You are on page 1of 64

สืบคนขอมูลเพื่องานวิจัย

อ.ดร.ธีรเวทย ลิมโกมลวิลาศ ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลยศรีนครินทรวิโรฒ

ฝายโลกศึกษาเพื่อพัฒนาสิ่งแวดลอม (GLOBE) สสวท.


หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564
วัตถุประสงค
วางแผน สืบคน วิเคราะห และเลือกใชขอมูลที่นาเชื่อถือเพื่อใชใน
การวางแผนงานวิจัย

เพื่อใหนักเรียนสามารถวิเคราะหและเลือกขอมูลที่นาเชื่อถือจาก
แหลงขอมูลตางๆ โดยใชวิธิการและเทคนิคการสืบคนขอมูล
ประกอบการวางแผนงานวิจัย

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


วิธีการและเทคนิคการสืบคนขอมูล
• การสืบคนขอมูลหรือเอกสารที่เกี่ยวของกับงานวิจัยเปนขั้นตอนที่
สําคัญ
• ควรทําเปนขั้นตอแรกกอนการวางแผนงานวิจัย
• เพื่อใหนักเรียนไดศึกษา และมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับ
งานวิจัยที่กําลังดําเนินงาน
• โดยตองศึกษาเกี่ยวกับ แนวคิด หลักการ ทฤษฎี ตลอดจน
งานวิจัยที่ผูอื่นเคยศึกษาไว
3

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การสืบคนขอมูลเพื่อตอบคําถามวิจัยควรเลือก
จากแหลงขอมูลใด
• หนังสือ • นักวิทยาศาสตร
• วารสาร • ผูเชี่ยวชาญ
• อินเทอรเน็ต • ปราชญชาวบาน
• ปรึกษาครู

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


รูปแบบการสืบคนขอมูลผานอินเทอรเน็ต
• การสืบคนในรูปแบบ Index directory
• การสืบคนในรูปแบบ Search Engine

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การสืบคนในรูปแบบ Index directory
เปนวิธีการสืบคนขอมูลจากระบบฐานขอมูลที่มีการคัดแยกขอมูล
ออกเปนหมวดหมู และจัดแบงประเภทขอมูลอยางเปนระบบ
มากกวาการสืบคนขอมูลดวยวิธีสืบคนแบบ Search Engine การ
สืบคนขอมูลทางดานสิ่งแวดลอมในรูปแบบ Index directory
สามารถสืบคนไดจากตัวอยางเว็ปไซต ดังนี้

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


ตัวอยาง Index directory
• GLOBE Program https://www.globe.gov/
• GLOBE ประเทศไทย http://globethailand.ipst.ac.th/
• ศูนยการเรียนรูวิทยาศาสตรโลกและดาราศาสตร http://www.lesa.biz/
• กรมอุตุนิยมวิทยา https://www.tmd.go.th/
• กรมปาไม http://www.forest.go.th/
• กรมควบคุมมลพิษ https://www.pcd.go.th/

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


ตัวอยาง Index directory (2)
• กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม https://www.deqp.go.th/
• สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม http://www.onep.go.th/
• กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม http://www.mnre.go.th/
• กรมทรัพยากรน้ํา https://www.dwr.go.th/
• กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง http://tcc.dmcr.go.th/thaicoastalcleanup
• สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ํา (องคการมหาชน) https://www.hii.or.th/

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การสืบคนในรูปแบบ Search Engine
Search engine คือ เว็บไซตพิเศษที่ออกแบบมา เพื่อชวย
ในการคนหา หรือเขาถึงขอมูล ซึ่งถูกเก็บอยูในไซตตางๆ วิธีการ
ทํางานของ Search Engine ก็จะแตกตางกันออกไป ขึ้นอยูกับ
ระบบของ Search Engine แตละตัว

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การสืบคนในรูปแบบ Search Engine
ปจจุบันการสืบคนขอมูลในรูปแบบ Search Engine ที่ไดรับความ
นิยม เชน Google Yahoo และ Bing
ตัวอยางวิธีสืบคนขอมูลผาน Google search สามารถสืบคนได 2
แบบ คือ
• การสืบคนพื้นฐาน (Basic Search) และ
• การสืบคนขั้นสูง (Advanced Search)

10

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การสืบคนในรูปแบบ Search Engine
• การสืบคนพื้นฐาน
• Basic Search

11

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การสืบคนในรูปแบบ Search Engine
• การสืบคนพื้นฐาน (Basic Search)
• เปนภาษาธรรมชาติ (Natural language) ไดแก คํา (Words) กลุมคํา
(Terms) วลี (Phases)
• ที่พบหรือรูจักกันทั่วไปและปรากฏอยูในเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศ
แบบงายๆ เพียง 1 คํา เชน
• การจัดการความรู การตลาด การปกครอง

12

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การสืบคนในรูปแบบ
Search Engine
• การสืบคนขั้นสูง
(Advanced
Search)

13

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การสืบคนในรูปแบบ
Search Engine
• การสืบคนขั้นสูง
(Advanced
Search)

14

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การสืบคนในรูปแบบ
Search Engine
• การสืบคนขั้นสูง
(Advanced
Search)

15

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การสืบคนในรูปแบบ Search Engine
• การสืบคนขั้นสูง (Advanced Search)
• การสราง Search Statement
• การใชเครื่องหมายหรือสัญลักษณในการสืบคน (Truncation)
• การใชคําเชื่อม (Operations) และการเชื่อมคําคน (Combining Terms)
• วิธีการสืบคน (Search Methods)
• การคัดกรองผลการสืบคน (Refining your search result)
• การวิเคราะหผลการสืบคน (Analyse results)
• การจัดการผลการสืบคน (Manage your results)
16

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การสืบคนในรูปแบบ Search Engine
• การสราง Search Statement
• คือการสรางกรอบแนวคิดของเรื่องที่ตองการสืบคน
• เชน หัวขอที่จะศึกษานั้นคือเรื่องอะไร เมื่อทราบสิ่งที่ตองการศึกษาแลว
• ใหนํามากําหนด Keyword หรือคําที่จะใชในการสืบคน ประมาณ 1 – 3 คํา
• โดย Keyword ที่จะใชตองสามารถสื่อและอธิบายความหมายครอบคลุมถึง
กรอบแนวคิดของหัวขอที่จะสืบคนขอมูลได
• ทั้งนี้ สามารถใชคําที่มีความหมายใกลเคียงกัน (Synonyms) เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการสืบคนใหครอบคลุมมากยิ่งขึ้น
17

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การสราง Search Statement (ตอ)
ตัวอยาง Search Statement
• การใหความรูเรื่องเพศศึกษาเพื่อชวยลดอัตราการตั้งครรภในวัยรุน
• Can sex education help preventing or reducing teenage
pregnancy?

• ผลขางเคียง หรือผลกระทบจากการใชฮอรโมนเรงการเจริญเติบโตในโค
นม เพื่อเพิ่มผลผลิตปศุสัตว
• The Negative Effects of Bovine Growth Hormone (BGH) on
Cows
18

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


ตัวอยางการคัดแยกคําคนจาก Search Statement
The Negative Effects of Bovine Growth Hormone (BGH)
on Cows
สามารถคัดแยกออกเป็ นคําสําคัญที่ใช้ในการสืบค้นได้ดงั นี ้
• Bovine Growth Hormone (BGH)
• Cow
• Effect

19

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


รูปแบบที่ใชเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการสืบคน
รูปแบบที่เลือกใช คําคนเพิ่มเติม
คําพองความหมาย หรือ คําพหูพจน Cows, cattle bovine ,
(Synonyms/plurals) เพื่อใหไดขอมูลมากที่สุด ที่ dairy cattle
ครอบคลุมในเรื่องเกี่ยวกับวัวนม (cow)
เพิ่มความหมายของคําที่กวางขึ้น (Broader terms) Female livestock,
เมื่อพบขอมูลจากผลการสืบคนนอยเกินไป Bovidae
ทําความหมายของคําใหแคบลง (Narrower terms) Holstein, Guemsey
เมื่อพบขอมูลจากผลการสืบคนมากเกินไป
20

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การคัดแยกคําคนจาก Search Statement (ตย.1)
Concept 1 Concept 2 Concept 3
Sex education Teenage pregnancy Prevention
Sex education Pregnant teenager Prevent, preventing
programs
Adolescent pregnancy Reduction
Pregnant adolescence Reduce, reducing
Teen mom
Teen mother
Teenage mother
21

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การคัดแยกคําคนจาก Search Statement (ตย.2)
Concept 1 Concept 2 Concept 3
Bovine Growth Cow, Cows Effect, effects
Hormone (BGH)

cattle bovine Negative effect,


Negative effects

dairy cattle Adverse effect,


adverse effects
22

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การใชเครื่องหมายหรือสัญลักษณในการสืบคน
Truncation คือ เทคนิคการสืบคนที่ใชใสระหวางหรือหลังคําคน โดยใช
สัญลักษณในการแทนที่ตัวอักษร เพื่อชวยเพิ่มประสิทธิผลที่ดีในการสืบคน
ฐานขอมูล
• เครื่องหมาย (*) ใชเพื่อละตัวอักษรตั้งแตศูนยตัวอักษรเปนตนไป
• ใชวางในตําแหนง ดานทายคํา หรือ ระหวางคํา
• ตัวอยางใชเพื่อละตัวอักษรทายคําคน :manag* จะพบ manage manages manager
management
• ตัวอยางใชเพื่อละตัวอักษรระหวางคําคน :
• Hyp*tension จะพบhypotension hypertension
• Colo*r จะพบ colour color
23

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การใชเครื่องหมายหรือสัญลักษณในการสืบคน
เครื่องหมายอัญประกาศหรือ Quotation Mark (“…..”) ใชเพื่อให
การสืบคนตรงตามตัวที่พิมพ
• ในฐานขอมูลสวนใหญคําคนประเภทหลายคํา หรือกลุมคํา จะถูกแยก
ออกเปนคําเดียว ดังนั้นหากตองในการสืบคนตรงตามที่พิมพ ไมมีคําคั้น
กลางระหวางคํา หรือ กําหนดไมใหคําสลับตําแหนงกัน ใหใสเครื่องหมาย
(“…..”) ที่คําคนนั้น
• ตัวอยางการใช “lung cancer” “stingless bee” “hard of hearing”
24

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การใชเครื่องหมายหรือสัญลักษณในการสืบคน
เครื่องหมาย วงเล็บ หรือ Parenthesis (…….) การจัดกลุมเพื่อ
สรางลําดับการสืบคนกอนหลัง เมื่อมีการใช AND OR NOT หรือ
Operators ตัวอื่นผสมรวมอยูในการสืบคน
• สามารถใชวงเล็บเพื่อเปลี่ยนลําดับการสืบคนของ Operators จากการตั้ง
คาที่เลือกอัตโนมัติของฐานขอมูล
• ตัวอยางการใช rabies AND (dog OR cat)
25

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การเชื่อมคําคน (Combining Terms)
การเชื่อมคําคนดวยตรรกบูลลิน หรือ Operators
•AND คนหาทุกคํา
• ใชเพื่อกําหนดผลการสืบคนใหทุกคําตองพบอยูในเอกสารเดียวกัน
• การใช AND เพื่อทาใหผลการสืบคนแคบลง
• ตัวอยางเชน food AND nutrition
• ทั้งfood และ nutrition ตองพบอยูในบทความเดียวกัน

26

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การเชื่อมคําคน (Combining Terms)
•OR คนหาอยางนอยหนึ่งคํา
•ใชเพื่อกําหนดผลการสืบคนใหพบอยางนอยหนึ่งคํา
•การใช OR เพื่อทําใหผลการสืบคนกวางขึ้น
•ตัวอยางเชน heart OR cardiac heart cardiac คําใดคําหนึ่ง
ตองปรากฎอยูในบทความ

27

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การเชื่อมคําคน (Combining Terms)
•NOT ไมตองการสืบคนคํานี้ใชเพื่อกําหนดผลการสืบคนใหพบ
อยางนอยหนึ่งคํา
•ใชเพื่อกําหนดผลการสืบคน ไมใหพบคํานี้ปรากฎอยูใ นเอกสาร
•การใช NOT เพื่อทําใหผลการสืบคนแคบลง
•ตัวอยางการใช Rabies NOT dog
•rabies ซึ่งเปนคําแรกตองปรากฎในบทความแตคําที่สองคือ
dogs ตองไมปรากฎอยูในบทความ
28

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การเชื่อมคําคน (Combining Terms)
•NEAR/n ( approximately operator)
• การใช NEAR เพื่อกําหนดคําใหพบอยูใกลกันภายใน N คําหรือ
จํานวนคําที่กําหนด ทั้งนี้การใชตัวเชื่อม NEAR ใชไดกับบาง
ฐานขอมูลเทานั้น
• หากพิมพ NEAR โดยไมระบุคา N คาที่ไวอัตโนมัติของ NEAR อยูที่
NEAR/4
• ตัวอยางเชน : internet NEAR/3 media, nursing NEAR/3
education 29

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การจัดการผลการสืบคน (Manage your results)
การจัดผลการสืบคนอันไดแก ขอมูลบรรณานุกรม (Bibliographic
information) และเอกสารฉบับเต็ม (Full Text)
• การสั่งพิมพ (Printing)
• การบันทึกขอมูล (Saving)
• การอีเมล (Email)
• การนําขอมูลบรรณานุกรมออก (Exporting citation)
• โปรแกรม EndNote
• Text file
30

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การเขียนอางอิงบรรณานุกรม
APA 6th edition (American Psychological Association)
• เอกสารอางอิง (Reference)
• บรรณานุกรม (Bibliography)

31

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การอางอิง
• การกลาวถึง แหลงที่มาของขอมูล ที่ผูเขียนนํามาอางอิงในการเขียนเอกสารทาง
วิชาการ ทําใหผลงานเขียนเปนที่ยอมรับและนาเชื่อถือ และ
• แสดงถึงผลงานของผูเขียนวาไมไดขโมยความคิดหรือลอกเลียนขอมูลโดยไมมี
การอางอิง เปนการใหเกียรติผูเขียนคนเดิมซึ่งเปนผูเสนอผลงานไวกอนหนา
• โดยการนํารายชื่อเอกสารที่ผูเขียนนํามาอางอิง มารวบรวมไวอยางมีรูปแบบ
ตามกฎเกณฑที่กําหนดที่สวนทายของผลงานภายใตหัวขอ เอกสารอางอิง
• (References)
• หรือบรรณานุกรม (Bibliography)
32

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


ความแตกตางของเอกสารอางอิงกับบรรณานุกรม
• เอกสารอางอิง (References) การอางถึงงานหรือเอกสารของผูอื่นที่ ผูเขียน
ไดมีการนําเนื้อหา หรือขอมูลที่ผูเขียนงานไดคัดลอกความคิด ขอความ คําพูด
ขอคนพบ ฯลฯ มาเขียนสนับสนุนไวในเนื้อหาในงานของตน

• บรรณานุกรม (Bibliography) การอางถึงงานหรือเอกสารที่ผูเขียนงานไดใช


เปนพื้นฐานความคิด (for Background) ไมไดมีการนําขอมูลมาอางถึงโดยตรง
หรือเปนงานหรือที่เกี่ยวของกับเนื้อหา ซึ่งผูเขียนแนะนําสําหรับการอาน
เพิ่มเติม
33

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


ความแตกตางของเอกสารอางอิงกับบรรณานุกรม (ตอ)
• เอกสารอางอิง (References) จะพบไดในสวนเนื้อหาของเอกสาร
วิชาการ
• บรรณานุกรม (Bibliography) จะพบได้ในส่วนท้ายของเอกสารวิชาการ

34

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


APA (American Psychological Association)
• APA Style (6th edition)
• เปนรูปแบบการลงรายการทางบรรณานุกรมที่นิยมใชในทางดานจิตวิทยาและ
ดานการศึกษา
• มีขอกําหนดในการลงรายการบรรณานุกรมตามแหลงที่มาของเอกสารที่ใช
อางอิงดังนี้

35

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศที่นํามาอางอิง
• หนังสือฉบับพิมพ / วิทยานิพนธ / รายงานการวิจัย
• วารสารฉบับพิมพ
• Electronic Reference Web Site / e-Book / e-Journal
Article

36

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


หนังสือ/ วิทยานิพนธ / รายงานการวิจัย (ผูแตง 1 คน)
• ผูแตง.(ปพิมพ). ชื่อเรื่อง (พิมพครั้งที่:พิมพครั้งแรกไมตองระบุ). สถานที่
พิมพ:สํานักพิมพ.
• จุมพิต สายสุนทร. (2552). กฎหมายระหวางประเทศ (พิมพครั้งที่ 8 แกไข
เพิ่มเติม). กรุงเทพฯ: วิญูชน.
• Frank, H. A. (2005). An introduction to organizational behavior.
New York, NY: McGraw-Hill.
Han Aer Frank
ชื่อตน = Han ชื่อกลาง = Aer นามสกุล = Frank
37

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


หนังสือ/ วิทยานิพนธ / รายงานการวิจัย (ผูแตง 2 คน)
• ผูแตง1,และ & ผูแตง2. (ปพิมพ). ชื่อเรื่อง (พิมพครั้งที่:พิมพครั้งแรกไม
ตองระบุ). สถานที่พิมพ:สํานักพิมพ.

• จรรจา สุวรรณทัต และลัดดาวัลย เกษมเนตร. (2533). การอบรมเลี้ยงดู


เด็กไทย (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัย พฤติกรรมศาสตร
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
• Lock, R. E., & Wilson, L. (1992). Reference and information services
(3rd ed.). Colorado: Libraries Unlimited.
38

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


หนังสือ/ วิทยานิพนธ / รายงานการวิจัย (ผูแตง 3-7 คน)
• ผูแตง1,ผูแตง2,และ & ผูแตง3.(ปพิมพ). ชื่อเรื่อง (พิมพครั้งที:่
พิมพครั้งแรกไมตองระบุ). สถานที่พิมพ:สํานักพิมพ.

• จรรจา สุวรรณทัต, สาคร สามารถ, และลัดดาวัลย เกษมเนตร. (2533). การเลี้ยงดู


เด็กไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินท
รวิโรฒประสาน มิตร.
• Smith, T., Rana, R. S., Missiaen, P., Rose, K. D., Sahni, A., Singh, H., &
Singh, L. (2007). High bat (Chiroptera) diversity in the Early Eocene of
India. Naturwissenschaften, 94, 1003-1009.
39

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


หนังสือ/ วิทยานิพนธ / รายงานการวิจัย (ผูแตง 8 คน ขั้นไป)
• ผูแตง 1,ผูแตง 2,ผูแตง 3,ผูแตง 4,ผูแตง 5,ผูแตง 6, …ผูแตงคน
สุดทาย. (ปพิมพ). ชื่อเรื่อง (พิมพครั้งที่). สถานที่พิมพ: สํานักพิมพ.
• ปรีดา อุนเรือน, สมชาย ตระกูลกิจ, ไพบูลย ใจดี, วัฒนา เกียรติรัตน, สุวรรณ เปยมไสว
, วิไลพร คลองการเรียน, … บังอร กนกงาม. (2553). การจัดการระบบ
สารสนเทศสําหรับ CEO (พิมพครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ซีอีโอเพรส.

• Mercer, D. W., Kent, A., Nowicki, S. D., Mercer, D., Squier, D., Choi, W., …
Morgan, C. (2004). Beginning PHP5. Indianapolis, IN: Wiley.

40

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


หนังสือรวมเรื่อง มีชื่อ บรรณาธิการ
• ชื่อบรรณาธิการ. (บ.ก.).(ปพิมพ).ชื่อเรื่อง (พิมพครั้งที่).สถานที่
พิมพ:สํานักพิมพ.
• ไพฑูรย สินลารัตน, นพพร ศรีวรวิไล, และอัศวิน แสงพิกุล. (บ.ก.). (2552). การ
บริหารจัดการ แนวคิดและทางเลือกรวมสมัย. กรุงเทพฯ: ศูนยวิจัย
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย.
• Rayanakorn, K. (Ed.). (2011). Climate change challenges in the Mekong
Region. Chiang Mai: Chiang Mai University Press.

41

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


หนังสือแปล
• ชื่อผูแตงตนฉบับ.(ปพิมพ).ชื่อเรื่องภาษาไทย [ชื่อหนังสือตนฉบับ]
(พิมพครั้งที่) (ชื่อผูแปล, ผูแปล).สถานที่พิมพ:สํานักพิมพ.
• ฮอวคิง, เอส ดับบลิว. (2552). ประวัติยอของกาลเวลา ฉบับภาพประกอบ
[The illustrated: A brief history of time] (พิมพครั้งที่ 17) (ปย
บุตร บุรีคํา และอรรถกฤต ฉัตรภูมิ, ผูแปล). กรุงเทพฯ: มติชน.

• ออรเรลล, ดี. (2556). หัวใจเศรษฐศาสตร [Introducing economics] (ณัฏฐา


ภรณ เลียมจรัสกุล, ผูแปล). นครปฐม: มูลนิธิเด็ก
42

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


ผูแตงเปนสถาบัน หนวยงาน องคการ สมาคม ฯลฯ
• ชื่อเต็มของสถาบันหรือหนวยงาน.(ปพิมพ).ชื่อเรื่อง (พิมพครั้งที่).
สถานที่พิมพ:สํานักพิมพ.

• สํานักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ. (2543). ปราสาทพนมรุง


(พิมพครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.

• Institute of Financial Education. (1982). Managing personal


funds. Chicago: Midwestern.
43

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


หนังสือไมปรากฏชื่อผูแตง
ชื่อเรื่อง (พิมพครั้งที่).(ปพิมพ).สถานที่พิมพ: สํานักพิมพ.
ตัวเอน
หลากความคิด ชีวิตคนทํางาน. (2551). กรุงเทพฯ: แผนงานสุขภาวะ
องคกร ภาคเอกชน สานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริม
สุขภาพ.
Art of display: Culture shows. (2010). Hong Kong,
China: Links International.

44

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


อางอิงเฉพาะบทความหรือเรื่องในเลม
ชื่อผูแตงบทความ.(ปพิมพ).ชื่อบทความหรือบท.ใน
หรือ Inชื่อบรรณาธิการ (บ.ก. หรือ Ed.),ชื่อหนังสือ
(น.หรือ pp. เลขหนา).สถานที่พิมพ:สํานักพิมพ.
ณัฐพล ปญญโสภณ. (2554). มุมมองของนักศึกษานิเทศก. ใน ชนัญชี ภังคานนท (บ.ก.),
กระบวนทัศนมหาวิทยาลัย ไทยบนความทาทายของเอเชียแปซิฟก (น. 23-
24). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
Pepperberg, I. M. (2012). Symbolic communication in the grey parrot. In J.
Vonk & T. K. Shackelford (Eds.), The Oxford Handbook of
Comparative Evolutionary (pp. 297-319). New York: Oxford
45
University Press.
หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564
รายงานการวิจัย
ผูแตง.(ปพิมพ).ชื่อเรื่อง (รายงานการวิจัย).
สถานที่พิมพ:สํานักพิมพ.
พินิจ ทิพยมณี. (2553). การวิเคราะหปญหาทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการตาย
ของประเทศไทย (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจ
บัณฑิตย.
Chitnomrath, T. (2011). A study of factors regarding firm characteristics of
Thailand (Research report). Bangkok: Dhurakij Pundit University.
46

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


วิทยานิพนธ
ผูแตง.(ปพิมพ).ชื่อเรื่อง (ปริญญานิพนธดุษฎีบัณฑิต หรือ
Doctoral dissertation หรือ วิทยานิพนธ มหาบัณฑิต
หรือ master’s thesis),ชื่อสถาบัน,สถานที่พิมพ
ทิพวรรณ สุขรวย. (2558). สมรรถนะของนักวิชาชีพสารสนเทศในการปฏิบตั งิ านบริการสนับสนุนการ
วิจัยในหองสมุด มหาวิทยาลัยวิจัยไทย. (วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
สารสนเทศศึกษา). มหาวิทยาลัยเชียงใหม. เชียงใหม
Bailey, K. (2017). Developing Library Instruction to Support Students' Research and
Writing: Librarians and Professors Collaborating Together. (Ph.D.). University of
Calgary (Canada). Ann Arbor 47

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


48

วารสารฉบับพิมพ
วารสารอิเล็กทรอนิกส
หนังสือพิมพ
หนังสือพิมพอิเล็กทรอนิกส

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การอางอิงจากวารสารฉบับพิมพผูแตง 1 คน

ผูแตง.(ปพิมพ).ชื่อบทความ.ชือ่ วารสาร,ปที่(ฉบับที่),
เลขหนา. ตัวเอน ตัวเอน
ปยะวิทย ทิพรส. (2553). การจัดการปองกันและลดสารใหกลิ่นโคลนในผลิตภัณฑ
แปรรูปสัตวน้ํา. วารสารสุทธิปริทัศน, 24(72), 103-116.
Boey, K. M. (1998). Social network and the subjective wellbeing of the
elderly in Hong Kong. Asia Pacific Journal of Social Work, 8(2),
5-15.
49

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การอางอิงจากวารสารฉบับพิมพ ผูแตง 2-7 คน
ผูแตง 1,และ หรือ & ผูแตง 2. (ปพิมพ).ชื่อบทความ.
ชื่อวารสาร,ปที่(ฉบับที่),เลขหนา.
ปยะวิทย ทิพรส. และ ลําดวน ชอลดา. (2553). การจัดการปองกันและลดสารใหกลิ่น
โคลนในผลิตภัณฑแปรรูปสัตวน้ํา. วารสารสุทธิปริทัศน, 24(72), 103-116.
Wegener, D. T., & Petty, R. E. (1994). Mood management across affective
states: The hedonic contingency hypothesis. Journal of Personality
& Social Psychology, 66(2), 1034-1048.
50

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การอ้างอิงจากวารสารฉบับพิมพ์ ผู้แต่ง 8 คนขึน้ ไป

ผู้แต่ง 1,ผู้แต่ง 2,ผู้แต่ง 3,ผู้แต่ง 4,ผู้แต่ง 5,ผู้แต่ง


6, … ผู้แต่งคนสุดท้าย.(ปี พิมพ์).ชื่อบทความ.
ชือ่ วารสาร,ปี ที(่ ฉบับที)่ ,เลขหน้า.

Miller, F. H., Choi, M. J., Angeli, L. L., Harland, A. A., Stamos, J. A.,
Thomas, S. T., . . . Rubin, L. H. (2009). Website usability for the
blind and low-vision user. Technical Communication, 57(1), 323-
335.
51

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การอางอิงจากหนังสือพิมพฉบับพิมพ
ผูแตง  (ปพิมพ, วันที่ เดือน).ชื่อเรื่อง.ชื่อหนังสือพิมพ,
เลขหนา. ตัวเอน

ปยวรรณ ผลเจริญ. (2553, 21 สิงหาคม). เรียนรูนิคมจูลงสิงคโปรตอยอดแนวคิด


อุตฯ เชิงนิเวศไทย. มติชน, น.7.

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การอางอิงจากหนังสือพิมพอิเล็กทรอนิกส
ผูแตง  (ปพิมพ, วันที่ เดือน).ชื่อเรื่อง.ชื่อหนังสือพิมพ,
เลขหนา.สืบคนจาก http://xxx ตัวเอน

ปยวรรณ ผลเจริญ. (2553, 21 สิงหาคม). เรียนรูนิคมจูลงสิงคโปรตอยอดแนวคิด


อุตฯ เชิงนิเวศไทย. มติชน, น.7. สืบคนจาก https://www.matichon.
co.th/news-monitor/news_1742586

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


การอางอิงจากสารานุกรม
ผูแตง  (ปพิมพ).ชื่อหัวขอเรื่อง.ใน ชื่อสารานุกรม
(เลมx,น.x) ตัวเอน
วุฒิชัย มูลศิลป. (2549). กฎหมายตราสามดวง. ใน สารานุกรมประวัติศาสตร
ไทย (เลม 1, อักษร ก, น. 12-16)

Schneiderman, N. (2000). Coronary Heart Disease. In Encyclopedia of


Psychology (pp. 305—311). London, England: Search Press.

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


5
5

สื่ออิเล็กทรอนิกส

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


Web Site
ผู้แต่ง.(ปี พิมพ์).ชือ่ เรื่อง.สืบค้นจาก หรือ Retrieved
from http://xxx ตัวเอน

ทรงพันธ เจิมประยงค. (2556). มิติของหองสมุดกับการวิจัย. สืบคนจาก


http://www.car.chula.ac.th/con2013/media/resources/04-
libraryandresearch.pdf

Angeli, E., & Brizee, A. (2010). General format. Retrieved


from http://owl.english.purdue.edu/owl 56

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


e-Books
ผูแตง.(ปพิมพ).ชื่อหนังสือ. Retrieved from http://xxx
ตัวเอน

De Huff, E. W. (2011). Taytay’s tales: Traditional Pueblo Indian


tales. Retrieved from http://digital.library.upenn.edu/
women/de

57

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


e-Journal Article ตัวเอน ตัวเอน
ผูแตง.(ปพิมพ).ชื่อบทความ.ชือ่ วารสาร,ปที่(ฉบับที่).
Retrieved from http://xxx doi: xxxxxx

พูนทรัพย ผลาขจรศักดิ์. (2559). การตรวจหาหมูเลือดระบบ ABO, Rh และตรวจกรองแอนติบอดีตอหมู


เลือดระบบอื่นๆที่ไมใชหมูเลือดระบบ ABO ในหญิงฝากครรภ. The Journal of Associated
Medical Sciences, 52(2), 153-160. สืบคนจากhttps:// www.tci.php/bulletinAMS/
article/view/79942/68861 doi:10.14456/jams.2017.18
Buckingham, J. T. & Klein, W. M. P. (2011). The performance versus ability distinction
following social. An electronic journal. 63(4). Retrieved from
http://www.uiowa.edu/grpproc/crisp/crisp.html doi:10.1016/j.conb.2009.02.003

58
หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564
YouTube
ผู้แต่ง.(วัน เดือน ปี ).ชื่อหัวข้อเรื่อง [คําอธิบายเกีย่ วกับ
ข้อความ]. สืบค้นจาก http://xxx

ทิพวรรณ สุขรวย. (15 กรกฎาคม 2560). การสืบคนคา Impact factor จากฐานขอมูล


Web of Science [YouTube]. สืบคนจาก https://www.youtube.com/
watch?v=yd1towCjV2U

Sookruay, T. (2017, July 15). Web of Science Citation search Impact factor
search [YouTube]. Retrieved from https://www.youtube.com/watch?v=yd
1towCjV2U 59

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


สิทธิบัตร (Patents)
ผูถือลิขสิทธิ์.(ปที่จดสิทธิบัตร).หมายเลขประจําสิทธิบัตร.สถานที่,
หนวยงานที่รับผิดชอบการจดทะเบียนสิทธิบัตร

Smith, I. M. (1988). U.S. Patent No. 123,445. Washington, DC: U.S.


Patent and Trademark Office.

60

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


บทสัมภาษณ
นงนารถ ชัยรัตน. (2553, 10 กรกฎาคม). ผูอํานวยการสํานักหอสมุดกลาง [บท
สัมภาษณ].

Smith, M. B. (1989, August 12). Interview by C. A. Kiesler [Tape


recording]. President’s Oral History Project, American
Psychological Association. APA Archives, Washington, DC.

61

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศที่นํามาอางอิง
• หนังสือฉบับพิมพ / วิทยานิพนธ / รายงานการวิจัย
• วารสารฉบับพิมพ
• Electronic Reference Web Site / e-Book / e-Journal
Article

62

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


ที่มา:
• ทิพวรรณ สุขรวย. (2562). การเขียนอางอิงและบรรณานุกรม APA
6th edition (American Psychological Association) คณะ
เทคนิคการแพทย. มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

63

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564


“เอกสารนี้ใชเพื่อการเรียนการสอน
หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ เทานั้น”
ลิขสิทธิ์โดย
ฝายโลกศึกษาเพื่อพัฒนาสิ่งแวดลอม (GLOBE)
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

http://globethailand.ipst.ac.th/
essipst@gmail.com,
globeproject@ipst.ac.th

02 392 4021 µ‹Í 1121, 1124, 1128


65

หลักสูตรวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564

You might also like