You are on page 1of 29

วิเคราะห์ แปลผล

และแปลความหมายข้อมูล
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิติพงษ์ อุ่นใจ
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
วิเคราะห์ แปลผล และแปลความหมายข้อมูล
กิจกรรมทีF 7.1
Øฝึ กปฏิบตั ิ จดั กระทําและวิเคราะห์ข้อมูล

กิจกรรมทีF 7.2
Øฝึ กปฏิบตั ิ แปรความหมายและหาความสัมพันธ์ของข้อมูล

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
กิจกรรม : 7.1

ฝึ กปฏิบตั ิ จดั กระทําและวิเคราะห์ข้อมูล

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
วัตถุประสงค์
เพืFอให้สามารถ
1) จัดกระทํากับข้อมูลได้อย่างถูกต้องตามระเบียบวิธีวิจยั
โดยใช้สถิติทีFสอดคล้องกับข้อมูล
2) วิเคราะห์ข้อมูล และเลือกแผนภูมิสาํ หรับการนําเสนอทีF
เหมาะสมและถูกต้อง
3) แปรความหมาย โดยการหาความสัมพันธ์ของข้อมูลทีF
เกีFยวข้อง
4

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
ขันH ตอนการจัดการข้อมูลจากการทดลอง

บันทึกผล จัดกระทํา วิเคราะห์

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
การจัดกระทําข้อมูลู (Organizing Data)
เป็ นการนําข้อมูลู ดิบ (Raw Data) ทีFรวบรวมได้มาจัดกระทําเพืFอให้
ข้อมููลดิบอยู่ในรูปแบบทีF เหมาะสมสําหรับการวิเคราะห์และแปล
ความหมายข้อมูลู ต่อไป เช่น
• การหาค่าเฉลี+ย
• การหาค่าส่วนเบีย+ งเบนมาตรฐาน

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
ประเภทของข้อมูล
ข้อมูลเชิงคุณภาพ
เป็ นข้อมูลทีFวดั ออกมาในรูปของประเภทหรือชนิด เช่น สีของดิน
ชนิดของสัตว์ไม่มกี ระดูกสันหลัง ชนิดของเมฆ ชนิดของต้นไม้

ข้อมูลเชิงปริมาณ
เป็ นข้อมูลทีFวดั ออกมาในรูปของจํานวนหรือขนาด สามารถบอก
ปริมาณมากน้ อยได้ เช่น ความหนาของชัน= ดิน จํานวนต้นไม้จาํ นวน
สัตว์ไม่มกี ระดูกสันหลัง ร้อยละของเมฆทีปB กคลุมท้องฟ้ า
หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
การจัดการข้อมูล
การหาค่าเฉลีFย (Mean)
เช่น
- อุณหภูมิผิวดิน
- ความยาวของใบ
- ความเป็ นกรด-เบสของนํgา
**เลขนัยสําคัญ - ปริมาณเมฆปกคลุม
8

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
เลขนัยสําคัญ
เลขนัยสําคัญ (significant figure) คือ จํานวนหลักของตัวเลขทีF
แสดงความเทีF ย งตรงของปริ ม าณทีF ว ดั หรื อ คํา นวณได้ ดัง นั gน
ตัว เลขนั ย สํา คัญ จึ ง ประกอบด้ ว ยตัว เลขทุ ก ตัว ทีF แ สดงความ
แน่ นอน (certainty) รวมกับตัวเลขอีกตัวหนึF งทีFแสดงความไม่
แน่ นอน (uncertainty) ซึFงขึนg อยู่กบั อุปกรณ์ทีFเราเลือกใช้ด้วย

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
เลขนัยสําคัญ
ผลลัพธ์ จากการบวกและลบ
ต้ องมีจํานวนเลขทศนิยมเท่ากับข้ อมูลที8มีเลขทศนิยมน้ อยที8สดุ
เช่น >?@.BC@ + E.@@ +??.CB>F = >FB.CFFF บันทึกเป็ น >FB.CF

ผลลัพธ์ จากการคูณและหาร
ต้ องมีจํานวนเลขนัยสําคัญเท่ากับข้ อมูลที8เลขนัยสําคัญน้ อยที8สดุ
เช่น ?C × ?.FC ÷ >EE = E.B>?C บันทึกเป็ น 0.61

10

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
การจัดการข้อมูล
การหาค่าเบียF งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.)

11

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
วิธีการหาค่าเฉลี[ย และ S.D. ใน Excel
วิธีการหาค่าเฉลีFย
=AVERAGE(number1, [number2], ...)
ตัวอย่างเช่น =AVERAGE(A2:A6) หมายถึง ค่าเฉลีย8 ของตัวเลขในเซลล์ A2 ถึง A6

วิธีการหาค่าส่วนเบียF งเบนมาตรฐาน
=STDEV(number1,[number2],...)
เมื$อ 𝑥̅ เป็ นค่าเฉลี$ยของตัวอย่าง และ n คือจํานวนของตัวอย่าง

12

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
การกระทําอื[น ๆ ใน Excel
วิธีการนับจํานวน
=COUNT(_:_)
นับจํานวนตัวเลขในเซลล์ที8ต้องการ
เช่น =COUNT(A2:A7) นับจํานวนเซลล์ที8มีตวั เลขในเซลล์ A2 ถึง A7

วิธีการเปรียบเทียบตรรกะ
ช่วยคัดกรองข้ อมูลที8มีเงื8อนไขออกจากกัน
เช่น =IF(C2=”Yes”,1,2) หมายถึง พิจารณาเซลล์ C2 (C2 = Yes ให้ แสดง > มิเช่นนันให้
^ แสดง ?)
13

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
สูตรและฟังก์ชนั ใน Excel
https://support.microsoft.com/th-th/office/สูตรและฟังก์ชนั -
294d9486-b332-48ed-b489-abe7d0f9eda9

14

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
กิจกรรม 7.1
การจัดกระทําข้อมูลู ใน Excel
Øการใช้ข้อมูลสภาพอากาศจากกรมอุตนุ ิ ยมวิทยา
http://www.aws-observation.tmd.go.th/web/aws/aws_alphanumeric.asp

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
การจัดกระทําข้อมูลู ใน Excel
ØการกําหนดเงืFอนไขขอบเขต (ฟังก์ชนั COUNTIF)
ขอบเขตล่าง ขอบเขตบน

=COUNTIF(range,criteria) – COUNTIF (range,criteria)


เช่น
=COUNTIF(S1:S31,”>=0.1”) – COUNTIF (S1:S31,”>10”)

ตําแหน่ งข้อมูล ปริมาณ

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
การวิเคราะห์ข้อมูลู (Analyzing Data)
เป็ นการแยกแยะ จัด ระบบข้ อ มูู ล โดยการเปรี ย บเที ย บ เขี ย น
แผนภูมิ จัด ลํา ดับ จัด จํา แนก และเชืF อ มโยงความสัม พัน ธ์ข อง
ข้อมููลทีF เก็บรวบรวมกับข้อมููลอืFน ๆ ทีF เกีFยวข้องกับสิFงทีF ต้องการ
ศึกษา

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
ประเภทของแผนภูมิ
ประเภท วัตถุประสงค์ ลักษณะ
แผนภูมิรูปภาพ นําเสนอข้ อมูลโดยใช้ รูปภาพหรื อ Ø กําหนดอัตราส่วนจํานวนข้ อมูลต่อภาพ
(Picture Graph) สัญลักษณ์แทนจํานวนของข้ อมูลแต่ละ Ø ไม่เหมาะสําหรับข้ อมูลทีLมีความละเอียดสูง
รายการ ให้ เข้ าใจง่ายและน่าสนใจ
แผนภูมิแท่ง นําเสนอข้ อมูลทีLเน้ นการเปรี ยบเทียบ Ø เปรี ยบเทียบได้ มากกว่าสองรายการ
(Bar charts) ข้ อมูลในแต่ละรายการ
แผนภูมิเส้ น นําเสนอข้ อมูลทีLตอ่ เนืLองเพืLอแสดง Ø แสดงการเปลียL นแปลงของข้ อมูลตามช่วงเวลา
(Line charts) แนวโน้ ม (Trends) การเปลียL นแปลง Ø สามารถเปรี ยบเทียบตามช่วงเวลาทีLแตกต่างกัน
เทียบกับช่วงเวลา

18

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
ประเภทของแผนภูมิ
ประเภท วัตถุประสงค์ ลักษณะ
แผนภูมิวงกลม นําเสนอข้ อมูลเพืLอเปรี ยบเทียบสัดส่วน Ø แยกเป็ นสัดส่วนตามปริ มาณทีLเกิดขึ Rนในแต่ละ
(Pie Graph) ของข้ อมูลโดยเทียบกับผลรวมของทุก ปั จจัย
ข้ อมูลรวมกัน Ø เข้ าใจความสัมพันธ์ของสัดส่วน ได้ งา่ ย
แผนภูมิเรดาห์ นําเสนอข้ อมูลทีLแสดงภาพรวมทังหมดของ R Ø ผสมผสาน และกําหนดหัวข้ อทีLวดั ค่าได้
(Radar charts) สิงL ทีLศกึ ษากับปริ มาณทีLเกิดขึ Rนจริ ง Ø มองเห็นภาพรวม เข้ าใจสมบัตขิ องข้ อมูลได้
ง่าย
แผนภูมิความร้ อน นําเสนอข้ อมูลความหนาแน่นหรื อความ Ø อธิบายความหนาแน่นของข้ อมูลตามพื RนทีLได้
(Heatmap charts) เข้ มข้ นข้ อมูลทีLแตกต่างกันด้ วยอุณหภูมิสี Ø กําหนดและนําเสนอข้ อมูลด้ วยสีทีLแตกต่างกัน

19

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
กิจกรรม
การวิเคราะห์ข้อมูลู ใน Excel
üการเขียนแผนภูมิแบบต่าง ๆ
üการวิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภูมิ

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
กิจกรรม : 7.2

ฝึ กปฏิบตั ิ แปรความหมาย
และหาความสัมพันธ์ของข้อมูล

21

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
วัตถุประสงค์
เพืFอให้สามารถวิเคราะห์ และแปรความหมายความสัมพันธ์ของ
ข้อมูลได้ถกู ต้อง

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
การแปรความหมายข้อมูล (Interplet Data)
คือ การแสดงความหมายของข้อมูลเพืFอการลงข้อสรุป และการ
นําเสนอข้อมูลโดยอธิบายจาก ตาราง กราฟ แผนภูมิ เป็ นต้น

แปร
บันทึกผล จัดกระทํา วิเคราะห์
ความหมาย

23

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
การแปรความหมายข้อมูล (Interpret Data)
ØเมืFอได้มีการจัดกระทํา วิเคราะห์ และแปรความหมายข้อมูล
จะช่วยให้การอภิปรายผลทําได้ง่ายขึนg
Øการวิเคราะห์และแปรความหมายข้อมูลจะทําให้สงั เกตเห็น
แนวโน้ มและความสัมพันธ์ของข้อมูล
Øอาจช่วยให้พบความผิดปรกติของข้อมูล
Øความผิดปรกติจากการตรวจวัด
Øความผิดปรกติจากสภาพแวดล้อม

24

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
(เทคนิค) การแปรความหมายข้อมูล
F ิ ยมเขียนบรรยายใต้ตาราง เช่น
Øโดยทัวไปน
จากตาราง/ภาพที, ..... แสดงให้เห็นว่า ...........
Øการแปรความหมาย ควรแปรเฉพาะประเด็นสําคัญ หรือข้อมูล
ทีFโดดเด่น น่ าสังเกต
Øเขียนบรรยายให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และคําถามวิจยั

25

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
(ตัวอย่าง) การแปรความหมายข้อมูล
จากตารางที) 4.1 แสดงให้เห็นว่าบริเวณคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ราชภั ฏ อุ บ ลราชธานี อํ า เภอเมื อ ง จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ในช่ ว งเดื อ น
สิงหาคม ถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2564 มีปริมาณฝนเฉลีย) 9.2, 13.1 และ 7.9
มิลลิเมตรตามลําดับ ซึง) มีปริมาณฝนอยู่ในระดับฝนเล็กน้อยตามเกณฑ์ปริมาณ
ฝนของกรมอุตุนิยมวิทยา (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2563)
ทัง_ นี_ ระหว่ า งช่ ว งการศึก ษาไม่ ม ีฝ นตกจํา นวน 36 วัน และมีฝ นตก
จํานวน 56 วัน แบ่งเป็ น ฝนเล็กน้อย ฝนปานกลาง ฝนหนัก และฝนหนักมาก
จํานวน 33 , 16 , 6 และ 1 วัน ตามลําดับ

26

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
การวิเคราะห์และสรุปผลการวิจยั
Øควรมุ่งเน้ นการใช้หลักเหตุและผลในการตอบคําถามการวิจยั
เป็ นสําคัญ
Øนําข้อมูลต่าง ๆ มาใช้ในการอธิบายผลความสัมพันธ์ของ
ข้อมูล
Øข้อมูลจากการตรวจวัด
Øข้อมูลสภาพแวดล้อม
Øทฤษฎี
Øงานวิจยั ที+เกี+ยวข้อง
27

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
(ตัวอย่าง) การสรุปผลการวิจยั
ปริม าณฝนที)จุ ด ศึก ษาบริเ วณโรงเรีย นสาธิต มหาวิท ยาลัย ราชภัฏ
อุบลราชธานี อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ตําแหน่งพิกดั cd.ef องศา
เหนือ cgf.hf องศาตะวันออก ตัง_ แต่เดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. edif
มีปริมาณความชื_นในดิน ณ เวลา 7:00 น. มากกว่าร้อยละ 60 เป็ นจํานวน 67
วัน
ผลทีไ% ด้จากการวิจยั ช่วยให้สามารถประหยัดนํ< าในการรดนํ< าต้นไม้ได้
ปริมาณ ...... ลูกบาศก์เมตร สามารถช่วยลดค่าไฟฟ้ าของโรงเรียนได้ …... บาท,
ค่าไฟฟ้ าได้ ...... บาท และลดปริมาณการปลดปล่อยคาร์บอนจากกิจกรรมการ
รดนํ<าต้นไม้ได้ ...... กิโลกรัมคาร์บอน
28

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)
“เอกสารนี[ ใช้เพื`อการเรียนการสอน
หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง[ ระบบ เท่านัน[ ”
ลิขสิทธg ิ โดย
ฝ่ ายโลกศึกษาเพื`อพัฒนาสิ`งแวดล้อม (GLOBE)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

http://globethailand.ipst.ac.th/
essipst@gmail.com,
globeproject@ipst.ac.th

02 392 4021 ต่อ 1121, 1124, 1128


29

หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทัง1 ระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ฝ่ ายโลกศึกษาเพืUอพัฒนาสิUงแวดล้อม (GLOBE)

You might also like