะแยกนักเรี ยนชาย-หญิงออกจากกัน สําหรับ
กลุ่ มควบคุ มจะใช้วิธีสอนแบบเรี ยนรวมทังกลุ่มซึ งเน้นการแข่งขันและผลการเรี ยนของแต่ละคน
ผลสัม ฤทธิ ทางการเรี ย นสถิ ติ แ ละความน่ า จะเป็ น ความสามารถส่ ว นตัว และเจตคติ ที มี ต่ อวิ ช า
คณิ ตศาสตร์ จะได้รับการประเมินทังก่อนและหลังการทดลอง ข้อมูลทีได้รับจากการประเมินตัวแปร
ทัง 3 นี จะถูกวิเคราะห์โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่ วมและการวิเคราะห์ฟังก์ชนั แบบ
แยกส่ วน ส่ วนการประเมินองค์ความรู ้ ทงหมดของนั
ั กเรี ยนจะกระทําโดยกระบวนการวิเคราะห์
เนือหาวิชา แม้วา่ ในทางทฤษฎีจะเสนอแนะว่าเทคนิ คการเรี ยนรู ้ร่วมกัน (โดยเฉพาะในกลุ่มทีเป็ น
เพศเดียวกัน) จะเป็ นวิธีการสอนทีเป็ นประโยชน์มากสําหรับนักเรี ยนหญิง แต่ผลการวิจยั พบว่า ใน
ด้านผลสัมฤทธิทางการเรี ยนหรื อความสามารถทางการเรี ยนหรื อความสามารถส่ วนตัว ไม่พบความ
แตกต่าง อย่างมีนัยสําคัญทางสถิ ติ ในด้านเจตคติทีมีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์ พบความแตกต่างอย่างมี
นัยสําคัญทางสถิติ นักเรี ยนชาย-หญิงในกลุ่มควบคุมผูท้ ีมีคะแนนสู งสุ ด ได้แสดงให้เห็นว่ามีความ
เข้าใจในองค์ความรู ้ ทงหมดดี
ั กว่ากลุ่มทดลองทัง 2 กลุ่ม นักเรี ยนชาย-หญิ งในกลุ่ มควบ คุมทีมี
คะแนนตําได้แสดงให้เห็นว่ามีความเข้าใจใน องค์ความรู ้ทงหมดน้
ั อยกว่ากลุ่มทดลองทัง 2 กลุ่ม
88

ไมเคิลส์ (Michaels, 2000: Abstract) ได้ทาํ การวิจยั เรื องความสัมพันธ์ระหว่างการ


แสดงการแก้ปัญหา เพศ ความเชื อมันและรู ปแบบของการแก้ปัญหาในวิชาคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยน
เกรด 3 กลุ่มตัวอย่างเป็ นนักเรี ยนเกรด 3 จํานวน 109 คน เครื องมือทีใช้ในการวิจยั มี 3 แบบด้วยกัน
คือแบบวัดกระบวนการแก้ปัญหา แบบวัดความเชื อมัน และแบบวัดรู ปแบบของการให้เหตุผล
(พิจารณาจากความสามารถ ความพยายามและความช่วยเหลือจากผูอ้ ืน) ผลการวิจยั พบว่านักเรี ยน
ชายชอบแก้ปัญหาที ซับซ้อนมากกว่านักเรี ยนหญิ ง นักเรี ยนหญิงมีรูปแบบของการให้เหตุผลที
นําไปสู่ ความสํา เร็ จดี กว่านักเรี ยนชาย และไม่มี ความแตกต่างระหว่างในด้านความเชื อมันทาง
คณิ ตศาสตร์เข้าใจสามารถเชือมโยงในปัญหาหรื อทฤษฎีบท แล้วนําไปใช้ในการพิสูจน์ได้
เพอร์ไรน์ (Perrine, 2001: Online) ได้ศึกษาผลกระทบของการแก้ปัญหาพืนฐานใน
การสอนคณิ ตศาสตร์ ของการให้เหตุผลทีเกี ยวกับสัดส่ วนของครู การพัฒนาการให้เหตุผลในเรื อง
สัดส่ วนมีความสําคัญในการศึกษาวิชาคณิ ตศาสตร์ ซึ งครู ผูส้ อนต้องมีวิธีการสอนทีน่ าสนใจเพือ
ดึงดูดผูเ้ รี ยนทําให้เข้าใจในบทเรี ยนมากยิงขึน เพือเพิมประสิ ทธิ ภาพในการแก้ปัญหา ในการเรี ยน 1
ภาค จะต้องมีการเก็บคะแนน การเพิมขึนของคะแนนจะมีผลต่อการเรี ยนในปี ต่อไป มีผเู ้ ข้าร่ วมใน
การเรี ยนคณิ ตศาสตร์ ในระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 2 จํานวน 187 คน มีวิทยากรจํานวน 6 ท่าน หนึง
ในนันเป็ นครู ประจําชันซึ งสามารถแก้ปัญหาต่างๆ ในชันเรี ยนได้ ใน 187 คนนี เมือถึงภาคเรี ยนที 2
มีนกั เรี ยน 108 คน ประสบปั ญหาในการสอน ปลายภาค และในต้นภาคเรี ยนที 3 ผลรวมแสดง
ออกมาให้เห็นว่าการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล มีนยั สําคัญทางสถิติ การแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล เป็ น
ปั จจัยหลักในการศึกษาวิชาคณิ ตศาสตร์ ครู ตอ้ งมีวิธี การสอนทีแตกต่างไปจากการสอนแบบเดิ ม
ก่อนทีนักเรี ยนไม่เคยเจอมาก่อน
วิลเลียม (William, 2003: 185-187) ได้ทาํ การวิจยั เกียวกับการเขียนตามขันตอน
กระบวน การแก้ปัญหาว่าสามารถช่วยเสริ มการทํางานแก้ปัญหาได้ กลุ่มตัวอย่างเป็ นนักเรี ยนทีกําลัง
เริ มต้นเรี ยนพีชคณิ ตจํานวน 42 คน แบ่งเป็ นกลุ่มทดลอง 22 คน และกลุ่มควบคุม 20 คน กลุ่ม
ทดลองเรี ยนโดยใช้การเขียนตามขันตอนของกระบวนการแก้ปัญหา ส่ วนกลุ่มควบคุมเรี ยนโดยใช้
การแก้ปัญหาตามขันตอนแต่ไม่ตอ้ งฝึ กเขียน มีการทดสอบทังก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน ผลการวิจยั
พบว่า กลุ่มทดลองสามารถทํางานแก้ ปั ญหาได้ดีกว่ากลุ่มควบคุ ม และนักเรี ยนกลุ่มทดลองมีการ
เขี ย นตามขันตอนกระบวนการแก้ปั ญหาได้เร็ วกว่านักเรี ยนในกลุ่ม ควบคุ ม จากการสัมภาษณ์
นักเรี ยนในกลุ่มทดลองพบว่า นักเรี ยนจํานวน 75% มีความพอใจในกิจกรรมการเรี ยนและนักเรี ยน
จํานวน 80% บอกว่ากิจกรรมการเขียนจะช่วยให้เขาเป็ นนักแก้ ปัญหาทีดีขึนได้
89

จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีทีเกียวข้องกับทักษะการแก้ปัญหาดังกล่าวพบว่าส่ วนใหญ่ เป็ น


ลักษณะการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เพือส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกั คิดทีจะแก้ปัญหานันๆ ซึ งครู จะต้อง
จัดกิ จกรรมการเรี ยนรู้ ทีส่ งเสริ มนักเรี ยนให้ได้ฝึกการแก้ปัญหาอย่างสมําเสมอ โดยใช้เทคนิ คการ
เรี ย นรู้ แ ละวิธี ก ารสอนที มี ค วามหลากหลาย ซึ งจะส่ ง ผลต่ อ ความสามารถในการแก้ปั ญ หาทาง
คณิ ตศาสตร์

สรุ ป

จากการศึกษาวรรณกรรมทีเกียวข้องในการทําการวิจยั ครังนี พบว่า วิชาคณิ ตศาสตร์ เป็ น


วิชาทีคนจํานวนมากในโลกใช้ในการคํานวณ แก้ปัญหาต่างๆ แลกเปลียนความรู ้ ความคิด ตลอดจน
ใช้ในการแสวง หาเทคโนโลยีต่างๆ เพือนํามาพัฒนาประเทศของตน จึงจําเป็ นอย่างยิงทีจะต้องมี
ทักษะการแก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ควบคู่กนั ไป เพือพัฒนาศักยภาพการคิดทีหลากหลาย
แปลกใหม่ ส่ งเสริ มให้มีบุคลากรมีความสามารถในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์
วิชาคณิ ตศาสตร์ จึงจัดเป็ นหนึ งในสาระการเรี ยนรู้ทีผูเ้ รี ยนจําเป็ นต้องเรี ยน ตามหลักสู ตรแกนกลาง
การศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช อีกทังในการจัดการเรี ยนรู ้ ยังมี จุดมุ่งหมาย เพือต้องการให้
ผูเ้ รี ยนมีความรู ้ มีคุณธรรมจริ ยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
ซื อสัตย์ สุ จริ ต มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมันในการทํางาน รักความเป็ นไทยและมีจิต
สาธารณะ นอกจากนี จะต้องมีความรู้ ความสามารถในการสื อสาร ความสามารถในการคิด ความ
สามารถในการแก้ ปัญหา ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี และความสามารถในการใช้ทกั ษะใน
การดําเนิ นชี วิต ดังนันครู ผสู้ อนจึงจําเป็ นต้องหาวิธีการ เพือพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีทกั ษะการคิดตาม
เป้ าหมายของหลัก สู ต ร โดยคิดค้นวิธีการสอนทีเหมาะสมกับวัยและความสามารถของผูเ้ รี ยนหรื อ
พัฒนานวัตกรรมต่างๆ มาใช้ฝึกทักษะ
ความสามารถในการแก้ปั ญหา จึ งเป็ นอี กทัก ษะหนึ งทีมี ความสําคัญ ตามสมรรถนะของ
หลักสู ตรการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช และมีบทบาทสําคัญในการดํารงชี วิต เป็ นทักษะที
ซับซ้อน ควรฝึ กบ่อยๆ เพือให้เกิดความชํานาญ จึงจําเป็ นต้องมีการนวัตกรรมทีจะนํามาใช้ในการ
แก้ปัญหา ซึ งก็คือแบบฝึ กทักษะ โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน ดังนันในการวิจยั ครังนี ผูว้ ิจยั
จึงพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ น
ฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับชันมัธยมศึกษาปี ที 1
90

บทที่ 3
วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยเรื่อง การพัฒนาแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใชการ


จัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 1 เปนลักษณะของการวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D) ใชแบบ
แผนการวิจัยแบบกลุมเดียว ทดสอบกอนและหลัง (The One Group Pretest – Posttest Design) โดย
ใชนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2557 โรงเรียนไทรโยคมณีกาญจนวิทยา
เปนหนวยการวิเคราะห ผูวิจัยไดกําหนดรายละเอียดวิธีดําเนินการวิจัยมี 4 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 วิจัย (R1 : Research) : การศึกษาขอมูลพื้นฐานและความตองการ
ขั้นตอนที่ 2 พัฒนา (D1 : Development) : การพัฒนาแบบฝกทักษะ
ขั้นตอนที่ 3 วิจัย (R2 : Research) : การทดลองใชแบบฝกทักษะ
ขั้นตอนที่ 4 พัฒนา (D2 : Development) : ผลการประเมินและปรับปรุงแบบฝกทักษะ
ขั้นตอนที่ 1 วิจัย (R1 : Research) : การศึกษาขอมูลพื้นฐานและความตองการใน
การพัฒนาแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหา
เปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา
ขั้นตอนที่ 2 พัฒนา (D1 : Development) : การพัฒนาแบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตร เรื่อง
การประยุก ต 1 โดยใช การจัดการเรีย นรูแบบป ญหาเปนฐาน เพื่อสง เสริม ความสามารถในการ
แกปญหา
ขั้นตอนที่ 3 วิจัย (R2 : Research) : การทดลองใชแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร
เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการ
แกปญหา
ขั้นตอนที่ 4 พัฒนา (D2 : Development) : ผลการประเมินและปรับปรุงแบบฝกทักษะ
วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความ
สามารถในการแกปญหา

ซึ่งผูวิจัยไดกําหนดเปนกรอบดําเนินการวิจัย ดังแผนภูมิที่ 4

90
ขั้นตอนที่ 1 (วิจัย) ขั้นตอนที่ 2 (พัฒนา) ขั้นตอนที่ 3 (วิจัย) ขั้นตอนที่ 4 (พัฒนา)
ศึกษาขอมูลพื้นฐานและความ ผลการประเมินและปรับปรุงแบบฝกทักษะ
การพัฒนาแบบฝกทักษะ การทดลองใชแบบฝกทักษะ
1. วิ เ คราะห ห ลั ก สู ต รแกนกลางการ พัฒนาแบบฝกทักษะฉบับราง 1. ทดสอบความสามารถในการ 1. ประเมิ น ความสามารถในการ
ศึกษาขั้นพื้ นฐาน พุ ทธศั กราช 2551 และ ประกอบดวย แกปญหา กอนใชแบบฝกทักษะ แกปญหา
หลั ก สู ต รสถานศึ ก ษาโรงเรี ย นไทรโยค 1. ชื่อเรื่อง 2. นํ า แบบฝ ก ทักษะไปทดลอง 2. ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มี
มณี ก าญจน วิ ท ยา กลุ ม สาระการเรี ย นรู 2. คํานํา ใช กั บ นั ก เรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ ตอแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่อง
คณิตศาสตร 3. คําชี้แจง 1/1 การประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรู
4. สารบัญ
2. ศึกษา แนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่ 3. ทดสอบความสามารถในการ แบบป ญ หาเป น ฐาน เพื่ อ ส ง เสริ ม
5. วัตถุประสงค (มาตรฐาน และผลการ
เกี่ยวของ กับการพัฒนาแบบฝกทักษะและ เรียนรู) แก ป ญ หา หลั ง การใช แ บบฝ ก ความสามารถในการแกปญหา สําหรับ
การจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน 6. แบบทดสอบกอนเรียน ทักษะ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1/1
3. ศึกษาความสามารถในการแกปญหา 7. แบบฝกทักษะ
(กอนเรียน) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1/1 8. แบบทดสอบหลังเรียน
4. ศึกษาขอมูลพื้นฐาน ความตองการ
ตรวจสอบคุณภาพแบบฝกทักษะดาน ไมผาน
จากนั ก เรี ย น เกี่ ย วกั บ องค ป ระกอบของ ปรับปรุง ผลการประเมิน
ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาโดยผูเชี่ยวชาญ
แบบฝ ก ทั ก ษะ เนื้ อ หา การวั ด และการ
และหาคาดัชนีความสอดคลอง
ประเมินของแบบฝกทักษะ ผาน
5. ศึกษาขอคิดเห็นหรือขอเสนอแนะ
ปรับปรุงแกไข แบบฝกทักษะฉบับสมบูรณ
ของครู กลุ ม สาระการเรี ย นรู ค ณิ ต ศาสตร
เกี่ ย วกั บ องค ป ระกอบของแบบฝ กทั กษะ หาประสิทธิภาพ E1/ E2
เนื้ อ หา การวั ด และประเมิ น ผลแบบฝ ก
-แบบรายบุคคล (Individual Tryout)
ทักษะ -แบบกลุมเล็ก (Small Group Tryout)
-แบบภาคสนาม (Filed Tryout)
104

แผนภูมทิ ี่ 4 กรอบดําเนินการวิจัย
91
92

ขั้นตอนที่ 1 วิจัย (R1 : Research) : การศึกษาขอมูลพื้นฐานและความตองการในการพัฒนา


แบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใช
การจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความ
สามารถในการแกปญหา
วัตถุประสงค
เพื่อศึกษาขอมูลพื้นฐานและความตองการในการพัฒนาแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่อง
การประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา
สําหรับนัก เรีย นชั้นมัธยมศึก ษาปที่ 1 โดยการวิเคราะหหลักสูตรแกนกลางการศึ กษาขั้นพื้ นฐาน
พุท ธศัก ราช 2551 และหลัก สูตรสถานศึ ก ษา กลุม สาระการเรีย นรูค ณิตศาสตร โรงเรีย นไทรโยค
มณีกาญจนวิทยา ศึกษา แนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวของ กับการพัฒนาแบบฝกทักษะและการ
จัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน ศึกษาความสามารถในการแกปญหา (กอนเรียน) ศึกษาความตองการ
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1/1 จํานวน 35 คน เกี่ยวกับ 1) องคประกอบ 2) เนื้อหา และ3) การวัด
และประเมินผลของแบบฝกทักษะ และศึกษาขอคิดเห็นหรือขอเสนอแนะของครูกลุมสาระการเรียนรู
คณิตศาสตร เกี่ยวกับองคประกอบของแบบฝกทักษะ เนื้อหา การวัดและประเมินผลแบบฝกทักษะ
วิธีการดําเนินการ ผูวิจัยดําเนินการดังนี้
1. วิเคราะหหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุ ท ธศั ก ราช2551 และหลั ก
สู ต รสถานศึกษาโรงเรียนไทรโยคมณีกาญจนวิทยา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เพื่อวิเคราะหใน
สวนของหลักการ จุดหมาย สาระการเรียนรู มาตรฐานและผลการเรียนรู คุณภาพผูเรียน กลุมสาระการ
เรียนรูคณิตศาสตร วิสัยทัศน และโครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา โดยใชการวิเคราะหเนื้อหา (Content
Analysis) และนําเสนอในรูปแบบพรรณนาความ
2. ศึกษา แนวคิด ทฤษฎี งานวิจัย ที่เกี่ยวของ เพื่อนําขอมูลไปใชในการสรางและ
พัฒนาแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน
เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา ซึ่งวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) และนําเสนอใน
รูปแบบพรรณนาความ
3. ศึกษาความสามารถในการแกปญหา (กอนเรียน) ของนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาป
ที่ 1/1 จํานวน 35 คน เพื่อตรวจสอบความสามารถในการแกปญหาเบื้องตน มาพัฒนาแบบฝกทักษะได
ตรงตามความตองการและตรงตามเนื้อหา โดยใชแบบทดสอบกอนเรียน นําเสนอขอมูลทางสถิติ ดวย
คาเฉลี่ย ( x ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
93

4. ศึกษาขอมูลพื้นฐานและความตองการในการพัฒนาแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร
เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการ
แกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 จํานวน 1 หองเรียน จํานวน 35 คน โดยการสอบถาม
เกี่ยวกับ 1) องคประกอบของแบบฝกทักษะ 2) เนื้อหา และ3) การวัดและประเมินผลของแบบฝกทักษะ
นําเสนอขอ มูลทางสถิติ ดวยคาเฉลี่ย ( x ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะหเนื้อหา
(Content Analysis)
5. ศึ ก ษาข อ คิ ด เห็ น และข อ เสนอแนะเกี่ ย วกั บ การพั ฒ นาแบบฝ ก ทั ก ษะ วิ ช า
คณิ ต ศาสตร เรื่ อ งการประยุ ก ต 1 โดยใช ก ารจั ด การเรี ย นรู แ บบป ญ หาเป น ฐาน เพื่ อ ส ง เสริ ม
ความสามารถในการแกปญหา จากครูกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร จํานวน 5 ทาน ในโรงเรียน
ไทรโยคมณีกาญจนวิทยา โดยการสอบถามเกี่ยวกับ 1) องคประกอบของแบบฝกทักษะ 2) เนื้อหา และ
3) การวัดและประเมินผลของแบบฝกทักษะ เก็บขอมูลโดยการสัมภาษณ ใชวิเคราะห เนื้อหา (Content
Analysis) และนําเสนอในรูปแบบพรรณนาความ

ในขั้นตอนที่ 1 วิจัย (R1 : Research) : การศึกษาขอมูลพื้นฐานและความตองการในการพัฒนา


แบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อ
ส ง เสริ ม ความสามารถในการแก ป ญ หา มี เครื่ องมื อที่ ใ ช ในการวิ จั ย ประกอบด วย แบบสอบถาม
(Questionnaire) และแบบสัมภาษณ (Interview Form) มีรายละเอียดดังนี้
1. แบบสอบถาม (Questionnaire) จํานวน 1 ฉบับ เปนแบบสอบถามที่ศึกษาขอมูล
พื้นฐานและความตองการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เกี่ยวกับ 1) องคประกอบของแบบฝกทักษะ
2) เนื้อหา และ3) การวัดและประเมินผล ของแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใช
การจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 1 โดยแบงเปน 2 ตอน ดังรายละเอียดตอไปนี้
ตอนที่ 1 สอบถามขอมูลพื้นฐานและความตองการเกี่ยวกับ 1) องคประกอบของแบบ
ฝกทักษะ 2) เนื้อหา และ3) การวัดและประเมินผล
ตอนที่ 2 ขอเสนอแนะ มีลักษณะเปนคําถามปลายเปด
94

การสรางและตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถาม ผูวิจัยดําเนินการดังตอไปนี้
ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาแนวคิด หลักการ ทฤษฎี วิจัยที่เกี่ยวของ ขอมูลพื้นฐาน และความ
ตองการของการพัฒนาแบบฝกทักษะ
ขั้นตอนที่ 2 นําขอมูลที่ไดในการศึกษามาประมวล เพื่อกําหนดเปนโครงสรางของ
แบบสอบถามเกี่ยวกับขอบขายของ องคประกอบ เนื้อหาแบบฝกทักษะ การวัดและประเมินผลแบบฝก
ทักษะ กําหนดเปนคําถามแบบตรวจสอบรายการ (Check List ) และแบบคําถามปลายเปด โดยขอ
คําแนะนําจากอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ
ขั้นตอนที่ 3 สรา งแบบสอบถามตามขอบเขตเนื้อ หาในพฤติก รรมบ ง ชี้ ที่ กํ า หนด
จากนั้นนําแบบสอบถามที่สรางเสร็จเสนออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธตรวจสอบ แลวนําขอคําถามมา
ปรับปรุงแกไข ใหมีความกระชับและชัดเจน
ขั้นตอนที่ 4 นําแบบสอบถามเสนอผูเชี่ยวชาญ ดานหลักสูตรและวิธีการสอน ดา น
จิตวิทยาและการเรียนรู ดานเนื้อหา ดานสื่อและนวัตกรรมและดานการวัดและประเมินผล จํานวน 5
ทาน เพื่อตรวจสอบคุณภาพ ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยการนําแบบประเมินคาดัชนีความสอดคลอง
ไปใหผูเชี่ยวชาญแตละทานพิจารณาลงความเห็นและใหคะแนนโดยมีเกณฑการใหคะแนนดังนี้
+1 แนใจวาขอคําถามในแบบสอบถามมีความสอดคลองกับจุดประสงค
0 ไมแนใจวาขอคําถามในแบบสอบถามมีความสอดคลองกับจุดประสงค
-1 แนใจวาขอคําถามในแบบสอบถามไมมีความสอดคลองกับจุดประสงค
แลวนําคะแนนที่ไดจากผูเชี่ยวชาญแตละคนมาคํานวณหาคาดัชนีความสอดคลอง (Index
of Item Objective Congruence : IOC) จากสูตร IOC =
IOC หมายถึง ดัชนีความสอดคลองของขอคําถามในแบบสอบถาม
∑R หมายถึง ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญทั้งหมด
N หมายถึง จํานวนผูเชี่ยวชาญ
คาดัชนี (Index of Item Objective Congruence : IOC) หากคาดัชนี IOC ที่คํานวณ
ได มากกวา หรือเทากับ 0.50 แสดงวาขอคําถามในแบบสอบถามมีความเหมาะสมหรือสอดคลองกับ
จุดประสงคหรือกับลักษณะพฤติกรรม (มาเรียม นิลพันธุ 2555 : 177)
คาดัชนี (Index of Item Objective Congruence : IOC) ไดคาที่ผูเชี่ยวชาญตรวจสอบ
มีคาเทากับ 1.00 แสดงวาขอคําถามในแบบสอบถามมีความเหมาะสมหรือสอดคลองกับจุดประสงค
หรือกับลักษณะพฤติกรรม
95

ขั้นตอนที่ 5 นําแบบสอบถามมาปรับปรุงแกไขในประเด็น การตัดบางขอคําถามที่


ซ้ําซอนกัน โดยผูเชี่ยวชาญเสนอแนะ เพื่อความสมบูรณของเครื่องมือที่ใชในการวิจัย
ขั้นตอนที่ 6 นําแบบสอบถามไปใชจริง กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1/1
โดยสรุป ขั้นตอนการสรางแบบสอบถามไดดังแผนภูมิที่ 5 ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาแนวคิด หลักการ ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการพัฒนาแบบฝกทักษะ

ขั้นตอนที่ 2 นําขอมูลที่ไดมากําหนดเปนโครงสรางของแบบสอบถาม

สรางแบบสอบถาม แลวนําเสนออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธตรวจสอบ
ขั้นตอนที่ 3
เพื่อใหขอเสนอแนะแลวนํามาปรับปรุงแกไข

ขั้นตอนที่ 4 นําแบบสอบถามเสนอผูเชี่ยวชาญ เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา


โดยหาคา IOC (Index of Item Objective Congruence )

ขั้นตอนที่ 5 นําแบบสอบถามที่ปรับปรุงแกไขในประเด็นที่ผูเชี่ยวชาญเสนอแนะ

ขั้นตอนที่ 6 นําแบบสอบถามไปใชจริง กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1/1

แผนภูมิที่ 5 แสดงขั้นตอนการสรางแบบสอบถาม
การเก็บรวบรวมขอมูล
การเก็บรวบรวมขอมูลจากการสอบถาม
ศึ ก ษาข อ มู ล พื้ น ฐานและความต อ งการเกี่ ย วกั บ การพั ฒ นาแบบฝ ก ทั ก ษะวิ ช า
คณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบป ญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความ
สามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ผูวิจัยไดนําแบบสอบถามไปสอบถาม
เกี่ยวกับ 1) องคประกอบของแบบฝกทักษะ 2) เนื้อหา และ3) การวัดและประเมินผลของแบบฝกทักษะ
กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1/1 จํา นวน 35 คน โดยกํ าหนดขั้นตอนการเก็ บรวบรวมขอมู ลจาก
แบบสอบถาม ดังนี้
96

1. ทําหนังสือ ถึงผูอํานวยการโรงเรียนไทรโยคมณีกาญจนวิทยา เพื่อ ขออนุญาตให


นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1/1 จํานวน 35 คน ตอบแบบสอบถาม เกี่ยวกับ1) องคประกอบของแบบ
ฝกทักษะ 2) เนื้อหา และ3) การวัดและประเมินผลของแบบฝกทักษะ
2. ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลโดยผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเองกับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1/1 จํานวน 35 คน โรงเรียนไทรโยคมณีกาญจนวิทยา ภาคเรียนที่ 1 ในปการศึกษา
2557 โดยการสรางบรรยากาศที่เปนกันเอง ชี้แจงวัตถุประสงคในการเก็บรวบรวมขอมูลครั้งนี้
3. ผูวิจัยแจกแบบสอบถามให นักเรียน คนละฉบับและอธิบายคําถาม เพื่อทําความ
เขาใจที่ตรงในการตอบแบบสอบถาม
4. รวบรวมแบบสอบถามที่ไดกลับคืนมา เพื่อดําเนินการวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม
ขอมูลพื้นฐานและความตองการในการพัฒนาแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่อง
การประยุ ก ต 1 โดยใช ก ารจั ด การเรี ย นรู แ บบป ญ หาเป น ฐาน เพื่ อ ส ง เสริ ม ความสามารถในการ
แกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 จํานวน 1 ฉบับ โดยตอนที่ 1 สอบถามขอมูลพื้นฐาน
และความตองการ เกี่ยวกับ 1) องคประกอบของแบบฝกทักษะ 2) เนื้อหา และ3) การวัดและประเมินผล
ของแบบฝกทักษะ นําเสนอขอมูลทางสถิติ ดวยคาเฉลี่ย ( x ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการ
วิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) และขอเสนอแนะในตอนที่ 2 ดวยการวิเคราะหเนื้อหา (Content
Analysis)

2. แบบสัมภาษณ (Interview Form) แบบสัมภาษณชนิดมีโครงสราง (Structured


Interview ) จํานวน 1 ฉบับ เปนการถามขอคิดเห็นและขอเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนาแบบฝกทักษะ
วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความ
สามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ของครูกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
จํานวน 5 ทาน ในโรงเรียนไทรโยคมณีกาญจนวิทยา โดยแบงเปน 2 ตอน ดังรายละเอียดตอไปนี้
ตอนที่ 1 สถานภาพและขอมูลทั่วไป ประกอบด ว ย ชื่อ –สกุล เพศ อายุ ระดับ
การศึกษาสูงสุด วุฒิการศึกษา มหาวิทยาลัย และประสบการณทํางาน จํานวน 7 ขอ
ตอนที่ 2 ประเด็นสัมภาษณ ความคิดเห็นเกี่ ยวกั บ การพั ฒนาแบบฝกทั กษะ วิช า
คณิ ต ศาสตร เรื่ อ งการประยุ ก ต 1 โดยใช ก ารจั ด การเรี ย นรู แ บบป ญ หาเป น ฐาน เพื่ อ ส ง เสริ ม
ความสามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 จํานวน 5 ขอ
97

การสรางและตรวจสอบคุณภาพแบบสัมภาษณ ผูวิจัยดําเนินการดังตอไปนี้
ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาแนวคิด หลักการ ทฤษฎี จากหนังสือ และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการ
พัฒนาแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน
เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
ขั้นตอนที่ 2 นําขอมูลที่ไดจากการศึกษามาประมวล เพื่อกําหนดวัต ถุประสงคของการ
สัมภาษณ
ขั้ นตอนที่ 3 สรา งประเด็ นการสัม ภาษณต ามขอบเขตของเนื้อ หา จากการกํ า หนด
วัตถุประสงค จากนั้นนําประเด็นการสัมภาษณที่สรางเสร็จ สรางเปนแบบสัมภาษณ เสนออาจารยที่
ปรึกษาวิทยานิพนธตรวจสอบ ใหขอเสนอแนะแลวนํามาปรับปรุงแกไข
ขั้นตอนที่ 4 นําแบบการสัมภาษณเสนอผูเชี่ยวชาญ จํานวน 5 ทาน เพื่อตรวจสอบความ
เที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ภาษาที่ใช และการประเมิ นผลที่ถูกตองโดยการนําแบบ
ประเมินคาดัชนีความสอดคลอง ไปใหผูเชี่ยวชาญแตละทานพิจารณาลงความเห็นและใหคะแนน แลว
นําคะแนนที่ไดจากผูเชี่ยวชาญแตละคน คํานวณหาคาดัชนีความสอดคลอง (Index of Item Objective
Congruence : IOC)
ซึ่งหากคาดัชนี IOC ที่คํานวณได มากกวา หรือเทากับ 0.50 แสดงวาขอคําถามใน
แบบสัมภาษณ มีความเหมาะสมหรือสอดคลองกับจุดประสงคหรือกับลักษณะพฤติกรรม (มาเรียม
นิลพันธุ 2555 : 177)
คาดัชนี (Index of Item Objective Congruence :IOC) ไดคาที่ผูเชี่ยวชาญตรวจสอบมีคา
เทากับ 1.00 แสดงวาขอคําถามในแบบสัมภาษณ มีความเหมาะสมหรือสอดคลองกับจุดประสงคหรือ
กับลักษณะพฤติกรรม
ขั้นตอนที่ 5 นําแบบสัมภาษณที่ไดรับขอเสนอแนะ คือการถามใหครบทุกประเด็นของ
การพั ฒนาแบบฝก ทัก ษะ เพื่ อ ที่จ ะไดข อมู ล ที่ เป น ประโยชน มาปรั บปรุง แก ไ ขในข อ คํ า ถามแล ว
ใหอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธและผูเชี่ยวชาญตรวจสอบอีกครั้ง เพื่อความสมบูรณของเครื่องมือที่ใช
ในการวิจัยกอนนําไปใช
98

จากขั้นตอนดังกลาว สามารถสรุปการดําเนินการ ดังแผนภูมิที่ 6


ศึกษาแนวคิด หลักการ ทฤษฎีจากหนังสือและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับ
ขั้นตอนที่ 1
การพัฒนาแบบฝกทักษะโดยการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน

ขั้นตอนที่ 2 นําขอมูลที่ไดมากําหนดเปนวัตถุประสงคของการสัมภาษณ

ขั้นตอนที่ 3 สรางแบบสัมภาษณ แลวนําเสนออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธตรวจสอบ

ขั้นตอนที่ 4 นําแบบสัมภาษณเสนอผูเชี่ยวชาญ เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา

ขั้นตอนที่ 5 นําแบบสัมภาษณที่ผูเชี่ยวชาญเสนอแนะไปปรับปรุงแกไข

แผนภูมิที่ 6 แสดงขั้นตอนการสรางแบบสัมภาษณ

การเก็บรวบรวมขอมูล
การเก็บรวบรวมขอมูลจากการสัมภาษณ
ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนาแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่อง
การประยุกต 1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา
จากครูกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร จํานวน 5 ทาน ในโรงเรียนไทรโยคมณีกาญจนวิทยา เก็บ
ขอมูลโดยการสัมภาษณ ใชวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) และนําเสนอในรูปแบบพรรณนา
ความ มีขั้นตอนดังตอไปนี้
1. ผูวิจัยดําเนินการขออนุญาตผูบริหารสถานศึกษา เพื่อเก็บขอมูลจากครูกลุ มสาระ
การเรียนรูค ณิตศาสตร
2. นัดหมายครูกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร แตละทาน เพื่อระบุวัน เวลาและ
สถานที่ เพื่อดําเนินการสัมภาษณ
3. ผูวิจัยทําหนาที่เปนผูดําเนินการสัมภาษณดวยตนเอง โดยขออนุญาตทําการบันทึก
ขอมูลในการสัมภาษณ แลวนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหโดยใชคารอยละ (%) และการวิเคราะหเนื้อหา
(Content Analysis) แลวเขียนรายงาน
99

การวิเคราะหขอมูลจากแบบสัมภาษณ
ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนาแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่อง
การประยุกต 1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา
จํานวน 1 ฉบับ โดยการวิเคราะหสถานภาพและขอมูลทั่วไปในตอนที่ 1 ใชสถิติคารอยละ จากนั้น
นําเสนอในรูปตารางประกอบคําบรรยาย สวนในตอนที่ 2 โดยการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis)
และนําเสนอแบบพรรณนาความเรียง และวิเคราะหแบบสัม ภาษณแบบมีโครงสรางเกี่ ยวกั บ 1)
องคประกอบของแบบฝกทักษะ 2) เนื้อหา และ3) การวัดและประเมินผลของแบบฝกทักษะ
ขั้นตอนที่ 1 วิจัย (R1 : Research) : การศึกษาขอมูลพื้นฐานและความตองการใน
การพัฒนาแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปน
ฐาน เพื่ อ ส ง เสริ ม ความสามารถในการแก ป ญ หา สํ า หรั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 1 ผู วิ จั ย ได ส รุ ป
วิธีดําเนินการวิจัย ดังตารางที่ 8
ตารางที่ 8 สรุปวิธีการดําเนินการตามขั้นตอนที่ 1 การวิจัย (R1: Research) การศึกษาขอมูลพื้นฐาน
และความตองการในการพัฒนาแบบฝกทักษะ
วัตถุประสงคการวิจัย วิธีการ กลุมเปาหมาย/ เอกสาร เครื่องมือ การวิเคราะหขอมูล
วิ เ คราะห ห ลั ก สู ต รแกน วิเคราะห- หลั ก สู ต รแกนกลาง แบบ วิเคราะหเนื้อหา
กลางการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตร การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน วิเคราะห (Content Analysis)
พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 5 1 แ ล ะ พุทธศักราช 2551 เอกสาร แลวนําเสนอแบบ
หลั ก สู ต รสถานศึ ก ษา กลุ ม -หลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตร พรรณนาความ
สาระการเรี ย นรู ค ณิ ต ศาสตร โรงเรียนไทรโยค
โรงเรี ย น ไทรโยคมณีก าญจน มณีกาญจนวิทยา
วิทยา กลุมสาระการเรียนรู
คณิตศาสตร
เพื่ อศึ ก ษาแนวคิด ทฤษฎี ศึกษา - เอกสารงานวิ จั ย ที่ แบบ วิเคราะหเนื้อหา
งานวิ จัย ที่ เกี่ ย วกั บ การพั ฒนา เอกสาร เกี่ยวกั บแบบฝกทักษะ สรุป (Content Analysis)
แบบฝกทักษะ และการจัดการ และการจั ด การเรี ย นรู งานวิจัย นําเสนอแบบ
เรียนรูแบบปญหาเปนฐาน แบบปญหาเปนฐาน พรรณนาความ
100

ตารางที่ 8 สรุปวิธีการดําเนินการตามขั้นตอนที่ 1 การวิจัย (R1: Research) การศึกษาขอมูลพื้นฐาน


และความตองการในการพัฒนาแบบฝกทักษะ (ตอ)

กลุมเปาหมาย/
วัตถุประสงคการวิจัย วิธีการ เครื่องมือ การวิเคราะหขอมูล
เอกสาร
เพื่ อ ศึ ก ษาความสามารถ วิเคราะห นักเรียนชั้น แบบทดสอบ คาเฉลี่ย ( x ) และ
ในการแกปญหา (กอนเรียน) คะแนน มัธยมศึกษาปที่ 1/1 วัดความ สวนเบี่ยงเบน
จํานวน 35 คน สามารถใน มาตรฐาน(S.D.)
การแกปญหา
เพื่อศึกษาขอมูลพื้นฐาน สอบถาม - นักเรียน แบบสอบถาม คารอยละ(%)
และความตองการเกี่ยวกับ 1) ความ มัธยมศึกษา วิเคราะหเนื้อหา
องคประกอบของแบบฝก ตองการ ปที่ 1/1 จํานวน 35 (Content Analysis)
ทักษะ 2) เนื้อหา และ3) การ คน คาเฉลี่ย ( x ) และ
วัดและประเมินผลของแบบ สวนเบี่ยงเบน
ฝกทักษะ มาตรฐาน (S.D.)
เพื่อศึกษาขอคิดเห็นและ การ ครูกลุมสาระการ แบบ คารอยละ(%) และ
ขอเสนอแนะเกี่ยวกับ 1) องค สัมภาษณ เรียนรูคณิตศาสตร สัมภาษณ การวิเคราะห
ประกอบ 2) เนื้ อ หา และ3) จํานวน 5 ทาน เนื้อหา
การวั ด และประเมิ น ผลของ (Content Analysis)
แบบฝกทักษะ
101

ขั้นตอนที่ 2 พัฒนา (D1 : Development) : การพัฒนาแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร


เรื่องการประยุกต 1โดยใชการจัดการเรียนรู
แบบปญหาเปนปญหาฐาน เพื่อสงเสริมความ
สามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 1
วัตถุประสงค

เพื่อพัฒนาแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบ


ปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ใหมี
ประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80
วิธีการดําเนินการ
นําขอมูลที่ไดจากการสังเคราะหขั้นตอนที่ 1 คือ ขั้นศึกษาขอมูลพื้นฐานและความตองการ
พัฒนาแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน
เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
ในขั้นตอนที่ 2 พัฒนา (D1 : Development) : การพัฒนาแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร
เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแก
ป ญ หา มี เครื่ องมื อที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย ประกอบด วย 1) แบบฝ ก ทั ก ษะ 2) แผนการจั ดการเรี ยนรู 3)
แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก ปญหา และ 4) แบบสอบถามความคิดเห็นตอการใชแบบฝก
ทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริม
ความสามารถในการแกปญหา มีรายละเอียดดังนี้
1. แบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหา
เปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา จํานวน 4 เลม ไดแก 1) เรขาคณิต สะกิดใจ
2) จํานวนนับ หรรษา 3) รอยละในชีวิตประจําวัน และ 4)โจทย ป ญหาชวนคิ ด ซึ่ง ประกอบดวย
ขั้ น ตอนย อ ย 3 ขั้ น ตอน คื อ 1) ก า ร พั ฒ น า แบบฝ ก ทั ก ษะ 2) การตรวจสอบคุ ณ ภาพและหา
ประสิ ท ธิ ภ าพของแบบฝกทักษะ 3) การปรับปรุงแกไขแบบฝกทักษะ
102

การพัฒนาแบบฝกทักษะ
1. สังเคราะหขอมูลที่ไดจากขั้นตอนที่ 1 เพื่อนํามาเปนแนวทางในการพัฒนาเคาโครง
แบบฝก ทัก ษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุ กต 1 โดยใช ก ารจัดการเรียนรูแบบป ญหาเปนฐาน
เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
2. กําหนดมาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรู เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาแบบ
ฝกทักษะ การเรียงลําดับเนื้อหากอนและหลัง การจัดลําดับขั้นตอนของกิจกรรมการเรียนรู
3. สรางแบบฝกทักษะ จํานวน 4 เลม วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1 โดยใชการ
จัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับชั้นมัธยมศึกษา
ปที่ 1 ประกอบดวย
3.1 ชื่อเรื่อง ประเด็นสําคัญ หรือหัวขอบทเรียนไดแก รูปเรขาคณิต จํานวน
นับ รอยละในชีวิตประจําวัน และปญหาชวนคิด
3.2 คํ า นํ า เพื่ อบอกวั ตถุ ป ระสงค ข องการพั ฒ นาแบบฝก ทั ก ษะ แนะนํ า
รายละเอียดตางๆ เกี่ยวกับแบบฝกทักษะ
3.3 สารบัญ สวนที่บอกตําแหนงเนื้อหา กิจกรรมตางๆ ภายในแบบฝกทักษะ
3.4 วัตถุประสงค ของแบบฝกทักษะ เพื่อใหนักเรียนมีความรูความเขาใจ
เกี่ยวกับการแกโจทยปญหา ตามมาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การ
สื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตรและการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตางๆทางคณิตศาสตร
ศาสตรอื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค และผลการเรียนรู 1) ใชความรูและทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตร แกปญหาตาง ๆได 2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
3.5 คําชี้แจงในการใชแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1
โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 1
3.6 แบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง การประยุกต1 เปน แบบอัตนัย จํานวน 5 ขอ
เพื่อวัดความสามารถในการแกปญหา
3.7 เนื้อหาแบบฝกทักษะ หนังสือเรียนคณิตศาสตรพื้นฐาน มัธยมศึกษา
ปที่ 1 เลม1 หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง การประยุกต 1 ประกอบดวย รูปเรขาคณิต จํานวนนับ รอยละใน
ชีวิตประจําวัน และปญหาชวนคิด มีกิ จ กรรมและสื่ อ ที่ ห ลากหลายในแบบฝ ก ทักษะที่สงเสริม
ความสามารถในการแกปญหา อาทิเชน กิจกรรมการแกปญหา การตอบคําถาม เกมกิจกรรมเสริม
ทักษะนอกเวลาเรียน และแบบฝกทักษะเพิ่มเติม
103

3.8 แผนการจัดการเรียนรู จํานวน 8 แผนการเรียนรู คือ แผนการเรียนรูที่ 1 และ 2


เรื่องรูปเรขาคณิต แผนการเรียนรูที่ 3 และ 4 เรื่องจํานวนนับ แผนการเรียนรูที่ 5 และ 6 เรื่องรอยละใน
ชีวิตประจําวัน แผนการเรียนรูที่ 7 และ 8 เรื่องปญหาชวนคิด
3.9 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่องการประยุกต 1 แบบอัตนัย จํานวน 5 ขอ เพื่อ
ทดสอบความสามารถในการแกปญหา และในแตละเลมจะมีองคประกอบที่สําคัญ ดังตารางตอไปนี้
ตารางที่ 9 องคประกอบภายในแบบฝกทักษะ
แบบฝกทักษะ เรื่อง องคประกอบของแบบฝกทักษะ
เลมที่ 1 เรขาคณิต สะกิดใจ 1) ชื่อเรื่อง 2) คํานํา 3) สารบัญ 4) คําชี้แจง
5) วัตถุประสงค (มาตรฐานและผลการเรียนรู)
6) แบบทดสอบกอนเรียน 7) แบบฝกทักษะ
เลมที่ 2 จํานวนนับหรรษา 1) ชื่อเรื่อง 2) คํานํา 3) สารบัญ 4) คําชี้แจง
5) วัตถุประสงค (มาตรฐานและผลการเรียนรู)
6) แบบฝกทักษะ
เลมที่ 3 รอยละในชีวิตประจําวัน 1) ชื่อเรื่อง 2) คํานํา 3) สารบัญ 4) คําชี้แจง
5) วัตถุประสงค (มาตรฐานและผลการเรียนรู)
6) แบบฝกทักษะ
เลมที่ 4 โจทยปญหาชวนคิด 1) ชื่อเรื่อง 2) คํานํา 3) สารบัญ 4) คําชี้แจง
5) วัตถุประสงค (มาตรฐานและผลการเรียนรู)
6) แบบทดสอบหลังเรียน 7) แบบฝกทักษะ

4. นําแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1 โดยใชการจัดการเรียนรู


แบบป ญ หาเปน ฐาน เพื่ อ สง เสริ ม ความสามารถในการแก ปญ หา สํ า หรั บชั้ น มัธ ยมศึ ก ษาป ที่ 1 ที่
พัฒนาขึ้น เสนออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ผูเชี่ยวชาญ เพื่อตรวจสอบความถูกตองและปรับปรุงแกไข
การตรวจสอบคุณภาพและหาประสิ ท ธิ ภ าพของแบบฝกทักษะ
1. นําแบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตร เรื่อง การประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรู
แบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ที่
ปรั บ ปรุ ง แล ว ไปให อาจารย ที่ ปรึ กษาวิ ทยานิ พนธ และ ผู เ ชี่ ย วชาญด า นหลั ก สู ต รและวิ ธี ก ารสอน
ผูเชี่ยวชาญดานจิตวิทยาและการเรียนรู ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา ผูเชี่ยวชาญดานสื่อและนวัตกรรม และ
104

ผูเชี่ยวชาญดานการวัดและประเมินผล รวมจํานวน 5 ทาน ตรวจสอบคุณภาพ ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา


เพื่อหาคาดัชนีความสอดคลอง
ซึ่งหากคาดัชนี IOC ที่คํานวณได มากกวา หรือเทากับ 0.50 แสดงวาขอคําถามใน
แบบฝกทักษะ มีความเหมาะสมหรือสอดคลองกับจุดประสงคหรือกับลักษณะพฤติกรรม (มาเรียม
นิลพันธุ 2555 : 177)
คาดัชนี IOC (Index of Item Objective Congruence : IOC) ไดคาที่ผูเชี่ยวชาญ
ตรวจสอบแลว มีคาเทากับ 1.00 แสดงวาขอคําถามในแบบฝกทักษะมีความเหมาะสมหรือสอดคลอง
กับจุดประสงคหรือพฤติกรรม
2. นําแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรู
แบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
ที่ปรับปรุงแกไขในประเด็นการปรับกิจกรรมในแบบฝกทักษะ ที่พัฒนาความสามารถในการแกปญหา
แลวไปหาประสิ ท ธิ ภ าพ E1/E2 กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ที่ไมใชกลุมตัวอยาง ดังนี้
2.1 ขั้นหาประสิทธิภาพแบบรายบุคคล (Individual Tryout) ทดลองกับ
นักเรียนโรงเรียนไทรโยคมณีกาญจนวิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1/2 จํานวน 3 คน ที่ไมใชกลุมตัวอยาง
และยังไมไดรับการฝกดวยแบบฝกทักษะ โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริม
ความ สามารถในการแกปญหา ที่มีผลการเรียนระดับเกง คือ มีเ กรด 3.5 – 4 ปานกลาง คือ มีเกรด 2– 3
และออน คือมี เกรด 1- 1.5 ซึ่งผู วิ จั ย ทดลองใหนักเรียนเรียนดวยแบบฝกทักษะ โดยใชการจัดการ
เรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สัปดาหละ 2 ชั่วโมง เปนเวลา 8
สัปดาห รวม 16 ชั่วโมง โดยจัดกระบวนการเรียนรูตามแผนการเรียนรู และสัมภาษณนักเรียนหลังเรียน
เกี่ ย วกั บ ระยะเวลา ความเข า ใจเนื้ อ หาและความยากง า ยของแบบฝ ก ทั ก ษะ นํ า มาคํ านวณหาค า
ประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80
2.2 ขั้นหาประสิทธิภาพแบบกลุมเล็ก (Small Group Tryout) ทดลองกับ
นักเรียนโรงเรียนไทรโยคมณีกาญจนวิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1/3 จํานวน 9 คนโดยเลือกนักเรียนที่ยัง
ไม ไ ด รั บ การฝ ก ด ว ยแบบฝ ก ทั ก ษะ โดยใช ก ารจั ด การเรี ย นรู แ บบป ญ หาเป น ฐาน เพื่ อ ส ง เสริ ม
ความสามารถในการแกปญหามากอน ซึ่งมาจากการสุมอยางงาย โดยวิธีการจับ สลากจากนักเรียนที่มี
ผลการเรี ย นเก ง ปานกลาง ออน อยางละ 3 คน นําแบบฝกทักษะ ที่ปรับปรุงแกไขแล ว มาทดลองกับ
นักเรียนกลุมเล็ก โดยดําเนินการเชนเดียวกับ ขั้นตอนที่ 1 ทุกประการ หลังจากนั้นนําแบบฝกทักษะ มา
คํานวณหาประสิ ท ธิ ภ าพตามเกณฑ 80/80 หลังจากนั้นนํามาปรับปรุงดานการใชภาษา และเนื้อหาให
เหมาะสมยิ่งขึ้น
105

2.3 ขั้นหาประสิทธิภาพแบบภาคสนาม (Filed Tryout) ทดลองกับนักเรียน


โรงเรียนไทรโยคมณีกาญจนวิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1/4 จํานวน 30 คน มีผลการเรียนระดับเกง ปาน
และออน ซึ่งยังไมไดรับการฝกดวยแบบฝกทักษะโดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อ
สง เสริ ม ความสามารถในการแก ป ญหา โดยก อ นหาประสิท ธิ ภาพแบบภาคสนามขั้ น นี้ มี ก ารนํ า
ขอเสนอแนะและสิ่งที่ปรับปรุงในแบบฝกทักษะจากการหาประสิทธิภาพแบบแบบกลุมเล็กมาแลว จึงนํา
แบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อ
สงเสริมความสามารถในการแกปญหา ไปทดลองใช แลว นํามาคํานวณหาประสิทธิภาพตามเกณฑ
80/80 แลวรวบรวมเปนชุด เพื่อนําไปใชจริง
การปรับปรุงแกไขแบบฝกทักษะ
ผูวิจัยดําเนินการปรับปรุงแกไขแบบฝกทักษะตามคําแนะนําของที่ปรึกษาวิทยานิพนธ
และผูเชี่ยวชาญ หลังจากนําแบบฝกทักษะมาทดลองหาคาประสิทธิภาพแล ว ในทุกขั้นตอนจะนําแบบ
ฝกทักษะมาปรับปรุงแกไขเพื่อใหเหมาะสมและเที่ยงตรงมากยิ่งขึ้น จากกระบวนการการสรางแบบฝก
ทักษะ สามารถสรุปขั้นตอนได ดังแผนภูมิที่ 7

ศึกษาคนควาเอกสาร ทฤษฎี ตําราเกี่ยวกับแบบฝกทักษะ โดยใชการจัดการ


ขั้นตอนที่ 1 เรียนรูแบบปญหาเปนฐาน

ขั้นตอนที่ 2 กําหนดวัตถุประสงค (มาตรฐานการเรียนรู/ผลการเรียนรู)

ขั้นตอนที่ 3 สรางแบบฝกทักษะ โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน

ขั้นตอนที่ 4 เสนออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ผูเชี่ยวชาญตรวจสอบและแกไข

ขั้นตอนที่ 5 หาประสิทธิภาพของแบบฝกทักษะแบบรายบุคคล นํามาปรับปรุงแกไข

ขั้นตอนที่ 6 หาประสิทธิภาพของแบบฝกทักษะแบบกลุมเล็ก นํามาปรับปรุงแกไข

ขั้นตอนที่ 7 หาประสิทธิภาพของแบบฝกทักษะแบบภาคสนาม ปรับปรุงแกไข


รวบรวมเปนชุดแบบฝกทักษะ
แผนภูมิที่ 7 ขั้นตอนการสรางแบบฝกทักษะ โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน
106

2. แผนการจัดการเรียนรู (Lesson Plan) จํานวน 8 แผนการเรียนรู แผนการเรียน รูละ 2 คาบ


เรียน คาบเรียนละ 60 นาที รวมระยะเวลา 16 ชั่ วโมง เป นการวางแผนการสอนเกี่ ย วกั บการใช
แบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบป ญหาเปนฐาน
เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
การสรางแผนการจัดการเรียนรู
การสรางและตรวจสอบคุณภาพแผนการจัดการเรียนรู จํานวน 8 แผนการเรียนรู ใช
เวลาสอน 16 ชั่วโมง เรื่องการประยุกต 1 ที่ใชแบบฝกทักษะประกอบการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปน
ฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โดยกําหนด
ขั้นตอน ดังนี้
1. ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุ ท ธศั ก ราช2551 กลุมสาระการ
เรียนรูคณิตศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 และหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนไทรโยคมณีกาญจน
วิทยา
2. ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวกับ การจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน ที่สงเสริมความ
สามารถในการแกปญหา โดยมีขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่ 1 การเชื่อมโยงปญหาและนําเสนอปญหา (The Related Problem and
Problem Presentation) เปนขั้นตอนในการสรางปญหา เพราะในการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน
ผูเรียนจะตองมีความรูสึกวาปญหานั้นมีความสําคัญตอตนกอน ครูควรเลือกหรือออกแบบปญหาให
สอดคลองกับผูเรียน ดังนั้นในขั้นนี้ครูจะสํารวจประสบการณความสนใจของผูเรียนแตละบุคคลกอน
เพื่อเปนแนวทางในการเลือกหรือออกแบบปญหา โดยครูจะยกประเด็นที่เกี่ยวของกับปญหาขึ้นมา
รวมกันอภิปรายกอน แลวครูและนักเรียนชวยกันสรางปญหาที่ผูเรียนสนใจขึ้นมา เพื่อนําไปเปนปญหา
สําหรับการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน ประเด็นที่ครูยกมานั้นจะตองเปนประเด็นที่มีความสัมพันธกับ
ความรูในเนื้อหาวิชาและทักษะที่ตองการใหนักเรียนไดรับ
ขั้นที่ 2 ทําความเขาใจกับปญหา (Understanding of The Problem) นักเรียน
รวมกันเรียนรู ใหผูเรียนรวมอภิปรายแสดงความคิดเห็นเพื่อทําความเขาใจกับปญหาใหชัดเจน และ
สามารถอธิบายสิ่งตางๆ ที่เกี่ยวของกับปญหาได เชน โจทยกําหนดอะไร ตองการอะไร
ขั้นที่ 3 ดําเนินการศึกษาคนควา(The Study of Problem) เปนขั้นที่นักเรียนแต
ละคน ดําเนินการศึกษาคนควา เพื่อวางแผนการแกปญหาดวยวิธีการที่หลากหลาย หรืออาจมาจาก
ความรู/ประสบการณเดิม และสามารถหาไดจากแหลงขอมูลหรือสื่อตางๆ เชนใบความรู ใบกิจกรรม
เอกสารแนะแนวทาง หนังสือเรียน Internet เปนตน
107

ขั้นที่ 4 สังเคราะหขอมูลและปฏิบัติ (The Synthesis of Data and Procedure)


กิจกรรมในขั้นตอนนี้เนนฝกทักษะการคิ ดแก ปญหา เป นขั้ นที่ ผูเรียนแตละคนสรา งทางเลือกหรือ
กําหนดแนวทางการแกปญหา อาจมีการสรางสื่อ วาดภาพประกอบหรือจัดการกับสาระความรูใหม ซึ่ง
แตกตางจากการทํารายงานธรรมดา แตเปนการนําเสนอแนวทาง วิธีการแกปญหาที่ชัดเจน ดําเนินการ
แก ป ญ หาตามวิ ธี ก ารแก ป ญ หาที่ ห ลากหลาย ภายใต พื้ น ฐานของการคิ ด วิ เ คราะห การคิ ด ริ เ ริ่ ม
สรางสรรค เปนตน
ขั้นที่ 5 สรุปผลการแก ไขปญหาและความรูที่ได (The Conclusion of
Solution) การจัดกิจกรรมในขั้นตอนนี้เปนการฝกคิดแกปญหา เปนขั้นที่ผูเรียนแตละคนนําความรูที่ได
จากการคิดแกปญ หา ความคิด /วิธีการที่แปลกใหม หรือแนวทางจากการศึกษาคนควาเพิ่มเติม และ
นํามาสรางมโนทัศนคําอธิบายของสถานการณปญหาดวยตนเอง ตรวจคําตอบ ประมวลความรูที่ไดวา
มีความสอดคลองเหมาะสมสําหรับการแกปญหาที่เกิดขึ้นเพียงใด และสรุปเปนภาพรวม
3. วิเคราะหสาระการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรู คําอธิบายรายวิชาของ
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนไทรโยคมณีกาญจนวิทยา กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร เพื่อสราง
แผนการจัดการเรียนรู ดังตารางที่ 10
ตารางที่ 10 เนื้อหาและการกําหนดมาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรู
เนื้อหา มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรู
รูป มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะหรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ 1. ใชความรูและทักษะ
เรขาคณิต มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล กระบวนการทางคณิตศาสตร
การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และการนํา เสนอ แกปญหาตางๆได
การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิต ศาสตร 2.ใชวิธีการที่หลากหลายในการ
กับศาสตรอื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค แกปญหา
3. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค
จํานวน มาตรฐาน ค 1.2 เขาใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการของจํานวน 1. ใชความรูและทักษะ
นับ และความสั ม พั น ธ ระหว า งการดํ า เนิ น การต า งๆและสามารถใช กระบวนการทางคณิตศาสตร
การดําเนินการในการแกปญหา แกปญหาตางๆได
มาตรฐาน ค 1.4 เขาใจระบบจํานวนและนําสมบัติจํานวนไปใช
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล
การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และการนําเสนอ
การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตร
กับศาสตรอื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค
108

ตารางที่ 10 เนื้อหาและการกําหนดมาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรู (ตอ)

เนื้อหา มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรู


รอยละใน มาตรฐาน ค 1.2 เขาใจถึงผลที่เกิดขึน้ จากการดําเนิน การของจํานวน 1. ใชความรูและทักษะ
ชีวิต และความสัมพันธ ระหวางการดําเนิน การตางๆและสามารถใชการ กระบวนการทางคณิตศาสตร
ประจําวัน ดําเนินการในการแกปญหา แกปญหาตางๆได
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล 2.ใชวิธีการที่หลากหลายในการ
การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และการนํา เสนอ แกปญหา
การเชื่อมโยงความรูตางๆทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตร
กับศาสตรอื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค
ปญหา มาตรฐาน ค 1.2 เขาใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการของจํานวน 1. ใชความรูและทักษะ
ชวนคิด และความสัมพันธ ระหวางการดําเนินการตางๆและสามารถใช กระบวนการทางคณิตศาสตร
การดําเนินการในการแกปญหา แกปญหาตางๆได
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล 2.ใชวิธีการที่หลากหลายในการ
การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และการนํา เสนอ แกปญหา
การเชื่อมโยงความรูตางๆทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตร 3. เชื่อมโยงความรูตางๆใน
กับศาสตรอื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค คณิตศาสตรและนําความรู
หลักการ กระบวนการทาง
คณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับ
ศาสตรอื่นๆ
4. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค

4. สรางแผนการจัดการเรียนรูแบบปญหาเป นฐาน ที่ใช รวมกั บ แบบฝกทักษะ วิชา


คณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1 สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 จํานวน 8 แผนการเรียนรู ใช
ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม 16 ชั่วโมงไดแก
แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 : เรื่อง รูปเรขาคณิต ดําเนินกิจกรรมโดยการทดสอบความรู
กอนเรียน และหาสมบัติของรูปสามเหลี่ยม ใชเวลาเรียนจํานวน 2 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 : เรื่อง รูปเรขาคณิต ดําเนินกิจกรรมจัดการเรียนรู โดยการ
หาจุดภายในจุดภายนอก และแทนแกรม ใชเวลาเรียนจํานวน 2 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 : เรื่อง จํานวนนับ ดําเนินกิจกรรมจัดการเรียนรู โดยการหา
แบบรูปและความสัมพันธ จํานวนเฉพาะ ใชเวลาเรียนจํานวน 2 ชั่วโมง
109

แผนการจัดการเรียนรูที่ 4 : เรื่อง จํานวนนับ ดําเนินกิจกรรมจัดการเรียนรู โดยการหา


ห.ร.ม (หารรวมมาก) และ ค.ร.น. (คูณรวมนอย) ใชเวลาเรียนจํานวน 2 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรูที่ 5 : เรื่อง รอยละในชีวิตประจําวัน ดําเนินกิจกรรมจัดการ
เรียนรูโ ดยการหา รอยละ เปอรเซ็นต ขาดทุน กําไร ดอกเบี้ย ใชเวลาเรียนจํานวน 2 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรูที่ 6 : เรื่อง รอยละในชีวิตประจําวัน ดําเนินกิจกรรมจัดการ
เรียนรู โดยการแกโจทยปญหา ใชเวลาเรียนจํานวน 2 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรูที่ 7 : เรื่อง ปญหาชวนคิด ดําเนินกิจกรรมจัดการเรียนรู โดยการ
คนหาแบบรูป ใชเวลาเรียนจํานวน 2 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรูที่ 8 : เรื่อง ปญหาชวนคิด ดําเนินกิจกรรมจัดการเรียนรู โดยการ
แลกเปลี่ยนเงินตรา แกโจทยปญหาและทดสอบความรูหลังเรียน ใชเวลาเรียนจํานวน 2 ชั่วโมง
การตรวจสอบคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู
นํ า เสนอแผนการจั ด การเรี ย นรู ต อ อาจารย ที่ ป รึ ก ษาวิ ท ยานิ พ นธ แ ละผู เ ชี่ ย วชาญ
ตรวจสอบ จํานวน 5 ทาน คือ ผูเชี่ยวชาญดานหลักสูตรและวิธีการสอน ผูเชี่ยวชาญดานจิตวิทยาและ
การเรียนรู ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา ผูเชี่ยวชาญดานสื่อและนวั ตกรรม และผูเชี่ยวชาญดานการวัดและ
ประเมินผล เพื่อตรวจสอบความถูกตองทางภาษาและความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) เพื่อ
หาคาดัชนีความสอดคลองจุดประสงคการเรียนรู นําขอมูลมาวิเคราะหหาคาดัชนีความสอดคลอง
ซึ่งหากคาดัชนี IOC ที่คํานวณได มากกวา หรือเทากับ 0.50 แสดงวาแผนการจัดการ
เรียนรู มีความเหมาะสมหรือสอดคลองกับจุดประสงคหรือกับลักษณะพฤติกรรม (มาเรียม นิลพันธุ,
2555 : 177)
คาดัชนี IOC (Index of Item Objective Congruence : IOC) ไดคาที่ผูเชี่ยวชาญ
ตรวจสอบแลว มีคาเทากับ 1.00 แสดงวาแผนการจัดการเรียนรูมีความเหมาะสมหรือสอดคลองกับ
จุดประสงคหรือพฤติกรรม
ปรับปรุงแกไขแผนการจัดการเรียนรู
ปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูตามคําแนะนําของครูที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ผูเชี่ยวชาญ
ในประเด็นรูปแบบการสอนแบบปญหาเปนฐานตองมีความชัดเจนและเปนขั้นตอนและนําแผนการ
จัดการเรียนรู เรื่อง การประยุกต1 เพื่อสงเสริมความสามารถการแกปญหา ไปทดลองใชรวมกับแบบ
ฝกทักษะ โดยการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปน สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1
ปการศึกษา 2557 สัปดาหละ 2 ชั่วโมง จํานวน 8 สัปดาห รวม 16 ชั่วโมง สรุปขั้นตอน ดังแผนภูมิที่ 8
110

ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551


ขั้นตอนที่ 1
และหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนไทรโยคมณีกาญจนวิทยา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

ขั้นตอนที่ 2 ศึกษา ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวของกับแบบฝกทักษะและการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน

วิเคราะหหนวยการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรู สาระการเรียนรู


ขั้นตอนที่ 3
เพื่อนํามาสรางแผนการจัดการเรียนรู

สรางแผนการจัดการเรียนรูที่ใชรวมกับแบบฝกทักษะ ที่ใชการจัดการเรียนรูแบบ
ขั้นตอนที่ 4
ปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา

ขั้นตอนที่ 5 นําเสนอแผนการจัดการเรียนรูตออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธและ
ผูเชี่ยวชาญ เพื่อประเมินคุณภาพ ตรวจสอบ หาคา IOC

ปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูตามคําแนะนําของอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ
ขั้นตอนที่ 6
และผูเชี่ยวชาญ ทั้ง 5 ทาน

นําแผนการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1 ไปทดลองใช


ขั้นตอนที่ 7
กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1

แผนภูมิที่ 8 แสดงขั้นตอนการสรางแผนการจัดการเรียนรู

3. แบบทดสอบวัดความสามารถในการแกปญหา วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใช


การจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา แบบอัตนัย จํานวน
5 ขอ
111

ขั้นตอนในการสรางแบบทดสอบวัดความสามารถในการแกปญหา
การสรางแบบทดสอบวัดความสามารถในการแกปญหา กอนและหลังเรียน เรื่อง
วิชาคณิตศาสตร การประยุกต 1 เปนแบบทดสอบแบบอัตนัย 10 ขอ เลือกใช 5 ขอ จํานวน 1 ฉบับ เพื่อ
ทดสอบกอนการทดลองและหลังการทดลอง ซึ่งผูวิจัยสรางขึ้นตามลําดับขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุม
สาระการเรียนรูคณิตศาสตร วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 ค 21201 ศึกษาเนื้อหา และวิธีการ
สรางแบบทดสอบแบบอัตนัย
ขั้นตอนที่ 2 การสรางแบบทดสอบวัดความสามารถในการแกปญหา แบบอัตนัย
จํานวน10 ขอ เลือกขอสอบ จํานวน 5ข อ ทดสอบกอนและหลัง เรีย น วิช าคณิตศาสตร เรื่อง
การประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อเปนเครื่องมือการวิจัย
ขั้นตอนที่ 3 นําแบบทดสอบ เสนอตอผูเชี่ยวชาญขอรับการประเมินคุณภาพ หาคา
ความสอดคลองของแบบทดสอบโดยกํา หนดเกณฑความสอดคลองที่ยอมรับไดตองมีคาตั้งแต 0.50
โดยเสนอตอผูเชี่ยวชาญ จํานวน 5 ทาน ผูเชี่ยวชาญดานหลักสูตรและวิธีการสอน ผูเชี่ยวชาญดาน
จิตวิทยาและการเรียนรู ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา ผูเชี่ยวชาญดานสื่อและนวัตกรรม และผูเชี่ยวชาญดาน
การวัดและประเมินผล เพื่อนําไปหาคาดัชนีความสอดคลอง
ซึ่งหากคาดัชนี IOC ที่คํานวณได มากกวา หรือเทากับ 0.50 แสดงวาขอคําถามใน
แบบทดสอบมีความเหมาะสมหรือสอดคลองกับจุดประสงคหรือกับลักษณะพฤติกรรม (มาเรียม
นิลพันธุ 2555 : 177)
คาดัชนี IOC (Index of Item Objective Congruence : IOC ) ไดคาที่ผูเชี่ยวชาญตรวจ
สอบแลว มีคาเทากับ 1.00 แสดงวาขอคําถามในแบบทดสอบมีความเหมาะสมหรือสอดคลองกับจุด
ประสงคหรือพฤติกรรม
ขั้นตอนที่ 4 นําแบบทดสอบวัดความสามารถในการแกปญหา เรื่อง การประยุกต 1
ไปทดลองใช กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2/1 จํานวน 30 คน ซึ่งไมใชกลุมตัวอยางที่ใชใน
การวิจัยครั้งนี้ ซึ่งกําลังเรียนอยูในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2557 โรงเรียนไทรโยคมณีกาญจนวิทยา
ขั้นตอนที่ 5 นําแบบทดสอบวัดความสามารถในการแกปญหา เรื่อง การประยุกต 1 ที่
นักเรียนทํามาตรวจใหคะแนน ตามเกณฑที่กําหนด
ขั้นตอนที่ 6 นําแบบทดสอบมาหาคาระดับความยากงาย โดยกําหนด คาความยากงาย
ใหมีคาอยูระหวาง 0.20 - 0.80 นําแบบทดสอบมาหาคาอํานาจจําแนก คัดเลือกขอสอบ 5 ขอ
การพิจารณา คาอํานาจจําแนกควรจะมีคาตั้งแต 0.20 ขึ้นไป (มาเรียม นิลพันธุ 2555 : 186-187)
112

ซึ่งไดคาความยากงายของแบบทดสอบมีคาอยูระหวาง 0.55 – 0.73 และมีคาอํานาจจําแนก (r) ระหวาง


0.23 – 0.38 โดยใชโปรแกรมการวิเคราะหขอสอบแบบอัตนัย (B- Index)
ขั้นตอนที่ 7 นําแบบทดสอบที่หาคาความยากงายและอํา นาจจําแนกแลว มาหาคา
ความเชื่อมั่น (Reliability) มีคาเทากับ 0.78 โดยใชสูตรแบบสัมประสิทธิ์อัลฟาของ Cronbach เกณฑ
ความเชื่อมั่น ตั้งแต 0.70-1.00 (มาเรียม นิลพันธุ 2553 : 182)
ขั้นตอนที่ 8 นําแบบทดสอบที่มีคาความเชื่อมั่น เทากับ 0.78 ไปทดสอบวัดความ
สามารถในการแกปญหา กอนและหลังการใชแบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1โดยใช
การจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน สําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ดังแผนภูมิที่ 9 ดังนี้
ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตรสถานศึกษา
ขั้นตอนที่ 1
โรงเรียนไทรโยคมณีกาญจนวิทยา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

การสรางแบบทดสอบวัดความสามารถในการแกปญหา กอนและหลังเรียน
ขั้นตอนที่ 2 วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1 เพื่อเปนเครื่องมือการวิจัย

ขั้นตอนที่ 3 นําแบบทดสอบ เสนอตอผูเชี่ยวชาญทั้ง 5 ทาน ขอรับการประเมินความสอดคลอง IOC

ขั้นตอนที่ 4 นําแบบทดสอบวัดความสามารถในการแกปญหา เรื่อง การประยุกต 1 ไปทดลองใช กับ


นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2/1 จํานวน 30 คน ซึ่งไมใชกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย

ขั้นตอนที่ 5 นําแบบทดสอบวัดความสามารถในการแกปญหา เรื่อง การประยุกต 1 ที่นักเรียนทํามา


ตรวจใหคะแนนตามเกณฑการใหคะแนนแบบ Analytic scoring

ขั้นตอนที่ 6 นําแบบทดสอบมาหาคาระดับความยากงายและหาคาอํานาจจําแนก

นําแบบทดสอบที่หาคาความยากงายและอํานาจจําแนก มาหาคาความเชื่อมั่น (Reliability)


ขั้นตอนที่ 7
โดยใชสูตรแบบสัมประสิทธิ์อัลฟาของ Cronbach

ขั้นตอนที่ 8 นําแบบทดสอบที่หาคาความเชื่อมั่นแลวไปทดสอบวัดความสามารถในการแกปญหา
กอนและหลังการใชแบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1
แผนภูมิที่ 9 ขั้นตอนในการสรางแบบทดสอบวัดความสามารถในการแกปญหา
113

การวิเคราะหขอมูล
1. ตรวจแบบทดสอบวัดความสามารถในการแกปญหา แบบอัตนัย จํานวน 5 ขอ
ขอละ10 คะแนน รวม 50 คะแนน ตามเกณฑการตรวจแตละขั้นตอน มาวิเคราะหโดยใชระดับ
คะแนนที่กําหนด
2. นําคะแนนที่ไดจากการทดสอบวัดความสามารถในการแกปญหากอนและหลัง
การใชแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหา
เปนฐาน สําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 มาหาคาเฉลี่ย ( ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(S.D.) วิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนโดยใชสถิ ติทดสอบแบบไมเปนอิสระตอกัน
(t-test แบบ Dependent) เพื่อหาคาความตางกอนและหลังการใชแบบฝกทักษะ

4. แบบสอบถามความคิดเห็น ของนักเรียนที่มีตอการใชแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร


เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน จํานวน 10 ขอ โดยสอบถาม
เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู บรรยากาศในการเรียนรู การวัดและประเมินผล และ
ประโยชนที่ไดรับ
ขั้นตอนในการสรางแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีตอแบบฝกทักษะ
แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีตอแบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1
โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน สําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ซึ่งเปน
แบบสอบถามแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scales) โดยการวัดระดับ 5 ระดับของลิเคิรท
(Likert) คือ ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช ตองปรับปรุง โดยแบงเปนดาน การจัดกิจกรรมการ
เรียนรู บรรยากาศในการเรียนรู การวัดและประเมินผล และประโยชนที่ไดรับ จํานวน 10 ขอ มี
ขั้นตอนการสราง ดังนี้
1. ศึกษาทฤษฎี หลักการ แนวคิด เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับวิธีการสราง
แบบสอบถามความคิ ดเห็นตอแบบฝก ทั ก ษะโดยใช ก ารจัดการเรียนรูแบบป ญหาเป นฐาน เพื่ อ
สงเสริมความสามารถในการแกปญหา
2. สรางแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน แบงเปน 2 ตอน ดังนี้
114

ตอนที่ 1 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นของนักเรียน เกี่ยวกับ การพัฒนา


แบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน
เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา ในดานตางๆ คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู บรรยากาศ
ในการเรียนรู การวัดและประเมินผล และประโยชนที่ไดรับ จํานวนทั้งสิ้น 10 ขอ โดยเปนแบบ
มาตราสวนประเมินคา (Rating Scale) 5 ระดับของลิเคิรท (Likert) ดังนี้
ความคิดเห็นอยูในระดับดีมาก ใหคะแนน 5 คะแนน
ความคิดเห็นอยูในระดับดี ใหคะแนน 4 คะแนน
ความคิดเห็นอยูในระดับปานกลาง ใหคะแนน 3 คะแนน
ความคิดเห็นอยูในระดับพอใช ใหคะแนน 2 คะแนน
ความคิดเห็นอยูในระดับตองปรับปรุง ใหคะแนน 1 คะแนน
ตอนที่ 2 ใหนักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช แ บบฝ ก ทั ก ษะ วิ ช า
คณิ ต ศาสตร เรื่ อ งการประยุ ก ต 1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริม
ความสามารถในการแกปญหา โดยใหนักเรียนตอบแบบสอบถาม หลัง สิ้ น สุดการจัดกิจกรรมการ
เรียนรูต ามแบบฝกทักษะ
3. นําแบบสอบถามความคิดเห็นที่สรางขึ้นเสนอตออาจารย ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ
และผูเชี่ยวชาญ จํานวน 5 ทาน ผูเชี่ยวชาญดานหลักสูตรและวิธีการสอน ผูเชี่ย วชาญดานจิตวิทยา
และการเรียนรู ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา ผูเชี่ยวชาญดานสื่อและนวัตกรรมและผูเชี่ยวชาญดานการวัด
และประเมินผล เพื่อนําไปหาคาดัชนีความสอดคลอง (Index of Item Objective Congruence : IOC )
ซึ่งหากคาดัชนี IOC ที่คํานวณได มากกวา หรือเทากับ 0.50 แสดงวาขอคําถามใน
แบบทดสอบมีความเหมาะสมหรือสอดคลองกับจุดประสงคหรือกับลักษณะพฤติกรรม (มาเรียม
นิลพันธุ 2555 : 177)
คาดัชนี IOC (Index of Item Objective Congruence : IOC ) ไดคาที่ผูเชี่ยวชาญ
ตรวจสอบแลว มีคาเทากับ 1.00 แสดงวาขอคําถามในแบบสอบถามความคิดเห็นมีความเหมาะสม
หรือสอดคลองกับจุดประสงคหรือพฤติกรรม
115

การปรับปรุงและแกไขแบบสอบถามความคิดเห็น
นําแบบสอบถามที่ผานการพิจารณาแลว มาปรับปรุงแกไข ในประเด็นการปรับขอคําถามใหมี
ความชัดเจน ภาษาที่ใชเขาใจงาย และกระชับ ที่อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ และผูเชี่ยวชาญเสนอแนะ เพื่อ
ความสมบูรณของเครื่องมือที่ใชในการวิจัย
จากขั้นตอนการสรางแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนขางตน สามารถสรุปขั้นตอน
การสรางไดดังแผนภูมิที่ 10

ศึกษาทฤษฎีหลักการ แนวคิด เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับวิธีการสรางแบบสอบถาม


ขั้นตอนที่ 1
ความคิดเห็นตอแบบฝกทักษะ

สรางแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนมีตอแบบฝกทักษะ
ขั้นตอนที่ 2 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน

นําแบบสอบถามความคิดเห็นที่สรางขึ้นเสนอตออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ผูเชี่ยวชาญ
ขั้นตอนที่ 3
เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมและความถูกตองเชิงเนื้อหา (IOC)

ขั้นตอนที่ 4 นําแบบสอบถามที่ผานการพิจารณาแลวมาปรับปรุงแกไข ในประเด็นที่อาจารยที่


ปรึกษาวิทยานิพนธและผูเชี่ยวชาญ เสนอแนะ เพื่อความสมบูรณของเครื่องมือที่ใชในการวิจัย

ขั้นตอนที่ 5 นําแบบสอบถามความคิดเห็น ไปทดลองใชกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1/1


ที่เปนกลุมตัวอยาง

แผนภูมิที่ 10 ขั้นตอนในการสรางแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีตอแบบฝกทักษะ
การวิเคราะหขอมูล
นําขอมูล มาวิเคราะหโดยใชระดับ ความคิดเห็น เสนอคาเป นคาเฉลี่ย ( ) สวนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D.) และวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) จากนั้นนําคาเฉลี่ยที่ไดจากการวิเคราะห
116

ไปทําการเปรียบเทียบกับเกณฑเพื่อใชในการแปลความหมายรายขอ โดยใชเกณฑประเมินของ
(บุญชม ศรีสะอาด, 2545: 102-163) ดังนี้
คาเฉลี่ยระหวาง 4.50 – 5.00 หมายถึง ความคิดเห็นอยูในระดับดีมาก
คาเฉลี่ยระหวาง 3.50 – 4.49 หมายถึง ความคิดเห็นอยูในระดับดี
คาเฉลี่ยระหวาง 2.50 – 3.49 หมายถึง ความคิดเห็นอยูในระดับปานกลาง
คาเฉลี่ยระหวาง 1.50 – 2.49 หมายถึง ความคิดเห็นอยูในระดับพอใช
คาเฉลี่ยระหวาง 1.00 – 1.49 หมายถึง ความคิดเห็นอยูในระดับตองปรับปรุง

ขั้นตอนที่ 2 พัฒนา (D1 : Development) : การพัฒนาแบบฝกทักษะ วิชา


คณิตศาสตร เรื่อง การประยุกต 1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความ
สามารถในการแกปญหา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 สามารถสรุปขั้นตอน ดังแสดงในตารางที่ 11
ตารางที่ 11 สรุปวิธีการดําเนินการตามขั้นตอนที่ 2 การพัฒนา(D1 : Development) การพัฒนาแบบฝกทักษะ

วัตถุประสงค วิธีการ กลุมเปาหมาย เครื่องมือ การวิเคราะหขอมูล


1. เพื่อพัฒนาแบบ พัฒนาแบบฝกทักษะ - ครูผูสอน - วิเคราะหเนื้อหา
ฝกทักษะวิชา ฉบับราง ประกอบดวย - ผูเชี่ยวชาญ ดาน (Content Analysis)
คณิตศาสตร เรื่อง 1. ชื่อเรื่อง หลัก สูตรและวิธี - หาคาดัชนีความ
การประยุกต 1 โดย 2. คํานํา สอน สอดคลอง (IOC)
ใชการจัดการ 3. คําชี้แจง - ผูเชี่ยวชาญ
เรียนรูแบบปญหา 4. สารบัญ ดานจิตวิทยาและ
เปนฐาน เพื่อ 5. วัตถุประสงค การเรียนรู
สงเสริมความ (มาตรฐานและผลการ - ผูเชี่ยวชาญดาน
สามารถการแก เรียนรู) สื่อและนวัตกรรม
ปญหา 6. แบบทดสอบกอน - ผูเชี่ยวชาญดาน
เรียน เนื้อหา
7. แบบฝกทักษะ - ผูเชี่ยวชาญดาน
8. แบบทดสอบหลัง การวัดและการ
เรียน ประเมินผล
117

ตารางที่ 11สรุปวิธีการดําเนินการตามขั้นตอนที่2 การพัฒนา (D1 : Development) การพัฒนาแบบฝกทักษะ(ตอ)

การวิเคราะห
วัตถุประสงค วิธีการ กลุมเปาหมาย เครื่องมือ
ขอมูล
2. เพื่อตรวจสอบ - หาคุณภาพและ - อาจารยที่ปรึกษา - แบบฝก - วิเคราะห
คุณภาพและหา ประสิทธิภาพของ วิทยานิพนธ ทักษะที่ เนื้อหา
ประสิ ท ธิ ภ าพของ แบบฝกทักษะโดย -ผูเชี่ยวชาญ ดาน สงเสริม - หาคาความ
แบบฝกทักษะ การจัดเรียนรูแบบหลักสูตรและวิธีสอน ความ สอดคลอง
เรื่อง การประยุกต 1 ปญหาเปนฐานที่สง
-ผูเชี่ยวชาญ ดาน สามารถ (IOC)
วิชาคณิตศาสตร เสริมความสามารถ จิตวิทยาและการเรียนรู การแก - ประสิทธิภาพ
เพื่อสงเสริมความ ในการแกปญหา -ผูเชี่ยวชาญดานสื่อและ ปญหา ของแบบฝก
สามารถการแก - ทดลองใชกับ นวัตกรรม ทักษะเกณฑ
ปญหา โดยใชการ นักเรียน 3 คน -ผูเชี่ยวชาญ ดานเนื้อหา 80/80
จัดการเรียนรูแบบ - ทดลองใชกับ -ผูเชี่ยวชาญ ดานการวัด
ปญหาเปนฐาน นักเรียน 9 คน และ การประเมินผล
- ทดลองภาคสนาม - นักเรียนชั้นมัธยม
กับนักเรียน 30 คนศึกษาปที่ 1 โรงเรียน
ไทรโยคมณีกาญจน
วิทยา ที่ไมใชกลุม
ตัวอยาง
3. การปรับปรุง - ตรวจสอบความ ผูเชี่ยวชาญ ดาน - แบบฝก - วิเคราะห
แกไขแบบฝกทักษะ เหมาะสมของ หลักสูตรและวิธีสอน ทักษะ เนื้อหา
เรื่องการประยุกต 1 องคประกอบใน -ผูเชี่ยวชาญ ดาน ฉบับราง (Content
วิชาคณิตศาสตร โดย แบบฝกทักษะ จิตวิทยาและการเรียนรู Analysis)
ใชการจัดการเรียนรู - ปรับปรุงแกไขแบบ -ผูเชี่ยวชาญดานสื่อและ - หาคาดัชนี
แบบปญหาเปนฐาน ฝกทักษะฉบับรางที่ นวัตกรรม ความ
เพื่อสงเสริมความ พัฒนา ขึ้นตามการ -ผูเชี่ยวชาญ ดานเนื้อหา สอดคลอง
สามารถในการ ประเมินจาก -ผูเชี่ยวชาญ ดานการวัด (IOC)
แกปญหา ผูเชี่ยวชาญ กอน และการประเมินผล
นํามาทดลองใช
118

ขั้นตอนที่ 3 วิจัย (R2 : Research) : การทดลองใชแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร


เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรู
แบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถ
ในการแกปญหา

วัตถุประสงค
เพื่อทดลองใชแบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการ
เรี ย นรู แ บบป ญ หาเป น ฐาน เพื่ อ ส ง เสริ ม ความ สามารถในการแก ป ญ หา สํ า หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น
มัธยมศึกษาปที่1 แบบแผนการวิจัยครั้งนี้เปนแบบแผน Pre Experimental Design ใชแบบหนึ่งกลุม
สอบกอนและหลัง (The One – Group Pretest – Posttest Design) (มาเรียม นิลพันธุ 2555 : 144)

แบบแผนการวิจัย
ตารางที่ 12 แสดงแบบแผนการวิจัย
สอบกอน ทดลอง สอบหลัง
T1 X T2

T1 หมายถึง ทดสอบความสามารถในการแกปญหากอนใชแบบฝกทักษะวิชา
คณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1 โดยการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน
X หมายถึ ง ทํ า การทดลองด ว ยแบบฝ ก ทั ก ษะวิ ช าคณิ ต ศาสตร เรื่ อ งการ
ประยุกต 1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา
T2 หมายถึง ทดสอบความสามารถในการแกปญ หาหลังใชแบบฝกทักษะ วิชา
คณิตศาสตร เรื่อ งการประยุ ก ต 1 โดยใช ก ารจัดการเรี ยนรู แบบป ญหาเปนฐาน เพื่ อสง เสริ ม
ความสามารถในการแกปญหา

วิธีดําเนินการ
ในการทดลองใชแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1 โดยใชการ
จัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 1/1 จํานวน 35 คน มีวิธีการดําเนินการตามลําดับขั้นตอนดังนี้
119

1. ขอหนังสือจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ถึงผูบริหารโรงเรียนไทรโยค


มณีกาญจนวิทยา เพื่อขอความอนุเคราะหในการทดลองใชแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการ
ประยุกต 1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา
2. ในการทดลองใชแบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1 โดยใชการ
จัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา สําหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 1/1 จํานวน 35 คน ประกอบกับการใชขอมูลพื้นฐานและความตองการของผูเรียน มี
ขั้นตอนดังนี้
2.1 ผูวิจัยนําแบบทดสอบกอนเรียน วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1 แบบ
อัตนัย จํานวน 5 ขอ ใหนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1/1 จํานวน 35 คน สอบกอนที่จะใชแบบฝก
ทักษะ ที่จัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน
2.2 ผูวิจัยดําเนินการทดลองสอนโดยใชแบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตร เรื่อง
การประยุกต 1 เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา ที่ จัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐานโดย
ดําเนินการสอน 16 ชั่วโมง ชี้แจงความสําคัญและประโยชนของการเรียนรูดวยแบบฝกทักษะและ
จัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน ใหนักเรียนเขาใจตรงกัน
2.3 ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู ใชแบบฝกทักษะที่ผูวิจัยสรางขึ้น จํานวน 4
เลม ผูวิจัยอธิบายขั้นตอนการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน มีขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่ 1 การเชื่อมโยงปญหาและนําเสนอปญหา (The Related Problem
and Problem Presentation) เปนขั้นตอนในการสรางปญหา เพราะในการเรียนรูโดยใชปญหาเปน
ฐาน ผูเรียนจะตองมีความรูสึกวาปญหานั้นมีความสําคัญตอตนกอน ครูเลือกหรือออกแบบปญหา
ใหสอดคลองกับผูเรียน ดังนั้นขั้นนี้ครูจะสํารวจประสบการณความสนใจของผูเรียนแตละบุคคล
กอนเพื่อเปนแนวทางในการเลือกหรือออกแบบปญหา โดยครูจะยกประเด็นที่เกี่ยวของกับปญหา
ขึ้นมารวมกันอภิปรายกอน ครูและนักเรียนชวยกันสรางปญหาที่ ผูเรียนสนใจขึ้นมา เพื่อนําไปเปน
ปญหาสําหรับการเรียนรูโดยใชปญหาเป นฐาน ประเด็นที่ครูยกมานั้นจะตองเปนประเด็นที่ มี
ความสัมพันธกับความรูในเนื้อหาวิชาและทักษะที่ตองการใหนักเรียนไดรับ
ขั้นที่ 2 ทําความเขาใจกับปญหา (Understanding of The Problem)
นักเรียนรวมกันเรียนรู ใหผูเรียนรวมอภิปรายแสดงความคิดเห็นเพื่อทําความเขาใจกับปญหาให
ชัดเจน และสามารถอธิบายสิ่งตางๆ ที่เกี่ยวของกับปญหาได เชน โจทยกําหนดอะไร ตองการอะไร
120

ขั้นที่ 3 ดําเนินการศึกษาคนควา (The Study of Problem) เปนขั้นที่


นักเรียนแตละคน ดําเนินการศึกษาคนควา เพื่อวางแผนการแกปญหาดวยวิธีการที่หลากหลาย หรือ
อาจมาจากความรู/ประสบการณเดิม และสามารถหาไดจากแหลงขอมูลหรือสื่อตางๆ เชนใบความรู
ใบกิจกรรม เอกสารแนะแนวทาง หนังสือเรียน Internet เปนตน
ขั้นที่ 4 สังเคราะหขอมูลและปฏิบัติ (The Synthesis of Data and
Procedure) กิจกรรมในขั้นตอนนี้เนนฝกทักษะการคิดแกปญหาใหกับผูเรียน เปนขั้นที่ผูเรียนแตละ
คนสรางทางเลือกหรือกําหนดแนวทางการแกปญหา อาจมีการสรา งสื่อ วาดภาพประกอบหรือ
จัดการกับสาระความรูใหม ซึ่งแตกตางจากการทํารายงานธรรมดา แตเปนการนําเสนอแนวทาง
วิธีการแกปญหาที่ชัดเจน ดําเนินการแกปญหาตามวิธีการแกปญหาที่หลากหลาย ภายใตพื้นฐานของ
การคิดวิเคราะห การคิดริเริ่มสรางสรรค
ขั้นที่ 5 สรุปผลการแกไขปญหาและความรูที่ได (The Conclusion of
Solution) การจัดกิจกรรมในขั้นตอนนี้เปนการฝกคิดแกปญหา เปนขั้นที่ผูเรียนแตละคนนําความรู
ที่ไดจากการคิดแก ปญหา หรือแนวทางจากการศึก ษาคนควาเพิ่ม เติม และนํามาสรางมโนทัศ น
คําอธิบายของสถานการณปญหาดวยตนเอง ตรวจคําตอบ ประมวลความรูที่ไดวามีความสอดคลอง
เหมาะสมสําหรับการแกปญหาที่เกิดขึ้นเพียงใด และสรุปเปนภาพรวม
3. ทดสอบหลังเรียน (Posttest) ใชแบบทดสอบแบบอัตนัย จํานวน 5 ขอ เพื่อวัด
ความสามารถในการแกปญหา
ในขั้นตอนที่ 3 วิจัย (R2 : Research) : การทดลองใชแบบฝกทักษะ วิชา
คณิตศาสตร เรื่องการประยุ กต 1 โดยใช การจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่ อสงเสริม
ความสามารถในการแกปญหา มีเครื่องมือที่ใชในการวิจัยประกอบดวย 1) แบบฝกทักษะ 2) แผนการ
จัดการเรียนรู และ3)แบบทดสอบวัดความสามารถในการแกปญหา มีรายละเอียดดังนี้
1. แบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบ
ปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหา จํานวน 4 เลม ประกอบดวย เลมที่ 1
รูปเรขาคณิต สะกิดใจ เลมที่ 2 จํานวนนับ หรรษา เลมที่ 3 รอยละในชีวิตประจําวัน และเลมที่ 4
โจทยปญหาชวนคิด
121

2. แผนการจัดการเรียนรู วิชาคณิตศาสตร เรื่อง การประยุกต 1 จํานวน 8 แผนการ


เรียนรู รวมใชเวลาสอนจํานวน 16 ชั่วโมง
ตารางที่ 13 แผนการจัดการเรียนรู วิชาคณิตศาสตร เรื่อง การประยุกต 1
แผนการ เวลา
ผลการเรียนรู แบบฝกทักษะ
จัดการเรียนรู (ชั่วโมง)
1. ใชความรูและทักษะกระบวนการทาง
เลมที่ 1
คณิตศาสตรแกปญหาตางๆได
1–2 รูปเรขาคณิต 4
2.ใชวิธีการที่หลากหลายในการแกปญหา
สะกิดใจ
3. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค
1. ใชความรูและทักษะกระบวนการทาง เลมที่ 2
3–4 4
คณิตศาสตรแกปญหาตางๆได จํานวนนับ หรรษา
1. ใชความรูและทักษะกระบวนการทาง เลมที่ 3
5–6 คณิตศาสตรแกปญหาตางๆได รอยละใน 4
2.ใชวิธีการที่หลากหลายในการแกปญหา ชีวิตประจําวัน
1. ใชความรูและทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตรแกปญหาตางๆได
2.ใชวิธีการที่หลากหลายในการแกปญหา เลมที่ 4
7–8 3. เชื่อมโยงความรูตางๆในคณิตศาสตรและนํา โจทยปญหาชวน 4
ความรู หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร คิด
ไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่นๆ
4. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค

3. แบบทดสอบวัดความสามารถในการแกปญหา เรื่อง การประยุกต1 แบบอัตนัย


จํานวน 5 ขอ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และเปนขอสอบตาม
สาระการเรียนรู มาตรฐานและผลการเรียนรูของวิชาคณิตศาสตร
122

ขั้นตอนที่ 3 วิจัย (R2 : Research) : การทดลองใชแบบฝกทักษะ วิชา


คณิตศาสตร เรื่ องการประยุ ก ต 1 โดยใช ก ารจัดการเรี ยนรู แบบป ญหาเป นฐาน เพื่ อสง เสริ ม
ความสามารถในการแกปญหา สามารถสรุปขั้นตอน ดังแสดงใน ตารางที่ 14

ตารางที่ 14 สรุปวิธีการดําเนินการตามขั้นตอนที่ 3 (R2 : Research) : การทดลองใชแบบฝกทักษะ


วัตถุประสงค วิธีการ กลุมเปาหมาย เครื่องมือ การวิเคราะหขอมูล
เพื่อการทดลอง - จั ด การเรี ย นรู ต าม นักเรียนชั้น - แผนการจัด - วิเคราะห เนื้อหา
ใชแบบฝกทักษะ แผ นก า รจั ดเ รี ย น รู ที่ มัธยมศึกษา การเรียนรู (Content Analysis)
วิชาคณิตศาสตร กําหนดไว ปที่ 1/1 - แบบฝก - รอยละ (%)
เรื่องการประยุกต - ทดลองใชแบบฝก จํานวน 35 ทักษะ -คาเฉลี่ย ( x )
1 โดยใชการจัด ทักษะวิชาคณิตศาสตร คน -แบบทดสอบ -สวนเบี่ยง เบน
การเรียนรูแบบ เรื่องการประยุกต 1 โดย โรงเรียน มาตรฐาน (S.D.)
ปญหาเปนฐาน ใชการจัดการเรียนรู ไทรโยค
เพื่อสงเสริม แบบปญหาเปนฐาน เพื่อ มณีกาญจน
ความสามารถใน สงเสริมความสามารถ วิทยา
การแกปญหา ในการแกปญหา
- ทดสอบความสามารถ
ในการแกปญหา

ขั้นตอนที่ 4 พัฒนา (D2 : Development) : ผลการประเมินและปรับปรุงแบบฝกทักษะ วิชา


คณิตศาสตร เรื่องการประยุกต 1โดยใชการจัดการเรียนรู
แบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการ
แกปญหา

วัตถุประสงค
ผลการประเมินแบบฝกทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรู
แบบปญหาเปนฐาน สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่1 เพื่อนําผลการประเมินมาปรับปรุงแกไข
ใหเปนแบบฝกทักษะฉบับสมบูรณ
123

วิธีดําเนินการ
ผูวิจัย ไดดําเนินการประเมินผลการใช แบบฝ กทัก ษะวิช าคณิตศาสตร เรื่องการ
ประยุกต 1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
มีขั้นตอนดังนี้
1. ประเมินความสามารถในการแกปญหา เปน แบบทดสอบแบบอัตนัย จํานวน 5
ขอ แลวนําผลการทดสอบมาหาคาความตางของคะแนนเฉลี่ยกอนและหลังการทดลองใช แบบฝก
ทักษะวิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน
2. สอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอ การใชแบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตร
เรื่องการประยุกต 1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน จํานวน 10 ขอ โดยสอบถาม
เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู บรรยากาศในการเรียนรู การวัดและประเมินผล และ
ประโยชนที่ไดรับ
3. การปรับปรุง การแกไขแบบฝกทักษะ โดยนําผลการประเมินและขอเสนอมาใช
ในการปรับปรุงแกไข เพื่อใหแบบฝกทักษะมีความสมบูรณและเหมาะสมในการนําไปใช

ในขั้นตอนที่ 4 พัฒนา (D2 : Development) : ผลการประเมินและปรับปรุงแบบ


ฝกทักษะวิชาคณิตศาสตร เรื่อง การประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อ
ส ง เสริ ม ความ สามารถในการแก ป ญ หา มี เครื่ อ งมื อที่ ใ ช ใ นการประเมิ น ผลประกอบด วย 1)
แบบทดสอบวัดความสามารถในการแกปญหา และ 2) แบบสอบถามความคิ ดเห็นที่มีตอแบบฝก
ทักษะ มีรายละเอียดดังนี้
1. ประเมินความสามารถในการแกปญหา เปนแบบทดสอบแบบอัตนัย จํานวน 5
ขอ แลวนําผลการทดสอบมาหาคาความตางของคะแนนเฉลี่ยกอนและหลังการทดลองใช แบบฝก
ทักษะ วิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน ตรวจให
คะแนนตามเกณฑที่กําหนด ดังตารางที่ 15
124

ตารางที่ 15 เกณฑการตรวจแบบทดสอบวัดความสามารถในการแกปญหา แบบ Analytic Scoring


ขั้นที่ เกณฑการประเมิน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน
1 การเชือ่ มโยง สามารถเชื่อมโยง สามารถเชื่อมโยง สามารถเชื่อมโยง
ปญหาและนําเสนอ ความรูเดิมกับปญหา ความรูเดิมกับปญหา ความรูเดิมกับปญหาที่
ปญหา ที่เกิดขึน้ ไดถูกตอง ที่เกิดขึ้นไมครบถวน เกิดขึน้ ไมถูกตอง
ครบถวน
2 ทําความเขาใจกับ สามารถเขียนสิ่งที่ สามารถเขียนสิ่งที่ เขียนสิ่งที่โจทย
ปญหา โจทยกําหนดได โจทยกําหนดไดไม กําหนดไดไมถูกตอง
ครบถวนและถูกตอง ครบทุกประเด็น
3 ดําเนินการศึกษา มีการวางแผน มีการวางแผนในการ ไมมีการวางแผนใน
คนควา ในการแกปญหา แก ปญหา แสดงวิธี การแกปญหา
แสดงวิธีทําเปน ทํา ถูกตอง บาง แสดงวิธีทํา ไมถูกตอง
ขั้นตอน ถูกตอง ขั้นตอน
4 สังเคราะหขอมูล มีการอางสูตร ทฤษฎี มีการอางสูตร ทฤษฎี มีการอางสูตร ทฤษฎี
และปฏิบัติ หรือวาด หรือวาดภาพ หรือวาดภาพประกอบ
ภาพประกอบ ประกอบการอธิบาย การอธิบาย ไมถูกตอง
การอธิบาย ถูกตองเปนบางสวน
5 สรุปผลการแกไข มีการสรุปผลของ มีการสรุปผล สรุปผลไมถูกตอง
ปญหาและความรู คําตอบที่ไดสมบูรณ ไมสมบูรณ คําตอบที่ คําตอบผิด
ที่ได ได คลาดเคลื่อนกับ
คําตอบจริง

จากตารางที่ 15 เกณฑ การตรวจแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก ปญหา แบบ


Analytic Scoringโดยใชขั้นตอนแบบปญหาเปนฐาน 5 ขั้นตอน คือ 1) การเชื่อมโยงปญหาและ
นําเสนอปญหา 2) ทําความเขาใจกับปญหา 3) ดําเนินการศึกษาคนควา 4) สังเคราะหขอมูลและ
ปฏิบัติ และ5)สรุปผลการแกไขปญหาและความรูที่ได มีเกณฑการประเมินความสามารถในการ
แกปญหา ซึ่งปรับปรุงมาจากเกณฑการตัดสินผลการเรียน กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรของ
สํานักนิเทศและพัฒนามาตรฐานการศึกษา (2545: 126) ดังตารางที่ 15
125

ตารางที่ 16 แสดงเกณฑการประเมินความสามารถในการแกปญหา
คะแนนรอยละ ระดับความสามารถในการแกปญหา
80 - 100 ดีมาก
70 - 79 ดี
60 – 69 ปานกลาง
50 – 59 พอใช
ต่ํากวา 50 ตองปรับปรุง

2. สอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอ การใชแบบฝกทักษะวิชาคณิตศาสตร
เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริมความสามารถในการ
แกปญหา จํานวน 10 ขอ โดยสอบถามเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู บรรยากาศในการ
เรียนรู การวัดและประเมินผล และประโยชนที่ไดรับ
โดยเปนแบบมาตราสวนประเมินคา (Rating Scale) 5 ระดับของลิเคิรท (Likert) ดังนี้
ความคิดเห็นอยูในระดับดีมาก ใหคะแนน 5 คะแนน
ความคิดเห็นอยูในระดับดี ใหคะแนน 4 คะแนน
ความคิดเห็นอยูในระดับปานกลาง ใหคะแนน 3 คะแนน
ความคิดเห็นอยูในระดับพอใช ใหคะแนน 2 คะแนน
ความคิดเห็นอยูในระดับตองปรับปรุง ใหคะแนน 1 คะแนน
เกณฑการแปลความหมาย โดยใชเกณฑประเมินของ บุญชม ศรีสะอาด, (2545: 102-163)
ดังนี้
คาเฉลี่ยระหวาง 4.50 – 5.00 หมายถึง ความคิดเห็นอยูในระดับดีมาก
คาเฉลี่ยระหวาง 3.50 – 4.49 หมายถึง ความคิดเห็นอยูในระดับดี
คาเฉลี่ยระหวาง 2.50 – 3.49 หมายถึง ความคิดเห็นอยูในระดับปานกลาง
คาเฉลี่ยระหวาง 1.50 – 2.49 หมายถึง ความคิดเห็นอยูในระดับพอใช
คาเฉลี่ยระหวาง 1.00 – 1.49 หมายถึง ความคิดเห็นอยูในระดับตองปรับปรุง
3. การปรับปรุง การแกไขแบบฝกทักษะ โดยนําผลการประเมินและขอเสนอมาใช
ในการปรับปรุงแกไข เพื่อใหแบบฝกทักษะมีความสมบูรณและเหมาะสมในการนําไปใช
126

จากขั้นตอนที่ 4 พัฒนา (D2 : Development) : ผลการประเมินและปรับปรุงแบบฝก


ทักษะวิชาคณิตศาสตร เรื่องการประยุกต1 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบปญหาเปนฐาน เพื่อสงเสริม
ความสามารถในการแกปญหา สามารถสรุปวิธีการดําเนินการวิจัย ไดดังตารางที่ 17
ตารางที่ 17 สรุปวิธีการดําเนินการ ขั้นตอนที่ 4 (D2 : Development): ผลการประเมินและปรับปรุง
แบบฝกทักษะ

การวิเคราะห
วัตถุประสงค วิธีการ กลุมเปาหมาย เครื่องมือ
ขอมูล
เพื่ อเปรีย บเที ยบความ ทํา นักเรียนชั้น แบบทดสอบ คาเฉลี่ย ( X )
สามารถในการแก ป ญ หา แบบทดสอบ มัธยมศึกษาปที่ วัดความ สวนเบี่ยงเบน
ก อ นและหลั ง ใช แ บบฝ ก 1/1 สามารถใน มาตรฐาน
ทั ก ษะ วิ ช าคณิ ต ศาสตร จํานวน 35 คน การแกปญหา (S.D.) และ
เรื่องการประยุกต1 โดยใช โรงเรียนไทรโยค คาสถิติ
การจั ด การเรี ย นรู แ บบ มณีกาญจนวิทยา t-test แบบ
ป ญหาเป นฐาน เพื่ อส ง Dependent
เสริมความสามารถในการ
แกปญหา สําหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
เพื่ อ ศึ ก ษ า ค ว า ม คิ ด สอบถาม นักเรียนชั้นมัธยม แบบสอบถาม - วิเคราะห
เห็ น ของนั ก เ รี ย น ที่ มี ต อ ความคิดเห็น ศึ ก ษาป ท่ี 1/1 ความคิดเห็น เนือ้ หา (Content
แ บ บ ฝ ก ทั ก ษ ะ วิ ช า จํานวน 35 คน Analysis)
คณิ ต ศาส ตร เรื่ อ ง การ โรงเรียนไทรโยค - รอยละ (%)
ประยุกต1 โดยใชการจัด มณีกาญจนวิทยา -คาเฉลี่ย ( x )
การเรียนรูแบบปญหาเปน -สวนเบี่ยงเบน
ฐาน เพื่ อสง เสริมความ มาตรฐาน
สามารถในการแก ป ญ หา (S.D.)
สํ า ห รั บ นั ก เ รี ย น ชั้ น
มัธยมศึกษาปที่ 1
127

บทที 4
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
การวิจยั เรื อง การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การ
จัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชัน
มัธยมศึกษาปี ที 1 เป็ นลักษณะของการวิจยั และพัฒนา (Research and Development : R&D)
ประกอบด้วยขันตอนการดําเนิ นการ 4 ขันตอน ดังนี 1) ศึกษาข้อมูลพืนฐานและความต้องการใน
การพัฒ นาแบบฝึ กทัก ษะ 2) พัฒ นาแบบฝึ กทัก ษะ 3) ทดลองใช้ แ บบฝึ กทัก ษะ และ 4)
การประเมินผลและปรับปรุ งแบบฝึ กทักษะ
การวิเคราะห์ ข้อมูล
เสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล เป็ น 4 ตอน ดังนี
ตอนที 1 ผลการศึกษาข้อมูลพืนฐานและความต้องการในการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชา
คณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุก ต์1 โดยใช้ก ารจัดการเรี ย นรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพื อส่ ง เสริ ม
ความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1
ตอนที 2 ผลการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ เรื องการประยุกต์1 วิชาคณิ ตศาสตร์ โดยใช้การ
จัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชัน
มัธยมศึกษาปี ที 1 ให้มีประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ /
ตอนที 3 ผลการทดลองใช้แบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การ
จัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชัน
มัธยมศึกษาปี ที 1
ตอนที 4 ผลการประเมิ น และปรั บ ปรุ งแบบฝึ กทั ก ษะ วิ ช าคณิ ตศาสตร์ เรื อง
การประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการ
แก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที1 มีขนตอนดั
ั งนี
ตอนที 4.1 ผลการเปรี ยบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหา ก่ อนและหลังใช้
แบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน
สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1
ตอนที 4.2 ผลการศึ ก ษาความคิ ดเห็ นของนั ก เรี ยนที มี ต่ อแบบฝึ กทัก ษะ วิช า
คณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุก ต์ 1 โดยใช้ก ารจัด การเรี ย นรู้ แบบปั ญ หาเป็ นฐาน เพื อส่ ง เสริ ม
ความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1
127
128

ตอนที 1 ผลการศึ กษาข้ อมูลพืนฐานและความต้ องการในการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชา


คณิตศาสตร์ เรื องการประยุ กต์ 1 โดยใช้ ก ารจั ดการเรี ยนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ ม
ความสามารถในการแก้ปัญหา สํ าหรับนักเรียนชันมัธยมศึกษาปี ที 1
แบ่งออกเป็ น 5 ส่ วน
1. ผลการวิเคราะห์หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุ ท ธศัก ราช
และหลัก สู ต รสถานศึกษาโรงเรี ยนไทรโยคมณี กาญจน์วทิ ยา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์
2. ผลการศึกษา แนวคิด ทฤษฎี งานวิจยั ทีเกียวข้อง ต่อการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ
วิช าคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุก ต์1 โดยใช้ก ารจัดการเรี ยนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพื อส่ งเสริ ม
ความสามารถในการแก้ปัญหา
3. ผลการวิเคราะห์ความสามารถในการแก้ปัญหา (ก่อนเรี ยน) ของนักเรี ยนในชัน
มัธยมศึกษาปี ที 1
4. ผลการศึกษาข้อมูลพืนฐานและความต้องการในการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชา
คณิ ต ศาสตร์ เรื องการประยุ ก ต์ 1 โดยใช้ก ารจัด การเรี ย นรู้ แ บบปั ญ หาเป็ นฐาน เพื อส่ ง เสริ ม
ความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที1 จํานวน 1 ห้องเรี ยน 35 คน
โดยการสอบถามเกียวกับ 1) องค์ประกอบของแบบฝึ กทักษะ 2) เนื อหา และ3) การวัดและประเมินผล
ของแบบฝึ กทักษะ
5. ผลการศึกษาข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกียวกับการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชา
คณิ ต ศาสตร์ เรื องการประยุ ก ต์ 1 โดยใช้ ก ารจัด การเรี ย นรู้ แ บบปั ญ หาเป็ นฐาน เพื อส่ ง เสริ ม
ความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 จากครู กลุ่มสาระการเรี ยนรู้
คณิ ตศาสตร์ จํานวน 5 ท่าน ในโรงเรี ยนไทรโยคมณี กาญจน์วิทยา โดยการสอบถามเกี ยวกับ
1) องค์ประกอบของแบบฝึ กทักษะ 2) เนือหา และ3) การวัดและประเมินผลของแบบฝึ กทักษะ
1. ผลการวิเคราะห์ หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุ ท ธศั ก ราช และหลั ก สู ตร
สถานศึกษาโรงเรียนไทรโยคมณีกาญจน์ วิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ผลการวิ เ คราะห์ ห ลัก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขันพื นฐาน พุ ท ธ ศัก ร า ช และ
หลัก สู ต รสถานศึกษาโรงเรี ยนไทรโยคมณี กาญจน์วิทยา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ พบว่า
การจัดการศึกษา มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนทุกคนซึ งเป็ นกําลังของชาติ ให้เป็ นมนุ ษย์ทีมีความสมดุล ทังด้าน
ร่ างกาย ความรู ้ คุ ณธรรม มีความรู ้และทักษะพืนฐานรวมทังเจตคติ ทีจําเป็ นต่อการศึ กษาต่อการ
ประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวติ โดยมุ่งเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญบนพืนฐานความเชื อว่า ทุกคน
สามารถเรี ยนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ มีความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถ
129

ในการคิดวิเคราะห์ การคิ ดสัง เคราะห์ การคิ ดอย่างสร้ างสรรค์ การคิ ดอย่างมี วิจารณญาณและ
การคิดเป็ นระบบ เพือนําไปสู่ การสร้างองค์ความรู ้หรื อสารสนเทศ เพือการตัดสิ นใจเกียวกับตนเอง
และสังคมได้อย่างเหมาะสม และความสามารถในการแก้ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหา
อุปสรรคต่างๆที เผชิ ญได้อย่างถูกต้องเหมาะสม บนพืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูล
สารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆในสังคม แสวงหาความรู ้
ประยุกต์ความรู ้ มาใช้ในการป้ องกันและแก้ไขปั ญหาและมีการตัดสิ นใจที มีประสิ ทธิ ภาพ โดย
คํานึงถึงผลกระทบทีเกิดขึนต่อตนเองสังคมและสิ งแวดล้อม
อีกทังยังพบว่าการจัดการศึกษา โดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ ต้องมีการเชื อมโยงกับศาสตร์
อืนๆ สอดคล้องกับ สาระและมาตรฐานการเรี ยนรู้ สาระการเรี ยนรู้คณิ ตศาสตร์ หลักสู ตรแกนกลาง
การศึ ก ษาขันพื นฐาน พุ ท ธศัก ราช 2551 สาระที 6 ทัก ษะและกระบวนการทางคณิ ต ศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื อสาร การสื อความหมายทาง
คณิ ตศาสตร์ และการนําเสนอ การเชือมโยงความรู ้ต่าง ๆ ทางคณิ ตศาสตร์ และเชื อมโยงคณิ ตศาสตร์
กับศาสตร์ อืนๆ และมีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์ ซึงจะต้องมีการศึกษา ฝึ กทักษะการคิดคํานวณ ฝึ กการ
แก้ปัญหา และฝึ กทักษะกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์
ดังนันผูว้ ิจยั จัดให้ผเู้ รี ยนได้เรี ยน เนื อหาเรื องการประยุกต์1 วิชาคณิ ตศาสตร์ เพิมเติม เวลา
16 ชัวโมง จํานวน 1.0 หน่วยกิต ประกอบด้วยเนือหา 1) รู ปเรขาคณิ ต 2) จํานวนนับ 3) ร้อยละใน
ชี วิตประจําวัน และ 4) ปั ญหาชวนคิด เพือพัฒนาผูเ้ รี ยน ให้เป็ นไปตามหลักการ จุดมุ่งหมายและสมรรถนะ
ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551 และหลัก สู ต รสถานศึกษาโรงเรี ยน
ไทรโยคมณี กาญจน์วิทยา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ คณิ ตศาสตร์ ในการส่ งเสริ มความสามารถในการ
แก้ปัญหา
2. ผลการศึกษา แนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยทีเกียวข้ อง ต่ อการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิตศาสตร์
เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้ การจัดการเรี ยนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริมความสามารถในการ
แก้ปัญหา
ผลการวิเคราะห์ แนวคิ ด ทฤษฎี งานวิจยั ที เกี ยวข้อง ต่อการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชา
คณิ ต ศาสตร์ เรื องการประยุ ก ต์ 1 โดยใช้ก ารจัด การเรี ย นรู้ แ บบปั ญ หาเป็ นฐาน เพื อส่ ง เสริ ม
ความสามารถในการแก้ปัญหา พบว่า องค์ประกอบของแบบฝึ กทักษะที สํา คัญ มี ดงั นี ชื อเรื อง
คํา นํา คํา ชี แจง สารบัญ วัตถุ ป ระสงค์ก ารเรี ย นรู ้ แบบทดสอบก่ อนเรี ย น แบบฝึ กทัก ษะ และ
แบบทดสอบหลังเรี ยน สําหรับการจัดการเรี ยนรู ้ทีจะทําให้ผเู ้ รี ยนเกิดความสามารถในการแก้ปัญหา
ประกอบการใช้แบบฝึ กทักษะ คือ การจัดการเรี ยนรู้แบบปัญหาเป็ นฐาน เป็ นรู ปแบบของการจัดการ
130

เรี ยนการสอนทีเริ มต้นจากปั ญหา เพือแก้ปัญหาหรื อสถานการณ์เกียวกับชี วิตประจําวัน ตัวปั ญหาจะ


เป็ นจุดตังต้นของกระบวนการเรี ยนรู ้ และเป็ นตัวกระตุน้ การพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา มุ่งเน้น
พัฒนาผูเ้ รี ยนในด้านทักษะและกระบวนการเรี ยนรู้ และพัฒนาผูเ้ รี ยนให้สามารถเรี ยนรู้ โดยการชี นํา
ตนเอง ครู จึงจะเป็ นเพียงผูอ้ าํ นวยความสะดวกและเรี ยนรู ้ไปพร้ อม ๆ กับนักเรี ยน ดังนันปั ญหาที
นํามาใช้ในการเรี ยนจึงต้องเป็ นปั ญหาที มี แนวทางการแก้ไขปั ญหาที หลากหลาย มี ความยุ่งยาก
ซับซ้อนและมีประโยชน์สําหรับนักเรี ยน เพือทีจะทําให้นกั เรี ยนเกิดแรงจูงใจในการเรี ยนรู้ และจาก
การศึ ก ษาขันตอนการจัด การเรี ยนรู้ แ บบใช้ ปั ญ หาเป็ นฐาน ใช้ ข ันตอนในการวิ จ ัย ครั งนี
5 ขันตอนต่อไปนี
ขันที 1 การเชื อมโยงปั ญหาและนําเสนอปั ญหา (The Related Problem and
Problem Presentation) เป็ นขันตอนในการสร้างปั ญหา เพราะในการเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน
ผูเ้ รี ยนจะต้องมีความ รู ้สึกว่าปั ญหานันมีความสําคัญต่อตนก่อน ครู ควรเลือกหรื อออกแบบปั ญหา
ให้สอดคล้องกับผูเ้ รี ยนดังนันในขันนีครู จะสํารวจประสบการณ์ความสนใจของผูเ้ รี ยนแต่ละบุคคล
ก่อนเพือเป็ นแนวทางในการเลือกหรื อออกแบบปั ญหา โดยครู จะยกประเด็นทีเกียวข้องกับปั ญหา
ขึนมาร่ วมกันอภิปรายก่อนแล้วครู และนักเรี ยนช่วยกันสร้างปั ญหาทีผูเ้ รี ยนสนใจขึนมาเพือนําไป
เป็ นปั ญหาสําหรับการเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน ประเด็นทีครู ยกมานันจะต้องเป็ นประเด็นทีมี
ความ สัมพันธ์กบั ความรู ้ในเนือหาวิชาและทักษะทีต้องการให้นกั เรี ยนได้รับ
ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปั ญหา (Understanding of the Problem ) นักเรี ยนร่ วมมือ
กันเรี ยนรู ้ ให้ผูเ้ รี ยนร่ วมอภิปรายแสดงความคิ ดเห็ นเพือทําความเข้าใจกับปั ญหาให้ชดั เจน และ
สามารถอธิบายสิ งต่างๆ ทีเกียวข้องกับปั ญหาได้ เช่น โจทย์กาํ หนดอะไร ต้องการอะไร
ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า (The Study of Problem) เป็ นขันทีนักเรี ยนแต่ละ
คน ดําเนิ นการศึกษาค้นคว้า เพือวางแผนการแก้ปัญหาด้วยวิธีการทีหลากหลาย หรื ออาจมาจาก
ความรู้ /ประสบการณ์ เดิ ม และสามารถหาได้จากแหล่ งข้อมูลหรื อสื อต่างๆ เช่ นใบความรู้ ใบ
กิจกรรม เอกสารแนะแนวทาง หนังสื อเรี ยน Internet เป็ นต้น
ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ (The Synthesis of Data and Procedure)
กิจกรรมในขันตอนนี เน้นฝึ กทักษะการคิดแก้ปัญหาให้กบั ผูเ้ รี ยน เป็ นขันทีผูเ้ รี ยนแต่ละคนสร้ าง
ทางเลื อกหรื อกําหนดแนวทางการแก้ปัญหา อาจมีการสร้ างสื อ วาดภาพประกอบหรื อจัดการกับ
สาระความรู ้ ใหม่ ซึ งแตกต่างจากการทํารายงานธรรมดา แต่เป็ นการนําเสนอแนวทาง วิธีการแก้
ปั ญหาทีชัดเจน ดําเนิ นการแก้ปัญหาตามวิธีการแก้ปัญหาทีหลากหลาย ภายใต้พืนฐานของการคิด
วิเคราะห์ การคิดริ เริ มสร้างสรรค์ เป็ นต้น
131

ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ปัญหาและความรู ้ทีได้ (The Conclusion of Solution) การ


จัดกิจกรรมในขันตอนนีเป็ นการฝึ กคิดแก้ปัญหา เป็ นขันทีผูเ้ รี ยนแต่ละคนนําความรู ้ทีได้จากการคิด
แก้ปัญหา ความคิด/วิธีการทีแปลกใหม่ หรื อแนวทางจากการศึกษาค้นคว้าเพิมเติม และนํามาสร้าง
มโนทัศน์คาํ อธิ บายของสถานการณ์ ปัญหาด้วยตนเอง ประมวลความรู ้ ทีได้ว่ามี ความสอดคล้อง
เหมาะสมสําหรับการแก้ปัญหาทีเกิดขึนเพียงใด และสรุ ปเป็ นภาพรวม
3. ผลการวิเคราะห์ ความสามารถในการแก้ปัญหา (ก่อนเรียน) ของนักเรียนในชันมัธยมศึกษาปี ที 1
ผลการวิเคราะห์ความสามารถในการแก้ปัญหา (ก่อนเรี ยน) ของนักเรี ยนในชันมัธยมศึกษา
ปี ที 1/1 โรงเรี ยนไทรโยคมณี กาญจน์วทิ ยา จํานวน 35 คน ดังตารางที 18
ตารางที 18 ความสามารถในการแก้ปัญหา (ก่อนเรี ยน) ของนักเรี ยนในชันมัธยมศึกษาปี ที 1
ผลการวิเคราะห์ คะแนนเต็ม X ค่ าเฉลียร้ อยละ S .D. แปลความหมาย
ความสามารถในการ 50 14.8 29.6 4.24 ต้องปรับปรุ ง
แก้ปัญหา (ก่อนเรี ยน)
จากตารางที 18 ผลการวิเคราะห์ความสามารถในการแก้ปัญหา(ก่อนเรี ยน) ของนักเรี ยนใน
ชันมัธยมศึกษาปี ที 1/1 โรงเรี ยนไทรโยคมณี กาญจน์วิทยา จํานวน 35 คน ทําแบบทดสอบวัด
ความสามารถในการแก้ปัญหา แบบอัตนัย จํานวน 5 ข้อ ข้อละ 10 คะแนน รวม 50 คะแนน ตาม
เกณฑ์การตรวจแต่ละขันตอน มาวิเคราะห์โดยใช้ระดับคะแนนทีกําหนดและทําการเปรี ยบเทียบกับ
เกณฑ์ เพือใช้ในการแปลความหมาย ซึ งปรับปรุ งมาจากเกณฑ์การตัดสิ น ผลการเรี ยน กลุ่มสาระ
การเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ ข องสํา นัก นิ เ ทศและพัฒ นามาตรฐานการศึ ก ษา (2545: 126) พบว่ า
ความสามารถในการแก้ปัญหา (ก่อนเรี ยน) มีคะแนนเฉลียร้อยละ เท่ากับ 29.6 คะแนน และส่ วน
เบียงเบนมาตรฐาน ( S.D. ) เท่ากับ 6.21 อยูใ่ นระดับต้องปรับปรุ ง
4. ผลการศึกษาข้ อมูลพืนฐานและความต้ องการ ในการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิตศาสตร์ เรือง
การประยุก ต์ 1 โดยใช้ การจั ด การเรี ย นรู้ แ บบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ ม ความสามารถในการ
แก้ปัญหา สํ าหรับนักเรียนชันมัธยมศึกษาปี ที 1
ผลการศึกษาข้อมูลพืนฐานและความต้องการของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 เกี ยวกับ 1)
องค์ประกอบของแบบฝึ กทักษะ 2) เนื อหา และ3) การวัดและประเมินผล ของแบบฝึ กทัก ษะวิช า
คณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุก ต์1 โดยใช้ก ารจัด การเรี ย นรู้ แบบปั ญ หาเป็ นฐาน เพื อส่ ง เสริ ม
ความสามารถในการแก้ปั ญหา สํา หรั บ นัก เรี ย นชันมัธ ยมศึ ก ษาปี ที 1 โดยแบ่ งเป็ น 2 ตอน
ประกอบด้วย
132

ตอนที 1 ข้อมูลพืนฐานและความต้องการเกี ยวกับ 1) องค์ประกอบของแบบฝึ ก


ทักษะ 2) เนือหา และ3) การวัดและประเมินผล ดังรายละเอียดตารางต่อไปนี
ตารางที 19 ข้อมูลพืนฐานและความต้องการในการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ

จํานวนนักเรียน
ข้ อมูลพืนฐานและความต้ องการ ร้ อยละ
(คน)
1. นักเรียนใช้ แบบฝึ กทักษะทีครู ผ้สู อนจัดเตรียมให้ ประกอบการเรี ยน
1.1 เคย 35 100
รวม 35 100
2. ความรู้ สึกนักเรียนต่ อแบบฝึ กทักษะประกอบการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
2.1 ชอบ 35 100
รวม 35 100
3. องค์ ประกอบภายในแบบฝึ กทักษะทีนักเรียนต้ องการ
3.1 ชือเรื อง 35 100
3.2 คํานํา 35 100
3.3 คําชีแจง 34 97.14
3.4 สารบัญ 35 100
3.5 วัตถุประสงค์ (มาตรฐาน และผลการเรี ยนรู้) 33 94.29
3.6 แบบทดสอบก่อนเรี ยน 32 91.43
3.7 แบบฝึ กทักษะ 35 100
3.8 แบบทดสอบหลังเรี ยน 35 100
4. นักเรียนคิดว่าเนือหาในแบบฝึ กทักษะ ควรมีลกั ษณะ
4.1 เน้นเรื องทีเกียวข้องกับชีวิตประจําวัน 35 100
4.2 พัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา 35 100
4.3 เข้าใจง่าย ไม่ยากจนเกินไป 35 100
4.4 เรี ยงลําดับจากง่ายไปหายาก 35 100
4.5 พัฒนาความรู ้พนฐานทางคณิ
ื ตศาสตร์ บวก ลบ คูณและหาร 35 100
ตรงกับความสามารถในระดับมัธยมศึกษาปี ที 1
133

ตารางที 19 ข้อมูลพืนฐานและความต้องการในการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ (ต่อ)

จํานวนนักเรียน
ข้ อมูลพืนฐานและความต้ องการ ร้ อยละ
(คน)
5. นักเรียนต้ องการให้ ครู ประเมินผลงานของนักเรียนในรู ปแบบใด
5.1 การตรวจชินงาน (การทําแบบฝึ กทักษะของนักเรี ยน) 34 97.14
5.2 การทําแบบทดสอบ 30 91.43
5.3 การสอบถาม 2 5.71
5.4 การนําเสนอผลงานหน้าชันเรี ยน 4 28.57
6. นักเรียนต้ องการให้ ใครเป็ นผู้ประเมินผลงานของนักเรียน
6.1 ครู ผสู้ อนเป็ นผูป้ ระเมิน 34 97.14
6.2 ประเมินผลงานด้วยตนเอง 11 31.43
6.3 เพือนประเมินเพือน 17 48.57
6.4 ผูป้ กครองประเมิน 8 22.86

จากตารางที 19 ข้อมู ล พืนฐานและความต้องการ ในการพัฒนาแบบฝึ กทักษะวิช า


คณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุก ต์ 1 โดยใช้ก ารจัดการเรี ยนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพื อส่ ง เสริ ม
ความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1/1 พบว่า นักเรี ยนเคยใช้แบบฝึ ก
ทักษะทีครู ผสู้ อนจัดเตรี ยมให้ประกอบการเรี ยน จํานวน 35 คน คิดเป็ นร้อยละ 100 นักเรี ยนชอบ
แบบฝึ กทักษะประกอบการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ จํานวน 35 คน คิดเป็ นร้อยละ 100 องค์ประกอบ
ภายในแบบฝึ กทักษะทีนักเรี ยนต้องการ คือ 1) ชือเรื อง 2) คําชี แจง 3) แบบทดสอบก่อนเรี ยน 4)
แบบฝึ กทักษะ และ5) แบบทดสอบหลังเรี ยน จํานวน 35 คน คิดเป็ นร้อยละ 100 6) คํานํา จํานวน 34
คน คิดเป็ นร้อยละ 97.14 7) สารบัญ จํานวน 33 คน คิดเป็ นร้อยละ 94.29 และ 8) วัตถุประสงค์
(มาตรฐาน และผลการเรี ยนรู้) จํานวน 32 คน คิดเป็ นร้อยละ 91.43 ตามลําดับ นักเรี ยนคิดว่า
เนื อหาในแบบฝึ กทักษะ ควรมีลกั ษณะ 1) เน้นเรื องทีเกี ยวข้องกับชี วิตประจําวัน 2) พัฒนาความ
สามารถในการแก้ปัญหา 3) เข้าใจง่าย ไม่ยากจนเกินไป 4) เรี ยงลําดับจากง่ายไปหายาก 5) พัฒนา
ความรู ้พืนฐานทางคณิ ตศาสตร์ บวก ลบ คูณและหาร และ6) ตรงกับความสามารถในระดับมัธยม
ศึกษาปี ที1 จํานวน 35 คน คิดเป็ นร้อยละ 100 นักเรี ยนต้องการให้ครู ประเมินผลงานของนักเรี ยนใน
รู ปแบบใด 1) การตรวจชิ นงาน (การทําแบบฝึ กทักษะของนักเรี ยน) จํานวน 34 คน คิดเป็ นร้อยละ
97.14 2) การทําแบบทดสอบ จํานวน 30 คน คิดเป็ นร้อยละ 91.43 3) การสอบถาม จํานวน 2 คน
134

คิดเป็ นร้อยละ 5.71 และ 4) การนําเสนอผลงานหน้าชันเรี ยน จํานวน 4 คน คิดเป็ น ร้อยละ 28.57


ตามลํา ดับ และ นัก เรี ย นต้อ งการให้ใ ครเป็ นผูป้ ระเมิ น ผลงานของนัก เรี ย น 1) ครู ผูส้ อนเป็ นผู้
ประเมิน จํานวน 34 คน คิดเป็ นร้อยละ 97.14 2) เพือนประเมินเพือน จํานวน 17 คน คิดเป็ นร้อยละ
48.57 3) ประเมินผลงานด้วยตนเอง จํานวน 11 คน คิดเป็ นร้อยละ 31.43 และ4) ผูป้ กครอง
ประเมิน จํานวน 8 คน คิดเป็ นร้อยละ 22.86 ตามลําดับ
ตอนที 2 ข้อเสนอแนะเพิมเติมเกียวกับแบบฝึ กทักษะของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1
จากการศึกษาข้อเสนอแนะเพิมเติมเกียวกับแบบฝึ กทักษะของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1
พบว่า นักเรี ยนต้องการแบบฝึ กทักษะทีตรงตามความต้องการ มีรูปภาพการ์ ตูน สี สัน สดใส มีโจทย์
ปั ญหา ทีจะพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา อีกทัง ภายในแบบฝึ กทักษะ ต้องมีการเรี ยงลําดับ
เนือหาจากง่ายไปหายาก และมีลกั ษณะเนือหาทีตรงกับระดับความสามารถ ในระดับชันมัธยมศึกษา
ปี ที 1

5. ผลการศึกษาข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะเกียวกับการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิตศาสตร์


เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้ การจัดการเรี ยนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริมความสามารถในการ
แก้ปัญหา จากครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ผลการศึกษาข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกียวกับการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์
เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการ
แก้ปัญหา สําหรั บนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 ของครู กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ คณิ ตศาสตร์ จํานวน
5 ท่า น ในประเด็ นดังต่อไปนี 1) องค์ประกอบของแบบฝึ กทักษะ 2) เนื อหา และ3) การวัดและ
ประเมินผลของแบบฝึ กทักษะ โดยใช้แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง (Structured Interview ) ผูว้ ิจยั
นําเสนอผลการวิจยั เป็ น 2 ตอน ดังนี
135

ตอนที สถานภาพและข้อมูลทัวไป ของครู กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์


ตารางที 20 สถานภาพและข้อมูลทัวไป
สถานภาพและข้ อมูลทัวไป จํานวนครู (คน) ร้ อยละ
1. เพศ
1.1 ชาย 2 40
1.2 หญิง 3 60
รวม 5 100
2. ช่ วงอายุ
2.1 30 – 38 ปี 4 80
2.2 39 – 46 ปี 1 20
รวม 5 100
3. ระดับการศึกษา
3.1 ปริ ญญาตรี 3 60
3.2 ปริ ญญาโท 2 40
รวม 5 100
4. สาขาการศึกษา
4.1 บริ หารการศึกษา 1 20
4.2 คณิ ตศาสตร์ศึกษา 3 60
4.3 วิทยาศาสตร์/คณิ ตศาสตร์ 1 20
รวม 5 100
5. มหาวิทยาลัยทีศึกษา
5.1 รามคําแหง 1 20
5.2 เกษตรศาสตร์ 2 40
5.3 ราชภัฏกาญจนบุรี 2 40
รวม 5 100
6. ประสบการณ์ ทํางาน
6.1 น้อยกว่า 5 ปี 1 20
6.2 5 – 10 ปี 3 60
6.3 20 – 25 ปี 1 20
รวม 5 100
136

จากตารางที 20 สถานภาพและข้อมูลทัวไป ของครู กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ พบว่า


ครู ส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิง จํานวน 3 คน คิดเป็ น ร้อยละ 60 เพศชาย จํานวน 2 คน คิดเป็ น ร้อยละ 40
มีช่วงอายุ 30 – 38 ปี จํานวน 4 คน คิดเป็ น ร้อยละ 80 ช่วงอายุ 39 – 46 ปี จํานวน 1 คน คิดเป็ น
ร้อยละ 20 ระดับการศึกษา ปริ ญญาตรี จํานวน 3 คน คิดเป็ น ร้อยละ 60 และปริ ญญาโท จํานวน
2 คน คิดเป็ น ร้อยละ40 สาขาทีจบคือ คณิ ตศาสตร์ ศึกษา จํานวน 3 คน คิดเป็ นร้อยละ 60 สาขา
บริ หารการศึกษา จํานวน 1 คน คิดเป็ น ร้อยละ 20 และสาขาวิทยาศาสตร์ /คณิ ตศาสตร์ (วท.บ.)
จํานวน 1 คน คิดเป็ น ร้อยละ 20 จบจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จํานวน 2 คน คิดเป็ น ร้อยละ 40
จบจากมหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุ รี จํานวน 2 คน คิดเป็ น ร้อยละ 40 และจบจากมหาวิทยาลัย
รามคําแหง จํานวน 1 คน คิดเป็ น ร้อยละ 20 และประสบการณ์การทํางานของครู กลุ่มสาระการ
เรี ยนรู้คณิ ตศาสตร์ ช่วง 5 – 10 ปี จํานวน 3 คน คิดเป็ น ร้อยละ 60 น้อยกว่า 5 ปี จํานวน 1คน
คิดเป็ น ร้อยละ 20 และ ช่วง 20 – 25 ปี จํานวน 1 คน คิดเป็ น ร้อยละ 20 ตามลําดับ
ตอนที ประเด็นสัมภาษณ์ ความคิดเห็นเกียวกับการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์
เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน สําหรับ
นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที1 การวิเคราะห์เนือหา (Content Analysis)
ด้ านองค์ ประกอบของแบบฝึ กทักษะ
องค์ประกอบของแบบฝึ กทักษะทีสําคัญมี ดงั ต่อไปนี 1) ชื อเรื อง 2) คํานํา 3) คําชี แจง
4) สารบัญ 5) วัตถุประสงค์ (มาตรฐาน และตัวชีวัด / ผลการเรี ยนรู้) 6) แบบทดสอบก่อนเรี ยน 7)
แบบฝึ กทักษะ และ 8) แบบทดสอบหลังเรี ยน แต่ละองค์ประกอบของแบบฝึ กทักษะมีความสําคัญ
ทําให้ทราบขอบเขตของการศึกษา ศึกษาหาความรู ้ เป็ นแนวทางในการแก้ปัญหา และทราบระดับ
ความสามารถของตนเอง แบบฝึ กทักษะจึงจะสามารถใช้ประโยชน์ให้เกิดกับผูเ้ รี ยนสู งสุ ด
ด้ านเนือหาทางคณิตศาสตร์ ในแบบฝึ กทักษะ
เนือหาต้องฝึ กกระบวนการคิด สรุ ปเป็ นความคิดรวบยอด และเนือหาควรมีลกั ษณะทีเข้าใจ
ง่ายสอดคล้องกับชีวติ ประจําวัน โจทย์ในแบบฝึ กทักษะก็ควรมีลกั ษณะทีส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนได้แสดง
ความสามารถในการแก้ปัญหา ซึ งถ้าให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในโจทย์ปัญหาข้อนันหรื อเป็ นเรื องทีใกล้
ตัว ก็จะทําให้ผเู ้ รี ยนรู ้สึกทีอยากจะแก้ปัญหานันด้วย อีกทังเพือทีนักเรี ยนจะได้สามารถนําความรู้มา
ประยุ ก ต์ใ ช้ไ ด้อ ย่า งเต็ม ความสามารถ เปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รี ยนได้ศึ ก ษาค้นคว้า ด้วยตนเอง แสดง
ขันตอนการแก้ปัญหาอย่างเป็ นระบบและถูกต้อง
137

ด้ านการวัดและ ประเมินผล
ควรมีการวัดผลและประเมินผลทีหลากหลาย การตรวจจากแบบฝึ กทักษะ การสังเกตจาก
การร่ วมกิ จกรรมในชันเรี ยน การตอบคําถาม มีทงครู
ั เป็ นผูป้ ระเมิน เพือนประเมิน เป็ นต้น อีกทัง
การตรวจโจทย์ปัญหา ต้องมีความสอดคล้องกับขันตอนของ การจัดการเรี ยนรู้แบบปัญหาเป็ นฐาน
ด้ านอุปสรรคทีเกิดขึนต่ อการใช้ แบบฝึ กทักษะ
การใช้ ค ํา สั งคํา ชี แจงไม่ ชั ด เจน ทํา ให้ นัก เรี ยนทํา แบบฝึ กทัก ษะได้ ไ ม่ ถู ก ต้อ ง ขาด
วัตถุ ประสงค์ หรื อไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ทีตังไว้ โจทย์ยากจนเกิ นไป ในการแก้ไขปั ญหา
ดังกล่าว ควรศึกษาแนวทางในการสร้างแบบฝึ กทักษะให้ชดั เจน ศึกษาและวิเคราะห์ความสามารถ
ของผูเ้ รี ยน วิเคราะห์เนือหา ก่อนลงมือสร้างแบบฝึ กทักษะ
ข้ อเสนอแนะเพิมเติม
แบบฝึ กทักษะ ชุดแรกหรื อการเริ มเนือหา ต้องกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนเกิดการคิด ไม่วา่ จะเป็ นการ
วิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ สุ ดท้า ยต้องให้ผู้เรี ยนมีค วามคิ ดรวบยอดในเนื อหานันๆ การเสนอ
ปั ญหาในการสอนควรเริ มจากปั ญหาง่ายๆ สอดคล้องกับสิ งทีอยู่รอบตัวในชี วิตประจําวัน ในการ
แก้ปัญหาควรมี ขนตอนการแก้
ั ปัญหาที ชัดเจน มีการดึ งเอาความรู ้เดิ มมาประยุกต์ใช้ เมือผูเ้ รี ยน
สามารถแก้ปั ญหาได้ จึ ง ปรั บ ปั ญหาให้มี ค วามยากขึ น เพื อที จะฝึ กให้ผูเ้ รี ยนแก้ปั ญหาที มี ความ
หลากหลาย
จะเห็นได้วา่ ผลการศึกษาข้อมูลพืนฐานและความต้องการในการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชา
คณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความ
สามารถในการแก้ปั ญหา สําหรั บนัก เรี ย นชันมัธ ยมศึ กษาปี ที 1 ทังจากที ได้จากการวิเคราะห์
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุ ท ธศัก ราช และหลัก สู ต รสถานศึกษาโรงเรี ยน
ไทรโยคมณี กาญจน์วิทยา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ การศึกษา แนวคิด ทฤษฎี งานวิจยั ที
เกี ยวข้องต่อการพัฒนาแบบฝึ กทัก ษะ และการจัดการเรี ย นรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน การวิเคราะห์
ความสามารถในการแก้ปัญหา (ก่อนเรี ยน) ของนักเรี ยนในชันมัธยมศึกษาปี ที 1 การศึกษาข้อมูล
พืนฐานและความต้องการในการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ เรื องวิชาคณิ ตศาสตร์ การประยุกต์1 โดยใช้
การจัดการเรี ยนรู ้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยน
ชันมัธยมศึกษาปี ที1 โดยการสอบถามเกียวกับ 1) องค์ประกอบของแบบฝึ กทักษะ 2) เนื อหา และ3)
การวัดและประเมินผลของแบบฝึ กทักษะ และการศึกษาข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกียวกับการ
พัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการเรี ย นรู้ แบบปั ญหา
138

เป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 จากครู


กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ คณิ ตศาสตร์ จํานวน 5 ท่าน ในโรงเรี ยนไทรโยคมณี กาญจน์วิทยา โดยการ
สอบถามเกี ยวกับ 1) องค์ประกอบของแบบฝึ กทักษะ 2) เนื อหา และ3) การวัดและประเมินผลของ
แบบฝึ กทักษะ
ทําให้เห็นถึงความสําคัญและความจําเป็ นทีจะพัฒนาแบบฝึ กทักษะทีตรงตามความ
ต้องการและความสามารถของนักเรี ยน ได้องค์ประกอบทีสําคัญของแบบฝึ กทักษะ คือ 1) ชือเรื อง
2) คํานํา 3) คําชีแจง 4) สารบัญ 5) วัตถุ ประสงค์ (มาตรฐาน และตัวชี วัด / ผลการเรี ยนรู้) 6)
แบบทดสอบก่อนเรี ยน 7) แบบฝึ กทักษะ และ 8) แบบทดสอบหลังเรี ยน โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้
แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือทําให้นักเรี ยนความสามารถในการแก้ปัญหาทีสู งขึ น ตามขันตอนการ
แก้ปัญหาแบบปัญหาเป็ นฐาน 5 ขันตอน คือขันที 1 การเชือมโยงปั ญหาและนําเสนอปั ญหา ขันที 2
ทําความเข้าใจกับปั ญหา ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ และ
ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ปัญหาและความรู ้ทีได้

ตอนที 2 ผลการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้ การ


จัดการเรี ยนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ ปัญหา สํ าหรับนักเรี ยนชั น
มัธยมศึกษาปี ที 1 ให้ มีประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ /
ผูว้ ิจยั นําข้อมูลทีได้จากการสังเคราะห์ ขนตอนที
ั คือ ขันศึ กษาข้อมูลพืนฐานและความ
ต้องการ พัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบ
ปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับชันมัธยมศึกษาปี ที 1 มาใช้ใน
การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ โดยมี ขนตอนย่ ั อย 3 ขันตอน คือ ) การพัฒ นาแบบฝึ กทักษะ ) การ
ตรวจสอบคุณภาพและหาประสิ ทธิ ภ าพของแบบฝึ กทักษะ ) การปรับปรุ งแก้ไขแบบฝึ กทักษะ ดัง
รายละเอียดต่อไปนี
1) การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ
การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการ
เรี ยนรู้แบบปัญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับชันมัธยมศึกษาปี ที 1
ผูว้ ิจยั ได้สังเคราะห์ขอ้ มูลในขันตอนที 1 การศึกษาข้อมูลพืนฐานและความต้องการในการพัฒนา
แบบฝึ กทักษะ ได้แก่ การวิเคราะห์หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุ ท ธศัก ราช
และหลัก สู ต รสถานศึกษาโรงเรี ยนไทรโยคมณี กาญจน์วิทยา กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์
การศึ ก ษา แนวคิ ด ทฤษฎี งานวิ จ ัย ที เกี ยวข้อ งต่ อ การพัฒ นาแบบฝึ กทัก ษะ การวิ เ คราะห์
139

ความสามารถในการแก้ปัญหา (ก่อนเรี ยน) ของนักเรี ยนในชันมัธยม ศึกษาปี ที 1/1 และการศึกษา


ข้อมูลพืนฐานและความต้องการในการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ เกียวกับ 1) องค์ประกอบของแบบฝึ ก
ทักษะ 2) เนือหา และ3) การวัดและประเมินผลของแบบฝึ กทักษะ โดยการสอบถามนักเรี ยน และ
การศึกษาข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกียวกับการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ จากครู กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
คณิ ตศาสตร์ โดยการสัมภาษณ์ พบว่าแบบฝึ กทักษะเป็ นสื อ นวัตกรรมทีช่วยส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนเกิ ด
การเรี ยนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนือง แบบฝึ กทักษะจึงเป็ นเครื องมือชนิดหนึงทีครู สามารถนํามา
จัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนให้บรรลุผล มีองค์ประกอบทีสําคัญคือ 1) ชือเรื อง 2) คํานํา 3) สารบัญ
4) คําชี แจง 5) วัตถุประสงค์ (มาตรฐานและผลการเรี ยนรู้) 6) แบบทดสอบก่อนเรี ยน 7) แบบฝึ ก
ทักษะ จํานวน 4 เล่ม คือ เล่มที 1 รู ปเรขาคณิ ต สะกิดใจ เล่มที 2 จํานวนนับ หรรษา เล่มที 3 ร้อยละ
ในชีวิตประจําวัน และ เล่มที 4 โจทย์ปัญหาชวนคิด และ 8) แบบทดสอบหลังเรี ยน โดยใช้เนื อหาเรื อง
การประยุกต์1 ประกอบด้วย 1) รู ปเรขาคณิ ต 2) จํานวนนับ 3) ร้อยละในชี วิตประจําวัน และ 4)
ปัญหาชวนคิด เพือพัฒนาผูเ้ รี ยน ให้เป็ นไปตามหลักการ จุดมุ่งหมายและสมรรถนะ ตามหลักสู ตรแกนกลาง
การศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551 และหลัก สู ต รสถานศึกษาโรงเรี ยนไทรโยคมณี กาญจน์
วิทยา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ในการส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา ประกอบการ
จัดการเรี ยนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน มีขนตอนดั
ั งนี ขันที 1 การเชื อมโยงปั ญหาและนําเสนอปั ญหา
(The Related Problem and Problem Presentation) ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปั ญหา (Understanding
of the Problem ) ขันที 3 ดําเนินการ ศึกษาค้นคว้า (The Study of Problem) ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูล
และปฏิบตั ิ (The Synthesis of Data and Procedure) และ ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ปัญหาและความรู ้ที
ได้ (The Conclusion of Solution) และยังมีการวัดและประเมินผลของแบบฝึ กทักษะทีหลากหลาย
การตรวจจากแบบฝึ กทักษะ การสังเกตจากการร่ วมกิจกรรมในชันเรี ยน การตอบคําถาม มีทงครู ั เป็ น
ผูป้ ระเมิน เพือนประเมิน เป็ นต้น อีกทังการตรวจโจทย์ปัญหา ต้องมีความสอดคล้องกับขันตอนการ
จัดการเรี ยนรู้แบบปัญหาเป็ นฐาน 


2) การตรวจสอบคุณภาพและหาประสิ ท ธิ ภ าพของแบบฝึ กทักษะ


การตรวจสอบคุณภาพเครื องมือ ก่อนไปทดลองใช้ โดยมีผเู ้ ชี ยวชาญทัง 5 ด้านคือ
ผูเ้ ชี ยวชาญด้านหลักสู ตรและวิธีการสอน จํานวน 1 ท่าน ผูเ้ ชี ยวชาญด้านจิตวิทยาและการเรี ยนรู้
จํานวน 1 ท่าน ผูเ้ ชียวชาญด้านเนือหา จํานวน 1 ท่าน ผูเ้ ชี ยวชาญด้านสื อและนวัตกรรม จํานวน
1 ท่าน และผูเ้ ชี ยวชาญด้านการวัดและประเมินผล จํานวน 1 ท่าน เป็ นผูป้ ระเมินค่าดัชนี ความ
สอดคล้อง(IOC) และนําข้อเสนอแนะต่างๆมาปรับปรุ งแก้ไข โดยมีรายละเอียดดังนี
140

1. ความสอดคล้องระหว่างองค์ประกอบของแบบฝึ กทักษะ มีองค์ประกอบที


สําคัญได้แก่ 1) ชื อเรื อง 2) คํานํา 3) สารบัญ 4) คําชีแจง 5) วัตถุประสงค์ (มาตรฐานและผลการ
เรี ยนรู้ ) 6) แบบทดสอบก่ อนเรี ยน 7) แบบฝึ กทักษะ จํานวน 4 เล่ ม คื อ เล่ มที 1 รู ปเรขาคณิ ต
สะกิดใจ เล่มที 2 จํานวนนับ หรรษา เล่มที 3 ร้อยละในชีวิตประจําวัน และ เล่มที 4 โจทย์ปัญหาชวนคิด
8) แบบทดสอบหลังเรี ยน ให้คะแนนความสอดคล้องของประเด็น การเรี ยงลําดับองค์ประกอบของ
แบบฝึ กทักษะ ความเหมาะสมองค์ประกอบภายในของแบบฝึ กทักษะมีความสัมพันธ์สอดคล้องกัน
และองค์ประกอบมีความชัดเจน สามารถแสดงสิ งทีมุ่งหวังให้เกิดกับตัวผูเ้ รี ยน ผลการประเมินจาก
ผูเ้ ชี ยวชาญ ค่าดัชนี ความสอดคล้อง(IOC) เท่ากับ 1.00 ดังนัน องค์ประกอบของแบบฝึ กทักษะ
มีความสอดคล้อง
2. ความสอดคล้องสื อและแหล่งเรี ยนรู ้ของแบบฝึ กทักษะ ให้คะแนนความสอด
คล้องของประเด็น จุดประสงค์การเรี ยนรู้ กิจกรรมการเรี ยนการสอน วัยของผูเ้ รี ยน การดึงดูดความ
สนใจ และส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา ผลการประเมินจากผูเ้ ชี ยวชาญ ค่าดัชนี ความ
สอดคล้อง(IOC) เท่ากับ 1.00 ดังนัน สื อและแหล่งเรี ยนรู ้ของแบบฝึ กทักษะ มีความสอดคล้อง
3. ความสอดคล้องเครื องมือวัดผลและประเมินผลของแบบฝึ กทักษะ ให้คะแนน
ความสอดคล้องของประเด็น จุดประสงค์การเรี ยนรู้ สาระการเรี ยนรู ้และกระบวนการจัดกิจกรรม
การเรี ย นรู้ ผลการประเมิ นจากผูเ้ ชี ยวชาญ ค่ าดัชนี ความสอดคล้อง(IOC) เท่ ากับ 1.00 ดัง นัน
เครื องมือวัดและประเมินผลของแบบฝึ กทักษะ มีความสอดคล้อง
4. ความสอดคล้องแผนการจัดการเรี ยนรู้ จํานวน 8 แผน ให้คะแนนความ
สอดคล้องของประเด็น องค์ป ระกอบของแผนการจัดการเรี ย นรู้ สาระสํา คัญ สาระการเรี ยนรู้
กระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ สื อ/แหล่งการเรี ยนรู ้ เครื องมือวัดผลและประเมินผล ผลการ
ประเมินจากผูเ้ ชี ยวชาญ ค่า ดัชนี ความสอดคล้อง(IOC) เท่า กับ 1.00 ดัง นัน องค์ประกอบของ
แผนการจัดการเรี ยนรู้ สาระสําคัญ สาระการเรี ยนรู้ กระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ สื อ/แหล่ง
การเรี ยนรู้ และเครื องมือวัดและประเมินผล มีความสอดคล้อง
141

การหาประสิ ท ธิ ภ าพของแบบฝึ กทักษะ แบบรายบุคคล (Individual Tryout)


ขันหาประสิ ทธิ ภาพแบบรายบุคคล (Individual Tryout) ทดลองกับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษา
ปี ที 1/2 ทีไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง โดยใช้แบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้การ
จัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา จํานวน 3 คน ทีมีผล
การเรี ยนระดับเก่ง คือ มีผลการเรี ยนเป็ นเกรด 3.5 – จํานวน 1 คน ปานกลาง คือ มีผลการเรี ยน
เป็ นเกรด 2 – จํานวน 1 คน และอ่อน คือมีผลการเรี ยนเป็ นเกรด - . จํานวน 1 คน
ตารางที 21 การคํานวณหาประสิ ทธิ ภ าพของแบบฝึ กทักษะ แบบรายบุคคล (Individual Tryout)
การทดสอบ จํานวน (คน) คะแนนเต็ม คะแนนเฉลีย ร้ อยละ ประสิ ทธิภาพ
กระบวนการ (E1) 3 100 80.00 80.00 E1/ E2
ผลลัพธ์ (E2) 3 40 32.33 80.83 80.00 / 80.83

จากตารางที 21 การคํานวณหาประสิ ทธิ ภ าพของแบบฝึ กทักษะแบบรายบุคคล (Individual


Tryout) พบว่า ผลการทดสอบระหว่างเรี ยน (E1) มีคะแนนเฉลียร้อยละ 80.00 และผลการทดสอบ
หลังเรี ยน (E2) มีคะแนนเฉลียร้อยละ 80.83 แสดงว่า การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์
เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการ
แก้ปัญหา ของนัก เรี ย นชันมัธยมศึ กษาปี ที 1 มีป ระสิ ทธิ ภาพ 80.00 / 80.83 ซึ งสู งกว่า เกณฑ์
มาตรฐาน 80/80
การหาประสิ ท ธิ ภ าพของแบบฝึ กทักษะ แบบกลุ่มเล็ก (Small Group Tryout)
ขันหาประสิ ทธิ ภาพแบบกลุ่มเล็ก (Small Group Tryout) ทดลองกับนักเรี ยนชันมัธยม
ศึกษาปี ที 1/3 จํานวน 9 คนทีไม่ใช่ กลุ่มตัวอย่าง โดยใช้แบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการ
ประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปัญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา
ทีมีผลการเรี ยนระดับเก่ง คือ มีผลการเรี ยนเป็ นเกรด 3.5 – จํานวน 3 คน ปานกลาง คือ มีผลการ
เรี ยนเป็ นเกรด 2 – จํานวน 3 คน และอ่อน คือมีผลการเรี ยนเป็ นเกรด - . จํานวน 3 คน
ตารางที 22 การคํานวณประสิ ทธิ ภ าพของแบบฝึ กทักษะ แบบกลุ่มเล็ก (Small Group Tryout)
การทดสอบ จํานวน (คน) คะแนนเต็ม คะแนนเฉลีย ร้ อยละ ประสิ ทธิภาพ
กระบวนการ (E1) 9 100 79.56 79.56 E1/ E2
ผลลัพธ์ (E2) 9 40 32.56 81.39 79.56 / 81.39
142

จากตารางที 22 การคํา นวณหาประสิ ทธิ ภ าพของแบบฝึ กทักษะแบบกลุ่ มเล็ก (Small


Group Tryout) พบว่า ผลการทดสอบระหว่างเรี ยน (E1) มีคะแนนเฉลียร้อยละ 79.56 และผลการ
ทดสอบหลัง เรี ย น (E2) มี ค ะแนนเฉลี ยร้ อยละ 81.39 แสดงว่า การพัฒนาแบบฝึ กทัก ษะ วิช า
คณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุก ต์ 1 โดยใช้ก ารจัดการเรี ยนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพื อส่ ง เสริ ม
ความสามารถในการแก้ปัญหา ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 มีประสิ ทธิ ภาพ 79.56 / 81.39 ซึ ง
คะแนนระหว่างเรี ยน (E1) ตํากว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80 แต่ (ชัยยงค์ พรหมวงศ์และคณะ,2540:
101-102,อ้างถึงใน, วัน เพ็ ญ คุ ณ พิ ริ ยะเทวี , 2548: 67) เมือประสิ ทธิ ภาพของแบบฝึ กทักษะตํา
กว่าเกณฑ์ทีตัง แต่ไม่ตากว่
ํ าร้อยละ 2.5 ถือว่าแบบฝึ กทักษะยังมีประสิ ทธิภาพทียอมรับได้
การหาประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กทักษะ แบบภาคสนาม (Filed Tryout)
ขันหาประสิ ทธิ ภาพแบบภาคสนาม (Filed Tryout) ทดลองกับนักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษา
ปี ที 1/4 จํา นวน 30 คน ที ไม่ ใ ช่ ก ลุ่ ม ตัว อย่ า ง โดยใช้ แ บบฝึ กทัก ษะ วิ ช าคณิ ต ศาสตร์ เรื อง
การประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการ
แก้ปัญหา ทีมีผลการเรี ยนระดับเก่ง คือ มีผลการเรี ยนเป็ นเกรด 3.5 – จํานวน 10 คน ปานกลาง
คือ มีผลการเรี ยนเป็ นเกรด – จํานวน 10 คน และอ่อน คื อมีผลการเรี ยนเป็ นเกรด - .
จํานวน 10 คน
ตารางที 23 การคํานวณหาประสิ ทธิ ภ าพของแบบฝึ กทักษะ แบบภาคสนาม (Filed Tryout)
การทดสอบ จํานวน (คน) คะแนนเต็ม คะแนนเฉลีย ร้ อยละ ประสิ ทธิภาพ
กระบวนการ (E1) 30 100 80.33 80.33 E1/ E2
ผลลัพธ์ (E2) 30 40 32.23 80.58 80.33 / 80.58

จากตารางที 23 การคํานวณหาประสิ ทธิ ภ าพของแบบฝึ กทักษะแบบภาคสนาม (Filed


Tryout) พบว่า ผลการทดสอบระหว่างเรี ยน (E1) มีคะแนนเฉลียร้อยละ 80.03 และผลการทดสอบ
หลังเรี ยน (E2) มีคะแนนเฉลียร้อยละ 80.58 แสดงว่า การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื อง
การประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการ
แก้ปัญหา ของนักเรี ยนชันมัธยมศึ กษาปี ที 1 มี ประสิ ทธิ ภาพ 80.03 / 80.58 ซึ งสู ง กว่า เกณฑ์
มาตรฐาน 80/80
143

) การปรับปรุงแก้ ไขแบบฝึ กทักษะ


จากการตรวจสอบแบบฝึ กทักษะ โดยอาจารย์ผคู้ วบคุมวิทยานิ พนธ์ การตรวจสอบความ
สอดคล้องของแบบฝึ กทักษะ โดยผูเ้ ชียวชาญ ทัง 5 ด้านคือ ผูเ้ ชี ยวชาญด้านหลักสู ตรและวิธีการ
สอน ผูเ้ ชี ยวชาญด้า นจิ ตวิทยาและการเรี ย นรู ้ ผูเ้ ชี ยวชาญด้านเนื อหา ผูเ้ ชี ยวชาญด้า นสื อและ
นวัตกรรม และผูเ้ ชี ยวชาญด้านการวัดและประเมินผล การหาประสิ ทธิ ภ าพของแบบฝึ กทักษะ
แบบรายบุคคล (Individual Tryout) การหาประสิ ทธิ ภ าพของแบบฝึ กทักษะ แบบกลุ่มเล็ก (Small
Group Tryout) และการหาประสิ ทธิ ภาพของแบบฝึ กทักษะ แบบภาคสนาม (Filed Tryout) ซึ งผูว้ ิจยั
ได้รวบรวมข้อมูลจากการสังเคราะห์ประเด็นการปรับปรุ งแก้ไข สรุ ปได้ดงั นี
1. ปรับองค์ประกอบของแบบฝึ กทักษะ ในส่ วนของชือเรื องจากเดิม บทประยุกต์ 1 เป็ น
การประยุกต์ 1 เพือให้สอดคล้องกับหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุ ท ธศัก ราช
และหลัก สู ต รสถานศึกษาโรงเรี ยนไทรโยคมณี กาญจน์วิทยา กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ คณิ ตศาสตร์
ปรับด้านภาษาจากผลการเรี ยนรู ้ทีคาดหวัง เป็ นผลการเรี ยนรู ้และในแต่ละแผนการจัดการเรี ยนรู ้ให้
เขียนหรื ออธิบายรู ปแบบการจัดการเรี ยนรู ้ เพือให้สอดคล้องกับแนวการจัดกิจกรรมของหลักสู ตร
2. ปรับเกณฑ์การวัดและประเมินผล จากเดิมเกณฑ์การวัดและประเมินผลไม่ชดั เจนและ
การใช้ภาษายังกํากวม จึงปรับให้เกณฑ์การวัดและประเมินผลมีความชัดเจน มีความเป็ นปรนัยมาก
ขึน
3. ปรับแผนการจัดการเรี ยนรู ้ เพิมความชัดเจนในกิจกรรมการเรี ยนรู ้ให้มีความสอดคล้อง
กับการสอนแบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา

ตอนที 3 การทดลองใช้ แบบฝึ กทักษะ วิชาคณิตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้ การ


จัดการเรี ยนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ ปัญหา สํ าหรั บนักเรี ยนชั น
มัธยมศึกษาปี ที 1
ในขันนี ผูว้ ิจยั ได้ทดลองใช้แบบฝึ กทักษะวิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้การ
จัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชัน
มัธยมศึกษาปี ที 1/1 จํานวน 35 คน ภาคเรี ยนที 1 ปี การศึกษา 2557 โรงเรี ยนไทรโยคมณี กาญจน์
วิทยา ระยะเวลาในการทดลองจํานวน 6 ชัวโมง จํานวน 8 แผนการเรี ยนรู้ สําหรับการทดลองนัน
ผูว้ ิจยั เป็ นผูด้ าํ เนิ นการจัดกิ จกรรมการเรี ย นการสอนด้วยตนเองในแต่ ล ะแผนการเรี ย นรู ้ โดยมี
ขันตอนในการดําเนินการใช้แบบฝึ กทักษะวิชาคณิ ตศาสตร์ ดังต่อไปนี
144

1. ผูว้ ิจยั นําแบบทดสอบก่อนเรี ยน วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 แบบ


อัตนัย จํานวน 5 ข้อ ให้นกั เรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1/1 จํานวน 35 คน สอบก่อนทีจะใช้แบบฝึ ก
ทักษะ ทีจัดการเรี ยนรู้แบบปัญหาเป็ นฐาน
2. ชี แจงและทํา ความเข้า ใจกับ นัก เรี ย นก่ อ นลงมื อ ใช้แ บบฝึ กทัก ษะวิ ช า
คณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุก ต์ 1 โดยใช้ก ารจัดการเรี ยนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพื อส่ ง เสริ ม
ความสามารถในการแก้ปัญหา มีรายละเอียดดังนี
2.1 ชี แจงทําความเข้าใจกับนักเรี ยนเกียวกับวิธีการเรี ยนรู ้ ด้วยแบบฝึ ก
ทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพื อ
ส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา ให้นกั เรี ยนอ่านคําชี แจงในแบบฝึ กทักษะพร้อมกับข้อตกลง
ในการทําแบบฝึ กทักษะแต่ละกิจกรรม ซึงจะในหน่วยการเรี ยนรู ้ที 1 เรื องการประยุกต์ 1 จะใช้แบบ
ฝึ กทักษะทังหมด 4 เล่ ม ได้แก่ 1) เรขาคณิ ต สะกิ ดใจ 2) จํานวนนับ หรรษา 3) ร้ อยละในชี วิต
ประจําวัน และ 4) โจทย์ปัญหาชวนคิด ซึ งเรี ยนจบหนึงเล่ม จึงจะให้นกั เรี ยนเรี ยนเล่มต่อไปจนครบ
2.2 อธิบายวิธีการจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน มีขนตอนดั
ั งนี ขันที 1
การเชือมโยงปั ญหาและนําเสนอปั ญหา (The Related Problem and Problem Presentation) เป็ น
ขันตอนในการสร้างปั ญหา เพราะในการเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน ผูเ้ รี ยนจะต้องมีความรู ้สึกว่า
ปั ญหานันมีความสําคัญต่อตนก่อน ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปั ญหา (Understanding of The
Problem) นักเรี ยนร่ วมกันเรี ยนรู ้ ให้ผูเ้ รี ยนร่ วมอภิปรายแสดงความคิดเห็ นเพือทําความเข้าใจกับ
ปั ญหาให้ชดั เจน และสามารถอธิ บายสิ งต่างๆ ทีเกียวข้องกับปั ญหาได้ เช่ น โจทย์กาํ หนดอะไร
ต้องการอะไร ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า (The Study of Problem) เป็ นขันทีนักเรี ยนแต่ละคน
ดําเนินการศึกษาค้นคว้า เพือวางแผนการแก้ปัญหาด้วยวิธีการทีหลากหลาย หรื ออาจมาจากความรู้ /
ประสบการณ์เดิม และสามารถหาได้จากแหล่งข้อมูลหรื อสื อต่างๆ ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูลและ
ปฏิบตั ิ (The Synthesis of Data and Procedure) กิจกรรมในขันตอนนีเน้นฝึ กทักษะการคิดแก้ปัญหา
ให้กบั ผูเ้ รี ยน เป็ นขันทีผูเ้ รี ยนแต่ละคนสร้างทางเลือกหรื อกําหนดแนวทางการแก้ปัญหา อาจมีการ
สร้างสื อ วาดภาพประกอบหรื อจัดการกับสาระความรู ้ ใหม่ ขันที5 สรุ ปผลการแก้ไขปั ญหาและ
ความรู้ทีได้ (The Conclusion of Solution) การจัดกิจกรรมในขันตอนนี เป็ นการฝึ กคิดแก้ปัญหา
เป็ นขันทีผูเ้ รี ยนแต่ละคนนําความรู ้ ทีได้จากการคิดแก้ปัญหา หรื อแนวทางจากการศึ กษาค้นคว้า
เพิ มเติ ม และนํา มาสร้ า งมโนทัศ น์ ค าํ อธิ บ ายของสถานการณ์ ปั ญ หาด้ว ยตนเอง ตรวจคํา ตอบ
ประมวลความรู ้ทีได้วา่ มีความสอดคล้องเหมาะสมสําหรับการแก้ปัญหาทีเกิดขึนเพียงใด และสรุ ป
เป็ นภาพรวม
145

2.3 อธิบายวิธีการทําโจทย์ปัญหาตามขันตอนแบบปัญหาเป็ นฐาน พร้อม


ทังชีแจงถึงหลักเกณฑ์การให้คะแนนและประเมินผล ขันตอนการทําโจทย์ปัญหามีดงั นี
ขันที 1 การเชือมโยงปัญหาและนําเสนอปัญหา เป็ นขันตอนทีเชือมโยง
ความรู ้เก่าหรื อสร้างความรู ้ใหม่มาใช้ในการแก้โจทย์ปัญหา
ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปั ญหา สามารถอธิ บายสิ งต่าง ๆ ทีเกียวข้องกับ
ปัญหาได้ เช่น โจทย์กาํ หนดอะไร และต้องการอะไร
ขันที 3 ดําเนิ นการศึกษาค้นคว้า วางแผนการแก้ปัญหาด้วยวิธีการที
หลากหลาย หรื ออาจมาจากความรู้/ประสบการณ์เดิม
ขันที 4 สัง เคราะห์ ขอ้ มูลและปฏิ บตั ิ สร้ างทางเลื อกหรื อกํา หนดแนว
ทางการแก้ปัญหา อาจมีการสร้างสื อ วาดภาพประกอบหรื อจัดการกับสาระความรู ้ใหม่
ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ปัญหาและความรู ้ ทีได้ นําความรู้ทีได้จากการคิด
แก้ปัญหา ความคิด/วิธีการทีแปลกใหม่ สร้างมโนทัศน์คาํ อธิ บายของสถานการณ์ปัญหาด้วยตนเอง
ประมวลความรู้ทีได้วา่ มีความสอดคล้องเหมาะสมสําหรับการแก้ปัญหาทีเกิดขึนเพียงใด และสรุ ป
3. ดําเนินการตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ทัง 8 แผนการเรี ยนรู้ พร้อมกับแบบฝึ ก
ทักษะ จํานวน 4 เล่ม เล่มละ 4 ชัวโมง รวม 16 ชัวโมง โดยชัวโมงแรกและชัวโมงสุ ดท้ายของ
แผนการจัดการเรี ยนรู ้จะเป็ นการสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน เพือวัดความสามารถในการแก้ปัญหา
4. หลังจากดําเนินการใช้แบบฝึ กทักษะวิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 โดย
ใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปัญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยน
ชันมัธยมศึกษาปี ที 1/1 ครบทัง 4 เล่มแล้ว ในชัวโมงสุ ดท้ายของการดําเนิ นการวิจยั ทําการทดสอบ
หลังเรี ยน แบบอัตนัย จํานวน 5 ข้อ และหาค่าประสิ ทธิ ภาพของแบบฝึ กทักษะดังตารางต่อไปนี
ตารางที 24 ประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1
การทดสอบ จํานวน (คน) คะแนนเต็ม คะแนนเฉลีย ร้ อยละ ประสิ ทธิภาพ
กระบวนการ (E1) 35 100 80.37 80.37 E1/ E2
ผลลัพธ์ (E2) 35 40 33.00 82.21 80.37 / 82.21
จากตารางที 24 การคํานวณหาประสิ ทธิ ภ าพของแบบฝึ กทักษะ พบว่า ผลการทดสอบ
ระหว่างเรี ยน (E1) มีคะแนนเฉลียร้อยละ 80.37 และผลการทดสอบหลังเรี ยน (E2) มีคะแนนเฉลีย
ร้อยละ 82.21 แสดงว่า การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้การ
จัดการเรี ย นรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ ง เสริ ม ความสามารถในการแก้ปั ญหา ของนัก เรี ยนชัน
มัธยมศึกษาปี ที 1/1 มีประสิ ทธิภาพ 80.37 / 82.21 ซึ งสู งกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80
146

5. นัก เรี ย นทํา แบบสอบถามความคิ ดเห็ น ที มี ต่ อการใช้แบบฝึ กทัก ษะ วิช า


คณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความ
สามารถในการแก้ปัญหา จํานวน 10 ข้อ โดยสอบถามเกี ยวกับการจัดกิ จกรรมการจัดการเรี ยนรู ้
บรรยากาศในการเรี ยนรู้ การวัดและประเมินผล และประโยชน์ทีได้รับ
ตอนที 4 ผลการประเมินและปรับปรุ งแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิตศาสตร์ เรืองการประยุกต์ 1
โดยใช้ การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็ นฐาน สํ าหรับนักเรียนชั นมัธยมศึกษาปี ที1 มีขนตอนดั
ั งนี
ตอนที 4.1 ผลการเปรี ยบเที ยบความสามารถในการแก้ปัญหา ก่ อนและหลังใช้
แบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน
สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1
ผูว้ ิจยั ได้เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปั ญหา
วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื อง การประยุกต์ 1 จํานวน 5 ข้อ ข้อละ 10 คะแนน รวม 50 คะแนน ทีสร้างขึน ทดสอบ
ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนกับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1/1 จํานวน 35 คน แบบแผนการวิจยั ครังนีเป็ น
แบบแผน Pre Experimental Design ใช้แบบหนึงกลุ่มสอบก่อนและหลัง (The One – Group Pretest
– Posttest Design) (มาเรี ยม นิลพันธุ์, 2555: 144) ได้ผลดังตารางต่อไปนี
ตารางที 25 ผลการเปรี ยบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหา ก่อนและหลังใช้แบบฝึ กทักษะ
วิชาคณิ ตศาสตร์ โดยใช้การจัดการเรี ยนรู ้แบบปัญหาเป็ นฐาน สําหรับนักเรี ยนชัน
มัธยมศึกษาปี ที1/1 ด้วย t – test แบบ Dependent
ความสามารถ คะแนน ค่ าเฉลีย
n X S .D. แปลความ t - test p
ในการแก้ ปัญหา เต็ม ร้ อยละ
ก่อนเรี ยน 35 50 12.57 3.19 25.15 ปรับปรุ ง
-28.30 .00
หลังเรี ยน 35 50 35.91 3.69 71.82 ดี
จากตารางที 25 ผลการเปรี ย บเที ย บความสามารถในการแก้ปั ญหา ก่ อ นและหลัง ใช้
แบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน
สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที1/1 จํานวน 35 คน ด้วยแบบทดสอบวัดความสามารถในการ
แก้ปัญหา แบบอัตนัย จํานวน 5 ข้อ 50 คะแนน วิเคราะห์ดว้ ย t – test แบบ Dependent พบว่า
ความสามารถในการแก้ปัญหาหลังเรี ยน( X = 35.91 , S.D. = 3.69 ) สู งกว่าก่อนเรี ยน ( X = 12.57 ,
S .D. = 3.19 ) อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .05 ซึ งสอดคล้องกับสมมติฐานการวิจยั ทีกําหนดไว้คือ
นักเรี ยนมีความสามารถในการแก้ปัญหาหลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน และเมือเทียบกับเกณฑ์ความสามารถ
147

ในการแก้ปัญหา ผลปรากฏว่าความสามารถในการแก้ปัญหาก่อนเรี ยนอยู่ในระดับต้องปรั บปรุ งและ


ความสามารถในการแก้ปัญหาหลังเรี ยนอยูใ่ นระดับดี
ตารางที 26 ผลการเปรี ยบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหา ก่อนและหลังใช้แบบฝึ กทักษะ
วิชาคณิ ตศาสตร์ ตามขันตอนการแก้ปัญหาแบบปัญหาเป็ นฐาน สําหรับนักเรี ยนชัน
มัธยมศึกษาปี ที1/1 ด้วย t – test แบบ Dependent
ความสามารถในการ ก่อนเรียน หลังเรียน
t p
แก้ปัญหา X S .D. แปลความ X S .D. แปลความ
1. การเชือมโยงปั ญหาและ 2.14 1.35 ปรับปรุ ง 7.23 1.77 ดี -11.86 .00
นําเสนอปัญหา
2. ทําความเข้าใจกับปัญหา 5.34 1.11 พอใช้ 7.40 1.46 ดี -7.40 .00
3. ดําเนินการศึกษาค้นคว้า 3.94 1.19 ปรับปรุ ง 7.11 1.13 ดี -12.16 .00
4. สั ง เคราะห์ ข้อ มูล และ 0.74 0.44 ปรับปรุ ง 7.14 1.50 ดี -20.30 .00
ปฏิบตั ิ
5. สรุ ป ผลการแก้ปั ญหา 0.40 0.50 ปรับปรุ ง 7.03 1.58 ดี -19.56 .00
และความรู้ทีได้
จากตารางที 26 ผลการเปรี ยบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหา ก่อนและหลังใช้
แบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ ตามขันตอนการแก้ปัญหาแบบปัญหาเป็ นฐาน 5 ขันตอน สําหรับ
นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที1 ด้วย t – test แบบ Dependent พบว่า
ขันตอนที 1 การเชื อมโยงปั ญหาและนําเสนอปั ญหา ความสามารถในการแก้ปั ญหา
หลังเรี ยน ( X = 7.23 , S.D. = 1.77 ) สู งกว่าก่อนเรี ยน ( X = 2.14 , S.D. = 1.35 ) อย่างมีนยั สําคัญทาง
สถิติทีระดับ .05 ขันตอนที 2 ทําความเข้าใจกับปั ญหา ความสามารถในการแก้ปัญหาหลังเรี ยน
( X = 7.40 , S.D. = 1.46 ) สู งกว่าก่อนเรี ยน( X = 5.34 , S.D. = 1.11) อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .05
ขันตอนที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า ความสามารถในการแก้ปัญหาหลังเรี ยน( X = 7.11, S.D. = 1.13)
สู งกว่าก่อนเรี ยน ( X = 3.94 , S.D. = 1.19 ) อย่างมีนยั สําคัญทางสถิ ติทีระดับ .05 ขันตอนที 4
สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ ความสามารถในการแก้ปัญหาหลังเรี ยน ( X = 7.14 , S.D. = 1.50)
สู งกว่าก่อนเรี ยน ( X = 0.74 , S.D. = 0.44 ) อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .05 และขันตอนที 5
สรุ ปผลการแก้ปัญหาและความรู ้ ทีได้ ความสามารถในการแก้ปัญหาหลังเรี ยน ( X = 7.03 ,
S .D. = 1.58) สู งกว่าก่อนเรี ยน ( X = 0.40 , S .D. = 0.50 ) อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .05
148

ตอนที 4.2 ผลการศึ ก ษาความคิ ดเห็ น ของนั ก เรี ยนที มี ต่อแบบฝึ กทัก ษะ วิช า
คณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความ
สามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 แบ่งเป็ น 2 ตอนดังนี
ตอนที 1 เป็ นแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรี ยน เกียวกับการพัฒนาแบบฝึ ก
ทัก ษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุก ต์1 โดยใช้ก ารจัด การเรี ยนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพื อ
ส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา ในด้านต่างๆ คือ การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ บรรยากาศใน
การเรี ยนรู้ การวัดและประเมินผล และประโยชน์ทีได้รับ จํานวนทังสิ น 1 ข้อ โดยเป็ นแบบมาตรา
ส่ วนประเมินค่า (Rating Scale) ระดับของลิเคิร์ท (Likert) ดังนี ความคิดเห็ นอยู่ในระดับดีมาก
ระดับดี ระดับปานกลาง ระดับพอใช้ และระดับต้องปรับปรุ ง รายละเอียดดังตารางต่อไปนี
ตารางที 27 ผลการศึกษาความคิดเห็นของนั ก เรี ยนทีมีต่อแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื อง
การประยุกต์1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถ
ในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1

ระดับ ลําดับ
ข้ อ ข้ อความ X S .D.
ความคิดเห็น ที
การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้
1 วิธีการเรี ยนทีเริ มต้นด้วยสถานการณ์ปัญหาก่อน 4.14 0.55 ดี
การเรี ยนรู้ เป็ นวิธีการทีเหมาะสม
2 แบบฝึ กทักษะช่วยทําให้การทําโจทย์ปัญหา 4.60 0.55 ดีมาก
ถูกต้องมากขึน
3 การทําแบบฝึ กทักษะประกอบการจัดการเรี ยนรู้ 4.57 0.66 ดีมาก
แบบปั ญหาเป็ นฐาน ทําให้นกั เรี ยนสามารถแก้
โจทย์ปัญหาได้
ด้ านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4.44 0.43 ดี 1
บรรยากาศในการเรียนรู้
4 ในชันเรี ยนเป็ นบรรยากาศแห่งการเรี ยนรู ้ . . ดี
5 ครู สนับสนุน/เปิ ดโอกาสนักเรี ยนสามารถ . . ดี
อภิปรายและแลกเปลียนความรู ้กบั เพือน
ด้ านบรรยากาศในการเรี ยนรู้ 4.23 0.65 ดี 4
149

ตารางที 27 ผลการศึกษาความคิดเห็นของนั ก เรี ยนทีมีต่อแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์


เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปัญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ ม
ความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 (ต่อ)

X S .D. ระดับ ลําดับ


ข้ อ ข้ อความ
ความคิดเห็น ที
การวัดและประเมินผล
6 นักเรี ยนพอใจต่อการวัดและประเมินผล . . ดี 1
ด้วยวิธีการทีหลากหลาย
7 มีการวัดและประเมินผลอย่างสมําเสมอ . . ดี 2
ด้ านการวัดและประเมินผล . . ดี
ประโยชน์ ทได้ี รับ
8 นักเรี ยนเข้าใจเนือหาและแก้ปัญหาได้ถูกต้อง . . ดี 3
9 วิชาคณิ ตศาสตร์สามารถประยุกต์ใช้ได้ใน . . ดีมาก 1
ชีวติ ประจําวัน
10 นักเรี ยนเข้าใจวิชาคณิ ตศาสตร์ มากขึน . . ดี 2
จากกิจกรรมทีได้ทาํ
ด้ านประโยชน์ ทได้
ี รับ . . ดี
รวมทัง ด้ าน . . ดี

จากตารางที 27 ผลการศึ ก ษาความคิ ดเห็ น ของนั ก เรี ยน ที มี ต่อ แบบฝึ กทัก ษะ วิช า
คณิ ต ศาสตร์ เรื องการประยุก ต์ 1โดยใช้ก ารจัดการเรี ย นรู้ แ บบปั ญ หาเป็ นฐาน เพื อส่ ง เสริ ม
ความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 พบว่า โดยภาพรวมนักเรี ยนมี
ความคิดเห็นอยูใ่ นระดับดี ( X = 4.37 , S.D = 0.37 ) เมือพิจารณาเป็ นรายด้านพบว่า นักเรี ยนมีความ
คิดเห็นอยู่ในระดับดี ในทุกด้าน เรี ยงตามลําดับคือ ด้านการจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ ( X = 4.44 ,
S.D = 0.43 ) ด้านการวัดและประเมินผล ( X = 4.43 , S.D = 0.50 ) ด้านประโยชน์ทีได้รับ
( X = 4.40 , S.D = 0.50 ) และด้านบรรยากาศในการเรี ยนรู้ ( X = 4.23 , S.D = 0.65 )
150

ระดับความคิดเห็นนักเรี ยน ด้านการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ พบว่า ภาพรวมนักเรี ยนมีความ


คิดเห็นอยูใ่ นระดับดี ( X = 4.44 , S.D = 0.43 ) เมือพิจารณาเป็ นรายข้อพบว่า นักเรี ยนมีความคิดเห็น
ต่อแบบฝึ กทักษะช่วยทําให้การทําโจทย์ปัญหาถูกต้องมากขึน ( X = 4.60 , S.D = 0.55 ) เป็ นลําดับ
ที นักเรี ยนมีความคิดเห็นต่อการทําแบบฝึ กทักษะประกอบการจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน
ทําให้นกั เรี ยนสามารถแก้โจทย์ปัญหาได้ ( X = 4.57 , S.D = 0.66 ) เป็ นลําดับที นักเรี ยนมีความ
คิ ด เห็ น ต่อ วิธี ก ารเรี ย นที เริ มต้น ด้ว ยสถานการณ์ ปั ญ หาก่ อ นการเรี ย นรู ้ เป็ นวิธี ก ารที เหมาะสม
( X = 4.14 , S.D = 0.55 ) เป็ นลําดับที ตามลําดับ
ระดับความคิดเห็นนักเรี ยน ด้านการวัดและประเมินผล พบว่า ภาพรวมนักเรี ยนมีความ
คิดเห็นอยูใ่ นระดับดี ( X = 4.43 , S.D = 0.50 ) เมือพิจารณาเป็ นรายข้อพบว่า นักเรี ยนมีความคิดเห็น
ต่อการวัดและประเมินผล ด้วยวิธีการทีหลากหลาย ( X = 4.43 , S.D = 0.61 ) เป็ นลําดับที และ
นักเรี ยนมีความคิดเห็นว่าควรมีการวัดและประเมินผลอย่างสมําเสมอ ( X = 4.43 , S.D = 0.66 ) เป็ น
ลําดับที ตามลําดับ
ระดับความคิดเห็นนักเรี ยน ด้านประโยชน์ทีได้รับ พบว่า ภาพรวมนักเรี ยนมีความคิดเห็น
อยูใ่ นระดับดี ( X = 4.40 , S.D = 0.50 ) เมือพิจารณาเป็ นรายข้อพบว่า นักเรี ยนมีความคิดเห็นต่อวิชา
คณิ ตศาสตร์สามารถประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตประจําวัน ( X = 4.63 , S.D = 0.60 ) เป็ นลําดับที ความ
คิดเห็นของนักเรี ยนการเข้าใจวิชาคณิ ตศาสตร์ มากขึน จากกิจกรรมทีได้ทาํ ( X = 4.37 , S.D = 0.70 )
เป็ นลําดับที และความคิดเห็นของนักเรี ยนต่อความเข้าใจเนือหาและแก้ปัญหาได้ถูกต้อง( X = 4.17 ,
S.D = 0.71 ) เป็ นลําดับที ตามลําดับ
ระดับความคิดเห็นนักเรี ยน ด้านบรรยากาศในการเรี ยนรู้ พบว่า ภาพรวมนักเรี ยนมีความ
คิดเห็นอยูใ่ นระดับดี ( X = 4.23 , S.D = 0.65 ) เมือพิจารณาเป็ นรายข้อพบว่า นักเรี ยนมีความคิดเห็น
ครู สนับสนุ น/เปิ ดโอกาสนักเรี ยนสามารถอภิปรายและแลกเปลียนความรู ้ กบั เพือน ( X = 4.37 ,
S.D = 0.77 ) เป็ นลําดับที และความคิ ด เห็ น ของนัก เรี ย นพอใจต่ อ การวัด และประเมิ น ผล
ด้วยวิธีการทีหลากหลาย ( X = 4.43 , S.D = 0.61 ) เป็ นลําดับที
ผลการศึ ก ษาความคิ ด เห็ น ของนั ก เ รี ย น ที มี ต่ อ แบบฝึ กทัก ษะ วิช าคณิ ต ศาสตร์ เรื อง
การประยุกต์1 โดยใช้การจัดการเรี ย นรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการ
แก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 ในด้านการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ด้านการวัดและ
ประเมินผล ด้านประโยชน์ทีได้รับ และด้านบรรยากาศในการเรี ยนรู้ มีความคิดเห็นอยูใ่ นระดับดี
ทุกด้าน ทังนี อาจเป็ นเพราะว่า นักเรี ยนได้เรี ยนจากเนื อหา สื อ แบบฝึ กทักษะ กิ จกรรม วิธีการวัด
และประเมินผลทีตนเองต้องการ จึงทําให้เกิดความสนใจและเรี ยนรู ้ได้อย่างเหมาะสม และจากการ
151

สังเกตพฤติกรรมการเรี ยนในชันเรี ยน นักเรี ยนให้ความร่ วมมือในการทําโจทย์ปัญหาทีท้าทาย และ


ยังทําแบบฝึ กหัดหรื อแบบทดสอบตามขันตอนแบบปั ญหาเป็ นฐาน ทีส่ งเสริ มความสามารถในการ
แก้ปัญหา ได้อย่างเป็ นระบบและถู กต้องมากขึ น จึงทําให้ห้องเรี ยนเป็ นบรรยากาศในการเรี ยนรู้
แลกเปลียน ถาม – ตอบ ระหว่างครู กบั นักเรี ยน และนักเรี ยนกับนักเรี ยน
และในตอนที 2 ให้นกั เรี ยนเขียนแสดงความคิดเห็นเกียวกับการใช้แ บบฝึ กทัก ษะ วิ ช า
คณิ ต ศาสตร์ เรื องการประยุ ก ต์ 1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ ม
ความสามารถในการแก้ปัญหา โดยให้นกั เรี ยนตอบแบบสอบถาม หลัง สิ นสุ ดการจัดกิ จกรรมการ
เรี ยนรู้ ต ามแบบฝึ กทักษะ พบว่า ความคิ ดเห็ นนักเรี ยน ชอบแบบฝึ กทักษะ ที มีเนื อหาไม่ยากจน
เกิ นไป สามารถทําโจทย์ปัญหาได้มากขึน เข้าใจง่าย ชอบทําโจทย์ในแบบฝึ กทักษะเพราะระดับ
ความยากง่าย เหมาะสมกับระดับความสามารถของนักเรี ยน แต่ในหนังสื อยากจนเกินไป บรรยากาศ
ในชันเรี ยนสนุ กสนาน ครู สามารถทําให้คณิ ตศาสตร์ เรื องยากๆ ให้เป็ นเรื องง่าย และต้องการให้ครู
เพิมชัวโมงสอนในเรื องปัญหาชวนคิด เพราะเป็ นเรื องทีสนุก
152

บทที 5
สรุ ปผล อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ
การวิจยั เรื องการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การ
จัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชัน
มัธยมศึกษาปี ที 1 เป็ นลักษณะของการวิจยั และพัฒนา (Research and Development : R&D) ใช้แบบ
แผนการวิจยั แบบกลุ่มเดียว ทดสอบก่อนและหลัง (The One Group Pretest – Posttest Design)
ประชากรทีใช้ในการศึกษาครั งนี ได้แก่ นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 จํานวน 5 ห้องเรี ยน รวม
จํานวนนักเรี ยน165 คนกลุ่ม ตัวอย่างทีใช้ในการวิจยั คือนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1/1 จํานวน 35
คน ภาคเรี ยนที 1 ปี การศึกษา 2557 โรงเรี ยนไทรโยคมณี กาญจน์วทิ ยา
ผูว้ ิจยั ได้กาํ หนดรายละเอียดวิธีดาํ เนิ นการวิจยั มี 4 ขันตอน ดังนี ขันตอนที วิจยั (R1 :
Research) : การศึกษาข้อมูลพืนฐานและความต้องการ ขันตอนที พัฒนา (D1 : Development) :
การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ ขันตอนที วิจยั (R2 : Research) : การทดลองใช้แบบฝึ กทักษะขันตอนที
พัฒนา (D2 : Development) : การประเมินผลและปรับปรุ ง แบบฝึ กทักษะ มีวตั ถุประสงค์ 1. เพือ
ศึ ก ษาข้อ มู ล พื นฐานและความต้อ งการในการพัฒ นาแบบฝึ กทัก ษะ วิ ช าคณิ ต ศาสตร์ เรื อง
การประยุกต์1โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้
ปั ญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 2. เพือพัฒนาแบบฝึ กทักษะวิชาคณิ ตศาสตร์ เรื อง
การประยุกต์1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการ
แก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 ให้มีประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์ / 3. เพือทดลอง
ใช้แบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน
เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 4. ผลการประเมิน
และปรับปรุ งแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบ
ปั ญหาเป็ นฐาน สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที1 มีวตั ถุประสงค์เฉพาะดังนี 4.1 เพือเปรี ยบเทียบ
ความสามารถในการแก้ปัญหา ก่อนและหลังใช้แบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1
โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 4.2 เพือศึกษา
ความคิดเห็นของนั ก เรี ยนทีมีต่อแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การ
จัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชัน
มัธยมศึกษาปี ที 1

152
153

เครื องมือทีใช้ในการวิจยั ประกอบด้วยแบบฝึ กทักษะ เรื องการประยุกต์1 จํานวน 4 เล่ม


ประกอบด้วย เล่มที 1 เรขาคณิ ต สะกิดใจ เล่มที 2 จํานวนนับหรรษา เล่มที 3 ร้อยละในชี วิต
ประจําวันและเล่มที 4 โจทย์ปัญหาชวนคิด ซึ งมีค่าดัชนี ความสอดคล้อง (IOC) เท่ากับ 1.00 และ
แบบฝึ กทักษะมีประสิ ทธิ ภาพ 80.37 /82.21 ซึ งสู งกว่าเกณฑ์มาตรฐานทีกําหนด 80/80 แผนการ
จัดการเรี ยนรู้ จํานวน 8 แผน ซึ งมีค่าดัชนี ความสอดคล้อง (IOC) เท่ากับ 1.00 แบบทดสอบวัด
ความสามารถในการแก้ปัญหา ซึ งเป็ นแบบทดสอบอัตนัย จํานวน 5 ข้อ มีค่าดัชนี ความสอดคล้อง
(IOC) เท่ากับ 1.00 มีค่าความยากง่าย (p) ระหว่าง 0.55 – 0.73 มีค่าอํานาจจําแนก (r) ระหว่าง 0.23 –
0.38 และมีความเชื อมัน (Reliability) เท่ากับ 0.78 แบบสอบถามทีศึกษาข้อมูลพืนฐานและความ
ต้องการของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 เกียวกับ 1) องค์ประกอบของแบบฝึ กทักษะ 2) เนื อหา และ
3) การวัดและประเมิ นผลของแบบฝึ กทักษะ มี ค่าดัช นี ความสอดคล้อง (IOC)ของแบบสอบถาม
เท่ากับ 1.00 แบบสัมภาษณ์ เป็ นการถามข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี ยวกับการพัฒนาแบบฝึ ก
ทักษะของครู กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ มีค่าดัชนี ความสอดคล้อง (IOC)ของแบบสัมภาษณ์
เท่ากับ 1.00 และแบบสอบถามความคิดเห็ น ของนักเรี ยนเกี ยวกับการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชา
คณิ ต ศาสตร์ เรื องการประยุ ก ต์ 1 โดยใช้ ก ารจัด การเรี ย นรู้ แ บบปั ญ หาเป็ นฐาน เพื อส่ ง เสริ ม
ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็ นแบบสอบถามแบบมาตราส่ วนประมาณค่า (Rating Scales) โดย
การวัดระดับ ระดับของลิ เคิ ร์ท (Likert) คื อ ดี ม าก ดี ปานกลาง พอใช้ ต้องปรั บ ปรุ ง โดย
แบ่งเป็ นด้าน การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ บรรยากาศในการเรี ยนรู้ การวัดและประเมินผล และ
ประโยชน์ทีได้รับ จํานวน 1 ข้อ มีค่าดัชนี ความสอดคล้อง (IOC) ของแบบสอบถามความคิดเห็น
เท่ากับ 1.00 และสําหรับการวิเคราะห์ขอ้ มูลและสถิติทีใช้คือ 1. การวิเคราะห์ประสิ ทธิ ภาพของแบบ
ฝึ กทักษะ เพือพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้
แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษา
ปี ที 1 ให้มีประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ / เป็ นค่าเฉลียร้อยละของคะแนนจากแบบฝึ กทักษะระหว่าง
เรี ยน (E1) และเป็ นค่าเฉลียร้อยละของคะแนนจากการทดสอบหลังเรี ยน (E2) 2. การหาค่าเฉลีย ( x )
ค่าส่ วนเบียงเบนมาตรฐาน ( S.D ) ของคะแนนแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา เรื อง
การประยุกต์1 และเปรี ยบเทียบคะแนนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน โดยการทดสอบค่าที (t - test)
แบบ Dependent 3. ค่าความคิดเห็นของนักเรี ยน เกียวกับการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์
เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการ
แก้ปัญหา และทําการวิเคราะห์ระดับ โดยการหาค่าเฉลี ย ( x ) ค่าส่ วนเบียงเบนมาตรฐาน ( S.D )
และการวิเคราะห์เนือหา (Content Analysis) สรุ ปผลการวิจยั ได้ดงั นี
154

สรุ ปผล

การวิจยั เรื องการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การ


จัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชัน
มัธยมศึกษาปี ที 1 มีผลการวิจยั ดังนี
1. ผลการศึกษาข้อมูลพืนฐานและความต้องการในการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชา
คณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความ
สามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 ผลการวิเคราะห์หลักสู ตรแกนกลาง
การศึกษาขันพืนฐาน พุ ท ธศัก ราช และหลัก สู ต รสถานศึกษาโรงเรี ยนไทรโยคมณี กาญจน์
วิทยา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ คณิ ตศาสตร์ ทีจัดให้ผเู้ รี ยนได้เรี ยน เนื อหาเรื องการประยุกต์1 วิชา
คณิ ตศาสตร์เพิมเติม เวลา 16 ชัวโมง จํานวน 1.0 หน่วยกิต ประกอบด้วยเนื อหา 1) รู ปเรขาคณิ ต 2)
จํานวนนับ 3) ร้อยละในชีวติ ประจําวัน และ 4) ปัญหาชวนคิด สําหรับองค์ประกอบของแบบฝึ กทักษะที
สําคัญ มีดงั นี ชื อแบบฝึ กทักษะ คํานํา คําชี แจง สารบัญ วัตถุ ประสงค์การเรี ยนรู้ แบบทดสอบก่อน
เรี ยน แบบฝึ กทักษะและแบบทดสอบหลังเรี ยน และใช้การจัดการเรี ยนรู้ แบบใช้ปัญหาเป็ นฐาน
ขันตอนต่อไปนี ขันที 1 การเชื อมโยงปั ญหาและนําเสนอปั ญหา (The Related Problem and
Problem Presentation) ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปั ญหา (Understanding of the Problem ) ขันที 3
ดําเนินการศึกษาค้นคว้า(The Study of Problem) ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ (The Synthesis
of Data and Procedure) และขันที 5 สรุ ปผลการแก้ปัญหาและความรู ้ทีได้ (The Conclusion of
Solution)
2. ผลการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 เพือส่ งเสริ ม
ความสามารถในการแก้ปั ญ หา โดยใช้ก ารจัด การเรี ย นรู้ แ บบปั ญ หาเป็ น สํา หรั บ นัก เรี ย นชัน
มัธยมศึกษาปี ที 1 ให้มีประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์ / พบว่า ผลการทดสอบระหว่างเรี ยน (E1) มี
คะแนนเฉลียร้อยละ 80.37 และผลการทดสอบหลังเรี ยน (E2) มีคะแนนเฉลียร้อยละ 82.21 แสดงว่า
ประสิ ทธิภาพ 80.37 /82.21 สู งกว่าเกณฑ์มาตรฐานทีกําหนด 80/80
3. ผลการทดลองใช้แบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การ
จัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชัน
มัธยมศึกษาปี ที 1 จํานวน คน ภาคเรี ยนที 1 ปี การศึกษา 2557 โรงเรี ยนไทรโยคมณี กาญจน์วิทยา
ระยะเวลาในการทดลองจํานวน 6 ชัวโมง จํานวน 8 แผนการเรี ยนรู้ สําหรับการทดลองนัน ผูว้ ิจยั
เป็ นผูด้ าํ เนินการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนด้วยตนเองในแต่ละแผนการเรี ยนรู ้ โดยมีขนตอนใน ั
การดําเนินการใช้แบบฝึ กทักษะทัง 4 เล่ม ได้แก่เล่มที 1 เรขาคณิ ต สะกิดใจ เล่มที 2 จํานวนนับ
155

หรรษา เล่มที 3 ร้อยละในชี วิตประจําวันและเล่มที 4 โจทย์ปัญหาชวนคิด ควบคู่กบั การจัดการ


เรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐานทัง 5 ขันตอน ซึ งเมือนักเรี ยนได้ฝึกฝนอย่างสมําเสมอ ให้ความสนใจใน
การเรี ยนรู ้และฝึ กการแก้โจทย์ปัญหาจนบ่อยครัง จึงทําให้บรรยากาศในชันเรี ยนเป็ นการแลกเปลียน
เรี ยนรู้ ระดับความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรี ยนจึ งสู งขึ น การแก้โจทย์ปัญหาก็มีความ
ถูกต้อง เป็ นขันตอนมากขึนเช่นเดียวกัน
4. ผลการประเมินและปรับปรุ งแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1
โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที1 มีขนตอนดั
ั งนี
. ผลการเปรี ยบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหา ก่อนและหลังใช้
แบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน
สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 พบว่าความสามารถในการแก้ปัญหาหลังใช้แบบฝึ กทักษะ
สู งกว่าก่อนเรี ยน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .05
4.2 ผลการศึกษาความคิดเห็นของนั ก เรี ยนทีมีต่อแบบฝึ กทักษะ วิชา
คณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุก ต์ 1 โดยใช้ก ารจัด การเรี ย นรู้ แบบปั ญ หาเป็ นฐาน เพื อส่ ง เสริ ม
ความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 พบว่า ความคิดเห็ นโดยภาพ
รวมอยู่ในระดับดี เมือพิจารณาเป็ นรายด้านพบว่า นัก เรี ยนเห็ นด้วยในระดับดี ในทุ กด้าน เรี ย ง
ตามลําดับ คือด้านการจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ ด้านการวัดและประเมินผล ด้านประโยชน์ทีได้รับ
และด้า นบรรยากาศในการเรี ยนรู้ แ ละให้ นัก เรี ยนเขี ย นแสดงความคิ ด เห็ น เกี ยวกับ การใช้
แ บ บ ฝึ ก ทัก ษ ะ หลัง สิ น สุ ดการจัด กิ จ กรรมการเรี ยนรู ้ พบว่ า ความคิ ด เห็ น นั ก เรี ยนชอบ
แบบฝึ กทักษะ ทีมีเนื อหาไม่ยากจนเกิ นไป สามารถทําโจทย์ปัญหาได้มากขึน เข้าใจง่าย ชอบทํา
โจทย์ในแบบฝึ กทักษะเพราะระดับความยากง่าย เหมาะสมกับระดับความสามารถของนักเรี ยน แต่
ในหนังสื อยากจนเกินไป บรรยากาศในชันเรี ยนสนุ กสนาน ครู สามารถทําให้คณิ ตศาสตร์ เรื องยาก
ให้เป็ นเรื องง่าย และต้องการให้ครู เพิมชัวโมงสอนในเรื องปั ญหาชวนคิด เพราะเป็ นเรื องทีสนุก
156

อภิปรายผล

จากการศึกษาวิจยั การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การ


จัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชัน
มัธยมศึกษาปี ที 1 ผูว้ จิ ยั ได้นาํ ผลมาอภิปรายได้ดงั นี
1. ผลการศึ ก ษาข้อ มู ล พื นฐานและความต้อ งการในการพัฒ นาแบบฝึ กทัก ษะ วิช า
คณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุก ต์1 โดยใช้ก ารจัดการเรี ย นรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพื อส่ ง เสริ ม
ความสามารถในการแก้ปั ญหา สํา หรั บ นัก เรี ย นชันมัธ ยมศึ ก ษาปี ที 1 พบว่า ข้อมู ล พื นฐาน มี
ความสํ า คัญ ต่ อ การสร้ า งแบบฝึ กทัก ษะที ตอบสนองความต้ อ งการของผู ้เ รี ยนที จะพัฒ นา
ความสามารถในการแก้ปั ญหา ที จะอํานวยประโยชน์ ต่อการเรี ย นรู ้ จึ งมี ผูเ้ สนอความสําคัญและ
ประโยชน์ของแบบฝึ กทักษะไว้ ดังต่อไปนี กรี นและวอลเตอร์ (Green and Walter, 1971: 496) ได้
กล่าวถึงประโยชน์ของแบบฝึ กทักษะไว้ ดังนี ) แบบฝึ กทักษะเป็ นอุปกรณ์การสอนทีช่วยลดภาระ
ของครู ไ ด้ม าก ) ช่ ว ยให้นักเรี ยนได้ฝึกฝนทัก ษะในการใช้ภ าษาได้ดีขึ น ) ช่ วยในเรื องความ
แตกต่ า งระหว่างบุคคล ทําให้ประสบผลสําเร็ จทางด้านจิตใจมากขึน ) ช่วยเสริ มทักษะทางภาษา
ให้ค งทน โดยมีการฝึ กซําหลายๆ ครัง ) ช่วยเป็ นเครื องมื อวัดผลการเรี ยนหลังจากเรี ยนจบแล้ ว
) ช่วยให้นกั เรี ยนสามารถทบทวนได้ดว้ ยตนเอง ) ช่วยให้ครู มองเห็นปั ญหาต่างๆของนักเรี ยน ได้
ชัดเจนขึน ) ช่วยให้นกั เรี ยนได้ฝึกฝนให้เต็มที นอกเหนือจากเรี ยนในหนังสื อเรี ยน ) ช่วยประหยัด
แรงงานและเวลาของครู ) ช่วยให้นกั เรี ยนเห็ นความก้าวหน้าของตนเอง อัจฉราวรรณ ศิริรัตน์
(2549 : 84) ยังกล่าวอีกว่า แบบฝึ กทักษะมีความสําคัญและจําเป็ น เพราะจะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจใน
บทเรี ยนได้ดียิงขึน สามารถจดจําเนือหาบทเรี ยนได้คงทน ทําให้เกิดความสนุ กสนานในขณะเรี ยน
ทราบความก้าวหน้าของตนเอง สามารถนําแบบฝึ กหัดมา ทบทวนเนื อหาเดิ มได้ดว้ ยตนเอง นํามา
วัดผลการเรี ยนหลัง จากที เรี ย นแล้ว ตลอดจนสามารถทราบข้อบกพร่ องของนักเรี ยนและนําไป
ปรับปรุ งแก้ไขได้ทนั ท่วงที ซึ งจะทําให้ครู ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย และลดภาระของครู ได้มาก
ช่ วยในเรื องความแตกต่างระหว่า งบุค คล นักเรี ยนมี ทศั นคติ ที ดี ต่อการเรี ยน นอกจากนี ยัง ทําให้
นักเรี ยนสามารถนําภาษาไปใช้สือสารได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพด้วย และ อุบลวรรณ ปรุ งวนิชพงษ์
(2551 : 86) กล่าวว่า แบบฝึ กทักษะช่วยในการฝึ กฝนทักษะการใช้ภาษา และลดปั ญหาด้านความ
แตกต่างระหว่างบุคคล และมีทกั ษะทางภาษาทีคงทน ช่ วยให้ครู ประหยัดเวลาในการทีต้องเตรี ยม
แบบฝึ กหัดตลอดเวลา และทราบถึ ง ปั ญหาต่างๆ ของนักเรี ยนได้ชัดเจนขึ น นอกจากนี แบบฝึ ก
ทักษะยังช่วยให้นกั เรี ยนสามารถทบทวนสิ งทีเรี ยนไปแล้วได้ดว้ ยตนเอง และทราบถึงความก้าวหน้า
ในการเรี ยนของตน และพัฒนาทักษะทางการเรี ยนของตนอีกด้วย
157

การสร้างแบบฝึ กทักษะให้มีประสิ ทธิภาพสําหรับนําไปใช้ ในการจัดการเรี ยนการสอน


นัน ควรคํานึงถึงหลักจิตวิทยามาใช้เป็ นองค์ประกอบ และใช้เพือเป็ นแนวทางในการสร้างแบบฝึ ก
ทักษะให้มีความเหมาะสมกับวัย ความสนใจ และความสามารถของผูเ้ รี ยน การศึกษาทฤษฎีการ
เรี ยนรู ้ จากข้อมูลที นักจิ ตวิทยาได้คน้ พบและทดลองเกี ยวกับการสร้ างแบบฝึ กทักษะในส่ วนที มี
ความสัมพันธ์ ดังนี สุ นนั ทา สุ นทรประเสริ ฐ (2544 : 4 - 5) กล่าวว่า การศึกษาในเรื องจิตวิทยาการ
เรี ยนรู ้ เป็ นสิ งที ผูส้ ร้ างแบบฝึ กทักษะมิควรละเลย เพราะการเรี ย นรู ้ จะเกิ ดขึ นได้ตอ้ งขึ นอยู่ก ับ
ปรากฏการณ์ ของจิ ต และพฤติก รรมทีจะตอบสนองนานาประการ โดยอาศัยกระบวนการที
เหมาะสมและเป็ นวิธีทีดีทีสุ ด ธอร์ นไดค์ (ประสาท อิศรปรี ดา, 2547: 217 – 219,อ้างอิงมาจาก
,Thorndike, 1874 - 1949: unpaged) ได้อธิบายกฎการเรี ยนรู้ทีสําคัญ คือ 1) กฎความพอใจ (Law of
Effect) กฎนีมีใจความว่า พันธะหรื อตัวเชือมระหว่างสิ งเร้าและการตอบสนองจะเข้มแข็งหรื ออ่อน
กําลังลง ย่อมขึนอยูก่ บั ผลต่อเนื องหลังจากทีได้ตอบสนองไปแล้วกล่าวคือรางวัล จะมีผลให้พนั ธะ
ระหว่างสิ งเร้าและการตอบสนองเข้มแข็งขึน ส่ วนการลงโทษจะไม่มีผลใดๆ ต่อความเข้มแข็งหรื อ
การอ่อนกําลังลงของพันธะระหว่างสิ งเร้าและการตอบสนองเลย กฎข้อนี เน้นทีการสร้างแรงจูงใจ
การให้รางวัลหรื อการเสริ มแรง ธอร์ นไดค์ เชื อว่า การเสริ มแรงหรื อรางวัลหรื อความ สําเร็ จจะ
ส่ งเสริ มการแสดงพฤติกรรมต่างๆ หรื อก่อให้เกิดการเรี ยนรู ้ขึน 2) กฎการฝึ กหัด (Law of Exercise)
กฎการฝึ กหัดได้แบ่งออกเป็ นกฎย่อย ๆ 2 กฎ คือ 2.1) กฎการได้ใช้ (Law of Use) มีใจความว่าพันธะ
หรื อตัวเชื อมระหว่างสิ งเร้าและการตอบสนองจะเข้มแข็งเมือได้ทาํ บ่อย ๆ 2.2) กฎการไม่ได้ใช้
(Law of Disuse) มีใจความว่าพันธะหรื อตัวเชื อมระหว่างสิ งเร้าและการตอบสนองจะอ่อนกําลังลง
เมือไม่ได้ทาํ อย่างต่อเนือง มีการขาดตอนหรื อไม่ได้ทาํ บ่อยๆ 3) กฎความพร้อม (Law of Readiness)
กฎนี มีใจความสรุ ปว่า “ เมือบุคคลพร้อมทีจะทําแล้วได้ทาํ เขาย่อมเกิดความพอใจ” “เมือบุคคล
พร้อมทีจะทําแล้วไม่ได้ทาํ เขาย่อมเกิดความไม่พอใจ” “เมือบุคคลไม่พร้อมทีจะทําแต่ตอ้ งทํา เขา
ย่อมเกิดความไม่พอใจ” ความพร้อมตามความหมายนี รวมถึงวุฒิภาวะทางกายวุฒิภาวะทางปั ญญา
ความรู ้พืนฐานหรื อประสบการณ์เดิมและสภาพแรงจูงใจความพอใจเป็ นภาวะทีต้องการได้รับและ
จะไม่พยายามหลีกหนีความไม่พอใจเป็ นภาวะไม่ตอ้ งการได้รับและพยายามหลีกหนี และ 3. ทฤษฎี
พฤติกรรมนิยมของสกินเนอร์ ซึ งมีความเชือว่าสามารถควบคุมบุคคลให้ทาํ ตามความประสงค์ หรื อ
แนวทางที กําหนดได้โดยไม่ ต้องคํา นึ ง ถึ งความรู้ สึ ก ทางจิ ตใจของบุ ค คลผูน้ ันว่า จะรู ้ สึ ก นึ ก คิ ด
อย่างไร เขาจึงได้ทดลองและสรุ ปได้วา่ บุคคลสามารถเรี ยนรู้ได้ดว้ ยการกระทํา โดยมีการเสริ มแรง
เป็ นตัวการ เมือบุคคลตอบสนองการเร้ าของสิ งเร้าควบคู่กนั ในช่วงเวลาทีเหมาะสม สิ งเร้ านันจะ
158

รักษาระดับหรื อเพิมการตอบสนองให้เข้มขึน การสร้างแบบฝึ กทักษะ จึงควรยึดทฤษฎีการเรี ยนรู้


ของสกินเนอร์ดว้ ย เพราะบุคคลจะเกิดการเรี ยนรู ้ได้ดว้ ยการกระทํา
จากการที กล่ า วมาแล้ว สรุ ป ได้ว่า แบบฝึ กทัก ษะมี ค วามสํา คัญและมี ป ระโยชน์ ต่อทัง
ครู ผูส้ อนและนัก เรี ย น ในด้า นของครู ผู้ส อนนันทํา ให้ทราบข้อ บกพร่ องของนัก เรี ย นลดความ
แตกต่ า งระหว่ า งนักเรี ยน ทราบความก้าวหน้าจะช่วยพัฒนา การเรี ยนรู ้แก่นกั เรี ยน นอกจากนียัง
ช่วยลดภาระค่า ใช้จ่ายและประหยัดเวลา ด้านนักเรี ยนแบบฝึ กทักษะช่วยให้นกั เรี ยนเข้าใจบทเรี ยน
มากขึ น สามารถ ฝึ กฝน ทบทวนบทเรี ย นด้ว ยตนเองก่ อให้ เ กิ ดความเข้า ใจที คงทน เกิ ดความ
สนุกสนานในขณะเดียวกันก็ทราบความก้าวหน้าของตนเองอีกด้วย ทังจะทําให้ผเู้ รี ยนมีความสนใจ
ในการเรี ยน ส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา และทําให้ผเู ้ รี ยนมีเจตคติทีดีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์
โดยมีหลักการสร้างแบบฝึ กทักษะ ทีใช้หลักของจิตวิทยาเป็ นพืนฐาน จึงทําให้แบบฝึ กทักษะมีความ
เหมาะสมและประสิ ทธิภาพมากต่อการจัดการเรี ยนการสอน
2. ผลการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การจัดการ
เรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยม
ศึกษาปี ที 1 ให้มีประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์ / พบว่าแบบฝึ กทักษะมีประสิ ทธิ ภาพ 80.37 / 82.21
สู งกว่าเกณฑ์มาตรฐานทีกําหนด ดังตัวอย่างงานวิจยั ของ อังศุมาลิน เพิมผล (2542 : บทคัดย่อ)
สร้างแบบฝึ กทักษะการคํานวณวิชาคณิ ตศาสตร์ เรื อง วงกลม สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 3
ของโรงเรี ยนอัสสัมชัญคอนแวนต์ ผลการวิจยั แบบฝึ กทักษะมีประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน
ร้อยละ 80/80 แสดงว่าแบบฝึ กทักษะมีประสิ ทธิ ภาพ คะแนนก่อนและหลังฝึ กด้วยแบบฝึ กทักษะการ
คํานวณวิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องวงกลม แตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .01 แสดงว่า หลัง
การใช้แบบฝึ กทักษะนักเรี ยนมีการพัฒนาความรู ้ เพิมขึน งานวิจยั ของ เตือนใจ ตรี เนตร (2544 :
บทคัดย่อ) ได้ศึกษาผลการใช้แบบฝึ กการแก้โจทย์ปัญหาคณิ ตศาสตร์ เรื องพืนที สําหรับนักเรี ยนชัน
มัธยมศึกษาปี ที 2 ทีให้นกั เรี ยนแสดงขันตอนการแก้ปัญหา ผลการวิจยั พบว่า หลังการใช้แบบฝึ ก
การแก้โจทย์ปัญหาคณิ ตศาสตร์ เรื องพืนที นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนหลังฝึ กสู งกว่าก่อนฝึ ก
อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .05 และแบบฝึ กทีใช้มีประสิ ทธิ ภาพเท่ากับ 84.34/82.20 แบบฝึ ก
ทักษะจึงช่ วยส่ งเสริ มให้ผเู้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื อง และยังเป็ นเครื องมือ
ชนิ ดหนึ ง ทีครู สามารถนํามาจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนให้บรรลุผล เพือพัฒนาผูเ้ รี ยน ให้เป็ นไปตาม
หลักการ จุดมุ่งหมายและสมรรถนะ ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึ กษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551
และหลัก สู ต รสถานศึกษาโรงเรี ยนไทรโยคมณี กาญจน์วิทยา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ใน
การส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา เพราะแนวคิด ทฤษฎีต่างๆจะเป็ นแนวทางในการพัฒนา
159

แบบฝึ กทักษะ ได้แก่ ทฤษฎี การเรี ยนรู้ของธอร์นไดค์ (Thorndike) เกียวกับกฎแห่งการฝึ กหัด (Law
of Exercise) ว่าถ้าบุคคลได้กระทํา หรื อฝึ กฝน ทบ ทวนบ่อยๆ ก็จะกระทําได้ดีและเกิดความชํานาญ
แต่ถา้ ไม่ได้ฝึกฝนหรื อทบทวนบ่อยๆ ก็จะกระทําสิ งนันได้ไม่ดีและไม่เกิดความชํานาญ นอกจากนี
ทฤษฎีการวางเงือนไขและการเสริ มแรงของสกินเนอร์ เน้นทีปฏิกิริยาตอบสนอง คือ พฤติกรรมทีทํา
ด้วยความสมัครใจและสิ งทีกระทําให้ปฏิ กิริยาตอบสนอง คือ ตัวเสริ มแรง ทฤษฎี ของสกิ นเนอร์
สนับสนุ นให้ใช้เครื องช่วยสอน คื อแบบฝึ กทักษะ ให้ความสําคัญของการเสริ มแรง ควรทําอย่าง
สมําเสมอ จัดสิ งเร้าให้กบั ผูเ้ รี ยนจนผูเ้ รี ยนค้นพบตัวเองในทีสุ ด และด้วยการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ ที
ใช้ก ารการจัดการเรี ยนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน ที เป็ นวิธีก ารสอนที จะช่ วยส่ งเสริ ม ให้นักเรี ยนมี
ความสามารถในการแก้ปัญหา ดังคํากล่าวของ ทิศนา แขมมณี (2554 : 137-138) ได้ให้หลักการ
การจัดการเรี ยนรู้แบบใช้ปัญหาเป็ นฐานว่าเป็ นการจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็ นหลัก เป็ น
การจัดสภาพการณ์ ของการเรี ยนการสอนทีใช้ปั ญหาเป็ นเครื องมื อในการช่ วยให้ผูเ้ รี ยนเกิ ดการ
เรี ยนรู้ ต ามเป้ าหมาย โดยผู้ส อนอาจนํา ผู้เ รี ยนไปเผชิ ญ สถานการณ์ ปั ญ หาจริ ง หรื ออาจจัด
สภาพการณ์ ให้ผเู ้ รี ยนเผชิ ญปั ญหา และฝึ กกระบวนการวิเคราะห์ปัญหาและแก้ปัญหาร่ วมกันเป็ น
กลุ่ ม ซึ งจะช่ วยให้ผูเ้ รี ยนเกิดความเข้าใจในปั ญหานันอย่างชัดเจน ได้เห็ นทางเลื อกและวิธีการที
หลากหลายในการแก้ปัญหานัน รวมทังช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดความใฝ่ รู ้ เกิดทักษะกระบวนการคิด และ
กระบวนการแก้ปัญหาต่างๆ และยังมีงานวิจยั ทีแสดงถึงความสําเร็ จของการจัดการเรี ยนการสอน
สอคล้องกับ ราตรี เกตบุตตา (2546: 96-98) ได้ทาํ การวิจยั เกียวกับ เรื องผลของการเรี ยนแบบใช้
ปั ญหาเป็ นหลัก ต่อความสามารถในการแก้ปั ญหาและความคิ ดสร้ างสรรค์ท างคณิ ตศาสตร์ ของ
นัก เรี ยนชันมัธ ยมศึก ษาปี ที 2 ผลการศึ ก ษาพบว่า นักเรี ย นที เรี ยนแบบใช้ปัญหาเป็ นหลัก มี
ความสามารถในการแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์ สูงกว่านักเรี ยนทีเรี ยนแบบปกติ อย่างมีนยั สําคัญทาง
สถิติทีระดับนัยสําคัญ .05 แต่มีความคิดสร้างสรรค์ทางคณิ ตศาสตร์ ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนยั สําคัญ
ทางสถิติทีระดับนัยสํา คัญ .05 งานวิจยั ของรังสรรค์ ทองสุ ขนอก (2547: 82-86) ได้ทาํ การวิจยั
เกี ยวกับ เรื องชุ ดการเรี ยนการสอนทีใช้ปัญหาเป็ นหลักในการเรี ยนรู้ เรื องทฤษฎีจาํ นวนเบืองต้น
ระดับมัธยมศึกษาปี ที 4 ผลการวิจยั พบว่านักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 4 ทีเรี ยนเรื องทฤษฎีจาํ นวน
เบื องต้น โดยใช้ชุ ด การเรี ย นการสอนที ใช้ปั ญ หาเป็ นหลัก มี ผ ลการเรี ย นผ่า นเกณฑ์ ต ังแต่
ร้อยละ 60 ขึนไปของคะแนนเต็ม เป็ นจํานวนมากกว่าร้อยละ 50 ของจํานวนนักเรี ยนทังหมดที
ระดับนัยสําคัญ .01 และงานวิจยั ของ ศุภิสรา โททอง ( : บทคัดย่อ) ได้ทาํ การวิจยั เกียวกับ เรื อง
การเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู ้ระหว่างการสอนโดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน (PBL) กับการสอนตามคู่มือ
ของ สสวท. กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ค ณิ ต ศาสตร์ เรื องการวัด ความยาวในชันประถมศึ ก ษาปี ที
160

ผลการวิจยั พบว่า นักเรี ยนที ได้รับการสอนโดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน (PBL) มี ผลการเรี ยนรู้ สาระ
คณิ ตศาสตร์ เรื องการวัดความยาว สู งกว่านักเรี ยนทีได้รับการสอนตามคู่มือของ สสวท. อย่างมี
นัย สํ า คัญ ทางสถิ ติ ที ระดับ . และ นัก เรี ย นที ได้รั บ การสอนโดยใช้ ปั ญ หาเป็ นฐาน (PBL)
สาระคณิ ตศาสตร์ เรื องการวัดความยาวมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมาก
3. ผลการทดลองใช้แบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การจัดการ
เรี ยนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรั บนักเรี ยนชันมัธยม
ศึกษาปี ที 1 จํานวน คน จากการทดสอบ มีคะแนนหลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน สอดคล้องกับ
งานวิจยั ของ อาจารี ย ์ สฤษดิไพศาล (2547 : บทคัดย่อ) ได้ทาํ การวิจยั เรื องการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ
วิชาคณิ ตศาสตร์ สําหรับนักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที 3 ผลการวิจยั พบว่า ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน
วิช าคณิ ตศาสตร์ ข องนัก เรี ย นชันประถมศึ ก ษาปี ที 3 ที ได้รั บ การสอนโดยใช้แบบฝึ กทัก ษะ
คณิ ตศาสตร์หลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .01 สอดคล้องกับงานวิจยั
ของ สมหมาย ศุภพินิ (2551 : บทคัดย่อ) ได้พฒั นาแบบฝึ กทักษะกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์
เรื อง ร้ อ ยละ ชันประถมศึ ก ษาปี ที 5 ผลการวิ จ ัย พบว่า แบบฝึ กทัก ษะกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้
คณิ ตศาสตร์ เรื องร้อยละ ชันประถมศึกษาปี ที 5 มีประสิ ทธิภาพเท่ากับ 76.69/79.61 และนักเรี ยนชัน
ประถมศึกษาปี ที 5 มีผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนเรื องร้ อยละ หลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน ด้วยแบบฝึ ก
ทักษะอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .01 และยังสอดคล้องกับ วุฒิ ถนอมวิริยะกุล ( ) ทีทํา
การวิ จ ัย เรื องการสร้ า งแบบฝึ กทัก ษะการแก้โ จทย์ปั ญ หาคณิ ต ศาสตร์ สาระจํา นวนและการ
ดําเนิ นการ สํา หรั บนักเรี ยนชันประถมศึ กษาปี ที จังหวัดระยอง ผลการวิจยั พบว่า ผลสัม ฤทธิ
ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนหลังใช้แบบฝึ กทักษะการแก้โจทย์ปัญหาคณิ ตศาสตร์ สูง
กว่าก่อนใช้ อย่างมีนยั สําคัญทีระดับ .
4. ผลการประเมินและปรับปรุ งแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้
การจัดการเรี ยนรู ้แบบปัญหาเป็ นฐาน สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที1 มีขนตอนดั
ั งนี
4. ผลการเปรี ยบเที ย บความสามารถในการแก้ ปั ญ หาก่ อ นและหลั ง ใช้
แบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน
สํา หรั บ นัก เรี ย นชันมัธ ยมศึ ก ษาปี ที 1 พบว่า จากการทํา แบบทดสอบวัด ความสามารถในการ
แก้ปัญหา คะแนนเฉลียก่อนเรี ยนมีค่าเท่ากับ 2.5 จากคะแนนเต็ม 50 คะแนน ชีให้เห็นว่าความสามารถ
พืนฐานในการแก้ปัญหา อยู่ในเกณฑ์ตอ้ งปรับปรุ ง นักเรี ยนเริ มต้นกับการแก้ปัญหาไม่ถูก ไม่สามารถ
เชื อมโยงความรู ้ ได้ ขาดความเป็ นขันตอนในการหาคําตอบ ซึ งเมื อได้มี การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ
ประกอบการสอนแบบปั ญหาเป็ นฐาน ทีปั ญหาจะเป็ นตัวกระตุน้ ให้นกั เรี ยนแก้ปัญหาหรื ออยากเรี ยนรู ้
161

สอดคล้องกับวอลตัน และแมททิวส์ (Walton & Matthews 1998 : 456-459) กล่าวว่าการให้ปัญหา


ตังแต่ตน้ จะเป็ นตัวกระตุน้ ให้นกั เรี ยนอยากเรี ยนรู ้ และถ้านักเรี ยนแก้ปัญหาได้ก็จะมีส่วนช่วยให้
นักเรี ยนจําเนื อหาความรู ้ นันได้ง่ายและนานขึน เพราะมีประสบการณ์ ตรงในการแก้ปัญหาด้วย
ความรู ้ดงั กล่าว ปัญหาทีใช้เป็ นตัวกระตุน้ มักเป็ นปั ญหาทีต้องการคําอธิ บายหรื อความรู้จากหลาย ๆ
วิชา ทําให้นกั เรี ยนได้เห็นถึงความสัมพันธ์ความต่อเนืองความเกียวข้องของวิชาต่าง ๆ เป็ นเรื องราว
เดียวกัน แตกต่างจากการสอนแบบเดิมทีสอนวิชาใดก็จะสอนวิชานันๆ จนจบและอาจไม่เห็นความ
สัมพันธ์ของแต่ละวิชา ทําให้นกั เรี ยนไม่สามารถเรี ยนรู ้ได้ดีเท่าทีควร การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชา
คณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน จึงทําให้นกั เรี ยนมี
พัฒนาการทีสู งขึน แก้ปัญหาได้อย่างเป็ นขันตอน จึงทําให้คะแนนเฉลียหลังเรี ยนมีค่าเท่ากับ 35.91 จาก
คะแนนเต็ม 0 คะแนน สอดคล้องกับงานวิจยั ของ จันตรา ธรรมแพทย์ (2550 : บทคัดย่อ) ได้ทาํ วิจยั
เรื อง การพัฒนาแบบฝึ กทักษะการแก้โจทย์ปัญหาคณิ ตศาสตร์ สําหรับนักเรี ยนช่ วงชันที 2 ทีมี
ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ ตาํ ผลการวิจยั พบว่า ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหา
คณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยน ช่วงชันที 2 ทีมีผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ ตาํ ภายหลังการใช้
แบบฝึ กทักษะการแก้โจทย์ปัญหาคณิ ตศาสตร์ สู งกว่าเกณฑ์และสู งกว่าการใช้ อย่างมีนยั สําคัญทาง
สถิติทีระดับ .01
4.2 ผลการศึกษาความคิดเห็นของนั ก เรี ยนทีมีต่อแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์
เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการ
แก้ปั ญหา สําหรั บนัก เรี ย นชันมัธ ยมศึ ก ษาปี ที 1 พบว่า ความคิ ดเห็ นโดยภาพรวมอยู่ในระดับ ดี
สอดคล้องกับงานวิจยั ของ ดรุ ณี เรื อนมันใจ (2546 : บทคัดย่อ) ได้พฒั นาแบบฝึ กทักษะการอ่าน
เสริ ม เพื อพัฒ นาความสามารถในการอ่ า นเอกสารจริ ง สํ า หรั บ นัก เรี ย นชันมัธ ยมศึ ก ษาปี ที 5
ผลการวิจยั พบว่านักเรี ยนมีความคิดเห็นต่อแบบฝึ กการอ่าน เพือการสื อสารโดยใช้เอกสารจริ งอยู่
ในระดับดี ซึงเมือพิจารณาเป็ นรายด้านพบว่า นักเรี ยนเห็นด้วยในระดับดี ในทุกด้าน เรี ยงตามลําดับ
คือด้านการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ด้านการวัดและประเมินผล ด้านประโยชน์ทีได้รับ และด้าน
บรรยากาศในการเรี ยนรู้ ทังนีทีทําให้ความคิดเห็นนักเรี ยนอยูใ่ นระดับดีเป็ นเพราะแบบฝึ กทักษะที
สนองความต้องการของนักเรี ยน มีรูปภาพ กิจกรรม เกม ทีเอือต่อการเกิดการเรี ยนรู ้ และจะเห็นได้
ว่าการสอบถามความคิดเห็ นของนัก เรี ย นหลัง จากเสร็ จสิ นจากการจัดกิ จกรรม นอกจากจะเป็ น
ประโยชน์ต่อการพัฒนาหรื อปรับปรุ งงานในครังต่อไป ยังเป็ นการทราบถึ งเจตคติของนักเรี ยนทีมี
ต่อวิชาคณิ ตศาสตร์ อีกด้วย สอดคล้องกับ เฟลดแมน (Feldman. 1971: 53) กล่าวว่าการสํารวจความ
คิดเห็นเป็ นการศึกษาความรู้สึกของบุคคล กลุ่มคนทีมีต่อสิ งหนึ งแต่ละคนจะแสดงความเชื อและ
162

ความรู้สึกใดๆออกมา โดยการพูด การเขียน เป็ นต้น การสํารวจความคิดเห็ นจะเป็ นประโยชน์ต่อ


การวางนโยบายต่างๆ การเปลียนแปลงนโยบายหรื อการเปลียนแปลงระบบงานรวมทังในการฝึ กหัด
การทํางานด้วยเพราะจะทําให้การดําเนิ นการต่างๆเป็ นไปด้วยความเรี ยบร้อยตามความพอใจของ
ผูร้ ่ วมงาน

ข้ อเสนอแนะ

จากการวิจยั ครังนี ผูว้ ิจยั มีขอ้ เสนอแนะทีเห็นว่าจะเป็ นประโยชน์ต่อการจัดการเรี ยนรู ้และ


การศึกษาครังต่อไป ซึ งประกอบด้วย ข้อเสนอแนะเพือการนําไปใช้ และข้อเสนอแนะสําหรับการ
วิจยั ครังต่อไป

ข้ อเสนอแนะเพือการนําไปใช้
1. ก่ อนการจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ หรื อให้นักเรี ยนแก้โจทย์ปัญหา โดยใช้ขนตอนแบบ

ปั ญหาเป็ นฐาน ครู ควรอธิ บายขันตอนแก้ปัญหา ทัง ขันตอน อย่างละเอียดและชัดเจน เพือความ
ถูกต้องและความเข้าใจในการแก้โจทย์ปัญหา
2. จากผลการวิจยั การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การ
จัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชัน
มัธยมศึกษาปี ที 1 พบว่า คะแนนเฉลียหลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน แสดงว่านักเรี ยนมีพฒั นาการใน
การเรี ยนรู ้และสามารถแก้ปัญหาได้มากขึน ดังนันสถานศึกษาควรส่ งเสริ มให้ครู ได้พฒั นาแบบฝึ ก
ทักษะโดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน ไปใช้ในการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ เพือเป็ นการ
พัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรี ยน
3. ปั ญหาทีใช้เป็ นฐานในการเรี ยนรู ้ในแต่ละหน่วยการเรี ยน ครู อาจจะใช้ปัญหาลักษณะ
แตกต่างกันในด้านเนื อหา แต่มีแนวทางในการหาคําตอบที คล้ายคลึ งกันและความยากง่ ายของ
ปั ญหาใกล้เคียงกัน เพือเป็ นการส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนเกิ ดการเรี ยนรู ้ ทีหลากหลาย การทีจัดกิจกรรม
การเรี ยนรู ้ลกั ษณะนี ผูส้ อนจะต้องให้ความสําคัญกับการสร้างปั ญหาทีใช้เป็ นฐานในลักษณะนี เป็ น
อย่างยิง ทุกปั ญหาทีใช้เป็ นฐานจะต้องกระตุน้ ให้นักเรี ยนได้ใช้ความรู้ ความสามารถเพือเป็ น
แนวทางในการแก้ปัญหาอย่างครบถ้วน ครอบคลุมสาระการเรี ยนรู้ทีต้องการ และต้องส่ งเสริ มให้
นักเรี ยนเกิดความเข้าใจในเนือหายิงขึนเมือนักเรี ยนได้ร่วมกันอภิปราย
163

ข้ อเสนอแนะสํ าหรับการวิจัยครังต่ อไป


1. ควรทําการศึกษาวิจยั การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหา
เป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา ในเนื อหาบทอืน รายวิชาอืนๆและในระดับชัน
อืนอีก
2. ควรทําการศึกษาวิจยั เกียวกับเทคนิควิธีการสอนรู ปแบบอืนร่ วมกับแบบฝึ กทักษะ เช่น
การเรี ยนรู้แบบบูรณาการ การเรี ยนรู้แบบโครงการ ฯลฯ
3. ควรทําการศึ กษาวิจยั เกี ยวกับ การจัดการเรี ยนรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐานร่ วมกับสื อหรื อ
นวัตกรรมอืนๆ เช่น ชุดการเรี ยน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (CAI) ฯลฯ
164

รายการอ้างอิง

ภาษาไทย
กนิษฐา พวงไพบูลย์. (2552). สาระน่ ารู้ สําหรับครูคณิตศาสตร์ : รวมบทความประสบการณ์การสอน.
กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุ งเทพฯ :
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประแทศไทย
กรมวิชาการ. (2540). การจัดการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ . กรุ งเทพฯ :
โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว.
จักรพรรดิ คงนะ. (2550). “การพัฒนาแบบฝึ กการอ่านภาษาอังกฤษทีเกียวกับปัญหาของวัยรุ่ นตอนต้น
สําหรับนักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที 6.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาศึกษาศาสตมหาบัณฑิต.
สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศิลปากร.
จันตรา ธรรมแพทย์. (2550). “การพัฒนาแบบฝึ กทักษะการแก้โจทย์ปัญหาคณิ ตศาสตร์ สําหรับ
นักเรี ยนช่วงชันที 2 ทีมีผลสัมฤทธิทางการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ ตา.”
ํ วิทยานิพนธ์ ค.ม.
กรุ งเทพฯ :มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
จันทรา ประเสริ ฐกุล. (2547). “การพัฒนาทักษะความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ .”
วารสารคณะวิชาศึกษาทัวไป สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตขอนแก่ น. 1,1: (31-33
มกราคม- มิถุนายน 2547).
ฉวีวรรณ เศวตมาลย์. (2542). “การแก้ปัญหา.” เอกสารประกอบการอบรมกิจกรรมคณิ ตศาสตร์ .
กรุ งเทพฯ: สาขาการมัธยมศึกษา (การสอนคณิ ตศาสตร์ ).
ณัฐธยาน์ สงคราม. (2547). “การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรี ยนชันประถมศึกษา
ปี ที 6 โดยใช้กิจกรรมประกอบเทคนิคการประเมินจากสภาพจริ ง.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการมัธยมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ.
ดรุ ณี เรื อนมันใจ. (2546). “การพัฒนาแบบฝึ กทักษะการอ่านเสริ มเพือพัฒนาความสามารถในการอ่าน
เอกสารจริ ง สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 5.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาศึกษาศาสตร
มหาบัณฑิต. สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศิลปากร.
165

นัฏกัญญา เจริ ญเกียรติบวร. (2547). “การศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เรื อง


ฟังก์ชนั ของนักเรี ยนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชันปี ที 2 โดยใช้ในการเรี ยนแบบร่ วมมือ
สารนิพนธ์ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการมัธยมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
เนาวรัตน์ เจตดุ. (2555). “การพัฒนาแบบฝึ กเสริ มทักษะการเขียนสรุ ปความ โดยใช้ขอ้ มูลท้องถินไทย
ทรงดํา อําเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 2.” วิทยานิพนธ์
ปริ ญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาหลักสู ตรและการนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เบญจมาศ เทพบุตรดี. (2550). “การเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน ความสามารถในการคิด
วิเคราะห์และความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนชันประถมศึกษา
ปี ที 6 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน (PBL) และการจัดการเรี ยนรู้
แบบปกติ เรื อง การบวก ลบ คูณ หารทศนิยม.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต
สาขาวิชาหลักสู ตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ถ่ายเอกสาร.
บงกชรัตน์ สมานสิ นธุ์. (2551). “ผลการจัดการเรี ยนการสอนแบบอริ ยสัจ 4 ทีมีต่อความสามารถใน
การแก้ปัญหาและทักษะการเชื อมโยงทางคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที5.”
วิทยานิพนธ์ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการมัธยมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
พิจิตร อุตตะโปน. (2550). “ชุดการเรี ยนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน เรื องการวิเคราะห์ขอ้ มูล
เบืองต้น ระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 3.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชา
คณิ ตศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
เพ็ญศรี พิลาสันต์. (2551). “การเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนและแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิทางการ
เรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ เรื อง เศษส่ วน ของนักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที 5
ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน (PBL) กับการจัดกิจกรรมการ
เรี ยนตามวิธีปกติ.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสู ตรและ
การสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ถ่ายเอกสาร.
มัณฑนา ไทรวัฒนะศักดิ. (2548). “ผลการใช้แบบฝึ กทีมีต่อผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนโจทย์ปัญหา
วิชาคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที .” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาการศึกษา
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการวัดผลการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ.
มัณฑรา ธรรมบุศย์. (2545). “การพัฒนาคุณภาพการเรี ยนรู้โดยใช้ PBL (Problem Based Learning).”
วารสารวิชาการ. 5,2 ( กุมภาพันธ์ 2545) : 11-17.
166

มาเรี ยม นิลพันธุ์. (2555). วิธีวจิ ัยทางการศึกษา. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.


มาเลียม พินิจรอบ. (2549). “ผลการจัดกิจกรรมคณิ ตศาสตร์ ดว้ ยกระบวนการกลุ่มทีมีต่อทักษะการ
แก้ปัญหา เรื องอัตราส่ วนและร้อยละของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 2 โรงเรี ยนพระหฤทัย
คอนแวนต์ เขตคลองเตย กรุ งเทพมหานคร โดยใช้การจัดกิจกรรมคณิ ตศาสตร์ ดว้ ย
กระบวนการกลุ่ม.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิ ตศาสตร์
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
เมธาวี พิมวัน. (2549). “ชุดการเรี ยนการสอนทีใช้ปัญหาเป็ นฐานในการเรี ยนรู้ เรื องพืนทีผิว ระดับ
มัธยมศึกษาปี ที 3.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิ ตศาสตร์
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
มณฑนกร เจริ ญรักษา. (2552). “การพัฒนาแบบฝึ กทักษะการเขียนเชิงสร้างสรรค์สาํ หรับนักเรี ยนชัน
ประถมศึกษาปี ที 6.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาหลักสู ตรและ
การนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ยุรวัฒน์ คล้ายมงคล. (2545). “การพัฒนาการเรี ยนการสอนโดยประยุกต์แนวคิดการใช้ปัญหาเป็ นหลัก
ในการเรี ยนรู ้เพือสร้างเสริ มสมรรถภาพทางคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที 5
ทีมีความสามารถพิเศษทางคณิ ตศาสตร์ .” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาครุ ศาสตรดุษฎีบณั ฑิต
สาขาวิชาหลักสู ตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.
รังสรรค์ ทองสุ ขนอก. (2547). “ชุดการเรี ยนการสอนทีใช้ปัญหาเป็ นฐานในการเรี ยนรู้ (Problem –
Based Learning) เรื องทฤษฎีจาํ นวนเบืองต้น ระดับมัธยมศึกษาปี ที 4.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิ ตศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
รัชนีวรรณ สุ ขเสนา. (2550). “การเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิทางการเรี ยน เรื อง บทประยุกต์ กลุ่มสาระ
การเรี ยนรู้คณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที 5 ระหว่างการจัดกิจกรรมการ
เรี ยนรู้ โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน (PBL) กับการเรี ยนรู ้ตามคู่มือครู .” วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสู ตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม. ถ่ายเอกสาร.
ระวีวรรณ พันธ์พานิช. (2541). สถิติเพือการวิจัย. กรุ งเทพฯ: ภาควิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ.
ราตรี เกตบุตตา. (2546) . “ผลของการเรี ยนแบบใช้ปัญหาเป็ นหลักต่อความสามารถในการแก้ปัญหา
และความคิดสร้างสรรค์ทางคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษา.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
ครุ ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาคณิ ตศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.
167

ลัดดา ภู่เกียรติ. (2542). “การสร้างแบบฝึ กวิชาคณิ ตศาสตร์ เพือพัฒนาความสามารถในการคิด


วิเคราะห์ของนักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที 6 .” วารสารครุ ศาสตร์ . 1 (กรกฎาคม – ตุลาคม
2542) : 92 – 94.
วลีพร เดชเดชา. (2547). “การศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 3
ทีได้รับการสอนซ่อมเสริ มภาพลักษณ์มโนทัศน์ทางเรขาคณิ ต.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิ ตศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
วันดี ต่อเพ็ง. (2553). “ผลของการจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้ปัญหาเป็ นหลักทีมีต่อผลสัมฤทธิทางการเรี ยน
คณิ ตศาสตร์ เรื อง โจทย์ปัญหาเกียวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวของนักเรี ยนชัน
มัธยมศึกษาปี ที 1.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิ ตศาสตร์
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
วาสนา กิมเทิง. (2553). “ผลการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน (Problem Based
Learning :PBL) ทีมีต่อทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการเชือมโยงทางคณิ ตศาสตร์และความ
ใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยนของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 3.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต
สาขาวิชาคณิ ตศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
วิไลวัลย์ เมืองโคตร. (2548). “การพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์ โดยใช้ชุดกิจกรรม สําหรับ
นักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที 6.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาการสอนคณิ ตศาสตร์ ภาควิชาการศึกษา. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วิวฒั น์ ลีวงศ์วฒั น์. (2548). “ผลของการสอนซ่ อมเสริ มโดยใช้การจัดการเรี ยนการสอนผ่านเว็บทีมีต่อ
ผลสัมฤทธิทางการเรี ยนและความรู ้พนฐานทางคณิ
ื ตศาสตร์ ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษา
ปี ที 5.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาครุ ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาคณิ ตศาสตร์
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.
วิวฒั พงษ์ พัทโท. (2550). “การพัฒนาแบบฝึ กทักษะวิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องสถิติ ชันมัธยมศึกษาปี ที 3.”
วิทยานิพนธ์ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิ ตศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
วุฒิ ถนอมวิริยะกุล. (2547). “การสร้างแบบฝึ กทักษะการโจทย์ปัญหาคณิ ตศาสตร์ สาระจํานวนและ
การดําเนินการ สําหรับนักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที 4 จังหวัดระยอง.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสู ตรและการสอน. มหาวิทยาลัยบูรพา. ถ่ายเอกสาร.
168

ศรี สมัย สอดศรี . (2546). “การเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยน
ชันมัธยมศึกษาปี ที 3 เรื องโจทย์ปัญหาสมการเชิงเส้นสองตัวแปร โดยใช้กระบวนการสร้าง
ทักษะการแก้ปัญหากับการสอนตามปกติ.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต
สาขาวิชาการมัธยมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
ศิริพร คล่องจิตต์. (2546). “การศึกษาผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ เรื อง โจทย์ปัญหาสมการ
เชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 2 ทีได้รับการจัดการเรี ยนการสอน
แบบ TAI.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการมัธยมศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
ศุภิสรา โททอง. (2547). “การเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู ้ระหว่างการสอนโดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน
(PBL) กับการสอนตามคู่มือของสสวท.กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ เรื อง การวัดความ
ยาว ในระดับชันประถมศึกษาปี ที 4.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชา
หลักสู ตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ถ่ายเอกสาร.
สายใจ จําปาหวาย. (2549). “ผลการเรี ยนด้วยกิจกรรมการเรี ยนรู ้ โดยใช้ปัญหาเป็ นฐานและรู ปแบบ
ของสสวท. เรื อง บทประยุกต์ ทีมีต่อผลการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนชันประถมศึกษาปี ที 6.”
วิทยานิพนธ์ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสู ตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ถ่ายเอกสาร.
สิ ริพร ทิพย์คง. (2544). การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ . กรุ งเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.
สุ ธิดา เกตุแก้ว. (2547). “ผลของการใช้กระบวนการสื อสารทีมีต่อผลสัมฤทธิทางการเรี ยนวิชา
คณิ ตศาสตร์และแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ ในการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาครุ ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสู ตรการสอนและ
เทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.
สุ นนั ทา สุ นทรประเสริ ฐ. (2544). การผลิตนวัตกรรมการเรียนการสอนการสร้ างแบบฝึ กเล่ม 2.
กรุ งเทพฯ: ชมรมพัฒนาความรู้ดา้ นระเบียบกฎหมาย.
สุ ภามาส เทียนทอง. (2553). “การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรี ยนชันประถมศึกษา
ปี ที 5 ทีจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต.
สาขาวิชาหลักสู ตรและการนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สุ นทรี คนเทียง. (2544). “การจัดการเรี ยนการสอนตามแนวปฏิรูปการศึกษา.” วารสารข่ าวสารกอง
บริการการศึกษา. 12,1 (พฤษภาคม-มิถุนายน 2544) : 10 -19
สุ นีย ์ คล้ายนิล. (2547). “คณิ ตศาสตร์สาํ หรับโลกวันพรุ่ งนี.” วารสารการศึกษา วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี. 32,131 (กรกฎาคม-สิ งหาคม 2547) : 12-22
169

สุ วทิ ย์ มูลคํา. (2542). วิธีการจัดการเรียนรู้ : เพือพัฒนากระบวนการคิด. กรุ งเทพฯ: ภาพพิมพ์. 68.


สมพร ตอยยีบี. (2554). “การพัฒนาแบบฝึ กทักษะการเขียนเชิงสร้างสรรค์วชิ าภาษาไทยสําหรับ
นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 โรงเรี ยนเซนต์เทเรซา หนองจอก กรุ งเทพฯ.” วิทยานิพนธ์
ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการมัธยมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ศรี นคริ นทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
สมหมาย ศุภพินิ. (2551). “การพัฒนาแบบฝึ กทักษะกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ เรื อง ร้อยละ
ชันประถมศึกษาปี ที 5.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาครุ ศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎ
อุบลราชธานี .
อนันตนิจ โพธิถาวร. (2547). “ผลของการใช้กิจกรรมการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ในโลกจริ งทีมีต่อ
ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนและความพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
ระดับชันมัธยมศึกษาตอนต้น.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาครุ ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
หลักสู ตรการสอนและเทคโนโลยีการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ถ่ายเอกสาร.
อัชปาณี นนทสุ ต. (2554). “การพัฒนาแบบฝึ กเสริ มทักษะการอ่านภาษาอังกฤษทีมีเนือหาเกียวกับ
ท้องถินจังหวัดกาญจนบุรี เพือพัฒนาการอ่านเพือความเข้าใจ สําหรับนักเรี ยนชัน
มัธยมศึกษาปี ที 4 โรงเรี ยนศรี สวัสดิพิทยาคม จังหวัดกาญจนบุรี.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
อเนก จันทรจรู ญ. (2545). “การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนชัน
ประถมศึกษาปี ที 6 โดยใช้ชุดการสอน.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต
สาขาวิชาการมัธยมศึกษา มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ.
อาจารี ย ์ สฤษดิไพศาล. (2547). “การพัฒนาแบบฝึ กทักษะคณิ ตศาสตร์ สาํ หรับชันประถมศึกษาปี ที 3.”
วิทยานิพนธ์ปริ ญญาครุ ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสู ตรและการสอน มหาวิทยาลัย
ราชภัฏอุบลราชธานี.
อรรณพ ชุ่มเพ็งพันธ์. (2553). “การพัฒนาผลการเรี ยนรู้ เรื องสารในชีวติ ประจําวันของนักเรี ยนชัน
ประถมศึกษาปี ที 6 ทีจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาการศึกษา
มหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิ ตศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ.
170

อุบลวรรณ ปรุ งวนิชพงษ์. (2551). “การพัฒนาแบบฝึ กทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยใช้กิจกรรมการ


อ่านให้คล่อง สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 4 โรงเรี ยนราชินีบูรณะ อําเภอเมือง
จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอน
ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ภาษาอังกฤษ
Ausubel, David,P. (1968). Educational Psychology : A Cognitive View. New York : Holt Rinehart
Winston, Inc.
Ai-Furaihi, Ali M.H. (2003). An Investingation of the relationship between students’ attitude
toward learning Mathematics, Dissertation Abstract International.(Online)
Available,2003 : http://www/ib.umi.com/dissertation/fullcit. Retrierced August, 14 2013.
Bell, Frederick H. (1978). Teaching and Learning Mathematics (in Secondary School).Dubuque,
lowa : Wm. C. Brown Company Publishers.
Charles , Randall ; & Lester , Frank. (1982). Teaching problem Solving. What Why & How.
Boston:Dale Seymour Publications.
Dimork, H.S. (1952). Administration of the Modern Camp. (3d ed.) New York: Association
Press, Houston Robert W, et al. (1972) . Development Instructional Modules; A Modular
System for Writing Modules. Houston, 188p.
Illinois Mathematics and Science Academy (IMSA). (2006). Introduction to PBL. Retrieved
May, 22 2013, From http://www.imsa.edu/team/cpbl/whatis/whatis/slide3.html.
Kreger, C. (1998). Problem-Based Learning. Online Retrieved, June, 28 2013,
http://www.cotf.edu/ete/teacher/tprob/trob.html.
McCarthy,D.S. (1998). A Teaching Experiment Using Problem-Based Learning at the
Elementary Level to Develop Decimal Concepts.Dissertation Abstracts Online.
Retrieved, June, 12 2013, http://thailis.uni.net.th/dao/detail.nsp.
Maddox, Hary. (1965). How to study, London: Wyman.Lid.
Pedersen, S. (2000). Cognitive Modeling During Problem- Based Learning: The Effects of A
Hypermedia Expert Tool . Unpublish doctoral Dissertation, university of Texas at
Austin, Austin,TX.
171

Prescott, Daniel A. (1961). Report of Conference on Child Study , Educational Bulletin. Faculty
of Education. Bangkok: Chulalongkorn University.
Rawat, D.S. and Cupta, S.L. (1970). Educational Wastage at the Primary Level: A Hand Book
for Teachers. New DelHi.: S.K. Kitchchula at Nalanda Press.
Schmidt, Henk G. (1983).The Rational Behind Problem Based Learning. Med Educ. 17: 11-16.
Shore, M. ; Shore, J.; & Boggs, S.(2004). Allied Health Application Integrated into
Developmental Mathematics Using Problem Based Learning. Mathematics &
Computer Education. 38, (2004 Spring).183-189.
Smith,Steven Harmon. (1982). Achievement and Long-Term Retention in Geometry Using
Mastery Learning , Student Choice and Tradition Learning in the Elementary
School. Dissertation Abstracts International. 42,8 (1982 February) : 3423-A.
Torp, Linda & Sage, Sara. (1998). Problem as Possibilities: Problem-Based Learning for K- 12.
Alexandria,Virgnia: Association for Supervision and Curriculum Development.
White, Harold B ,Dan Tries. (1996). Problem –Based Learning: A Case Study, Retrieved, June,
12 2013, from http:// www.udel.edu./pbl/dancease3.html]
172

ภาคผนวก
174

ภาคผนวก ก

รายนามผู้เชี ยวชาญตรวจเครื องมือ


174

รายนามผู้เชียวชาญตรวจเครื องมือ

1. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. แสงเดือน เจริ ญฉิม ผูเ้ ชียวชาญด้านหลักสู ตรและวิธีสอน


โรงเรี ยนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน
ศูนย์วจิ ยั และพัฒนา

2. อาจารย์ ดร. วิเนตร แสนหาญ ผูเ้ ชียวชาญด้านเนื อหาคณิ ตศาสตร์


คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต
กําแพงแสน

3. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. เอกนฤน บางท่าไม้ ผูเ้ ชียวชาญด้านสื อและนวัตกรรม


คณะศึกษาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีทาง
การศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร
วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์

4. อาจารย์กญั ญารัตน์ สอาดเย็น ผูเ้ ชียวชาญด้านจิตวิทยาและการเรี ยนรู้


คณะศึกษาศาสตร์ สาขาจิตวิทยา
การศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร
วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์

5. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ วสันต์ เดือนแจ้ง ผูเ้ ชียวชาญด้านการวัดและประเมินผล


โรงเรี ยนสาธิ ตแห่งมหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน
ศูนย์วจิ ยั และพัฒนา
175

ภาคผนวก ข

เครืองมือเก็บรวบรวมข้ อมูลพืนฐานและความต้ องการ

- แบบสอบถามข้อมูลพืนฐานและความต้องการของนักเรี ยน
- แบบสัมภาษณ์ ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกียวกับการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ
สําหรับครู กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์
- แบบสรุ ปความสามารถพืนฐานในการแก้ปัญหา (ก่อนเรี ยน) ของนักเรี ยน
ชันมัธยมศึกษาปี ที 1
176

แบบสอบถามข้ อมูลพืนฐานและ ความต้ องการของนักเรียน


คําชีแจง
แบบสอบถามฉบั บ นี เป็ นการศึ ก ษาข้ อ มู ล พื นฐานและความต้ อ งการของนั ก เรี ยน
ชันมัธยมศึกษาปี ที 1/1 เกี ยวกับ 1) องค์ประกอบของแบบฝึ กทักษะ 2) เนื อหา 3) การวัดและ
ประเมินผลของแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหา
เป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา โดยแบ่งเป็ น 2 ตอน ดังรายละเอียดต่อไปนี
ตอนที 1 สอบถามข้อมูลพืนฐานและความต้องการเกียวกับ 1) องค์ประกอบของ
แบบฝึ กทักษะ 2) เนือหา และ3) การวัดและประเมินผล เป็ นแบบตรวจสอบรายการ (Check List)
โดยครู จะอธิ บายถึงความสําคัญของแต่ ละองค์ ประกอบของแบบฝึ กทักษะให้ นักเรี ยนเลือก
ว่ าภายในแบบฝึ กทักษะ สมควรมี หรื อ ไม่ สมควรมี องค์ ประกอบใด
1. นักเรี ยนเคยใช้แบบฝึ กทักษะทีครู ผสู ้ อนจัดเตรี ยมให้ประกอบการเรี ยนหรื อไม่
( ) 1.1 เคย ( ) 1.2 ไม่เคย
2. นักเรี ยนชอบแบบฝึ กทักษะประกอบการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ หรื อไม่
( ) 2.1 ชอบ ( ) 2.2 ไม่ชอบ ( ) 2.3 เฉย ๆ
3. นักเรี ยนคิดว่าองค์ประกอบภายในแบบฝึ กทักษะทีสําคัญ ควรมี หรื อ ไม่ สมควรมี
องค์ ประกอบใด พร้ อมทังให้ ข้อคิดเห็นเพิมเติม
ที องค์ ประกอบ สมควรมี ไม่ สมควรมี ข้ อคิดเห็นเพิมเติม
1 ชือเรื อง
2 คํานํา
3 คําชีแจง
4 สารบัญ
5 วัตถุประสงค์
(มาตรฐาน และผลการเรี ยนรู้)
6 แบบทดสอบก่อนเรี ยน
7 แบบฝึ กทักษะ
8 แบบทดสอบหลังเรี ยน
177

4. นักเรี ยนคิดว่าเนือหาในแบบฝึ กทักษะ ควรมี หรื อ ไม่ สมควรมี ลักษณะใด พร้ อมทังให้
ข้ อคิดเห็นเพิมเติม

ที ลักษณะเนือหา สมควรมี ไม่ สมควรมี ข้ อคิดเห็นเพิมเติม


1 เน้นเรื องทีเกียวข้องกับชีวิตประจําวัน
2 พัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา
3 เข้าใจง่าย ไม่ยากจนเกินไป
4 เรี ยงลําดับจากง่ายไปหายาก
5 พัฒนาความรู ้พนฐานทางคณิ
ื ตศาสตร์
บวก ลบ คูณและหาร
6 ตรงกับความสามารถในระดับมัธยม
ศึกษาปี ที 1
5. นักเรี ยนต้องการให้ครู ประเมินผลงานของนักเรี ยนในรู ปแบบใด
( ) การตรวจชินงาน (การทําแบบฝึ กทักษะของนักเรี ยน)
( ) การทําแบบทดสอบ
( ) การสอบถาม
( ) การนําเสนอผลงานหน้าชันเรี ยน
( ) อืน (โปรดระบุ).......................................................
6. นักเรี ยนต้องการให้ใครเป็ นผูป้ ระเมินผลงานของนักเรี ยน
( ) ครู ผสู้ อนเป็ นผูป้ ระเมิน
( ) ประเมินผลงานด้วยตนเอง
( ) เพือนประเมินเพือน
( ) ผูป้ กครองประเมิน
( ) อืนๆ (โปรดระบุ)......................................................
ตอนที 2 ข้อเสนอแนะเพิมเติมเกียวกับแบบฝึ กทักษะ
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
178

แบบสั มภาษณ์ ครู (Interview Form)


การถามข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกียวกับการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ
สําหรับครู กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์
งานวิจยั การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยจัดการเรี ยนรู้
แบบปัญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที1
โดยแบ่งเป็ น 2 ตอน ดังรายละเอียดต่อไปนี
ตอนที สถานภาพและข้อมูลทัวไป ประกอบด้ ว ย
ชือ …………………………..…….. สกุล…………………..……..…. เพศ  ชาย  หญิง
( ) อายุ ตํากว่า 30 ปี ( ) อายุ 30 - 38 ปี ( ) อายุ 39 - 46 ปี ( ) อายุ ตังแต่ 47 ขึนไป
ระดับการศึกษาสู งสุ ด ……………………………………. สาขา ………………………………………
จากมหาวิทยาลัย ……………………………………………… ประสบการณ์ทาํ งาน …………. ปี

ตอนที ประเด็นสัมภาษณ์ ความคิดเห็นเกียวกับการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์


โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับ
นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 ประกอบด้วยข้อคําถาม จํานวน 4 ข้อ ดังนี
1) ท่า นคิ ดว่า องค์ป ระกอบของแบบฝึ กทัก ษะที สํ า คัญ มี อ ะไรบ้า ง และสํ า คัญ อย่า งไร
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
2) ท่ านคิ ดว่า เนื อหาทางคณิ ตศาสตร์ ใ นแบบฝึ กทัก ษะ ลัก ษณะใด ที จะทํา ให้ผูเ้ รี ย นมี
ความสามารถในการแก้ปัญหามากทีสุ ด เพราะเหตุใด
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………
179

3) การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ โดยใช้ก ารจัด การเรี ย นรู้ แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพื อส่ งเสริ ม
ความสามารถในการแก้ปัญหา ท่านคิดว่าควรมีการวัดและ ประเมินผลอย่างไร จึงจะเหมาะสมกับ
นักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 1
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
4) ปั ญหาทีท่านพบในการใช้แบบฝึ กทักษะ มีอะไรบ้าง และมีแนวทางในการแก้ไขปั ญหา
ดังกล่าวอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
5) ข้อเสนอแนะเพิมเติ มเกี ยวกับการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ โดยใช้การจัด การเรี ยนรู้ แบบ
ปัญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
.………………………………………………………………………………………………………
180

แบบสรุ ปความสามารถในการแก้ ปัญหา


เพือศึกษาความสามารถพืนฐานในการแก้ปัญหา (ก่อนเรี ยน) วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื อง
การประยุกต์ 1 ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1/1

ความสามารถในการแก้ ปัญหา
ขันที 1 ขันที 2 ขันที 3 ขันที 4 ขันที 5
นักเรียน การเชือมโยง ทําความ ดําเนิน สังเคราะห์ สรุ ปผลการ รวม
ลําดับที ปัญหาและ เข้าใจ การศึกษา ข้อมูล แก้ไขปั ญหา คะแนน
นําเสนอปั ญหา กับปั ญหา ค้นคว้า และปฏิบตั ิ และความรู้ทีได้
(2 คะแนน) (2 คะแนน) (2 คะแนน) (2 คะแนน) (2 คะแนน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
181

ความสามารถในการแก้ ปัญหา
ขันที 1 ขันที 2 ขันที 3 ขันที 4 ขันที 5
นักเรียน การเชือมโยง ทําความ ดําเนิน สังเคราะห์ สรุ ปผลการ รวม
ลําดับที ปัญหาและ เข้าใจ การศึกษา ข้อมูล แก้ไขปั ญหา คะแนน
นําเสนอปั ญหา กับปั ญหา ค้นคว้า และปฏิบตั ิ และความรู้ทีได้
(2 คะแนน) (2 คะแนน) (2 คะแนน) (2 คะแนน) (2 คะแนน)
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
133
182

ภาคผนวก ค
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูลพืนฐานและความต้ องการในการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ

- หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช และหลักสู ตรสถานศึกษา


กลุ่มสาระการเรี ยนรู้คณิ ตศาสตร์ โรงเรี ยนไทรโยคมณี กาญจน์วทิ ยา
- แนวคิด ทฤษฎี งานวิจยั ทีเกียวข้อง กับการพัฒนาแบบฝึ กทักษะและการจัดการเรี ยนรู้
แบบปัญหาเป็ นฐาน
- ความสามารถพืนฐานในการแก้ปัญหา (ก่อนเรี ยน) ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1/1
183

แบบวิเคราะห์ หลักสู ตร

หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสู ตรสถานศึกษา


กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนไทรโยคมณีกาญจน์ วทิ ยา จังหวัดกาญจนบุรี

วิสัยทัศน์
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนทุกคนซึ งเป็ น
กําลังของชาติ ให้เป็ นมนุษย์ทีมีความสมดุล ทังด้านร่ างกายความรู้ คุณธรรม มีจิตสํานึกในความเป็ น
พลเมืองไทยและเป็ นพลโลกยึดมันในการปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตย อันมีพระมหากษัตริ ย ์
ทรงเป็ นประมุข มีความรู ้และทักษะพืนฐานรวมทังเจตคติทีจําเป็ นต่อการศึกษาต่อการประกอบ
อาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญบนพืนฐานความเชื อว่า ทุกคนสามารถ
เรี ยนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
หลักการ
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551 มีหลักการทีสําคัญดังนี
1. เป็ นหลัก สู ต รการศึ ก ษา เพื อความเป็ นเอกภาพของชาติ มี จุ ด หมายและ
มาตรฐานการเรี ย นรู้ เป็ นเป้ าหมายสํา หรั บ พัฒนาเด็กและเยาวชน ให้มีความรู้ ทกั ษะเจตคติแ ละ
คุณธรรมบนพืนฐานของความเป็ นไทยควบคู่กบั ความเป็ นสากล
2. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาเพือปวงชน ทีประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษา
อย่างเสมอภาคและมีคุณภาพ
3. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาทีสนองการกระจายอํานาจให้สังคม มีส่วนร่ วมในการ
จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิน
4. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาทีมีโครงสร้างยืดหยุ่นทังด้านสาระการเรี ยนรู ้เวลาและ
การจัดการเรี ยนรู้
5. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาทีเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ
6. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาสําหรับการศึกษาในระบบนอกระบบและตามอัธยาศัย
ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้ าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรี ยนรู้และประสบการณ์
184

จุดหมาย
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เป็ นคนดี
มีปัญญา มีความสุ ข มีศกั ยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชี พ จึงกําหนดเป็ นจุดหมายเพือให้
เกิดกับผูเ้ รี ยน เมือจบการศึกษาขันพืนฐานดังนี
1. มีคุณธรรมจริ ยธรรมและค่านิ ยมทีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเองมีวินยั และ
ปฏิบตั ิตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนาทีตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
2. มีความรู้ ความสามารถในการสื อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี
และมีทกั ษะชีวติ
3. มีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตทีดีมีสุขนิสัยและรักการออกกําลังกาย
4. มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมันในวิถี
ชีวติ และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข
5. มีจิตสํานึกในการอนุ รักษ์วฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา
สิ งแวดล้อม มีจิตสาธารณะทีมุ่งทําประโยชน์และสร้างสิ งทีดีงามในสังคมและอยูร่ ่ วมกันในสังคม
อย่างมีความสุ ข

สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรี ยน
การพัฒนาผูเ้ รี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนา
ผูเ้ รี ยนให้มีสมรรถนะสําคัญ 5 ประการดังนี
1. ความสามารถในการสื อสาร เป็ นความสามารถในการรั บ และส่ ง สารมี
วัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู ้ ความเข้าใจความรู ้ สึกและทัศนะของตนเอง
เพือแลกเปลียนข้อมูล ข่าวสารและประสบการณ์อนั จะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม
รวมทังการเจรจาต่อรอง เพือขจัดและลดปั ญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลื อกรับหรื อไม่รับข้อมูล
ข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื อสารทีมีประสิ ทธิ ภาพโดย
คํานึงถึงผลกระทบทีมีต่อตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิ ด เป็ นความสามารถในการคิ ด วิเ คราะห์ การคิ ด
สังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและการคิดเป็ นระบบ เพือนําไปสู่ การ
สร้างองค์ความรู้หรื อสารสนเทศ เพือการตัดสิ นใจเกียวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
185

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค


ต่างๆทีเผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสม บนพืนฐานของหลักเหตุผลคุณธรรมและข้อมูล สารสนเทศ
เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆในสังคม แสวงหาความรู ้ ประยุกต์
ความรู ้มาใช้ในการป้ องกันและแก้ไขปั ญหาและมีการตัดสิ นใจทีมีประสิ ทธิ ภาพ โดยคํานึ งถึงผล
กระทบทีเกิดขึนต่อตนเองสังคมและสิ งแวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ ทักษะชี วิต เป็ นความสามารถในการนํากระบวนการ
ต่างๆไปใช้ในการดําเนินชี วิตประจําวัน การเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื องการทํางาน
และการอยูร่ ่ วมกันในสังคม ด้วยการสร้างเสริ มความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างบุคคล การจัดการปั ญหา
และความขัดแย้ง ต่ า งๆอย่า งเหมาะสม การปรั บ ตัวให้ท ันกับ การเปลี ยนแปลงของสั ง คมและ
สภาพแวดล้อมและการรู ้จกั หลีกเลียงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ทีส่ งผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ ืน
5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เป็ นความสามารถในการเลื อกและใช้
เทคโนโลยีด้านต่างๆและมี ทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพือการพัฒนาตนเองและสังคม
ในด้านการเรี ยนรู ้ การสื อสารการทํางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้ างสรรค์ถูกต้องเหมาะสมและมี
คุณธรรม

สาระและมาตรฐานการเรี ยนรู้ สาระการเรี ยนรู้ คณิตศาสตร์ หลักสู ตรแกนกลางการศึ กษา


ขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551
สาระที 1 จํานวนและการดําเนินการ
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและการใช้จาํ นวนในชี วิตจริ ง
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึ งผลทีเกิดขึนจากการดําเนิ นการของจํา นวนและความสัมพันธ์ระหว่าง
การดําเนินการต่าง ๆ และใช้การดําเนินการในการแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคํานวณและแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจระบบจํานวนและนําสมบัติเกียวกับจํานวนไปใช้
สาระที 2 การวัด
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพืนฐานเกียวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ งทีต้องการวัด
มาตรฐาน ค 2.2 แก้ปัญหาเกียวกับการวัด
186

สาระที 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิ ตสองมิติและสามมิติ
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกียวกับปริ ภูมิ (spatial reasoning) และ
ใช้แบบจําลองทางเรขาคณิ ต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
สาระที 4 พีชคณิต
มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรู ป (pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั
มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิ ตศาสตร์ (Mathematical
model) อืน ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนําไปใช้
แก้ปัญหา
สาระที 5 การวิเคราะห์ ข้อมูลและความน่ าจะเป็ น
มาตรฐาน ค 5.1 เข้าใจและใช้วธิ ีการทางสถิติในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วิธีการทางสถิติและความรู ้เกียวกับความน่าจะเป็ นในการคาดการณ์ได้อย่าง
สมเหตุสมผล
มาตรฐาน ค 5.3 ใช้ความรู ้เกียวกับสถิติและความน่าจะเป็ นช่วยในการตัดสิ นใจและแก้ปัญหา
สาระที 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื อสาร การสื อความหมาย
ทางคณิ ตศาสตร์ และการนําเสนอ การเชือมโยงความรู ้ต่าง ๆ ทางคณิ ตศาสตร์
และเชือมโยงคณิ ตศาสตร์ กบั ศาสตร์อืนๆ และมีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์

โครงสร้ างหลักสู ตรสถานศึกษา โรงเรียนไทรโยคมณีกาญจน์ วทิ ยา พุทธศักราช 2553 (ฉบับ


ปรับปรุ ง 2556) กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชันมัธยมศึกษาปี ที 1

รายวิชา คณิ ตศาสตร์ พนฐาน


ื รหัสวิชา ค 21101 จํานวน 60 ชัวโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
รายวิชา คณิ ตศาสตร์ พนฐาน
ื รหัสวิชา ค 21102 จํานวน 60 ชัวโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
รายวิชา คณิ ตศาสตร์ เพิมเติม รหัสวิชา ค 21201 จํานวน 40 ชัวโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต
รายวิชา คณิ ตศาสตร์ เพิมเติม รหัสวิชา ค 21202 จํานวน 40 ชัวโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต
187

คําอธิบายรายวิชา
ค 21201 คณิตศาสตร์ เพิมเติม จํานวน 40 ชัวโมง/ภาค 1.0 หน่ วยกิต
ศึ กษา ฝึ กทักษะการคิ ดคํานวณ ฝึ กการแก้ปั ญหา และฝึ กทักษะกระบวนการทาง
คณิ ตศาสตร์ เกียวกับการประยุกต์ รู ปเรขาคณิ ต จํานวนนับ ร้อยละในชีวิตประจําวัน ปั ญหาชวน
คิด จํานวนและตัวเลข ระบบตัวเลขโรมัน ระบบตัวเลขฐานต่าง ๆ การเปลี ยนฐานในระบบตัวเลข
การประยุกต์ของจํานวนนับและเลขยกกําลัง การคิดคํานวณ โจทย์ปัญหา การสร้าง การแบ่งส่ วน
ของเส้นตรง การสร้างมุมต่าง ๆ การสร้างรู ปสามเหลียมและรู ปสี เหลียมด้านขนาน
โดยการจัดประสบการณ์ หรื อการสร้ างสถานการณ์ ที ใกล้ตวั ให้ผูเ้ รี ยนได้ศึกษา
ค้นคว้า โดยการปฏิบตั ิจริ ง พิสูจน์ สรุ ป รายงานผล เพือพัฒนาทักษะ กระบวนการในการคิดคํานวณ
การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื อความหมายทางคณิ ตศาสตร์ และการนําประสบการณ์ ด้า น
ความรู ้ ความคิด ทักษะกระบวนการทีได้ ไปใช้ในการเรี ยนรู ้สิงต่าง ๆ และใช้ในชีวติ ประจําวันอย่าง
สร้ า งสรรค์ รวมทังเห็ นคุ ณค่ าและมี เจตคติ ที ดี ต่อคณิ ต ศาสตร์ สามารถทํา งานอย่า งเป็ นระบบ
ระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวจิ ารณญาณ มีความเชือมันในตนเอง มีความซื อสัตย์สุจริ ต
มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ มีความมุ่งมันในการทํางาน มีจิตสาธารณะ และมีคุณธรรมจริ ยธรรม เพือการ
พัฒนาสู่ ประชาคมอาเซี ยน
ผลการเรียนรู้
1. อ่านและเขียนเลขโรมันได้
2. บอกค่าของเลขโดดและเขียนตัวเลขฐานต่างๆ ทีกําหนดให้ได้
3. ใช้ความรู้เกียวกับจํานวนเต็มและเลขยกกําลังในการแก้ปัญหาได้
4. ใช้การประมาณค่าในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม
5. ใช้การสร้างพืนฐาน สร้างมุมขนาดต่างๆได้
6. ใช้ความรู้และทักษะกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์แก้ปัญหาต่างๆได้
7. ใช้วธิ ี การทีหลากหลายในการแก้ปัญหาได้
8. ให้เหตุผลประกอบการตัดสิ นใจและสรุ ปผลได้อย่างเหมาะสม
9. ใช้ภาษาสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ในการสื อสาร การสื อความหมาย และการนําเสนอได้
อย่างถูกต้องและชัดเจน
10. เชือมโยงความรู ้ต่างๆในคณิ ตศาสตร์และนําความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์
ไปเชือมโยงกับศาสตร์ อืนๆได้
11. มีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์
188

โครงสร้างรายวิชาคณิ ตศาสตร์ ค 21201


ภาคเรี ยนที 1 ชันมัธยมศึกษาปี ที 1 เวลา 40 ชัวโมง จํานวน 1.0 หน่วยกิต

ชือหน่ วยการ เวลา นําหนัก


ที ผลการเรียนรู้ สาระสําคัญ
เรียนรู้ (ชัวโมง) คะแนน
1 การประยุกต์ 1 1. ใช้ความรู ้และทักษะกระบวนการ 1) รู ปเรขาคณิ ต 16 10
ทางคณิ ตศาสตร์แก้ปัญหาต่างๆได้ 2) จํานวนนับ
2. ใช้วิธีการที หลากหลายในการ 3) ร้อยละในชีวติ ประจําวัน
แก้ปัญหาได้ 4) ปั ญหาชวนคิด
3. เชือมโยงความรู ้ต่างๆใน
คณิ ตศาสตร์และนําความรู ้ หลักการ
กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ไป
เชือมโยงกับศาสตร์อืนๆได้
4. มีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์
2 จํานวนและ 1. อ่านและเขียนเลขโรมันได้ 1) ระบบตัวเลขโรมัน 8 10
ตัวเลข 2. บอกค่าของเลขโดดและเขียน 2) ระบบตัวเลขฐานต่าง ๆ
ตัวเลขฐานต่างๆ ทีกําหนดให้ได้ 3) การเปลียนฐานใน
ระบบตัวเลข
3 การประยุกต์ 1. ใช้ความรู ้เกียวกับจํานวนเต็มและ 1) การคิดคํานวณ 8 10
ของจํานวนนับ เลขยกกําลังในการแก้ปัญหาได้ 2) โจทย์ปัญหา
และเลขยกกําลัง 2. ใช้การประมาณค่าใน
สถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม
3. ให้เหตุผลประกอบการตัดสิ นใจ
และสรุ ปผลได้อย่างเหมาะสม
4 การสร้าง 1. ใช้การสร้างพืนฐานสร้างมุม 1)การแบ่งส่วนของ 8 5
ขนาดต่างๆได้ เส้นตรง
2. ใช้ภาษาสัญลักษณ์ทาง 2) การสร้างมุมขนาดต่าง ๆ
คณิ ตศาสตร์ในการสื อสาร การสื อ 3) การสร้างรู ปสามเหลียม
ความหมายและการนําเสนอได้ และรู ปสี เหลียมด้าน
อย่างถูกต้องและชัดเจน ขนาน
189

โครงสร้างรายวิชาคณิ ตศาสตร์ ค 21201 (ต่อ)


ภาคเรี ยนที 1 ชันมัธยมศึกษาปี ที 1 เวลา 40 ชัวโมง จํานวน 1.0 หน่วยกิต
เวลา นําหนัก
ที ชือหน่ วยการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สาระสําคัญ
(ชัวโมง) คะแนน
5 สอบวัดผลกลางภาค 1. ใช้ความรู ้และทักษะกระบวนการ 1) รู ปเรขาคณิ ต - 20
เรี ยน ทางคณิ ตศาสตร์แก้ปัญหาต่างๆได้ 2) จํานวนนับ
2.ใช้วธิ ีการทีหลากหลายในการ 3) ร้อยละในชีวติ ประจําวัน
แก้ปัญหา 4) ปั ญหาชวนคิด
3. เชือมโยงความรู ้ต่างๆใน 5) ระบบตัวเลขโรมัน
คณิ ตศาสตร์และนําความรู ้ หลักการ 6) ระบบตัวเลขฐานต่าง ๆ
กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ไป 7) การเปลียนฐานใน
เชือมโยงกับศาสตร์อืนๆ ระบบตัวเลข
4. มีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์
5. อ่านและเขียนเลขโรมันได้
6. บอกค่าของเลขโดดและเขียน
ตัวเลขฐานต่างๆ ทีกําหนดให้ได้
6 สอบวัดผลปลายภาค 1. ใช้ความรู ้เกียวกับจํานวนเต็มและ 1) การคิดคํานวณ - 30
เรี ยน เลขยกกําลังในการแก้ปัญหาได้ 2) โจทย์ปัญหา
2. ใช้การประมาณค่าใน 3) การแบ่งส่วนของ
สถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม เส้นตรง
3. ให้เหตุผลประกอบการตัดสิ นใจ 4) การสร้างมุมขนาดต่าง ๆ
และสรุ ปผลได้อย่างเหมาะสม 5) การสร้างรู ปสามเหลียม
4. ใช้ ก ารสร้ า งพื นฐานสร้ า งมุ ม และรู ปสี เหลียมด้านขนาน
ขนาดต่างๆได้
5.ใช้ภาษาสัญลักษณ์ทาง
คณิ ตศาสตร์ในการสื อสาร การสื อ
ความหมายและการนําเสนอได้
อย่างถูกต้องและชัดเจน
7 คะแนนคุณลักษณะ
- - - 15
อันพึงประสงค์
รวม 40 100
190

ผลการเรี ยนรู้ของแต่ละแบบฝึ กทักษะ หน่วยการเรี ยนรู ้ที 1 เรื องการประยุกต์ 1

แผนการ แบบฝึ ก เวลา


ผลการเรียนรู้ เนือหา
จัดการเรียนรู้ ทักษะ (ชัวโมง)
1 1. ใช้ความรู ้และทักษะ - ทดสอบความรู ้ก่อนเรี ยน 2
กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ - สมบัติของรู ปสามเหลียม
2 รู ป แก้ปัญหาต่างๆได้ - จุดภายใน จุดภายนอก 2
เรขาคณิ ต 2.ใช้วธิ ีการทีหลากหลายในการ - แทนแกรม
สะกิดใจ แก้ปัญหา
3. มีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์
3 จํานวนนับ 1. ใช้ความรู ้และทักษะ - จํานวนเฉพาะ 2
4 หรรษา กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ - การหา ห.ร.ม. และค.ร.น. 2
แก้ปัญหาต่างๆได้
5 1. ใช้ความรู ้และทักษะ - ร้อยละ เปอร์เซ็นต์ ต้นทุน 2
ร้อยละใน กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ ขาดทุน กําไร ค่านายหน้า
ชีวติ แก้ปัญหาต่างๆได้ ดอกเบีย
6 ประจําวัน 2.ใช้วธิ ีการทีหลากหลายในการ - โจทย์ปัญหาร้อยละ 2
แก้ปัญหา
7 1. ใช้ความรู ้และทักษะ - กิจกรรมผลบวกของ 2
กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ จํานวนคี มีอะไรอยูเ่ ท่าไร
แก้ปัญหาต่างๆได้ เงิน จํานวน เรี ยงอิฐปูพนื
8 ปั ญหาชวน 2.ใช้วธิ ีการทีหลากหลายในการ - กิจกรรมแบ่งทีดินปลูกผัก 2
คิด แก้ปัญหา - มีลูกอมอยูก่ ีเม็ด
3. เชือมโยงความรู ้ต่างๆใน - ทดสอบความรู ้หลังเรี ยน
คณิ ตศาสตร์และนําความรู ้
หลักการ กระบวนการทาง
คณิ ตศาสตร์ไปเชือมโยงกับ
ศาสตร์อืนๆ
4. มีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์
191

แบบวิเคราะห์ แนวคิด ทฤษฎี งานวิจยั ทีเกียวข้ อง

การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปัญหา


เป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1
จากการศึกษาแนวคิด ผูว้ จิ ยั ได้สังเคราะห์ความหมายขอบแบบฝึ กทักษะ ดังตาราง
ชื อผู้วจิ ัย ความหมาย
วราภรณ์ งานหรื อกิจกรรมทีครู จดั ให้นกั เรี ยนได้ฝึกทักษะการปฏิบตั ิบ่อย ๆ จนเกิดความ
ระบาเลิศ ชํานาญมีความรู ้ความเข้าใจในเนือหาวิชาทีเรี ยน และสามารถนําความรู ้นนไปใช้

(2552: 34) ในชีวติ ประจําวันได้
สลาย ปลังกลาง สื อการเรี ยนการสอนทีใช้สําหรับให้ผเู ้ รี ยนฝึ กความชํานาญในทักษะต่าง จนเกิด
(2552: 31-32) ความคิดรวบยอดในเรื องทีฝึ กและสามารถนําทักษะไปใช้ในการแก้ปัญหาได้
จารุ วรรณ เขียว กล่าวว่า แบบฝึ กทักษะ หมายถึง สื อการสอนทีสร้างขึนสําหรับให้นกั เรี ยนได้ฝึก
อ่อน (2551: 52) ปฏิบตั ิเพือให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจ และความชํานาญในเรื องนัน ๆ มากขึน

สมศรี อภัย สื อการสอนทีครู สร้างขึนเพือให้นกั เรี ยนได้ฝึกปฏิบตั ิให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจ


(2552: 21) และความชํานาญในเรื องนัน ๆ มากขึน นักเรี ยนมีทกั ษะเพิมขึนสามารถ
แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง
มณฑนกร เจริ ญ ให้ความหมายหมายของแบบฝึ กทักษะว่าเป็ นสื อการเรี ยนการสอนทีใช้ฝึกให้
รักษา (2552) นักเรี ยนมีความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ โดยมีการฝึ กสร้างคํา การ
เขียนประโยค การเขียนเป็ นข้อความสันๆ หรื อการเขียนเป็ นเรื องราว
อนุรักษ์ เร่ งรัด เอกสารทีผูว้ ิจยั สร้างขึน เพือพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับ
(ผูว้ จิ ยั ) นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 ซึงสอดคล้องกับมาตรฐานและผลการเรี ยนรู ้วชิ า
คณิ ตศาสตร์ ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551

จึงสรุ ปได้ว่าแบบฝึ กทักษะหมายถึ งเอกสารทีผูว้ ิจยั สร้ างขึน เพือพัฒนาความสามารถใน


การแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 ซึ งสอดคล้องกับมาตรฐานและผลการเรี ยนรู ้
วิชาคณิ ตศาสตร์ ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551
192

จากการศึกษาแนวคิด ผู้วจิ ัยได้ สังเคราะห์ องค์ ประกอบของแบบฝึ กทักษะ ดังตาราง


องค์ประกอบของ แบบทดสอบ แบบ แบบทดสอบ
ชือ คํา คํา วัตถุประสงค์
แบบฝึ กทักษะ สารบัญ ก่อนเรียน ฝึ ก หลังเรียน
เรือง นํา ชีแจง การเรียนรู้
ชือผู้วจิ ัย ทักษะ
วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์ (2545) √ - √ √ - √ √ √

อุบลวรรณ ปรุ งวนิชพงษ์ (2548) √ √ √ - √ √ √ √

วราภรณ์ ระบาเลิศ (2552) √ √ √ √ √ √ √ √

สุภาวดี คําฝึ กฝน (2552) √ √ √ - √ √ √ √

พัฒนพงศ์ บรรณการ (2552) √ √ √ - √ √ - √

มณฑนกร เจริ ญรักษา (2552) √ √ √ - - √ √ √

อนุรักษ์ เร่ งรัด (ผูว้ ิจยั ) √ √ √ √ √ √ √ √

ดังนันจากตาราง จึ งสรุ ปได้ว่า องค์ประกอบของแบบฝึ กทักษะทีสําคัญ มี ดงั นี ชื อเรื อง


คํานํา คําชี แจง สารบัญ วัตถุ ประสงค์การเรี ยนรู้ แบบฝึ กทักษะ ส่ ว นแบบทดสอบก่ อนเรี ยนจะ
ปรากฎอยูใ่ นแบบฝึ กทักษะเล่มที 1 คือ ก่อนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ และแบบทดสอบหลังเรี ยน
จะปรากฎอยูใ่ นแบบฝึ กทักษะเล่มสุ ดท้าย คือ หลังการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ และแผนการจัด การ
เรี ยนรู้ สํา หรั บ ครู ผู้ส อน
ความสํ าคัญและประโยชน์ ของแบบฝึ กทักษะ
คณิ ตศาสตร์ เป็ นวิชาทักษะทีต้องอาศัย การฝึ กฝนอย่างสมําเสมอ เพราะการฝึ กฝนจะทําให้
เกิ ดความชํานาญ ความแม่นยํา มี พฒั นาการทางการคิ ด แบบฝึ กทักษะจึงเป็ นสื อการเรี ยนทีอํานวย
ประโยชน์ ต่อการเรี ยนรู ้
สรุ ปได้วา่ แบบฝึ กทักษะมีความสําคัญและมีประโยชน์ต่อทังครู ผสู้ อนและนักเรี ยน ในด้าน
ของครู ผสู ้ อนนัน ทําให้ทราบข้อบกพร่ องของนักเรี ยนลดความแตกต่ า งระหว่ า งนักเรี ยน ทราบ
ความก้า วหน้า จะช่ ว ยพัฒนา การเรี ย นรู ้ แก่ นัก เรี ย น นอกจากนี ยัง ช่ ว ยลดภาระค่า ใช้จ่า ยและ
ประหยัดเวลา ด้านนักเรี ยนแบบฝึ กทักษะช่วยให้นกั เรี ยนเข้าใจบทเรี ยนมากขึน สามารถฝึ กฝน
ทบทวนบทเรี ยนด้วยตนเองก่อให้เกิดความเข้าใจทีคงทน เกิดความสนุกสนานในขณะเดียวกันก็ทราบ
ความก้าวหน้าของตนเองอีกด้วย
193

หลักจิตวิทยาทีเกียวกับการสร้ างแบบฝึ กทักษะ


การสร้างแบบฝึ กทักษะให้มีประสิ ทธิ ภาพสําหรับนําไปใช้ ในการจัดการเรี ยนการสอนนัน
ควรคํานึงถึงหลักจิตวิทยามาใช้เป็ นองค์ประกอบ และใช้เพือเป็ นแนวทางในการสร้างแบบฝึ กทักษะ
ให้มีความเหมาะสมกับวัย ความสนใจ และความสามารถของผูเ้ รี ยน การศึกษาทฤษฎีการเรี ยนรู้
จากข้อมูลทีนักจิตวิทยาได้คน้ พบและทดลองเกียวกับการสร้างแบบฝึ กทักษะทีสําคัญคือ
ธอร์ นไดค์ (ประสาท อิศรปรี ดา, 2547 : 217 - 219 ; อ้างอิงมาจาก Thorndike, 1874 -
1949 : unpaged) ได้อธิบายกฎการเรี ยนรู้ทีสําคัญ คือ
1. กฎความพอใจ (Law of Effect) กฎนีมีใจความว่า พันธะหรื อตัวเชื อมระหว่าง
สิ งเร้ าและการตอบสนองจะเข้มแข็งหรื ออ่อนกําลังลง ย่อมขึ นอยู่กบั ผลต่อเนื องหลัง จากทีได้
ตอบสนองไปแล้วกล่าวคือรางวัล จะมีผลให้พนั ธะระหว่างสิ งเร้ าและการตอบสนองเข้มแข็งขึ น
ส่ วนการลงโทษจะไม่มีผลใดๆ ต่อความเข้มแข็งหรื อการอ่อนกําลังลงของพันธะระหว่างสิ งเร้าและ
การตอบสนองเลย กฎข้อนี เน้นทีการสร้ างแรงจูงใจ การให้รางวัลหรื อการเสริ มแรง ธอร์ นไดค์
เชื อว่า การเสริ มแรงหรื อรางวัล หรื อความ สําเร็ จ จะส่ ง เสริ ม การแสดงพฤติ ก รรมต่า งๆ หรื อ
ก่อให้เกิดการเรี ยนรู ้ขึน
2. กฎการฝึ กหัด (Law of Exercise) กฎการฝึ กหัดได้แบ่งออกเป็ นกฎย่อยๆ 2
กฎ คือ
2.1 กฎการได้ใช้ (Law of Use) มีใจความว่าพันธะหรื อตัวเชือมระหว่างสิ ง
เร้าและการตอบสนองจะเข้มแข็งเมือได้ทาํ บ่อย ๆ
2.2 กฎการไม่ได้ใช้ (Law of Disuse) มีใจความว่าพันธะหรื อตัวเชื อม
ระหว่างสิ งเร้าและการตอบสนองจะอ่อนกําลังลง เมือไม่ได้ทาํ อย่างต่อเนื อง มีการขาดตอนหรื อไม่
ได้ทาํ บ่อยๆ
3. กฎความพร้อม (Law of Readiness) กฎนี มีใจความสรุ ปว่า “ เมือบุคคลพร้อมที
จะทําแล้วได้ทาํ เขาย่อมเกิดความพอใจ” “เมือบุคคลพร้อมทีจะทําแล้วไม่ได้ทาํ เขาย่อมเกิดความไม่
พอใจ” “เมือบุคคลไม่พร้ อมที จะทําแต่ตอ้ งทํา เขาย่อมเกิ ดความไม่พอใจ” ความพร้ อมตาม
ความหมายนีรวมถึงวุฒิภาวะทางกายวุฒิภาวะทางปั ญญา ความรู ้พืนฐานหรื อประสบการณ์เดิมและ
สภาพแรงจูงใจความพอใจเป็ นภาวะทีต้องการได้รับและจะไม่พยายามหลีกหนี ความไม่พอใจเป็ น
ภาวะไม่ตอ้ งการได้รับและพยายามหลีกหนี
ดังนันผูส้ ร้างแบบฝึ กทักษะจึงต้องกําหนดกิจกรรม ตลอดจนคําสังต่างๆ ในแบบฝึ กทักษะ
ให้ผฝู ้ ึ กได้แสดงพฤติกรรมสอดคล้องกับจุดประสงค์ทีผูส้ ร้างต้องการ
194

แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยทีเกียวกับการจัดการเรียนรู้ แบบปัญหาเป็ นฐาน


ความหมายของการเรี ยนรู ้แบบใช้ปัญหาเป็ นฐาน สรุ ปได้วา่ การเรี ยนรู ้แบบใช้ปัญหาเป็ น
ฐานเป็ นรู ปแบบของการจัดการเรี ยนการสอนที เริ มต้นจากปั ญหา เพือแก้ปัญหาหรื อสถานการณ์
เกี ยวกับชี วิตประจําวัน ตัวปั ญหาจะเป็ นจุ ดตังต้นของกระบวนการเรี ยนรู ้ และเป็ นตัวกระตุ น้ การ
พัฒนาทักษะการแก้ปัญหา มุ่งเน้นพัฒนาผูเ้ รี ยนในด้านทักษะและกระบวนการเรี ยนรู้ และพัฒนา
ผูเ้ รี ยนให้สามารถเรี ยนรู้โดยการชี นําตนเอง ครู จึงจะเป็ นเพียงผูอ้ าํ นวยความสะดวกและเรี ยนรู้ไป
พร้ อม ๆ กับนักเรี ยน ดังนันปั ญหาที นํามาใช้ในการเรี ยนจึงต้องเป็ นปั ญหาที มีแนวทางการแก้ไข
ปั ญหาทีหลากหลาย มีความยุง่ ยาก ซับซ้อนและมีประโยชน์สําหรับนักเรี ยนเพือทีจะทําให้นกั เรี ยน
เกิดแรงจูงใจในการเรี ยนรู้
และจากการศึกษาขันตอนการเรี ยนการสอน โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน สามารถสรุ ปได้วา่ การ
เรี ยนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็ นฐานจะเริ มต้นด้วยปั ญหา ซึ งผูส้ อนเป็ นผูก้ าํ หนด โดยมีจุดมุ่งหมาย
เพือนําผูเ้ รี ยนไปสู่ เนือหาสาระของรายวิชา ซึ งปั ญหาจะถูกอธิ บายเป็ นสถานการณ์หรื อเหตุการณ์ ที
สามารถพบได้ใ นชี วิต ประจํา วัน สามารถอธิ บ ายด้ว ยทฤษฎี แ ละการฝึ กปฏิ บ ัติ เมื อปั ญ หาถู ก
นําเสนอจะเป็ นจุดเริ มต้นในกระบวนการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน โดยทีปั ญหาถูกนําเสนอแก่ผเู ้ รี ยน เพือ
การอภิปรายในกลุ่มการเรี ยน ซึ งจะต้องอธิ บายเหตุการณ์ โดยกระบวนการแสวงหาความรู ้ของกลุ่ม
ตนเอง ผูเ้ รี ยนต้องใช้ความรู ้เดิมทีได้มาจากการศึกษาของตนเองในสถานการณ์ทีคล้ายกัน จากนันจึง
อภิปราย โดยใช้กระบวนการกลุ่ม ซึ งจําเป็ นต้องปฏิ บตั ิให้สมบูรณ์ เพือให้เกิดผลในการเรี ยนรู ้ใน
ปั ญหามากทีสุ ด และนําหลักการ แนวคิดทีสอดคล้องกัน มากําหนดเป็ นขันตอนการจัดการเรี ยนรู ้
แบบใช้ปัญหาเป็ นฐาน โดยผลการวิเคราะห์และสังเคราะห์ ดังตาราง
การสังเคราะห์ขนตอนการจั
ั ดการเรี ยนรู ้แบบปั ญหาเป็ นฐาน
สเตปเพียน และ เดลลีส เซวอย และฮิวจ์ Barrows และ สํานักงาน ส่ วน กุลยา อนุรักษ์
แกลแลกเกอร์ (Delisle (Savoil and Roblyn (1980 เลขาธิการ ส่ งเสริ ม ตันติผลาชีวะ เร่ งรัด (ผูว้ ิจยั )
(Stepien,W.J.and 1997: Hugles 1994 , : 144- 145) สภาการศึกษา วิชาการ (2548: 79)
Gallagher,S.A. 26-36 อ้างถึงใน วัชรา (2550) มหาวิทยาลัย
1993 , อ้างถึงใน เล่าเรี ยนดี 2554 :
วลัยลักษณ์
วัชรา เล่าเรี ยนดี 110-111)
2554 : 110)
ขันที 1 ขันที 1 ขันที 1 ขันที 1 ขันที 1 ขันที 1 ขันที 1 ขันที 1
เข้าสู่ปัญหาและ การ ระบุปัญหาที นําเสนอด้วย กําหนดปัญหา อธิ บาย ศึกษาปัญหา การเชือมโยง
นิยามปัญหา เชือมโยง เหมาะ สม ปัญหา คําศัพท์ทีไม่ และตัง ปัญหาและนํา
สําหรับผูเ้ รี ยน เข้าใจ สมมุติฐาน เสนอปัญหา
195

การสังเคราะห์ขนตอนการจั
ั ดการเรี ยนรู ้แบบปัญหาเป็ นฐาน (ต่อ)
สเตปเพียน และ เดลลีส (Delisle เซวอย และฮิวจ์ Barrows และ สํานักงาน ส่ วนส่ งเสริ ม กุลยา อนุรักษ์
แกลแลกเกอร์ 1997: 26-36 (Savoil and Roblyn (1980 เลขาธิการ วิชาการ ตันติผลา เร่ งรัด
(Stepien and Hugles 1994 , : 144- 145) สภา มหาวิทยาลัย ชีวะ (ผูว้ ิจยั )
Gallagher, 1993 อ้างถึงใน วัชรา การศึกษา วลัยลักษณ์ (2548:79)
, อ้างถึงใน วัชรา เล่าเรี ยนดี 2554
(2550)
เล่าเรี ยนดี , 2554 : 110-111)
: 110)
ขันที 2 ขันที 2 ขันที 2 ขันที 2 ขันที 2 ขันที 2 ขันที 2 ขันที 2
หาข้อมูล การกําหนด เชือมโยงปัญหา สร้างประเด็น ทําความ ตังปัญหา ศึกษาค้นคว้า ทําความ
รวบรวมข้อมูลที กรอบการศึกษา กับบริ บทของ การเรี ยนใน เข้าใจปัญหา ด้วยตนเอง เข้าใจกับ
เกียวข้อง ผูเ้ รี ยน ระหว่าง ปัญหา
อภิปรายภายใน
กลุม่

ขันที 3 ขันที 3 ขันที 3 ขันที 3 ขันที 3 ขันที 3 ขันที 3 ขันที 3


สังเคราะห์ขอ้ มูล การศึกษาปัญหา มอบหมาย จัดลําดับ ดําเนิน ระดมสมอง ประยุกต์ ดําเนิน
และปฏิบตั ิ ความรับผิด ความสําคัญ การศึกษา ความรู ้ การศึกษา
ชอบให้ผเู ้ รี ยน ของประเด็น ค้นคว้า ค้นคว้า
การเรี ยนและ
การมอบงาน
ขันที 4 ขันที 4 ขันที 4 ขันที 4 ขันที 4 ขันที 4 ขันที 4
การรวบรวม กระตุน้ ความ สรุ ปความรู ้ที สรุ ปผลการ วิเคราะห์ปัญหา ประเมิน สังเคราะห์
ความรู ้ ตัดสิ นใจ ร่ วมมือ ได้หลังการ แก้ไขปัญหา ผลการเรี ยนรู ้ ข้อมูลและ
เลือกแนวทาง เรี ยน และความรู ้ที ปฏิบตั ิ
แก้ปัญหา ได้

ขันที 5 ขันที 5 ขันที 5 ขันที 5 ขันที 5


การสร้างผลงาน ตังความ สรุ ปและ สร้างประเด็น สรุ ปผลการ
หรื อปฏิบตั ิตาม คาดหวังหรื อ ประเมินค่า การเรี ยนรู ้ แก้ไขปัญหา
ทางเลือก กําหนด ของคําตอบ และความรู ้ที
เป้ าหมาย ได้

ขันที 6 ขันที 6
นําเสนอและ ค้นคว้าหา
ประเมิน ความรู ้ดว้ ย
ตนเอง

ขันที 7
รายงานต่อกลุ่ม
196

จาก การสังเคราะห์ขนตอนการจั
ั ดการเรี ยนรู้แบบปัญหาเป็ นฐาน ใช้ขนตอนในการวิ
ั จยั ครัง
นี 5 ขันตอนต่อไปนี
ขันที 1 การเชือมโยงปั ญหาและนําเสนอปั ญหา ปั ญหา (The Related Problem and
Problem Presentation) เป็ นขันตอนในการสร้างปั ญหา เพราะในการเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน
ผูเ้ รี ยนจะต้องมีความรู้สึกว่าปั ญหานันมีความสําคัญต่อตนก่อนครู ควรเลือกหรื อออกแบบปั ญหาให้
สอดคล้องกับผูเ้ รี ยน ดังนันในขันนี ครู จะสํารวจประสบการณ์ความสนใจของผูเ้ รี ยนแต่ละบุคคล
ก่อนเพือเป็ นแนวทางในการเลือกหรื อออกแบบปั ญหา โดยครู จะยกประเด็นทีเกียวข้องกับปั ญหา
ขึนมาร่ วมกันอภิปรายก่อนแล้วครู และนักเรี ยนช่วยกันสร้างปั ญหาทีผูเ้ รี ยนสนใจขึนมาเพือนําไป
เป็ นปั ญหาสําหรับการเรี ยนรู้โดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน ประเด็นทีครู ยกมานันจะต้องเป็ นประเด็นทีมี
ความ สัมพันธ์กบั ความรู ้ในเนือหาวิชาและทักษะทีต้องการให้นกั เรี ยนได้รับ
ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปัญหา (Understanding of the Problem ) นักเรี ยนร่ วมมือ
กันเรี ยนรู ้ ให้ผูเ้ รี ยนร่ วมอภิปรายแสดงความคิ ดเห็ นเพือทําความเข้าใจกับปั ญหาให้ชดั เจน และ
สามารถอธิ บายสิ งต่างๆ ทีเกียวข้องกับปัญหาได้ เช่น โจทย์กาํ หนดอะไร ต้องการอะไร
ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า (The Study of Problem) เป็ นขันทีนักเรี ยนแต่ละ
คน ดําเนิ นการศึกษาค้นคว้า เพือวางแผนการแก้ปัญหาด้วยวิธีการทีหลากหลาย หรื ออาจมาจาก
ความรู้ /ประสบการณ์ เดิ ม และสามารถหาได้จากแหล่ งข้อมูลหรื อสื อต่างๆ เช่ นใบความรู ้ ใบ
กิจกรรม เอกสารแนะแนวทาง หนังสื อเรี ยน Internet เป็ นต้น
ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ (The Synthesis of Data and Procedure)
กิ จกรรมในขันตอนนี เน้นฝึ กทักษะการคิดแก้ปัญหาให้กบั ผูเ้ รี ยน เป็ นขันทีผูเ้ รี ยนแต่ละคนสร้ าง
ทางเลื อกหรื อกําหนดแนวทางการแก้ปัญหา อาจมีการสร้ างสื อ วาดภาพประกอบหรื อจัดการกับ
สาระความรู ้ ใหม่ ซึ งแตกต่างจากการทํารายงานธรรมดา แต่เป็ นการนําเสนอแนวทาง วิธีการแก้
ปั ญหาทีชัดเจน ดําเนิ นการแก้ปัญหาตามวิธีการแก้ปัญหาทีหลากหลาย ภายใต้พืนฐานของการคิด
วิเคราะห์ การคิดริ เริ มสร้างสรรค์ เป็ นต้น
ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ปัญหาและความรู ้ทีได้ (The Conclusion of Solution) การ
จัดกิจกรรมในขันตอนนีเป็ นการฝึ กคิดแก้ปัญหา เป็ นขันทีผูเ้ รี ยนแต่ละคนนําความรู ้ทีได้จากการคิด
แก้ปัญหา ความคิด/วิธีการทีแปลกใหม่ หรื อแนวทางจากการศึกษาค้นคว้าเพิมเติม และนํามาสร้าง
มโนทัศน์คาํ อธิ บายของสถานการณ์ ปัญหาด้วยตนเอง ประมวลความรู ้ ทีได้ว่ามี ความสอดคล้อง
เหมาะสมสําหรับการแก้ปัญหาทีเกิดขึนเพียงใด และสรุ ปเป็ นภาพรวม
197

แบบสรุ ปความสามารถในการแก้ ปัญหา


เพือศึกษาความสามารถพืนฐานในการแก้ปัญหา (ก่อนเรี ยน) วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1
ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1/1

ตารางที 28 คะแนนความสามารถพืนฐานในการแก้ปัญหา (ก่อนเรี ยน) วิชาคณิ ตศาสตร์


ลําดับ ข้ อสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา รวมคะแนน
ที ข้ อ 1 ข้ อ 2 ข้ อ 3 ข้ อ 4 ข้ อ 5 (50 คะแนน)
1 2 1 2 2 1 8
2 2 1 1 2 2 8
3 1 3 2 1 1 8
4 3 2 2 3 2 12
5 2 3 1 3 3 12
6 3 3 3 2 2 13
7 2 1 1 2 3 9
8 2 2 1 3 2 10
9 2 2 2 2 2 10
10 2 3 1 3 3 12
11 2 3 2 3 2 12
12 3 2 3 3 2 13
13 2 2 2 2 2 10
14 3 2 3 3 3 14
15 3 4 3 3 2 15
16 2 2 2 2 3 11
17 3 3 2 3 3 14
18 2 2 2 2 1 9
19 3 2 3 2 2 12
20 2 4 2 2 1 11
21 3 3 3 2 2 13
198

ตารางที 28 คะแนนความสามารถพืนฐานในการแก้ปัญหา (ก่อนเรี ยน) วิชาคณิ ตศาสตร์ (ต่อ)

ลําดับ ข้ อสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา รวมคะแนน


ที ข้ อ 1 ข้ อ 2 ข้ อ 3 ข้ อ 4 ข้ อ 5 (50 คะแนน)
22 3 2 3 3 3 14
23 2 2 2 2 2 10
24 3 3 3 3 3 15
25 1 2 3 2 3 11
26 2 3 1 3 2 11
27 3 2 3 2 2 12
28 2 2 2 3 4 12
29 3 2 2 3 3 13
30 4 4 4 4 3 19
31 1 3 3 3 2 12
32 2 2 5 5 4 18
33 4 4 4 3 2 17
34 5 5 4 3 3 20
35 3 5 5 5 2 20
199

ภาคผนวก ง
เครืองมือทีใช้ ในการประเมินผล
- แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา
- แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรี ยน (หลังจัดการเรี ยนรู้)
200

โรงเรียนไทรโยคมณีกาญจน์ วทิ ยา
แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา เรือง การประยุกต์ 1
ชันมัธยมศึกษาปี ที 1 รายวิชา คณิตศาสตร์ เพิมเติม รหัสวิชา ค 21201 เวลาทีใช้ สอบ 6 นาที
คําชีแจง ให้นกั เรี ยนแสดงวิธีทาํ อย่างละเอียด จํานวน 5 ข้อ ข้อละ 10 คะแนน รวม 50 คะแนน
ชือ ………………………………….. นามสกุล ………….…………..เลขที …… ชัน ม.1/….

ข้ อที 1 นักเรี ยนมีเชือกเส้นหนึงยาว 4 เมตร นักเรี ยนจะสามารถนํามาขึงเป็ นสามเหลียมได้หรื อไม่


ถ้าได้ ทําอย่างไร และถ้าทําไม่ได้ เพราะเหตุใด
วิธีทาํ ขันที 1 การเชือมโยงปัญหาและนําเสนอปัญหา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปัญหา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ไขปั ญหาและความรู ้ทีได้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
201

ข้ อที 2 กําหนดสถานการณ์ ขุนแผนหลงเข้าไปอยูใ่ นค่ายกลของขุนช้าง ถ้าเขายืนอยูท่ ีจุด A


นักเรี ยนคิดว่าขุนแผนสามารถหาทางเดินออกมานอกค่ายกลได้หรื อไม่ ถ้าไม่ได้ขนุ แผนจะต้อง
“ สะเดาะกลอน” ผ่านกําแพงอย่างน้อยกีชิน จึงจะออกมาได้ จงอธิ บาย

วิธีทาํ ขันที 1 การเชือมโยงปัญหาและนําเสนอปัญหา


………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปั ญหา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ไขปัญหาและความรู ้ทีได้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
202

ข้ อที 3 จํานวนสองจํานวนมี ค.ร.น. เป็ น 504 และ ห.ร.ม เป็ น 24 ถ้าจํานวนหนึงคือ 72 จงหาอีก
จํานวนหนึง

วิธีทาํ ขันที 1 การเชือมโยงปัญหาและนําเสนอปัญหา


………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………..……………………………………………………………………………………………………………
ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปั ญหา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ไขปั ญหาและความรู ้ทีได้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
203

ข้ อที 4 ปกรณ์ เป็ นพนักงานของบริ ษทั แห่งหนึงได้รับเงินเดือนเดือนละ 15,000 บาท เมือสิ นปี
บริ ษทั จ่ายเงินโบนัสให้ปกรณ์ 2.5 เท่าของเงินเดือนและได้หกั ภาษีเงินได้ ณ ทีจ่ายไว้ 10% จงหาว่า
ปกรณ์ได้รับเงินโบนัสหลังจากหักภาษีแล้วเท่าไร
วิธีทาํ ขันที 1 การเชือมโยงปัญหาและนําเสนอปัญหา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………..……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปั ญหา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ไขปั ญหาและความรู ้ทีได้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
204

ข้ อที 5 ให้นกั เรี ยนสังเกตแบบรู ป จากรู ปภาพทีแสดงจํานวนจุดทีเรี ยงกันในลักษณะทีกําหนด ให้


และเขียนจํานวนทีได้ในช่องว่างของตารางข้างล่างต่อไปนี

รู ปที 1 2 3 4 5 …. 60 … 100
จํานวนจุด 1 3 6 10
วิธีทาํ ขันที 1 การเชือมโยงปั ญหาและนําเสนอปัญหา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปั ญหา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ไขปั ญหาและความรู ้ทีได้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
205

เฉลยแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา

ข้ อที 1 ถ้านักเรี ยนมีเชือกเส้นหนึงยาว 4 เมตร นักเรี ยนจะสามารถนํามาขึงเป็ นสามเหลียม


ได้หรื อไม่ ถ้าได้ ทําอย่างไร และถ้าไม่ได้ เพราะเหตุใด

วิธีทาํ ขันที 1 การเชือมโยงปัญหาและนําเสนอปัญหา


การสร้างรู ปสามเหลียม เมือกําหนดความยาวของด้านมาให้สามด้าน จะสามารถ
สร้างได้ เมือมีผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ ของรู ปสามเหลียม ยาวมากกว่า ความยาว
ของด้านทีเหลือเสมอ
ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปั ญหา
จากโจทย์กาํ หนด มีเชือกเส้นหนึงยาว 4 เมตร
โจทย์ตอ้ งการ นํามาขึงเป็ นสามเหลียมได้หรื อไม่ ถ้าได้ ทําอย่างไร และ
ถ้าไม่ได้ เพราะเหตุใด

ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า
โดยการวางเชือกให้ผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ มากกว่าความยาว
ของด้านทีเหลือ
ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ
อาจวางเชือกให้มีความยาวของด้าน เป็ น 1.5 เมตร 1.5 เมตร และ 1 เมตร ซึ งความ
ยาวของแต่ละด้านไม่จาํ เป็ นต้องเป็ นจํานวนนับ
ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ไขปัญหาและความรู ้ทีได้
นักเรี ยนมีเชือกเส้นหนึงยาว 4 เมตร นักเรี ยนจะสามารถนํามาขึงเป็ นสามเหลียมได้
โดยความยาวของแต่ละด้านไม่จาํ เป็ นต้องเป็ นจํานวนนับ
ตอบ สามารถสร้างรู ปสามเหลียมจากเชือกเส้นหนึงยาว 4 เมตร ได้ โดยความยาวของแต่
ละด้านไม่จาํ เป็ นต้องเป็ นจํานวนนับ
206

ข้ อที 2 กําหนดสถานการณ์ ขุนแผนหลงเข้าไปอยูใ่ นค่ายกลของขุนช้าง ถ้าเขายืนอยูท่ ีจุด A


นักเรี ยนคิดว่าขุนแผนสามารถหาทางเดินออกมานอกค่ายกลได้หรื อไม่ ถ้าไม่ได้ขุนแผนจะต้อง “
สะเดาะกลอน” ผ่านกําแพงอย่างน้อยกีชิน จึงจะออกมาได้ จงอธิ บาย

วิธีทาํ ขันที 1 การเชือมโยงปัญหาและนําเสนอปัญหา


พิจารณาจุด A เป็ นจุดภายในหรื อจุดภายนอกของเส้นโค้งปิ ดเชิ งเดียว ให้ลากส่ วน
ของเส้นตรงเส้นหนึงจากจุดนันออกมาข้างนอกรู ป ทางใดทางหนึง
ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปั ญหา
จากโจทย์กาํ หนด ขุนแผนหลงเข้าไปอยูใ่ นค่ายกลของขุนช้าง
โจทย์ตอ้ งการ ถ้าขุนแผนยืนอยูท่ ีจุด A ขุนแผนสามารถหาทางเดินออกมา
นอกค่ายกลได้หรื อไม่ ถ้าไม่ได้ขุนแผนจะต้อง “ สะเดาะกลอน” ผ่านกําแพงอย่างน้อยกีชิ น จึงจะ
ออกมาได้
ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า
ลากส่ วนของเส้นตรงเส้นหนึงจากจุดนันออกมาข้างนอกรู ป ทางใดทางหนึง
ถ้าส่ วนของเส้นตรงนัน ตัดเส้นรอบรู ปได้จาํ นวนจุดตัดเป็ นจํานวนคี จุดนันจะเป็ นจุดภายใน ถ้าได้
จํานวนจุดตัดเป็ นจํานวนคู่ จุดนันจะเป็ นจุดภายนอก
ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ
ขุนแผนไม่สามารถหาทางเดิ นออกมานอกค่ายกลของขุนช้างได้ จะต้องสะเดาะ
กลอนผ่านกําแพงอย่างน้อยหนึ งชัน เพราะจุด A ทีขุนแผนยืนอยูเ่ ป็ นจุดภายใน ค่ายกลทีมีลกั ษณะ
เป็ นเส้นโค้งปิ ดเชิงเดียว
207

ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ไขปัญหาและความรู ้ทีได้


ขุนแผนจะต้อง “ สะเดาะกลอน” ผ่านกําแพงอย่างน้อย 1 ชิ น จึ งจะออกมาได้
เพราะจุด A ทีขุนแผนยืนอยูเ่ ป็ นจุดภายใน ค่ายกลทีมีลกั ษณะเป็ นเส้นโค้งปิ ดเชิงเดียว
ตอบ ขุนแผนจะต้อง “ สะเดาะกลอน” ผ่านกําแพงอย่างน้อย 1 ชิน จึงจะออกมาได้ เพราะจุด A ที
ขุนแผนยืนอยูเ่ ป็ นจุดภายใน ค่ายกลทีมีลกั ษณะเป็ นเส้นโค้งปิ ดเชิงเดียว

ข้ อที 3 จํานวนสองจํานวนมี ค.ร.น. เป็ น 504 และ ห.ร.ม เป็ น 24 ถ้าจํานวนหนึงคือ 72 จงหาอีก
จํานวนหนึง

วิธีทาํ ขันที 1 การเชือมโยงปัญหาและนําเสนอปัญหา


เพือหา อีกจํานวนหนึงในสู ตร

ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปัญหา
จากโจทย์กาํ หนด จํานวนสองจํานวนมี ค.ร.น. เป็ น 504 และ ห.ร.ม เป็ น 24 ถ้า
จํานวนหนึงคือ 72
โจทย์ตอ้ งการหา อีกจํานวนหนึง
ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า
ใช้ความสัมพันธ์ของจํานวนนับสองจํานวนจากสู ตร
นันคือ a b = (ค.ร.น. ของ a และ b) × (ห.ร.ม. ของ a และ b)
ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ
จากสู ตร a b = (ค.ร.น. ของ a และ b) (ห.ร.ม. ของ a และ b)
จะได้ a 72 = 504 24
ดังนัน a =
a = 168
ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ไขปั ญหาและความรู ้ทีได้
นันคือ อีกจํานวนหนึงคือ
ตอบ ๑๖๘
208

ข้ อที 4 ปกรณ์ เป็ นพนักงานของบริ ษทั แห่งหนึงได้รับเงินเดือนเดือนละ 15,000 บาท เมือสิ นปี
บริ ษทั จ่ายเงินโบนัสให้ปกรณ์ 2.5 เท่าของเงินเดือนและได้หกั ภาษีเงินได้ ณ ทีจ่ายไว้ 10% จงหาว่า
ปกรณ์ได้รับเงินโบนัสหลังจากหักภาษีแล้วเท่าไร
วิธีทาํ ขันที 1 การเชือมโยงปั ญหาและนําเสนอปัญหา
นิกรได้รับเงินโบนัส 2.5 เท่าของเงินเดือน
ดังนัน ปกรณ์ได้รับเงินโบนัส 2.5 15,000 บาท
ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปั ญหา
โจทย์กาํ หนด ปกรณ์ได้รับเงินเดือนเดือนละ 23,600 บาท
สิ นปี บริ ษทั จ่ายเงินโบนัสให้ปกรณ์ . เท่าของเงินเดือน
และได้หกั ภาษีเงินได้ ณ ทีจ่ายไว้ %
โจทย์ตอ้ งการ ปกรณ์ได้รับเงินโบนัสหลังจากหักภาษีแล้วเท่าไร
ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า
ถ้าได้รับเงินโบนัส 100 บาท จะได้รับจริ ง 100 – 10 = 90 บาท
ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ
ได้รับเงินโบนัส 2.5 15,000 บาท จะได้รับจริ ง (2.5 15,000 ) = 33,750 บาท

ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ไขปั ญหาและความรู ้ทีได้


นันคือ ปกรณ์ได้รับเงินโบนัสหลังถูกหักภาษีแล้ว 33,750 บาท
ตอบ ๓๓, ๗๕๐ บาท
209

ข้ อที 5 ให้นกั เรี ยนสังเกตแบบรู ป จากรู ปภาพทีแสดงจํานวนจุดทีเรี ยงกันในลักษณะที


กําหนดให้ และเขียนจํานวนทีได้ในช่องว่างของตารางข้างล่างต่อไปนี

รู ปที 1 2 3 4 5 …. 10 … 20
จํานวนจุด 1 3 6 10

วิธีทาํ ขันที 1 การเชือมโยงปั ญหาและนําเสนอปัญหา


ลักษณะเป็ นแบบรู ป แสดงความสัมพันธ์ การเพิมของจํานวนจุดต่อไปเรื อยๆ
ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปัญหา
จากโจทย์กาํ หนด

โจทย์ตอ้ งการ หารู ปที 5 รู ปที 10 และ รู ปที 20


ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า
โดยการสังเกตแบบรู ป แสดงความสัมพันธ์ ของรู ปทีกําหนดมาให้
รู ปที จํานวนจุด
1 1
2 1+2 =3
3 1+2+3 = 6
4 1+2+3+4 =10
210

ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ


รู ปที จํานวนจุด
1 1
2 1+2 =3
3 1+2+3 = 6
4 1+2+3+4 =10
5 1+2+3+4+5 = 15
: :
10 1+2+3+4+5+6+7+8+9+10 = 55
: :
20 1+2+3+4+5+6+7+8+9+10+11+12+13+14+15+16+17+18+19+20 = 210

ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ไขปั ญหาและความรู ้ทีได้


ดังนัน รู ปที 5 มีจาํ นวน 15 จุด
รู ปที 10 มีจาํ นวน 55 จุด
รู ปที 20 มีจาํ นวน 210 จุด
ตอบ รู ปที ๕ มี ๑๕ จุด , รู ปที ๑๐ มี ๕๕ จุด และ รู ปที ๒๐ มี ๒๑๐ จุด
211

การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน
เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1

คําชีแจง
ตอนที 1 เป็ นแบบสอบถามเกียวกับความคิดเห็นของนักเรี ยน ทีมีต่อการจัดกิจกรรมการ
เรี ยนรู้ บรรยากาศในการเรี ยนรู้ การวัดและประเมินผล และประโยชน์ทีได้รับ จํานวนทังสิ น 1
ข้อ โดยเป็ นแบบมาตราส่ วนประเมินค่า (Rating Scale) ระดับของลิเคิร์ท (Likert) ดังนี
ความคิดเห็นอยูใ่ นระดับดีมาก ให้คะแนน คะแนน
ความคิดเห็นอยูใ่ นระดับดี ให้คะแนน คะแนน
ความคิดเห็นอยูใ่ นระดับปานกลาง ให้คะแนน คะแนน
ความคิดเห็นอยูใ่ นระดับพอใช้ ให้คะแนน คะแนน
ความคิดเห็นอยูใ่ นระดับต้องปรับปรุ ง ให้คะแนน คะแนน
และกรุ ณาทําเครื องหมาย / ลงในช่องว่างทีตรงกับความคิดเห็นของนักเรี ยนมากทีสุ ด

ระดับความคิดเห็น
ข้ อ ข้ อความ
5 4 3 2 1
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1 วิธีการเรี ยนทีเริ มต้นด้วยสถานการณ์ปัญหาก่อนการเรี ยนรู ้
เป็ นวิธีการทีเหมาะสม
2 แบบฝึ กทักษะช่วยทําให้การทําโจทย์ปัญหาถูกต้องมากขึน
3 การทําแบบฝึ กทักษะประกอบการจัดการเรี ยนรู้แบบ
ปัญหาเป็ นฐาน ทําให้นกั เรี ยนสามารถแก้โจทย์ปัญหาได้
บรรยากาศในการเรี ยนรู้
4 ในชันเรี ยนเป็ นบรรยากาศแห่งการเรี ยนรู ้
5 ครู สนับสนุน/เปิ ดโอกาสนักเรี ยนสามารถอภิปรายและ
แลกเปลียนความรู ้กบั เพือน
212

ระดับความคิดเห็น
ข้ อ ข้ อความ
5 4 3 2 1
การวัดและประเมินผล
6 นักเรี ยนพอใจต่อการวัดและประเมินผล ด้วยวิธีการที
หลากหลาย
7 มีการวัดและประเมินผลสมําเสมอ
ประโยชน์ ทได้
ี รับ
8 นักเรี ยนเข้าใจเนือหาและแก้ปัญหาได้ถูกต้อง
9 วิชาคณิ ตศาสตร์สามารถประยุกต์ใช้ได้ในชีวติ ประจําวัน
10 นักเรี ยนเข้าใจวิชาคณิ ตศาสตร์ มากขึน จากกิจกรรมทีได้ทาํ

ตอนที 2 ให้ นัก เรี ย นเขี ย นแสดงความคิ ด เห็ น เกี ยวกับ การใช้แ บบฝึ กทัก ษะ วิ ช า
คณิ ต ศาสตร์ เรื องการประยุ ก ต์ 1 โดยใช้การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ ม
ความสามารถในการแก้ปัญหา
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
213

ภาคผนวก จ
ผลการตรวจสอบคุณภาพเครืองมือ
- แบบสอบถามเกียวกับการศึกษาข้อมูลพืนฐานและความต้องการของนักเรี ยน
- แบบสัมภาษณ์ขอ้ คิดเห็นและข้อเสนอแนะเกียวกับการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ
สําหรับครู กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์
- แผนการจัดการเรี ยนรู้ จํานวน 8 แผนการเรี ยนรู้
- แบบฝึ กทักษะ จํานวน 4 เรื อง
- แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา
- แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรี ยน (หลังจัดการเรี ยนรู้)
214

ตารางที 29 ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) แบบสอบถามเกียวกับการศึกษาข้อมูลพืนฐานและความ


ต้องการของนักเรี ยน ต่อการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1
โดยการจัดการเรี ยนรู้แบบปัญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา
สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1
ผู้เชียวชาญ (คน) ค่ าดัชนี ความ
ข้ อ ประเด็น 1 2 3 4 5 ความ หมาย
สอดคล้อง
1 ความสอดคล้อ งของประเด็ น สอบถาม +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เกี ยวกับการใช้แบบฝึ กทักษะที ครู ผูส้ อน คล้อง
จัดเตรี ยมให้ประกอบการเรี ยนหรื อไม่
2 ความสอดคล้อ งของประเด็ น สอบถาม +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เกี ยวกั บ ความรู ้ สึ กต่ อ การใช้ แ บบฝึ ก คล้อง
ทักษะประกอบ การเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์
3 ความสอดคล้องของประเด็นสอบถาม +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เกียวกับองค์ประกอบภายในแบบฝึ ก คล้อง
ทักษะทีสําคัญ ควรมี หรื อ ไม่สมควรมี
4 ความสอดคล้อ งของประเด็ น สอบถาม +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เกี ยวกับ เนื อหาในแบบฝึ กทัก ษะ ควรมี คล้อง
หรื อไม่สมควรมี ลักษณะใด พร้อมทังให้
ข้อคิดเห็นเพิมเติม
5 ความสอดคล้อ งของประเด็ น สอบถาม +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เกี ยวกับความต้องการให้ครู ประเมิ นผล คล้อง
งานของนักเรี ยนในรู ปแบบใด
6 ความสอดคล้อ งของประเด็ น สอบถาม +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เกี ยวกั บ ความต้ อ งการให้ ใ ครเป็ นผู ้ คล้อง
ประเมินผลงานของนักเรี ยน
7 ความสอดคล้อ งของประเด็ น สอบถาม +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เกี ยวกับ ข้อ เสนอแนะเพิ มเติ ม เกี ยวกับ คล้อง
แบบฝึ กทักษะ
215

ตารางที 30 ค่าดัชนีความสอดคล้อง(IOC) แบบสัมภาษณ์เกียวกับการถามข้อคิดเห็นและข้อเสนอ


แนะเกียวกับการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ สําหรับครู กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ วิชา
คณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยการจัดการเรี ยนรู้แบบปัญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ ม
ความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1

ผู้เชี ยวชาญ (คน) ค่ าดัชนีความ ความ


ข้ อ ประเด็น
1 2 3 4 5 สอดคล้อง หมาย
1 ความสอดคล้อ งของประเด็ น สั ม ภาษณ์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เกียวกับข้อมูลทัวไปเกียวกับแบบฝึ กทักษะ คล้อง
2 ความสอดคล้อ งของประเด็ น สั ม ภาษณ์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เกี ยวกับองค์ประกอบของแบบฝึ กทักษะที คล้อง
สําคัญ มีอะไรบ้าง และสําคัญอย่างไร
3 ความสอดคล้อ งของประเด็ น สั ม ภาษณ์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เกี ยวกับเนื อหาทางคณิ ตศาสตร์ ในแบบฝึ ก คล้อง
ทั ก ษะ ลั ก ษณะใด ที จะทํ า ให้ ผู ้เ รี ยนมี
ความสามารถในการแก้ปั ญ หามากที สุ ด
เพราะเหตุใด
4 ความสอดคล้องของประเด็นสัมภาษณ์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เกียวกับการพัฒนาแบบฝึ กทักษะ ทีใช้การ คล้อง
จัดการเรี ยน รู ้แบบปั ญหาเป็ นฐาน ท่านคิด
ว่าควรมีการวัดและ ประเมินผลอย่างไร จึง
จะเหมาะสมกับนักเรี ยนระดับชัน
มัธยมศึกษาปี ที 1
5 ความสอดคล้อ งของประเด็ น สั ม ภาษณ์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เกี ยวกับปั ญหาทีท่านพบในการใช้แบบฝึ ก คล้อง
ทักษะ มี อ ะไรบ้า ง และมี แ นวทางในการ
แก้ไขปั ญหาดังกล่าวอย่างไร
6 ความสอดคล้อ งของประเด็ น สั ม ภาษณ์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เกียวกับความต้องการต่อผูท้ ีจะทําหน้าทีวัด คล้อง
และประเมินผล
216

ตารางที 31 ความสอดคล้องของ แผนการจัดการเรี ยนรู้ที 1 รู ปเรขาคณิ ต (ความยาวของด้านของ


รู ปสามเหลียม) เรื องการประยุกต์1 การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ โดยการ
จัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับ
นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1

ผู้เชียวชาญ (คน) ค่ าดัชนีความ ความ


ข้ อ ประเด็น
1 2 3 4 5 สอดคล้อง หมาย
1 องค์ ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ สอด
1. 1 การเรี ยงลําดับองค์ประกอบของแผนการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 คล้อง
จัดการเรี ยนรู ้ มีความเหมาะสม
1.2 องค์ประกอบภายในแผนการจัดการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ มีความสัมพันธ์ สอดคล้องกัน คล้อง
1.3 มีความชัดเจน สามารถแสดงสิ งทีมุ่งหวัง +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ให้เกิดกับตัวผูเ้ รี ยน คล้อง
2 สาระสําคัญ
2.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
2.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ คล้อง
3 สาระการเรียนรู้
3.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระสําคัญ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
และจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ คล้อง
3.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสือ/แหล่ง +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ คล้อง
4 กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
4.1 ความเหมาะสมและสอดคล้องกับสาระ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สําคัญ และสาระการเรี ยนรู ้ คล้อง
4.2 ขันตอนการดําเนินกิจกรรมการเรี ยนการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สอน มีความเหมาะสม คล้อง
4.3 การดําเนินกิจกรรมแต่ละขันตอน เน้น +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สร้างความสามารถในการแก้ปัญหา คล้อง
217

ตารางที 31 ความสอดคล้องของ แผนการจัดการเรี ยนรู้ที 1 รู ปเรขาคณิ ต (ความยาวของด้านของ


รู ปสามเหลียม) เรื องการประยุกต์1 การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ โดย
การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา
สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 (ต่อ)

ผู้เชียวชาญ (คน) ค่ าดัชนีความ ความ


ข้ อ ประเด็น
1 2 3 4 5 สอดคล้อง หมาย
5 สือ/แหล่ งการเรียนรู้
5.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
5.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ คล้อง
5.3 สอดคล้องและเหมาะสมกับกิจกรรมการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนการสอน คล้อง
5.4 สอดคล้อ งและเหมาะสมกับ วัย ของ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ผูเ้ รี ยน คล้อง
6 เครืองมือวัดผล และประเมินผล
6.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
6.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้และกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ คล้อง
218

ตารางที 32 ความสอดคล้องของ แผนการจัดการเรี ยนรู้ที 2 รู ปเรขาคณิ ต (ความยาวของด้านของ


รู ปสามเหลียม) เรื องการประยุกต์1 การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ โดยการ
จัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับ
นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1
ผู้เชียวชาญ (คน) ค่ าดัชนีความ ความ
ข้ อ ประเด็น
1 2 3 4 5 สอดคล้อง หมาย
1 องค์ ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ สอด
1. 1 การเรี ยงลําดับองค์ประกอบของแผนการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 คล้อง
จัดการเรี ยนรู ้ มีความเหมาะสม
1.2 องค์ป ระกอบภายในแผนการจัด การ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ มีความสัมพันธ์ สอดคล้องกัน คล้อง
1.3 มีความชัดเจน สามารถแสดงสิ งทีมุ่งหวัง +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ให้เกิดกับตัวผูเ้ รี ยน คล้อง
2 สาระสําคัญ
2.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
2.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ คล้อง
3 สาระการเรียนรู้
3.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระสําคัญ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
และจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ คล้อง
3.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสือ/แหล่ง +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ คล้อง
4 กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
4.1 ความเหมาะสมและสอดคล้องกับสาระ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สําคัญ และสาระการเรี ยนรู ้ คล้อง
4.2 ขันตอนการดําเนินกิจกรรมการเรี ยนการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สอน มีความเหมาะสม คล้อง
4.3 การดําเนินกิจกรรมแต่ละขันตอน เน้น +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สร้างความสามารถในการแก้ปัญหา คล้อง
219

ตารางที 32 ความสอดคล้องของ แผนการจัดการเรี ยนรู้ที 2 รู ปเรขาคณิ ต (ความยาวของด้าน


ของรู ปสามเหลียม) เรื องการประยุกต์1 การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ โดย
การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา
สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 (ต่อ)

ผู้เชียวชาญ (คน) ค่ าดัชนีความ ความ


ข้ อ ประเด็น
1 2 3 4 5 สอดคล้อง หมาย
5 สือ/แหล่ งการเรียนรู้
5.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
5.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ คล้อง
5.3 สอดคล้องและเหมาะสมกับกิจกรรมการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนการสอน คล้อง
5.4 สอดคล้อ งและเหมาะสมกับ วัย ของ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ผูเ้ รี ยน คล้อง
6 เครืองมือวัดผล และประเมินผล
6.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
6.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้และกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ คล้อง
220

ตารางที 33 ความสอดคล้องของ แผนการจัดการเรี ยนรู้ที 3 จํานวนนับ เรื อง การประยุกต์ 1


การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ โดยการจัดการเรี ยนรู้แบบปัญหาเป็ นฐาน
เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1
ผู้เชียวชาญ (คน) ค่ าดัชนีความ ความ
ข้ อ ประเด็น
1 2 3 4 5 สอดคล้อง หมาย
1 องค์ ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ สอด
1. 1 การเรี ยงลําดับองค์ประกอบของแผนการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 คล้อง
จัดการเรี ยนรู ้ มีความเหมาะสม
1.2 องค์ประกอบภายในแผนการจัดการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ มีความสัมพันธ์ สอดคล้องกัน คล้อง
1.3 มีความชัดเจน สามารถแสดงสิ งทีมุ่งหวัง +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ให้เกิดกับตัวผูเ้ รี ยน คล้อง
2 สาระสําคัญ
2.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
2.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ คล้อง
3 สาระการเรียนรู้
3.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระสําคัญ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
และจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ คล้อง
3.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสือ/แหล่ง +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ คล้อง
4 กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
4.1 ความเหมาะสมและสอดคล้องกับสาระ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สําคัญ และสาระการเรี ยนรู ้ คล้อง
4.2 ขันตอนการดําเนินกิจกรรมการเรี ยนการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สอน มีความเหมาะสม คล้อง
4.3 การดําเนินกิจกรรมแต่ละขันตอน เน้น +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สร้างความสามารถในการแก้ปัญหา คล้อง
221

ตารางที 33 ความสอดคล้องของ แผนการจัดการเรี ยนรู้ที 3 จํานวนนับ เรื อง การประยุกต์ 1


การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ โดยการจัดการเรี ยนรู้แบบปัญหาเป็ นฐาน
เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 (ต่อ)

ผู้เชียวชาญ (คน) ค่ าดัชนีความ ความ


ข้ อ ประเด็น
1 2 3 4 5 สอดคล้อง หมาย
5 สือ/แหล่ งการเรียนรู้
5.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
5.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ คล้อง
5.3 สอดคล้องและเหมาะสมกับกิจกรรมการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนการสอน คล้อง
5.4 สอดคล้อ งและเหมาะสมกับ วัย ของ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ผูเ้ รี ยน คล้อง
6 เครืองมือวัดผล และประเมินผล
6.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
6.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้และกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ คล้อง
222

ตารางที 34 ความสอดคล้องของ แผนการจัดการเรี ยนรู้ที 4 จํานวนนับ เรื อง การประยุกต์ 1


การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ โดย การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน
เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1

ผู้เชียวชาญ (คน) ค่ าดัชนีความ ความ


ข้ อ ประเด็น
1 2 3 4 5 สอดคล้อง หมาย
1 องค์ ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ สอด
1. 1 การเรี ยงลําดับองค์ประกอบของแผนการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 คล้อง
จัดการเรี ยนรู ้ มีความเหมาะสม
1.2 องค์ประกอบภายในแผนการจัดการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ มีความสัมพันธ์ สอดคล้องกัน คล้อง
1.3 มีความชัดเจน สามารถแสดงสิ งทีมุ่งหวัง +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ให้เกิดกับตัวผูเ้ รี ยน คล้อง
2 สาระสําคัญ
2.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
2.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ คล้อง
3 สาระการเรียนรู้
3.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระสําคัญ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
และจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ คล้อง
3.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสือ/แหล่ง +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ คล้อง
4 กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
4.1 ความเหมาะสมและสอดคล้องกับสาระ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สําคัญ และสาระการเรี ยนรู ้ คล้อง
4.2 ขันตอนการดําเนินกิจกรรมการเรี ยนการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สอน มีความเหมาะสม คล้อง
4.3 การดําเนินกิจกรรมแต่ละขันตอน เน้น +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สร้างความสามารถในการแก้ปัญหา คล้อง
223

ตารางที 34 ความสอดคล้องของ แผนการจัดการเรี ยนรู้ที 4 จํานวนนับ เรื อง การประยุกต์ 1


การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ โดย การจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน
เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 (ต่อ)

ผู้เชียวชาญ (คน) ค่ าดัชนีความ ความ


ข้ อ ประเด็น
1 2 3 4 5 สอดคล้อง หมาย
5 สือ/แหล่ งการเรียนรู้
5.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
5.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ คล้อง
5.3 สอดคล้องและเหมาะสมกับกิจกรรมการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนการสอน คล้อง
5.4 สอดคล้อ งและเหมาะสมกับ วัย ของ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ผูเ้ รี ยน คล้อง
6 เครืองมือวัดผล และประเมินผล
6.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
6.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้และกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ คล้อง
224

ตารางที 35 ความสอดคล้องของ แผนการจัดการเรี ยนรู้ที 5 ร้อยละในชีวติ ประจําวัน เรื อง


การประยุกต์ 1 การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ โดยการจัดการเรี ยนรู้แบบ
ปัญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชัน
มัธยมศึกษาปี ที1
ผู้เชียวชาญ (คน) ค่ าดัชนีความ ความ
ข้ อ ประเด็น
1 2 3 4 5 สอดคล้อง หมาย
1 องค์ ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ สอด
1. 1 การเรี ยงลําดับองค์ประกอบของแผนการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 คล้อง
จัดการเรี ยนรู ้ มีความเหมาะสม
1.2 องค์ประกอบภายในแผนการจัดการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ มีความสัมพันธ์ สอดคล้องกัน คล้อง
1.3 มีความชัดเจน สามารถแสดงสิ งทีมุ่งหวัง +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ให้เกิดกับตัวผูเ้ รี ยน คล้อง
2 สาระสําคัญ
2.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
2.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ คล้อง
3 สาระการเรียนรู้
3.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระสําคัญ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
และจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ คล้อง
3.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสือ/แหล่ง +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ คล้อง
4 กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
4.1 ความเหมาะสมและสอดคล้องกับสาระ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สําคัญ และสาระการเรี ยนรู ้ คล้อง
4.2 ขันตอนการดําเนินกิจกรรมการเรี ยนการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สอน มีความเหมาะสม คล้อง
4.3 การดําเนินกิจกรรมแต่ละขันตอน เน้น +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สร้างความสามารถในการแก้ปัญหา คล้อง
225

ตารางที 35 ความสอดคล้องของ แผนการจัดการเรี ยนรู้ที 5 ร้อยละในชีวติ ประจําวัน เรื อง


การประยุกต์ 1 การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ โดยการจัดการเรี ยนรู้แบบ
ปัญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชัน
มัธยมศึกษาปี ที1 (ต่อ)

ผู้เชียวชาญ (คน) ค่ าดัชนีความ ความ


ข้ อ ประเด็น
1 2 3 4 5 สอดคล้อง หมาย
5 สือ/แหล่ งการเรียนรู้
5.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
5.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ คล้อง
5.3 สอดคล้องและเหมาะสมกับกิจกรรมการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนการสอน คล้อง
5.4 สอดคล้อ งและเหมาะสมกับ วัย ของ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ผูเ้ รี ยน คล้อง
6 เครืองมือวัดผล และประเมินผล
6.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
6.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้และกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ คล้อง
226

ตารางที 36 ความสอดคล้องของ แผนการจัดการเรี ยนรู้ที 6 ร้อยละในชีวติ ประจําวัน เรื อง การ


ประยุกต์ 1 การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ โดยการจัดการเรี ยนรู้แบบปัญหา
เป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1

ผู้เชียวชาญ (คน) ค่ าดัชนีความ ความ


ข้ อ ประเด็น
1 2 3 4 5 สอดคล้อง หมาย
1 องค์ ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ สอด
1. 1 การเรี ยงลําดับองค์ประกอบของแผนการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 คล้อง
จัดการเรี ยนรู ้ มีความเหมาะสม
1.2 องค์ประกอบภายในแผนการจัดการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ มีความสัมพันธ์ สอดคล้องกัน คล้อง
1.3 มีความชัดเจน สามารถแสดงสิ งทีมุ่งหวัง +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ให้เกิดกับตัวผูเ้ รี ยน คล้อง
2 สาระสําคัญ
2.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
2.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ คล้อง
3 สาระการเรียนรู้
3.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระสําคัญ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
และจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ คล้อง
3.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสือ/แหล่ง +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ คล้อง
4 กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
4.1 ความเหมาะสมและสอดคล้องกับสาระ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สําคัญ และสาระการเรี ยนรู ้ คล้อง
4.2 ขันตอนการดําเนินกิจกรรมการเรี ยนการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สอน มีความเหมาะสม คล้อง
4.3 การดําเนินกิจกรรมแต่ละขันตอน เน้น +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สร้างความสามารถในการแก้ปัญหา คล้อง
227

ตารางที 36 ความสอดคล้องของ แผนการจัดการเรี ยนรู้ที 6 ร้อยละในชีวติ ประจําวัน เรื อง


การประยุกต์ 1 การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ โดยการจัดการเรี ยนรู้แบบ
ปัญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชัน
มัธยมศึกษาปี ที 1 (ต่อ)

ผู้เชียวชาญ (คน) ค่ าดัชนีความ ความ


ข้ อ ประเด็น
1 2 3 4 5 สอดคล้อง หมาย
5 สือ/แหล่ งการเรียนรู้
5.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
5.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ คล้อง
5.3 สอดคล้องและเหมาะสมกับกิจกรรมการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนการสอน คล้อง
5.4 สอดคล้อ งและเหมาะสมกับ วัย ของ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ผูเ้ รี ยน คล้อง
6 เครืองมือวัดผล และประเมินผล
6.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
6.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้และกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ คล้อง
228

ตารางที 37 ความสอดคล้องของ แผนการจัดการเรี ยนรู้ที 7 ปัญหาชวนคิด เรื อง การประยุกต์ 1


การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ โดยการจัดการเรี ยนรู้แบบปัญหาเป็ นฐาน
เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1

ผู้เชียวชาญ (คน) ค่ าดัชนีความ ความ


ข้ อ ประเด็น
1 2 3 4 5 สอดคล้อง หมาย
1 องค์ ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ สอด
1. 1 การเรี ยงลําดับองค์ประกอบของแผนการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 คล้อง
จัดการเรี ยนรู ้ มีความเหมาะสม
1.2 องค์ประกอบภายในแผนการจัดการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ มีความสัมพันธ์ สอดคล้องกัน คล้อง
1.3 มีความชัดเจน สามารถแสดงสิ งทีมุ่งหวัง +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ให้เกิดกับตัวผูเ้ รี ยน คล้อง
2 สาระสําคัญ
2.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
2.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ คล้อง
3 สาระการเรียนรู้
3.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระสําคัญ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
และจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ คล้อง
3.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสือ/แหล่ง +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ คล้อง
4 กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
4.1 ความเหมาะสมและสอดคล้องกับสาระ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สําคัญ และสาระการเรี ยนรู ้ คล้อง
4.2 ขันตอนการดําเนินกิจกรรมการเรี ยนการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สอน มีความเหมาะสม คล้อง
4.3 การดําเนินกิจกรรมแต่ละขันตอน เน้น +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สร้างความสามารถในการแก้ปัญหา คล้อง
229

ตารางที 37 ความสอดคล้องของ แผนการจัดการเรี ยนรู้ที 7 ปัญหาชวนคิด เรื อง การประยุกต์ 1


การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ โดยการจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน
เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 (ต่อ)

ผู้เชียวชาญ (คน) ค่ าดัชนีความ ความ


ข้ อ ประเด็น
1 2 3 4 5 สอดคล้อง หมาย
5 สือ/แหล่ งการเรียนรู้
5.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
5.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ คล้อง
5.3 สอดคล้องและเหมาะสมกับกิจกรรมการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนการสอน คล้อง
5.4 สอดคล้อ งและเหมาะสมกับ วัย ของ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ผูเ้ รี ยน คล้อง
6 เครืองมือวัดผล และประเมินผล
6.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
6.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้และกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ คล้อง
230

ตารางที 38 ความสอดคล้องของ แผนการจัดการเรี ยนรู้ที 8 ปัญหาชวนคิด เรื อง การประยุกต์ 1


การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ โดยการจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน
เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับ นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1

ผู้เชียวชาญ (คน) ค่ าดัชนีความ ความ


ข้ อ ประเด็น
1 2 3 4 5 สอดคล้อง หมาย
1 องค์ ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ สอด
1. 1 การเรี ยงลําดับองค์ประกอบของแผนการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 คล้อง
จัดการเรี ยนรู ้ มีความเหมาะสม
1.2 องค์ประกอบภายในแผนการจัดการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ มีความสัมพันธ์ สอดคล้องกัน คล้อง
1.3 มีความชัดเจน สามารถแสดงสิ งทีมุ่งหวัง +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ให้เกิดกับตัวผูเ้ รี ยน คล้อง
2 สาระสําคัญ
2.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
2.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ คล้อง
3 สาระการเรียนรู้
3.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระสําคัญ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
และจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ คล้อง
3.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสือ/แหล่ง +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ คล้อง
4 กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
4.1 ความเหมาะสมและสอดคล้องกับสาระ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สําคัญ และสาระการเรี ยนรู ้ คล้อง
4.2 ขันตอนการดําเนินกิจกรรมการเรี ยนการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สอน มีความเหมาะสม คล้อง
4.3 การดําเนินกิจกรรมแต่ละขันตอน เน้น +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สร้างความสามารถในการแก้ปัญหา คล้อง
231

ตารางที 38 ความสอดคล้องของ แผนการจัดการเรี ยนรู้ที 8 ปัญหาชวนคิด เรื อง การประยุกต์ 1


การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ โดยการจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน
เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1 (ต่อ)

ผู้เชียวชาญ (คน) ค่ าดัชนีความ ความ


ข้ อ ประเด็น
1 2 3 4 5 สอดคล้อง หมาย
5 สือ/แหล่ งการเรียนรู้
5.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
5.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ คล้อง
5.3 สอดคล้องและเหมาะสมกับกิจกรรมการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนการสอน คล้อง
5.4 สอดคล้อ งและเหมาะสมกับ วัย ของ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ผูเ้ รี ยน คล้อง
6 เครืองมือวัดผล และประเมินผล
6.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
6.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้และกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ คล้อง
232

ตารางที 39 ความสอดคล้องของ แบบฝึ กทักษะ เล่มที 1 เรื อง เรขาคณิ ต สะกิดใจ การพัฒนาแบบฝึ ก


ทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื อง การประยุกต์ 1 โดยการจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน
เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1

ผู้เชี ยวชาญ (คน) ค่ าดัชนีความ ความ


ข้ อ ประเด็น
1 2 3 4 5 สอดคล้อง หมาย
1 องค์ ประกอบของแบบฝึ กทักษะ สอด
1. 1 การเรี ยงลําดับองค์ประกอบของแบบฝึ ก +1 +1 +1 +1 +1 1.00 คล้อง
ทักษะ มีความเหมาะสม
1.2 องค์ประกอบภายในของแบบฝึ กทักษะ มี +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ความสัมพันธ์ สอดคล้องกัน คล้อง
1.3 มีความชัดเจน สามารถแสดงสิ งทีมุ่งหวัง +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ให้เกิดกับตัวผูเ้ รี ยน คล้อง
2 สือ/แหล่ งการเรียนรู้
2.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
2.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับกิจกรรมการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนการสอน คล้อง
2.3 สอดคล้องและเหมาะสมกับวัยของผูเ้ รี ยน +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
คล้อง
2.4 ดึงดูดความสนใจ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
คล้อง
2.5 วัดความสามารถในการแก้ปัญหา +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
คล้อง
3 เครืองมือวัดผล และประเมินผล
3.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
3.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้และกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ คล้อง
233

ตารางที 40 ความสอดคล้องของ แบบฝึ กทักษะ เล่มที 2 เรื อง จํานวนนับ หรรษา การพัฒนาแบบฝึ ก


ทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื อง การประยุกต์ 1 โดยการจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน
เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1

ผู้เชี ยวชาญ (คน) ค่ าดัชนีความ ความ


ข้ อ ประเด็น
1 2 3 4 5 สอดคล้อง หมาย
1 องค์ ประกอบของแบบฝึ กทักษะ สอด
1. 1 การเรี ยงลําดับองค์ประกอบของแบบฝึ ก +1 +1 +1 +1 +1 1.00 คล้อง
ทักษะ มีความเหมาะสม
1.2 องค์ประกอบภายในของแบบฝึ กทักษะ มี +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ความสัมพันธ์ สอดคล้องกัน คล้อง
1.3 มีความชัดเจน สามารถแสดงสิ งทีมุ่งหวัง +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ให้เกิดกับตัวผูเ้ รี ยน คล้อง
2 สือ/แหล่ งการเรียนรู้
2.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
2.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับกิจกรรมการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนการสอน คล้อง
2.3 สอดคล้องและเหมาะสมกับวัยของผูเ้ รี ยน +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
คล้อง
2.4 ดึงดูดความสนใจ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
คล้อง
2.5 วัดความสามารถในการแก้ปัญหา +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
คล้อง
3 เครืองมือวัดผล และประเมินผล
3.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
3.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้และกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ คล้อง
234

ตารางที 41 ความสอดคล้องของแบบฝึ กทักษะเล่มที 3 เรื อง ร้อยละในชีวติ ประจําวัน การพัฒนา


แบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื อง การประยุกต์ 1 โดยการจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหา
เป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1

ผู้เชี ยวชาญ (คน) ค่ าดัชนีความ ความ


ข้ อ ประเด็น
1 2 3 4 5 สอดคล้อง หมาย
1 องค์ ประกอบของแบบฝึ กทักษะ สอด
1. 1 การเรี ยงลําดับองค์ประกอบของแบบฝึ ก +1 +1 +1 +1 +1 1.00 คล้อง
ทักษะ มีความเหมาะสม
1.2 องค์ประกอบภายในของแบบฝึ กทักษะ มี +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ความสัมพันธ์ สอดคล้องกัน คล้อง
1.3 มีความชัดเจน สามารถแสดงสิ งทีมุ่งหวัง +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ให้เกิดกับตัวผูเ้ รี ยน คล้อง
2 สือ/แหล่ งการเรียนรู้
2.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
2.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับกิจกรรมการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนการสอน คล้อง
2.3 สอดคล้องและเหมาะสมกับวัยของผูเ้ รี ยน +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
คล้อง
2.4 ดึงดูดความสนใจ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
คล้อง
2.5 วัดความสามารถในการแก้ปัญหา +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
คล้อง
3 เครืองมือวัดผล และประเมินผล
3.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
3.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้และกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ คล้อง
235

ตารางที 42 ความสอดคล้องของ แบบฝึ กทักษะ เล่มที 4 เรื อง ปัญหาชวนคิด การพัฒนาแบบฝึ ก


ทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 โดยการจัดการเรี ยนรู้แบบปัญหาเป็ นฐาน
เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1

ผู้เชี ยวชาญ (คน) ค่ าดัชนีความ ความ


ข้ อ ประเด็น
1 2 3 4 5 สอดคล้อง หมาย
1 องค์ ประกอบของแบบฝึ กทักษะ สอด
1. 1 การเรี ยงลําดับองค์ประกอบของแบบฝึ ก +1 +1 +1 +1 +1 1.00 คล้อง
ทักษะ มีความเหมาะสม
1.2 องค์ประกอบภายในของแบบฝึ กทักษะ มี +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ความสัมพันธ์ สอดคล้องกัน คล้อง
1.3 มีความชัดเจน สามารถแสดงสิ งทีมุ่งหวัง +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ให้เกิดกับตัวผูเ้ รี ยน คล้อง
2 สือ/แหล่ งการเรียนรู้
2.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
2.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับกิจกรรมการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนการสอน คล้อง
2.3 สอดคล้องและเหมาะสมกับวัยของผูเ้ รี ยน +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
คล้อง
2.4 ดึงดูดความสนใจ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
คล้อง
2.5 วัดความสามารถในการแก้ปัญหา +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
คล้อง
3 เครืองมือวัดผล และประเมินผล
3.1 สอดคล้องและเหมาะสมกับจุดประสงค์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
การเรี ยนรู ้ คล้อง
3.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้และกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ คล้อง
236

ตารางที 43 ความสอดคล้องแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรี ยน(หลังเรี ยน) ต่อการพัฒนาแบบ


ฝึ กทักษะวิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 โดยการจัดการเรี ยนรู้แบบปั ญหาเป็ นฐาน
เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1

ผู้เชียวชาญ (คน) ค่ าดัชนีความ ความ


ข้ อ ประเด็น
1 2 3 4 5 สอดคล้ อง หมาย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1 นักเรี ยนชอบวิธีการเรี ยนทีเริ มต้นด้วย +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
สถานการณ์ปัญหาก่อนการเรี ยนรู ้ คล้อง
2 แบบฝึ กทักษะช่วยทําให้การทําโจทย์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ปัญหาถูกต้องมากขึน คล้อง
3 การทําแบบฝึ กทักษะโดยใช้การจัดการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้แบบปัญหาเป็ นฐานทําให้ คล้อง
นักเรี ยนสามารถแก้โจทย์ปัญหาได้
บรรยากาศในการเรียนรู้
4 ในชันเรี ยนเป็ นบรรยากาศแห่งการ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
เรี ยนรู ้ นักเรี ยนมีความสุ ข คล้อง
5 นักเรี ยนชอบการอภิปรายและ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
แลกเปลียนความรู ้กบั เพือน คล้อง
การวัดและประเมินผล
6 นักเรี ยนพอใจต่อการวัดและ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ประเมินผล ด้วยวิธีการทีหลากหลาย คล้อง
7 ประเมินผลทัง ก่อนเรี ยน ระหว่างเรี ยน +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
และสิ นสุ ดการเรี ยน คล้อง
ประโยชน์ ทีได้ รับ
8 นักเรี ยนเข้าใจเนือหาและแก้ปัญหาได้ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ถูกต้อง คล้อง
9 วิชาคณิ ตศาสตร์สามารถประยุกต์ใช้ได้ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
ในชีวิต ประจําวัน คล้อง
10 นักเรี ยนชอบวิชาคณิ ตศาสตร์ +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอด
คล้อง
237

ตารางที 44 ความสอดคล้องจากการประเมินความเหมาะสมและความสอดคล้องของแบบทดสอบ
วัดความสามารถในการแก้ปัญหา วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื อง การประยุกต์ 1 จํานวน 10 ข้อ

ผู้เชียวชาญ (คน) ค่ าดัชนีความ ความ


รายการประเมิน
1 2 3 4 5 สอดคล้อง หมาย
แบบทดสอบข้อที 1 +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอดคล้อง
แบบทดสอบข้อที 2 +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอดคล้อง
แบบทดสอบข้อที 3 +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอดคล้อง
แบบทดสอบข้อที 4 +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอดคล้อง
แบบทดสอบข้อที 5 +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอดคล้อง
แบบทดสอบข้อที 6 +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอดคล้อง
แบบทดสอบข้อที 7 +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอดคล้อง
แบบทดสอบข้อที 8 +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอดคล้อง
แบบทดสอบข้อที 9 +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอดคล้อง
แบบทดสอบข้อที 10 +1 +1 +1 +1 +1 1.00 สอดคล้อง
238

ตารางที 45 การหาค่าความเชือมันของแบบทดสอบอัตนัย วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื อง การประยุกต์ 1


โดยการหาความเทียงแบบสอดคล้องภายใน ด้วยสู ตรสัมประสิ ทธิแอลฟา
( Coefficient Alpha)

รายการประเมิน ค่ าความยากง่ าย (p) ค่ าอํานาจจําแนก (r)


แบบทดสอบข้อที 1 0.58 0.24
แบบทดสอบข้อที 2 0.67 0.38
แบบทดสอบข้อที 3 0.70 0.35
แบบทดสอบข้อที 4 0.73 0.33
แบบทดสอบข้อที 5 0.60 0.23
แบบทดสอบข้อที 6 0.32 0.05
แบบทดสอบข้อที 7 0.56 0.10
แบบทดสอบข้อที 8 0.59 0.23
แบบทดสอบข้อที 9 0.55 0.30
แบบทดสอบข้อที 10 1.00 0.18

ITEMS = 10 ค่าความเชือมัน = 0.78


N Of Case = 32

หมายเหตุ
การเลือกและการปรับปรุ งข้อสอบของผูว้ จิ ยั
1. ข้อสอบทีมีค่า p ระหว่าง 0.20 – 0.80 จัดเป็ นข้อสอบทีมีระดับความยากง่ายตามเกณฑ์
2. ข้อสอบทีมีค่า r ตังแต่ 0.20 ขึนไป จัดเป็ นข้อสอบทีมีค่าอํานาจจําแนก
ดังนัน ข้อสอบทีเลือกใช้ในการวิจยั ได้แก่ ข้อที 2 , 3 , 4 , 5 และ 9 ซึ งผ่านเกณฑ์ทงค่
ั าความ
ยากง่าย (p) และ ค่าอํานาจจําแนก (r)
239

ภาคผนวก ฉ
ผลการหาประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กทักษะ
- ค่าประสิ ทธิภาพ (E1/E2) ของแบบฝึ กทักษะ แบบรายบุคคล (Individual Tryout)
- ค่าประสิ ทธิภาพ (E1/E2) ของแบบฝึ กทักษะ แบบกลุ่มเล็ก (Small Group Tryout)
- ค่าประสิ ทธิภาพ (E1/E2) ของแบบฝึ กทักษะ แบบภาคสนาม (Filed Tryout)
- ค่าประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กทักษะ ทดลองจริ งกับนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1/1
240

การหาประสิ ท ธิ ภ าพของแบบฝึ กทักษะ แบบรายบุคคล (Individual Tryout)


ตารางที 46 ผลการคํานวณหาประสิ ทธิ ภ าพของแบบฝึ กทักษะ แบบรายบุคคล (Individual Tryout)
คะแนนแบบฝึ กทักษะระหว่ างเรียน รวมคะแนนแบบฝึ กทักษะ คะแนนสอบ
คนที (เล่ มละ25 คะแนน) ระหว่ างเรียน หลังเรียน
เล่ ม 1 เล่ ม 2 เล่ ม 3 เล่ ม 4 (100 คะแนน) (40 คะแนน)
1 18 20 21 15 74 29
2 19 21 20 21 81 33
3 22 20 21 22 85 35
ค่ าเฉลียร้ อยละ 80 80.83
ส่ วนเบียงเบนมาตรฐาน 5.57 3.06
E1/E2 = 80.00 / 80.83

การหาประสิ ท ธิ ภ าพของแบบฝึ กทักษะ แบบกลุ่มเล็ก (Small Group Tryout)


ตารางที 47 ผลการคํานวณประสิ ทธิ ภ าพของแบบฝึ กทักษะ แบบกลุ่มเล็ก (Small Group Tryout)

คะแนนแบบฝึ กทักษะระหว่ างเรียน รวมคะแนนแบบฝึ กทักษะ คะแนนสอบ


คนที (เล่ มละ25 คะแนน) ระหว่ างเรียน หลังเรียน
เล่ ม 1 เล่ ม 2 เล่ ม 3 เล่ ม 4 (100 คะแนน) (40 คะแนน)
1 19 17 16 20 72 30
2 18 19 17 19 73 31
3 17 20 18 21 76 32
4 20 21 19 22 82 33
5 19 20 18 21 78 32
6 21 18 21 20 80 35
7 21 22 20 22 85 32
8 22 21 21 19 83 33
9 23 22 20 22 87 35
ค่ าเฉลียร้ อยละ 79.56 81.39
ส่ วนเบียงเบนมาตรฐาน 5.22 1.67
E1/E2 = 79.56 /81.39
241

การหาประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กทักษะ แบบภาคสนาม (Filed Tryout)


ตารางที 48 ผลการคํานวณหาประสิ ทธิ ภ าพของแบบฝึ กทักษะ แบบภาคสนาม (Filed Tryout)

คะแนนแบบฝึ กทักษะระหว่างเรียน รวมคะแนนแบบฝึ ก คะแนนสอบ


คนที (เล่มละ25 คะแนน) ทักษะระหว่างเรียน หลังเรียน
เล่ม 1 เล่ม 2 เล่ม 3 เล่ม 4 (100 คะแนน) (40 คะแนน)
1 19 22 23 17 81 33
2 16 15 16 16 63 34
3 18 20 19 19 76 30
4 20 21 18 21 80 34
5 17 19 20 21 77 32
6 17 16 20 21 74 31
7 21 19 23 22 85 34
8 20 20 21 21 82 33
9 23 17 18 22 80 38
10 23 21 21 16 81 31
11 18 20 21 20 79 31
12 15 18 17 19 69 36
13 20 22 20 21 83 35
14 21 17 23 22 83 31
15 21 20 19 20 80 30
16 20 23 23 20 86 32
17 21 18 18 20 77 31
18 19 21 24 23 87 32
19 20 22 20 21 83 34
20 21 18 22 21 82 35
21 19 20 20 23 82 32
22 15 18 18 19 70 34
242

ตารางที 48 ผลการคํานวณหาประสิ ทธิ ภ าพของแบบฝึ กทักษะ แบบภาคสนาม(Filed Tryout) (ต่อ)

คะแนนแบบฝึ กทักษะระหว่างเรียน รวมคะแนนแบบฝึ ก คะแนนสอบ


คนที (เล่มละ25 คะแนน) ทักษะระหว่างเรียน หลังเรียน
เล่ม 1 เล่ม 2 เล่ม 3 เล่ม 4 (100 คะแนน) (40 คะแนน)
23 19 20 20 18 77 26
24 21 19 20 21 81 33
25 21 21 22 23 87 35
26 21 23 21 21 86 32
27 20 19 18 22 79 29
28 21 20 19 21 81 28
29 20 19 20 23 82 31
30 21 22 21 24 88 30
ค่ าเฉลียร้ อยละ 80.03 80.58
ส่ วนเบียงเบนมาตรฐาน 5.56 2.49
E1/E2 = 80.03 /80.58

การหาประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กทักษะ ทดลองจริงกับนักเรียนชันมัธยมศึกษาปี ที 1/1


ตารางที 49 ผลการคํานวณหาประสิ ทธิ ภ าพของแบบฝึ กทักษะ นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1/1

คะแนนแบบฝึ กทักษะระหว่างเรียน รวมคะแนนแบบฝึ ก คะแนนสอบ


คนที (เล่มละ25 คะแนน) ทักษะระหว่างเรียน หลังเรียน
เล่ม 1 เล่ม 2 เล่ม 3 เล่ม 4 (100 คะแนน) (40 คะแนน)
1 20 19 20 23 82 35
2 19 18 21 21 79 30
3 19 21 20 21 81 35
4 22 20 21 22 85 35
5 19 21 18 21 79 34
6 20 19 18 22 79 31
243

ตารางที 49 ผลการคํานวณหาประสิ ทธิ ภ าพของแบบฝึ กทักษะ นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1/1(ต่อ)

คะแนนแบบฝึ กทักษะระหว่างเรียน รวมคะแนนแบบฝึ ก คะแนนสอบ


คนที (เล่มละ25 คะแนน) ทักษะระหว่างเรียน หลังเรียน
เล่ม 1 เล่ม 2 เล่ม 3 เล่ม 4 (100 คะแนน) (40 คะแนน)
7 19 22 23 17 81 33
8 16 15 16 16 63 34
9 18 20 19 19 76 30
10 20 21 18 21 80 34
11 17 19 20 21 77 32
12 19 18 21 21 79 30
13 20 19 18 22 79 29
14 21 19 18 17 75 29
15 21 21 22 23 87 35
16 21 23 21 21 86 34
17 20 19 18 22 79 29
18 21 20 19 21 81 29
19 20 21 19 22 82 33
20 19 20 18 21 78 32
21 21 18 21 20 80 35
22 21 22 20 22 85 35
23 22 21 21 19 83 33
24 23 22 20 22 87 35
25 20 21 19 22 82 33
26 21 23 21 21 86 34
27 19 18 21 21 79 33
28 19 20 20 18 77 29
29 20 19 18 22 79 29
244

ตารางที49 ผลการคํานวณหาประสิ ทธิ ภ าพของแบบฝึ กทักษะ นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 1/1(ต่อ)

คะแนนแบบฝึ กทักษะระหว่างเรียน รวมคะแนนแบบฝึ ก คะแนนสอบ


คนที (เล่มละ25 คะแนน) ทักษะระหว่างเรียน หลังเรียน
เล่ม 1 เล่ม 2 เล่ม 3 เล่ม 4 (100 คะแนน) (40 คะแนน)
30 21 22 21 20 84 36
31 21 23 21 21 86 36
32 18 17 20 19 74 37
33 21 20 19 18 78 35
34 21 23 21 21 86 37
35 19 18 21 21 79 35
ค่ าเฉลียร้ อยละ 80.37 82.21
ส่ วนเบียงเบนมาตรฐาน 4.63 2.54
E1/E2 = 80.37 /82.21
245

ภาคผนวก ช
แผนการจัดการเรี ยนรู้ และแบบฝึ กทักษะ
246

แผนการจัดการเรี ยนรู้ ที 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาเพิมเติม รหัส ค 21201 ภาคเรียนที 1 ปี การศึกษา 2557
หน่ วยการจัดการเรียนรู้ ที 1 เรืองการประยุกต์ 1 ชันมัธยมศึกษาปี ที 1
เรือง รู ปเรขาคณิต (ความยาวของด้ านของรู ปสามเหลียม) เวลา 2 ชัวโมง
ผู้สอน นายอนุรักษ์ เร่ งรัด โรงเรียนไทรโยคมณีกาญจน์ วทิ ยา จังหวัดกาญจนบุรี

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค . อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิ ตสองมิติและสามมิติ
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื อสาร การสื อความหมาย
ทางคณิ ตศาสตร์ และการนําเสนอ การเชือมโยงความรู ้ต่าง ๆ ทางคณิ ตศาสตร์
และเชือมโยงคณิ ตศาสตร์ กบั ศาสตร์ อืน ๆ และมีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์
ผลการเรียนรู้
1. ใช้ความรู้และทักษะกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ แก้ปัญหาต่างๆได้
2.ใช้วธิ ี การทีหลากหลายในการแก้ปัญหา
3. มีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์
สาระสํ าคัญ/ความคิดรวบยอด
การสร้างรู ปสามเหลียม เมือกําหนดความยาวของด้านมาให้สามด้าน จะสามารถสร้างได้
เมือมีผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ ของรู ปสามเหลียม ยาวมากกว่า ความยาวของด้าน
ทีเหลือเสมอ
คําถามสํ าคัญ
1. หากเรานําหลอดทีมีความยาว 1 หน่วยมาต่อกันให้เป็ นรู ปสามเหลียมจะทําได้ทุกครัง
หรื อไม่
2. ความสัมพันธ์ระหว่างผลบวกของความยาวของด้านสองด้านกับความยาวของด้านทีสาม
ของรู ปสามเหลียมใดๆเป็ นอย่างไร
จุดประสงค์
ด้ านความรู้ นักเรียนสามารถ
บอกความสัมพันธ์ระหว่างผลบวกของความยาวของด้านสองด้านกับความยาวของด้านที
สามของรู ปสามเหลียมใดๆ ได้
247

ด้ านทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ นักเรียนมีความสามารถใน
1. การสื อสาร : ใช้การสื อสารเพือปรึ กษาและวางแผนในการสร้างรู ปสามเหลียมกัน
ภายในกลุ่ม
2. การคิด : ใช้การคิดเพือหาแนวทางในการสร้างรู ปสามเหลียม
3. การแก้ปัญหา : ใช้กระบวนการแก้ปัญหา ว่าการสร้างรู ปสามเหลียมจากหลอดทีมีความ
ยาวรอบรู ปต่างๆต้องสร้างอย่างไร
ด้ านคุณลักษณะทีพึงประสงค์ นักเรียนเป็ นผู้ที
1. ซือสัตย์สุจริ ต
2. มีวนิ ยั
3. ใฝ่ เรี ยนรู้
4. มุ่งมันในการทํางาน

สาระการเรียนรู้
ความยาวของด้ านของรูปสามเหลียม
รูปสามเหลียม เป็ นรู ปปิ ดทีประกอบด้วยด้านสามด้าน
ความยาวรอบรู ปของรู ปสามเหลียม คื อ ผลบวกของความยาวของด้า นทุ ก ด้านของรู ป
สามเหลียม
ความสั มพันธ์ ของความยาวของด้ านของรูปสามเหลียม เป็ นดังนี ผลบวกของความยาวของ
ด้านสองด้านใดๆ ของรู ปสามเหลียม ยาวมากกว่า ความยาวของด้านทีเหลือเสมอ
ตัวอย่าง ความยาวส่ วนของเส้นทีกําหนดให้ต่อไปนีประกอบเป็ นรู ปสามเหลียมได้หรื อไม่
เพราะเหตุใด

1) 5, 3, 4
วิธีทาํ 5+3>4
5+4>3
3+4>5
ตอบ ด้านทีกําหนดให้ประกอบเป็ นรู ปสามเหลียมได้ เพราะนําด้านสองด้านรวมกันยาว
กว่าด้านทีสาม
248

2) 2, 2 , 5
วิธีทาํ 2+2<5
ตอบ ด้านทีกําหนดให้ประกอบเป็ นรู ปสามเหลียมไม่ได้ เพราะนําด้านสองด้านรวมกัน
ยังน้อยกว่าความยาวของด้านทีสาม
การวัดผลและการประเมินผล

วัตถุประสงค์ เครืองมือ วิธีการ เกณฑ์ ทใช้


ี ประเมิน
ด้ านความรู้ แบบทดสอบก่อนเรี ยน ทําแบบทดสอบ Rubic
วัดความสามารถใน Analytic Scoring
การแก้ปัญหา ร้อยละ80 ผ่านเกณฑ์
แบบฝึ กทักษะ ตอนที 1 ทํา Rubic
เรื อง ความยาวของด้านของรู ป แบบฝึ กทักษะ Analytic Scoring
สามเหลียม ร้อยละ80 ผ่านเกณฑ์
แบบฝึ กทักษะ ตอนที 2 ทํา Rubic
เรื อง ความยาวของด้านของรู ป แบบฝึ กทักษะ Analytic Scoring
สามเหลียม ร้อยละ80 ผ่านเกณฑ์
249

ด้ านความรู้
ตาราง แสดงเกณฑ์การตรวจแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา แบบ Analytic Scoring
ขันที เกณฑ์ การประเมิน 2 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน
1 การเชือมโยงปัญหา สามารถเขียน สามารถเขียน สามารถเขียนเชือมโยง
และนําเสนอปั ญหา เชือมโยงความรู้เดิม เชือมโยงความรู้เดิม ความรู ้เดิมกับปัญหา
กับปัญหา กับปัญหา ไม่ถูกต้อง
ทีเกิดขึนได้ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน
2 ทําความเข้าใจกับ สามารถเขียนสิ งที สามารถเขียนสิ งที เขียนสิ งทีโจทย์กาํ หนด
ปัญหา โจทย์กาํ หนดได้ โจทย์กาํ หนดได้ไม่ ได้ไม่ถูกต้อง
ครบถ้วนและถูกต้อง ครบทุกประเด็น
3 ดําเนินการศึกษา มีการวางแผนในการ มีการวางแผนในการ ไม่มีการวางแผนในการ
ค้นคว้า แก้ ปั ญหา แสดงวิธี แก้ ปั ญหา แสดงวิ ธี แก้ ปั ญหาแสดงวิ ธี ท ํ า
ทําเป็ นขันตอน ทํา ถูกต้องเป็ นบาง ไม่ถูกต้อง
ถูกต้อง ขันตอน
4 สังเคราะห์ขอ้ มูล มีการอ้างสู ตร มีการอ้างสู ตร ทฤษฎี มี ก ารอ้ า งสู ต ร ทฤษฎี
และปฏิบตั ิ ทฤษฎี หรื อวาดภาพ หรื อวาดภาพ หรื อวาดภาพประกอบ
ประกอบการอธิบาย ประกอบการอธิบาย การอธิ บาย ไม่ถูกต้อง
ถูกต้องเป็ นบางส่ วน
5 สรุ ปผลการแก้ไข มี ก ารสรุ ปผลของ มีการสรุ ปผล ไม่ สรุ ปผลไม่ถูกต้อง
ปัญหา คําตอบทีได้สมบูรณ์ สมบูรณ์คาํ ตอบทีได้ คําตอบผิด
และความรู้ทีได้ ถูกต้อง คลาดเคลือนกับ
คําตอบจริ ง

ตาราง แสดงเกณฑ์การประเมินแบบฝึ กทักษะ เรื อง ความยาวของด้านของรู ปสามเหลียม

ระดับคะแนน
2 (ดี) 1 (ปานกลาง) 0 (ควรปรับปรุ ง)
หาคําตอบได้ถูกต้องครบถ้วน หาคําตอบได้ถูกต้องเป็ นบางส่ วน หาคําตอบได้ไม่ถูกต้อง
250

กิจกรรมการเรียนรู้ (ชัวโมงที 1)
1. ครู แจกเอกสารเกียวกับการปฐมนิเทศ เพือแนะนําเนื อหา ผลการเรี ยนรู้ ตลอดจนการ
วัดและประเมินผล ในภาคเรี ยน
2. ครู และนักเรี ยนตกลง กฎ กติกาในการจัดการเรี ยนการสอนร่ วมกัน
3. ครู ให้นกั เรี ยนทดสอบก่อนเรี ยน โดยให้เวลาในการทํา 50 นาที จากนันจึงเก็บแบบ
ทดสอบ เพือทําการตรวจ
กิจกรรมการเรียนรู้ (ชัวโมงที 2)
ขันนําเข้ าสู่ บทเรียน
ครู ท บทวนความรู ้ เดิ มของนัก เรี ยนโดยใช้ก ารสนทนาซัก ถามเกี ยวกับ รู ปสามเหลี ยมที
นักเรี ยนได้เรี ยนมาแล้ว เช่น นักเรี ยนคิดว่ารู ปสามเหลียมมีลกั ษณะเป็ นอย่างไร (มีมุมสามมุม มีด้าน
สามด้ าน เป็ นต้ น)
ขันกระบวนการเรียนรู้
ขันที 1 การเชือมโยงปั ญหาและนําเสนอปัญหา
ครู ให้นกั เรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 – 6 คน (เพือสอดคล้องกับกิจกรรม) พร้อมทังเลือก
หัวหน้ากลุ่ม และเขียนรายชื อสมาชิกส่ งให้กบั ครู แล้วยกสถานการณ์ ร่ วมกันอภิปรายว่า ถ้าหากเรา
นําหลอดทีมีความยาว 1 หน่วยหลายๆ หลอดมาต่อกันให้เป็ นรู ปสามเหลียมจะทําได้ทุกครังหรื อไม่
(ได้ /ไม่ ได้ ) อย่างไร
ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปั ญหา
นักเรี ยนร่ วมกันเรี ยนรู ้ อภิปรายแสดงความคิดเห็น เพือทําความเข้าใจกับปั ญหาให้ชดั เจน
และสามารถอธิ บายสิ งต่าง ๆ ทีเกียวข้องกับปัญหาได้ เช่น โจทย์กาํ หนดอะไร ต้องการอะไร
ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า
1. ครู แจกใบความรู ้ ให้แต่ละกลุ่มศึกษา
2. ครู อธิบายวิธีการสร้างรู ปสามเหลียม เมือกําหนดจํานวนของหลอดมาให้โดยใช้หลอด
และลวดกํามะหยีในการต่อเป็ นรู ปสามเหลียม เช่นจํานวนของหลอดมี 6 อัน ครู ก็ใช้หลอดต่อกันให้
เป็ นรู ปสามเหลียม โดยค่อยๆแจกแจงเป็ นกรณี ไปจนกว่าจะครบทุกกรณี
3. ครู แจกแบบฝึ กทักษะตอน ที 1 เรื อง ความยาวด้านของรู ปสามเหลียม พร้อมทังหลอด
และลวดกํามะหยี ให้นกั เรี ยนในแต่ละกลุ่มร่ วมกันทํา ประมาณ 10 นาที
251

ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ


เป็ นขันทีแต่ละกลุ่มสร้างทางเลือกหรื อกําหนดแนวทางการแก้ปัญหา อาจมีการสร้างสื อ
วาดภาพประกอบหรื อจัดการกับสาระความรู ้ใหม่
ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ไขปั ญหาและความรู ้ทีได้
นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ป ตรวจสอบ ความสัมพันธ์ระหว่างผลบวกของความยาวของด้านสอง
ด้านกับความยาวของด้านทีสามของรู ปสามเหลียมใดๆร่ วมกัน (ผลบวกของความยาวของด้ านสอง
ด้ า นใดๆ ของรู ป สามเหลี ยม ยาวมากกว่ า ความยาวของด้ า นทีเหลื อ เสมอ) และครู ย กตัว อย่า ง
ประกอบพร้อมการอธิบาย
ขันสรุ ป
1. ครู แ ละนัก เรี ย นร่ วมกันสรุ ป ความสั ม พัน ธ์ ข องความยาวของด้า นของรู ป สาม
เหลียม (ผลบวกของความยาวของด้ านสองด้ านใดๆ ของรู ปสามเหลียม ยาวมากกว่ า ความยาวของ
ด้ านทีเหลือเสมอ)
2. ครู ให้นกั เรี ยนทบทวนความเข้าใจด้วยการทําแบบฝึ กหัด ตอนที 2 เรื อง ความยาว
ของด้านของรู ปสามเหลียม

สื อ/แหล่งการเรียนรู้
1. สื อการเรี ยนรู้
- หนังสื อเรี ยนรายวิชาเพิมเติม คณิ ตศาสตร์ เล่ม 1 ชันมัธยมศึกษาปี ที 1 (ของ สสวท.)
- หลอด
- ลวดกํามะหยี
- แบบฝึ กทักษะ ตอนที 1 เรื อง ความยาวของด้านของรู ปสามเหลียม
- แบบฝึ กทักษะ ตอนที 2 เรื อง ความยาวของด้านของรู ปสามเหลียม
2. แหล่งการเรี ยนรู้
- ห้องสมุด กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์
- สถานการณ์ทีเห็นในสิ งแวดล้อม เช่น ห้องเรี ยน โรงเรี ยน อืนๆ
252

บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ปัญหา / อุปสรรค
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ลงชือ........................................................ผูส้ อน
(นายอนุ รักษ์ เร่ งรัด)

ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์


.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ลงชือ.......................................................
(นายภูษณะ ฮวดโสภา)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์
253

โรงเรียนไทรโยคมณีกาญจน์ วทิ ยา
แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา (ก่ อนเรียน) เรือง การประยุกต์ 1
ชันมัธยมศึกษาปี ที 1 รายวิชา คณิตศาสตร์ เพิมเติม รหัสวิชา ค 21201 เวลาทีใช้ สอบ 6 นาที
คําชีแจง ให้นกั เรี ยนแสดงวิธีทาํ อย่างละเอียด จํานวน 5 ข้อ ข้อละ 10 คะแนน รวม 50 คะแนน
ชือ ………………………………….. นามสกุล ………….…………..เลขที …… ชัน ม.1/….
ข้ อที 1 นักเรี ยนมีเชือกเส้นหนึงยาว 4 เมตร นักเรี ยนจะสามารถนํามาขึงเป็ นสามเหลียมได้หรื อไม่
ถ้าได้ ทําอย่างไร และถ้าทําไม่ได้ เพราะเหตุใด
วิธีทาํ ขันที 1 การเชือมโยงปัญหาและนําเสนอปัญหา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปั ญหา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ไขปั ญหาและความรู ้ทีได้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
254

ข้ อที 2 กําหนดสถานการณ์ ขุนแผนหลงเข้าไปอยูใ่ นค่ายกลของขุนช้าง ถ้าเขายืนอยูท่ ีจุด A


นักเรี ยนคิดว่าขุนแผนสามารถหาทางเดินออกมานอกค่ายกลได้หรื อไม่ ถ้าไม่ได้ขนุ แผนจะต้อง
“ สะเดาะกลอน” ผ่านกําแพงอย่างน้อยกีชิน จึงจะออกมาได้ จงอธิบาย

วิธีทาํ ขันที 1 การเชือมโยงปัญหาและนําเสนอปัญหา


………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปัญหา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ไขปัญหาและความรู ้ทีได้

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
255

ข้ อที 3 จํานวนสองจํานวนมี ค.ร.น. เป็ น 504 และ ห.ร.ม เป็ น 24 ถ้าจํานวนหนึงคือ 72 จงหาอีก
จํานวนหนึง

วิธีทาํ ขันที 1 การเชือมโยงปัญหาและนําเสนอปัญหา


………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………..……………………………………………………………………………………………………………
ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปั ญหา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ไขปั ญหาและความรู้ทีได้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
256

ข้ อที 4 นิกรเป็ นพนักงานของบริ ษทั แห่งหนึงได้รับเงินเดือนเดือนละ 23,600 บาท เมือสิ นปี บริ ษทั
จ่ายเงิ นโบนัสให้นิกร 2.5 เท่าของเงินเดื อนและได้หกั ภาษีเงิ นได้ ณ ทีจ่ายไว้ 10% จงหาว่านิ กร
ได้รับเงินโบนัสหลังจากหักภาษีแล้วเท่าไร
วิธีทาํ ขันที 1 การเชือมโยงปัญหาและนําเสนอปัญหา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………..……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปั ญหา


………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ไขปั ญหาและความรู ้ทีได้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
257

ข้ อที 5 ให้นกั เรี ยนสังเกตแบบรู ป จากรู ปภาพทีแสดงจํานวนจุดทีเรี ยงกันในลักษณะทีกําหนด ให้


และเขียนจํานวนทีได้ในช่องว่างของตารางข้างล่างต่อไปนี

รู ปที 1 2 3 4 5 …. 60 … 100
จํานวนจุด 1 3 6 10
วิธีทาํ ขันที 1 การเชือมโยงปั ญหาและนําเสนอปัญหา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปัญหา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 3 ดําเนินการศึกษาค้นคว้า
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ไขปั ญหาและความรู ้ทีได้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
258

ใบความรู เรื่อง ความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยม


ความสั มพันธ์ ของความยาวของด้ านของรู ปสามเหลียม เป็ นดังนี ผลบวกของความยาวของ
ด้านสองด้านใดๆ ของรู ปสามเหลียม ยาวมากกว่า ความยาวของด้านทีเหลือเสมอ

จากรู ป ABC มีดา้ นยาว BC ยาว a หน่วย ด้าน AC ยาว b หน่วย และด้าน AB ยาว c หน่วย จะ
ได้วา่

1. a + b > c
2. b + c > a
3. c + a > b

และ ถ้า a+b=c


b+c=a
c+a=b

จะไม่สามารถสร้างเป็ นรู ปสามเหลียมได้ เพราะเป็ นเส้นตรง เช่น มีความยาว 1, 2 และ 2


หน่วย ความยาวทังสามนี ไม่สามารถสร้างเป็ นรู ปสามเหลียมได้เพราะเป็ นเส้นตรง
259

ตัวอย่าง ความยาวส่ วนของเส้นทีกําหนดให้ต่อไปนีประกอบเป็ นรู ปสามเหลียม


ได้หรื อไม่ เพราะเหตุใด

1) 5, 3,4 2) 2, 2 ,5
วิธีทาํ 5 + 3 > 4 วิธีทาํ 2+2<5
5+4>3

3+4>5

ตอบ ด้านทีกําหนดให้ประกอบ ตอบ ด้านทีกําหนดให้ประกอบ


เป็ นรู ปสามเหลียมได้ เพราะนําด้าน เป็ นรู ปสามเหลียมไม่ได้ เพราะนํา
สองด้านรวมกันยาวกว่า ด้านทีสาม ด้านสองด้านรวมกันยังน้อยกว่า
เสมอ ความยาวของด้านทีสาม

เขาใจกันหรือยังครับ!!
260

ชันม.1/....... ชือกลุ่ม .................................................................................................................

แบบฝกทักษะ ตอนที่ 1 เรื่อง ความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยม

คําชีแจง ให้นกั เรี ยนเติมข้อความต่อไปนีให้ครบถ้วน ทัง 3 ข้อ

1. ให้นกั เรี ยนใช้หลอดจํานวน 3 อัน ถึง 8 อัน เพือต่อกันเป็ นรู ปสามเหลียมหนึงรู ป แล้ว
บันทึกผลทีได้ลงในตารางให้ครบทุกกรณี

จํานวนหลอด ต่ อกันเป็ นรูปสามเหลียม จํานวนหลอดทีต่ อกันเป็ นด้ าน (อัน) *


ทังหมด (อัน) ได้ ไม่ ได้ ด้ านทีหนึง ด้ านทีสอง ด้ านทีสาม
3 1 1 1
4 1 1 2
1 1 3
5 1 2 2

8
261

* ในการกําหนดจํานวนหลอดของด้านทีหนึง ด้านทีสองและด้านทีสาม ไม่ถือลําดับเป็ น


สําคัญ เช่น รู ปทีมีดา้ นทีหนึง ด้านทีสองและด้านทีสามเป็ น 1, 2 และ 2 ตามลําดับ จะถือว่าเป็ น รู ป
เดียวกับรู ปทีมีดา้ นทีหนึง ด้านทีสองและด้านทีสามเป็ น 2, 1 และ 2 ตามลําดับ
2. จากตารางในข้อ 1 ข้างต้น จงสํารวจกรณี ทีต่อหลอดเป็ นรู ปสามเหลียมได้ แล้วเติม
จํานวนลงในตารางให้ครบทุกกรณี

ความยาวรอบรู ป ความยาวของด้าน (หน่วย)


(หน่วย) ด้านทีหนึง ด้านทีสอง ด้านทีสาม
3 1 1 1

3. จากตารางในข้อ 2 หาผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ ของรู ปสามเหลียมเปรี ยบเทียบ


กับความยาวของด้านทีเหลือ แล้วตอบคําถามต่อไปนี

1) มีกรณี ใดบ้างทีผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ เท่ากับ ความยาวของด้านทีเหลือ


………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….

2) มีกรณี ใดบ้างทีผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ น้ อยกว่า ความยาวของด้านทีเหลือ


………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
262

3) มีกรณี ใดบ้างทีผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ มากกว่า ความยาวของด้านทีเหลือ


………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….

4) ในกรณี ทวไปนั
ั กเรี ยนคิดว่าผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ ของรู ปสาม เหลียม
สั มพันธ์ กับความยาวของด้านทีเหลืออย่างไร
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
263

เฉลย แบบฝกทักษะ ตอนที่ 1 เรือ่ ง ความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยม

1. ให้นกั เรี ยนใช้หลอดจํานวน 3 อัน ถึง 8 อัน เพือต่อกันเป็ นรู ปสามเหลียมหนึงรู ป แล้วบันทึกผล
ทีได้ลงในตารางให้ครบทุกกรณี

จํานวนหลอด ต่อกันเป็ นรู ปสามเหลียม จํานวนหลอดทีต่อกันเป็ นด้าน (อัน) *


ทังหมด (อัน) ได้ ไม่ได้ ด้านทีหนึง ด้านทีสอง ด้านทีสาม
3 1 1 1
4 1 1 2
1 1 3
5 1 2 2
1 1 4
6 1 2 3
2 2 2
1 1 5
1 2 4
7 1 3 3
2 2 3
1 1 6
1 2 5
8 1 3 4
2 2 4
2 3 3
264

* ในการกําหนดจํานวนหลอดของด้านทีหนึง ด้านทีสองและด้านทีสาม ไม่ถือลําดับเป็ น


สําคัญ เช่น รู ปทีมีดา้ นทีหนึง ด้านทีสองและด้านทีสามเป็ น 1, 2 และ 2 ตามลําดับ จะถือว่าเป็ น รู ป
เดียวกับรู ปทีมีดา้ นทีหนึง ด้านทีสองและด้านทีสามเป็ น 2, 1 และ 2 ตามลําดับ

2. จากตารางในข้อ 1 ข้างต้น จงสํารวจกรณี ทีต่อหลอดเป็ นรู ปสามเหลียมได้ แล้วเติมจํานวนลงใน


ตารางให้ครบทุกกรณี
ความยาวรอบรูป ความยาวของด้ าน (หน่ วย)
(หน่ วย) ด้ านทีหนึง ด้ านทีสอง ด้ านทีสาม
3 1 1 1
5 1 2 2
6 2 2 2
1 3 3
7
2 2 3
8 2 3 3

3. จากตารางในข้อ 2 หาผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ ของรู ปสามเหลียมเปรี ยบเทียบ


กับความยาวของด้านทีเหลือ แล้วตอบคําถามต่อไปนี
1) มีกรณี ใดบ้างทีผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ เท่ากับ ความยาวของด้านทีเหลือ
ตอบ ไม่มี
2) มีกรณี ใดบ้างทีผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ น้ อยกว่า ความยาวของด้านทีเหลือ
ตอบ ไม่มี
3) มีกรณี ใดบ้างทีผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ มากกว่า ความยาวของด้านทีเหลือ
ตอบ ทุกกรณี
4) ในกรณี ทวไปนั
ั กเรี ยนคิดว่าผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ ของรู ปสามเหลียม
สั มพันธ์ กับความยาวของด้านทีเหลืออย่างไร
ตอบ ผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ ของรู ปสามเหลียมจะ มากกว่า ความ
ยาวของด้านทีเหลือเสมอ
265

แบบฝึ กทักษะ ตอนที 2 เรื อง ความยาวของด้านของรู ปสามเหลียม

ความยาวส่ วนของเส้นทีกําหนดให้ต่อไปนีประกอบเป็ นรู ปสามเหลียมได้หรื อไม่ เพราะเหตุใด

) , 8, 14

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………….………………

2) 6, 9, 11
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

3) 7, 9, 11
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………
266

4) 5, 9, 16
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………

) , 10, 16

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

6) 10, 11, 24
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………
267

เฉลย แบบฝึ กทักษะ ตอนที 2 เรื อง ความยาวของด้านของรู ปสามเหลียม

ความยาวส่ วนของเส้นทีกําหนดให้ต่อไปนีประกอบเป็ นรู ปสามเหลียมได้หรื อไม่ เพราะเหตุใด


) , 8, 14 2) 6, 9, 11
วิธีทาํ 4 + 8 < 14 วิธีทาํ 6 + 9 > 11
6 + 11 > 9
9 + 11 > 6
ตอบ ด้านทีกําหนดให้ประกอบเป็ น ตอบ ด้านทีกําหนดให้ประกอบเป็ น
รู ปสามเหลียมไม่ได้ เพราะนําด้านสองด้าน รู ปสามเหลียมได้ เพราะนําด้านสองด้าน
รวมกันยังน้อยกว่าความยาวของด้านทีสาม รวมกันยาวกว่า ด้านทีสามเสมอ

3) 7, 9, 11 4) 5, 9, 16
วิธีทาํ 7 + 9 > 11 วิธีทาํ 5 + 9 < 16
7 + 11 > 9
9 + 11 > 7
ตอบ ด้านทีกําหนดให้ประกอบเป็ น ตอบ ด้านทีกําหนดให้ประกอบเป็ น
รู ปสามเหลียมได้ เพราะนําด้านสองด้าน รู ปสามเหลียมไม่ได้ เพราะนําด้านสองด้าน
รวมกันยาวกว่า ด้านทีสามเสมอ รวมกันยังน้อยกว่าความยาวของด้านทีสาม

) , 10, 16 6) 10, 11, 24

วิธีทาํ 8 + 10 > 16 วิธีทาํ 10 + 11 < 24


8 + 16 > 10
10 + 16 > 8
ตอบ ด้านทีกําหนดให้ประกอบ ตอบ ด้านทีกําหนดให้ประกอบเป็ น
เป็ นรู ปสามเหลียมได้ เพราะนําด้าน รู ปสามเหลียมไม่ได้ เพราะนําด้านสองด้าน
สองด้านรวมกันยาวกว่า ด้านทีสามเสมอ รวมกันยังน้อยกว่าความยาวของด้านทีสาม
268
269

คํานํา

การพัฒนาแบบฝึ กทักษะ วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์1 โดยใช้การจัดการ


เรี ยนรู ้แบบปั ญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริ มความสามารถในการแก้ปัญหา สําหรับนักเรี ยน
ชันมัธยมศึกษาปี ที 1 มีทงหมด
ั 4 เล่ม ประกอบด้วย
แบบฝึ กทักษะ เรือง
เล่มที 1 เรขาคณิ ต สะกิดใจ
เล่มที 2 จํานวนนับหรรษา
เล่มที 3 ร้อยละในชีวติ ประจําวัน
เล่มที 4 โจทย์ปัญหาชวนคิด

แบบฝึ กทักษะ เล่มนีเป็ นเล่มที 1 เรื อง เรขาคณิ ต สะกิดใจ ประกอบด้วยเนือหา


สมบัติของรู ปสามเหลียม จุดภายใน จุดภายนอก และ แทนแกรม ซึ งนักเรี ยนจะมีความ
สามารถในการแก้ปัญหาเพิมขึนแล้ว นักเรี ยนยังได้รู้จกั การคิดหาเหตุผล กระบวนการ
แก้ปัญหา เกิดความรู ้ ความเข้าใจ และมีทกั ษะการคิดคํานวณ ทีสามารถประยุกต์ใช้ให้
เกิดประโยชน์ในชี วิตประจําวันสอดคล้องกับ มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการ
แก้ปัญหา การให้เหตุ ผล การสื อสาร การสื อความหมายทางคณิ ตศาสตร์ และการ
นําเสนอ การเชื อมโยงความรู ้ ต่ าง ๆ ทางคณิ ตศาสตร์ และเชื อมโยงคณิ ตศาสตร์ ก ับ
ศาสตร์อืน ๆ และมีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์
ดังนันผูว้ ิจยั หวังว่า ชุ ดแบบฝึ กทักษะ เรื องการประยุกต์1 ทีจัดทําโดยเน้นความ
ต้อ งการของนั ก เรี ย น จะเป็ นอี ก นวัต กรรมที สามารถทํา ให้ นั ก เรี ย นมี ทัก ษะทาง
คณิ ต ศาสตร์ เ พิ มขึ น และมี เ จตคติ ที ดี ต่ อ วิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ซึ งจะเป็ นประโยชน์ ต่ อ
การศึ ก ษาในระดับ สู ง ต่ อ ไปและนํา ข้อ คิ ด ไปประยุกต์ใ ช้ใ นการดํา เนิ น ชี วิต ได้อ ย่า ง
เหมาะสม

อนุรักษ์ เร่ งรัด


270

คําชีแจงสํ าหรับการใช้ แบบฝึ กทักษะ


แบบฝึ กทักษะ เล่มนีเป็ นเล่มที 1 เรื อง เรขาคณิ ต สะกิดใจ ซึ งเน้นให้นกั เรี ยนได้ลงมือปฏิบตั ิจริ ง
ในการฝึ กทํา แบบฝึ กทัก ษะ ทํา ให้นัก เรี ย นเกิ ด ทัก ษะกระบวนการในการแก้ปัญ หาอย่ า งเป็ นระบบ
ตลอดจนสอดคล้องกับการพัฒนาผูเ้ รี ยน ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551
มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีสมรรถนะสําคัญ มีความสามารถในการแก้ปัญหา และยังสอดคล้องกับการเรี ยนรู ้ใน
ยุคศตวรรษที 21
แบบฝึ กทักษะ เล่มนี ใช้เวลาในการประกอบกับการจัดการเรี ยนการสอน 4 ชัวโมง ประกอบด้วย
ชื อแบบฝึ กทักษะ คํานํา คําชี แจง สารบัญ วัตถุประสงค์ แบบทดสอบก่อนเรี ยน แบบฝึ กทักษะ ซึ งจะเน้น
แบบฝึ กทักษะที ฝึ กให้นกั เรี ยนมีความสามารถในการแก้ปัญหา ด้วยวิธีการสอนแบบปั ญหาเป็ นฐาน ทัง
5 ขันตอนต่อไปนี
ขันที 1 การเชื อมโยงปั ญหาและนําเสนอปั ญหา (The Related Problem and Problem
Presentation) ขันนีครู จะสํารวจประสบการณ์ความสนใจของผูเ้ รี ยนแต่ละบุคคลก่อน เพือเป็ นแนวทางใน
การเลือกหรื อออกแบบปั ญหาโดยครู จะยกประเด็นทีเกียวข้องกับปั ญหาขึนมาร่ วมกันอภิปรายก่อนแล้ว
ครู และนักเรี ยนช่วยกันสร้างปั ญหาที ผูเ้ รี ยนสนใจขึ นมา เพือนําไปเป็ นปั ญหาสําหรับการเรี ยนรู ้โดยใช้
ปัญหาเป็ นฐาน
ขันที 2 ทําความเข้าใจกับปั ญหา (Understanding of the Problem ) นักเรี ยนร่ วมมือกัน
เรี ยนรู ้ ให้ผูเ้ รี ยนร่ วมอภิ ปรายแสดงความคิ ดเห็ นเพื อทําความเข้าใจกับปั ญหาให้ชัดเจน และสามารถ
อธิ บายสิ งต่าง ๆ ทีเกียวข้องกับปัญหาได้ เช่น โจทย์กาํ หนดอะไร ต้องการอะไร
ขันที 3 ดําเนิ นการศึกษาค้นคว้า (The Study of Problem) เป็ นขันทีนักเรี ยนแต่ละคน
ดําเนิ นการศึ กษาค้นคว้า เพื อวางแผนการแก้ปัญหาด้วยวิธีการที หลากหลาย หรื ออาจมาจากความรู ้ /
ประสบการณ์เดิม และสามารถหาได้จากแหล่งข้อมูลหรื อสื อต่างๆ
ขันที 4 สังเคราะห์ขอ้ มูลและปฏิบตั ิ (The Synthesis of Data and Procedure) กิจกรรม
ในขันตอนนี เน้นฝึ กทักษะการคิ ดแก้ปัญหาให้กบั ผูเ้ รี ยน เป็ นขันที ผูเ้ รี ยนแต่ละคนสร้างทางเลื อกหรื อ
กําหนดแนวทางแก้ปัญหา อาจมีการวาดภาพประกอบหรื อจัดการกับสาระความรู ้ใหม่
ขันที 5 สรุ ปผลการแก้ปัญหาและความรู ้ทีได้ (The Conclusion of Solution) การจัด
กิจกรรมในขันตอนนีเป็ นการฝึ กคิดแก้ปัญหา เป็ นขันทีผูเ้ รี ยนแต่ละคนนําความรู ้ทีได้จากการคิดแก้ปัญหา
ความคิ ด /วิ ธี ก ารที แปลกใหม่ หรื อ แนวทางจากการศึ กษาค้นคว้า เพิ มเติ ม และนํา มาสร้ า งมโนทัศ น์
คําอธิ บายของสถานการณ์ปัญหาด้วยตนเอง ประมวลความรู ้ทีได้วา่ มีความสอดคล้องเหมาะสมสําหรับการ
แก้ปัญหาทีเกิดขึนเพียงใด และสรุ ปเป็ นภาพรวม
271

สารบัญ

เรือง หน้ า
วัตถุประสงค์การเรี ยนรู ้ 1
แบบฝึ กทักษะ ตอนที 1 เรื อง ความยาวของด้านของรู ปสามเหลียม 2
แบบฝึ กทักษะ ตอนที 2 เรื อง ความยาวของด้านของรู ปสามเหลียม 5
แบบฝึ กทักษะ เรื อง จุดภายในและจุดภายนอก 8
เฉลย แบบฝึ กทักษะ
ตอนที 1 เรื อง ความยาวของด้านของรู ปสามเหลียม 10
ตอนที 2 เรื อง ความยาวของด้านของรู ปสามเหลียม 12
เรื อง จุดภายในและจุดภายนอก 13
272

วัตถุประสงค์ การเรียนรู้

ในบทเรี ยนนี มุ่ งเน้นการจัดการเรี ยนการสอนให้สอดคล้องตามมาตรฐานการ


เรี ยนรู ้ สาระที 6 ทักษะ / กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ได้แก่ ความสามารถในการแก้
ปั ญหา การให้เหตุผล การสื อสารการสื อความหมายทางคณิ ตศาสตร์และการนําเสนอ
การเชื อมโยงความรู ้ต่างๆ ทางคณิ ตศาสตร์ และเชื อมโยงคณิ ตศาสตร์ กบั ศาสตร์ อืนๆ
ตลอดจนความคิดริ เริ มสร้างสรรค์

มีจุดประสงค์ในการเรียนดังนี
1. บอกความสัมพันธ์ระหว่างผลบวกของความยาวของด้านสองด้านกับความยาว
ของด้านทีสามของรู ปสามเหลียมใดๆ ได้
2. บอกได้วา่ จุดทีกําหนดให้ในรู ปเส้นโค้งปิ ดเชิงเดียวเป็ นจุดภายในหรื อ
จุดภายนอก
3. สร้ างแทนแกรมได้และบอกความสัมพันธ์ของรู ปเรขาคณิ ตต่ างๆ ของ
แทนแกรมได้
4. ใช้ความรู ้และทักษะกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์แก้ปัญหาต่างๆ ได้

ผลการเรียนรู้
1. ใช้ความรู ้และทักษะกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์แก้ปัญหาต่างๆได้
2.ใช้วธิ ีการทีหลากหลายในการแก้ปัญหา
3. มีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์
273

แบบฝกทักษะ ตอนที่ 1 เรื่อง ความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยม

คําชีแจง ให้นกั เรี ยนเติมข้อความต่อไปนีให้ครบถ้วน

1. ให้นกั เรี ยนใช้หลอดจํานวน 3 อัน ถึง 8 อัน เพือต่อกันเป็ นรู ปสามเหลียมหนึงรู ป แล้ว
บันทึกผลทีได้ลงในตารางให้ครบทุกกรณี

จํานวนหลอด ต่ อกันเป็ นรูปสามเหลียม จํานวนหลอดทีต่ อกันเป็ นด้ าน (อัน) *


ทังหมด (อัน) ได้ ไม่ ได้ ด้ านทีหนึง ด้ านทีสอง ด้ านทีสาม
3 1 1 1
4 1 1 2
1 1 3
5 1 2 2

8
274

* ในการกําหนดจํานวนหลอดของด้านทีหนึง ด้านทีสองและด้านทีสาม ไม่ถือลําดับเป็ น


สําคัญ เช่น รู ปทีมีดา้ นทีหนึง ด้านทีสองและด้านทีสามเป็ น 1, 2 และ 2 ตามลําดับ จะถือว่าเป็ น รู ป
เดียวกับรู ปทีมีดา้ นทีหนึง ด้านทีสองและด้านทีสามเป็ น 2, 1 และ 2 ตามลําดับ
2. จากตารางในข้อ 1 ข้างต้น จงสํารวจกรณี ทีต่อหลอดเป็ นรู ปสามเหลียมได้ แล้วเติม
จํานวนลงในตารางให้ครบทุกกรณี

ความยาวรอบรู ป ความยาวของด้าน (หน่วย)


(หน่วย) ด้านทีหนึง ด้านทีสอง ด้านทีสาม
3 1 1 1

3. จากตารางในข้อ 2 หาผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ ของรู ปสามเหลียม


เปรี ยบเทียบกับความยาวของด้านทีเหลือ แล้วตอบคําถามต่อไปนี

1) มีกรณี ใดบ้างทีผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ เท่ากับ ความยาวของด้านทีเหลือ


………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….

2) มีกรณี ใดบ้างทีผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ น้ อยกว่า ความยาวของด้านทีเหลือ


………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
275

3) มีกรณี ใดบ้างทีผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ มากกว่า ความยาวของด้านทีเหลือ


………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….

4) ในกรณี ทวไปนั
ั กเรี ยนคิดว่าผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ ของรู ปสาม เหลียม
สั มพันธ์ กับความยาวของด้านทีเหลืออย่างไร
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
276

แบบฝกทักษะ ตอนที่ 2 เรื่อง ความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยม

ความยาวส่ วนของเส้นทีกําหนดให้ต่อไปนีประกอบเป็ นรู ปสามเหลียมได้หรื อไม่ เพราะเหตุใด

) , 8, 14
……………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….

2) 6, 9, 11
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
3) 7, 9, 11
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….

4) 5, 9, 16
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
277

) , 10, 16
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….

6) 10, 11, 24
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
278

แบบฝกทักษะ เรื่อง จุดภายในและจุดภายนอก

คําชีแจง ให้นกั เรี ยนบันทึกข้อมูลทีได้จากการทํากิจกรรมให้ครบทุกกรณี


1. ในแต่ละข้อต่อไปนี จงสํารวจโดยลากเส้น เพือหาว่าจุด A, B และ C จุดใดเป็ นจุดภายใน
และจุดภายนอก แล้วบันทึกคําตอบลงในตาราง
1) 2)

3) 4)

5)
279

2. ให้นกั เรี ยนลากส่ วนของเส้นตรงจากจุดแต่ละจุดออกมานอกรู ปทางใดทางหนึง และสังเกต


ดู ว่า ส่ วนของเส้นตรงแต่ ละเส้นตัดผ่านเส้ นรอบรู ปของเส้ นโค้ง ปิ ดเชิ งเดี ย วกี จุ ดบ้า ง แล้วเขี ย น
จํานวนจุดตัด ลงในตารางข้างล่างนี
ข้ อ จุด จุดภายใน จุดภายนอก จํานวนจุดตัดเส้ นรอบรู ปของเส้ นโค้ งปิ ดเชิงเดียว (จุด)
A
1) B
C
A
2) B
C
A
3) B
C
A
4) B
C
A
5) B
C

ท้าทาย!! ให้นกั เรี ยนพยายามหาจุดตัดเส้นรอบรอบของเส้นโค้งปิ ดเชิงเดียวให้นอ้ ยทีสุ ด


จากตารางทีบันทึกไว้ให้นกั เรี ยนตอบคําถามต่อไปนี
1) ถ้าลากส่ วนของเส้นตรงจากจุดทีกําหนดให้ออกมาข้างนอกรู ปและได้จาํ นวนจุดตัดเป็ น จํานวน
คู่ จุดนันเป็ นจุดภายในหรื อจุดภายนอก
……………………………..………………………………………………………………….……..
2) ถ้าลากส่ วนของเส้นตรงจากจุดทีกําหนดให้ออกมาข้างนอกรู ปและได้จาํ นวนจุดตัดเป็ นจํานวน
คี จุดนันเป็ นจุดภายในหรื อจุดภายนอก
………………………………………………………………………………………………..……...
3) จํานวนจุดตัดซึ งเป็ นจํานวนคู่หรื อเป็ นจํานวนคี สัมพันธ์อย่างไรกับจุดภายในหรื อจุดภายนอก
……………………………………………………………………………………………………….
280

เฉลย แบบฝกทักษะ ตอนที่ 1 เรือ่ ง ความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยม

1. ให้นกั เรี ยนใช้หลอดจํานวน 3 อัน ถึง 8 อัน เพือต่อกันเป็ นรู ปสามเหลียมหนึงรู ป แล้วบันทึกผลที
ได้ลงในตารางให้ครบทุกกรณี

จํานวนหลอด ต่อกันเป็ นรู ปสามเหลียม จํานวนหลอดทีต่อกันเป็ นด้าน (อัน) *


ทังหมด (อัน) ได้ ไม่ได้ ด้านทีหนึง ด้านทีสอง ด้านทีสาม
3 1 1 1
4 1 1 2
1 1 3
5 1 2 2
1 1 4
6 1 2 3
2 2 2
1 1 5
1 2 4
7 1 3 3
2 2 3
1 1 6
1 2 5
8 1 3 4
2 2 4
2 3 3
281

* ในการกําหนดจํานวนหลอดของด้านทีหนึง ด้านทีสองและด้านทีสาม ไม่ถือลําดับเป็ น


สําคัญ เช่น รู ปทีมีดา้ นทีหนึง ด้านทีสองและด้านทีสามเป็ น 1, 2 และ 2 ตามลําดับ จะถือว่าเป็ น รู ป
เดียวกับรู ปทีมีดา้ นทีหนึง ด้านทีสองและด้านทีสามเป็ น 2, 1 และ 2 ตามลําดับ

2. จากตารางในข้อ 1 ข้างต้น จงสํารวจกรณี ทีต่อหลอดเป็ นรู ปสามเหลียมได้ แล้วเติมจํานวนลงใน


ตารางให้ครบทุกกรณี
ความยาวรอบรู ป (หน่ วย) ความยาวของด้ าน (หน่ วย)
ด้ านทีหนึง ด้ านทีสอง ด้ านทีสาม
3 1 1 1
5 1 2 2
6 2 2 2
1 3 3
7
2 2 3
8 2 3 3

3. จากตารางในข้อ 2 หาผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ ของรู ปสามเหลียมเปรี ยบเทียบ


กับความยาวของด้านทีเหลือ แล้วตอบคําถามต่อไปนี
1) มีกรณี ใดบ้างทีผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ เท่ากับ ความยาวของด้านทีเหลือ
ตอบ ไม่มี
2) มีกรณี ใดบ้างทีผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ น้ อยกว่า ความยาวของด้านทีเหลือ
ตอบ ไม่มี
3) มีกรณี ใดบ้างทีผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ มากกว่า ความยาวของด้านทีเหลือ
ตอบ ทุกกรณี
4) ในกรณี ทวไปนั
ั กเรี ยนคิดว่าผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ ของรู ปสามเหลียม
สั มพันธ์ กับความยาวของด้านทีเหลืออย่างไร
ตอบ ผลบวกของความยาวของด้านสองด้านใดๆ ของรู ปสามเหลียมจะ มากกว่า ความ
ยาวของด้านทีเหลือเสมอ
282

เฉลย แบบฝึ กทักษะ ตอนที 2 เรื อง ความยาวของด้านของรู ปสามเหลียม

ความยาวส่ วนของเส้นทีกําหนดให้ต่อไปนีประกอบเป็ นรู ปสามเหลียมได้หรื อไม่ เพราะเหตุใด


) , 8, 14 2) 6, 9, 11
วิธีทาํ 4 + 8 < 14 วิธีทาํ 6 + 9 > 11
6 + 11 > 9
9 + 11 > 6
ตอบ ด้านทีกําหนดให้ประกอบเป็ น ตอบ ด้านทีกําหนดให้ประกอบเป็ น
รู ปสามเหลียมไม่ได้ เพราะนําด้านสองด้าน รู ปสามเหลียมได้ เพราะนําด้านสองด้าน
รวมกันยังน้อยกว่าความยาวของด้านทีสาม รวมกันยาวกว่า ด้านทีสามเสมอ

3) 7, 9, 11 4) 5, 9, 16
วิธีทาํ 7 + 9 > 11 วิธีทาํ 5 + 9 < 16
7 + 11 > 9
9 + 11 > 7
ตอบ ด้านทีกําหนดให้ประกอบเป็ น ตอบ ด้านทีกําหนดให้ประกอบเป็ น
รู ปสามเหลียมได้ เพราะนําด้านสองด้าน รู ปสามเหลียมไม่ได้ เพราะนําด้านสองด้าน
รวมกันยาวกว่า ด้านทีสามเสมอ รวมกันยังน้อยกว่าความยาวของด้านทีสาม

) , 10, 16 6) 10, 11, 24

วิธีทาํ 8 + 10 > 16 วิธีทาํ 10 + 11 < 24


8 + 16 > 10
10 + 16 > 8
ตอบ ด้านทีกําหนดให้ประกอบ ตอบ ด้านทีกําหนดให้ประกอบเป็ น
เป็ นรู ปสามเหลียมได้ เพราะนําด้าน รู ปสามเหลียมไม่ได้ เพราะนําด้านสองด้าน
สองด้านรวมกันยาวกว่า ด้านทีสามเสมอ รวมกันยังน้อยกว่าความยาวของด้านทีสาม
283

เฉลย แบบฝกทักษะ เรื่อง จุดภายในและจุดภายนอก

คําชีแจง ให้นกั เรี ยนบันทึกข้อมูลทีได้จากการทํากิจกรรมให้ครบทุกกรณี


1. ในแต่ละข้อต่อไปนี จงสํารวจโดยลากเส้น เพือหาว่าจุด A, B และ C จุดใดเป็ นจุดภายใน
และจุดภายนอก แล้วบันทึกคําตอบลงในตาราง
1) 2)

3) 4)

5)
284

2. ให้นกั เรี ยนลากส่ วนของเส้นตรงจากจุดแต่ละจุดออกมานอกรู ปทางใดทางหนึง และสังเกต


ดู ว่า ส่ วนของเส้นตรงแต่ ละเส้นตัดผ่านเส้ นรอบรู ปของเส้ นโค้ง ปิ ดเชิ งเดี ย วกี จุ ดบ้า ง แล้วเขี ย น
จํานวนจุดตัด ลงในตารางข้างล่างนี

ข้ อ จุด จุดภายใน จุดภายนอก จํานวนจุดตัดเส้ นรอบรู ปของ


เส้ นโค้ งปิ ดเชิ งเดียว (จุด)
A 1
1) B 2
C 1
A 2
2) B 2
C 3
A 1
3) B 2
C 2
A 3
4) B 2
C 3
A 4
5) B 5
C 4
285

จากตารางทีบันทึกไว้ให้นกั เรี ยนตอบคําถามต่อไปนี


1) ถ้าลากส่ วนของเส้นตรงจากจุดทีกําหนดให้ออกมาข้างนอกรู ปและได้จาํ นวนจุดตัดเป็ น
จํานวนคู่ จุดนันเป็ นจุดภายในหรื อจุดภายนอก …………………จุดภายนอก………………….
2) ถ้าลากส่ วนของเส้นตรงจากจุดทีกําหนดให้ออกมาข้างนอกรู ปและได้จาํ นวนจุดตัดเป็ น
จํานวนคี จุดนันเป็ นจุดภายในหรื อจุดภายนอก …………………จุดภายใน………………….
3) จํานวนจุดตัดซึงเป็ นจํานวนคู่หรื อเป็ นจํานวนคี สัมพันธ์อย่างไรกับจุดภายในหรื อจุด
ภายนอก
เมือลากส่ วนของเส้ นตรงจากจุ ดทีกําหนดให้ ออกมาข้ างนอกรู ป ถ้ าได้ จํานวนจุดตัดเป็ น
จํานวนคู่ จุดนันจะเป็ นจุดภายนอก และถ้ าได้ จํานวนจุดตัดเป็ นจํานวนคี จุดนันจะเป็ นจุดภายใน
286

ภาคผนวก ซ
คะแนนความสามารถในการแก้ปัญหา
ก่อนเรียนและหลังเรียน
287

ตารางที 50 คะแนนความสามารถพืนฐานในการแก้ปัญหา วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1

ลําดับ คะแนนก่อนเรียน คะแนนหลังเรียน ผลต่ างคะแนน ผลต่ างคะแนน


ที (50 คะแนน) (50 คะแนน) (D) (D2)
1 8 39 31 961
2 8 35 27 729
3 8 35 27 729
4 12 33 21 441
5 12 37 25 625
6 13 30 17 289
7 9 36 27 729
8 10 38 28 784
9 11 36 26 676
10 12 30 18 324
11 13 31 19 361
12 13 33 20 400
13 10 36 26 676
14 14 38 24 567
15 15 29 14 196
16 11 39 28 784
17 14 37 23 529
18 9 34 25 625
19 12 39 27 729
20 11 37 26 676
21 13 34 21 441
22 14 32 18 324
23 10 44 34 1,156
288

ตารางที50 คะแนนความสามารถพืนฐานในการแก้ปัญหา วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื องการประยุกต์ 1 (ต่อ)

ลําดับ คะแนนก่อนเรียน คะแนนหลังเรียน ผลต่ างคะแนน ผลต่ างคะแนน


ที (50 คะแนน) (50 คะแนน) (D) (D2)
24 15 37 22 484
25 11 36 25 625
26 11 39 28 784
27 12 40 28 784
28 12 30 18 324
29 13 38 25 625
30 19 34 15 225
31 12 37 25 625
32 18 40 22 484
33 17 38 21 441
34 20 32 12 144
35 20 44 22 484
x 12.57 35.91 23.29 565.14
S.D 3.19 3.69 4.88 222.01
289

ภาคผนวก ฌ
ผลการทดสอบสมมติฐาน
290
291
292

ภาคผนวก ญ
รูปภาพการดําเนินกิจกรรมการเรี ยนรู้ และผลงานนักเรียน
293

รูปภาพการดําเนินกิจกรรมการเรี ยนรู้
294

รู ปภาพการดําเนินกิจกรรมการเรี ยนรู้
295

ผลงานนักเรียนจากการทําแบบฝึ กทักษะ
296

ผลงานนักเรียนจากการทําแบบฝึ กทักษะ
297

ความคิดเห็นของนักเรียนเกียวกับการใช้ แบบฝึ กทักษะ วิชาคณิตศาสตร์ เรืองการประยุกต์ โดยใช้


การจัดการเรี ยนรู้ แบบปัญหาเป็ นฐาน เพือส่ งเสริมความสามารถในการแก้ ปัญหา (หลังเรียน)
298

ภาคผนวก ฎ
หนังสื อเชิญผู้เชียวชาญตรวจเครืองมือวิจัย
หนังสื อขอทดลองเครืองมือวิจัย
หนังสื อขอความอนุเคราะห์ ในการเก็บรวบรวมข้ อมูล
299
300
301
302
303
304
305
306

ประวัติผู้วจิ ัย

ชือ นายอนุรักษ์ เร่ งรัด


เกิด 3 เมษายน พ.ศ. 2531
ทีอยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที 239/5 หมู่ 3 ตําบลท่าเสา อําเภอไทรโยค
จังหวัดกาญจนบุรี รหัสไปรษณี ย ์ 71150
สถานทีทํางาน โรงเรี ยนศรี นวลธรรมวิมล ตังอยูเ่ ลขที 189 ถนนหนองแขม -
ศรี นวล แขวงหนองแขม เขตหนองแขม กรุ งเทพมหานคร
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2543 สําเร็ จการศึกษาประถมศึกษาจากโรงเรี ยนอนุบาลไทรโยค
พ.ศ. 2549 สําเร็ จการศึกษามัธยมศึกษาจากโรงเรี ยนไทรโยคมณี กาญจน์วทิ ยา
พ.ศ. 2555 สําเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาการสอน
คณิ ตศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน
จังหวัดนครปฐม
พ.ศ. 2555 ศึกษาต่อระดับปริ ญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
หลักสู ตรและการนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม
ประวัติการทํางาน
พ.ศ. 2555 – 2557 ครู อตั ราจ้าง โรงเรี ยนไทรโยคมณี กาญจน์วทิ ยา
ปัจจุบนั ตําแหน่งครู ผชู ้ ่วย โรงเรี ยนศรี นวลธรรมวิมล

You might also like