You are on page 1of 177

1438

แนะนำบทบัญญัตติ ่ ำงๆ
ที่เกี่ยวข้ องกับผู้หญิงโดยเฉพำะ
] Thai – ไทย – ‫[ تايالندي‬

ชัยค์ ศอลิห์ บิน เฟำซำน อัล-เฟำซำน


แปลโดย ยูซฟุ อบูบกั รฺ , อารี ฟีน ยาชะรัด

ตรวจทานโดย ซุฟอัม อุษมาน


‫‪1438‬‬

‫تنبيهات ىلع أحاكم ختتص باملؤمنات‬


‫(باللغة اتلايالندية)‬

‫تأيلف ‪ :‬الشيخ صالح بن فوزان الفوزان‬

‫‪‬‬

‫ترمجة ‪ :‬يوسف أبوبكر‪ ،‬اعرفني ياجاراد‬

‫مراجعة ‪ :‬صايف عثمان‬


1

สำรบัญ

คำนำ ........................................................................................................6
บทที่ 1 บทบัญญัตทิ ่ วั ไป ......................................................................9
หนึง่ สถานภาพของสตรี ในยุคก่อนอิสลาม ............................. 9
สอง สถานภาพของสตรี ในอิสลาม ....................................... 11
สาม เป้าหมายของศัตรูตอ่ สตรี มสุ ลิม................................... 15
สี่ การทางานนอกบ้ านของผู้หญิง ........................................ 17
บทที่ 2 บัญญัตวิ ่ ำด้ วยกำรดูแลเรื อนร่ ำงของสตรี ........................18
หนึง่ ดูแลตัวเองตามฟิ ฏเราะฮฺ ............................................. 18
สอง ข้ อปฏิบตั เิ กี่ยวกับเส้ นผมและขน .................................. 19
บทที่ 3 บัญญัตวิ ่ ำด้ วยเลือดประจำเดือน เลือดเสีย และเลือด
หลังคลอด..............................................................................................30
หนึง่ เลือดประจาเดือน (หัยฎ์) ............................................. 30
สอง เลือดเสีย (อิสติหาเฎาะฮฺ) ............................................ 41
สาม เลือดหลังคลอดบุตร (นิฟาส) ....................................... 47
บทที่ 4 บัญญัตวิ ่ ำด้ วยอำภรณ์ และหิญำบ .....................................56
หนึง่ คุณสมบัตขิ องอาภรณ์สาหรับสตรี ผ้ ศู รัทธา ................... 56
สอง นิยามของหิญาบ พร้ อมหลักฐานและประโยชน์ ............. 58
บทที่ 5 บัญญัตวิ ่ ำด้ วยกำรละหมำดของผู้หญิง .............................63
2

บทที่ 6 บัญญัตวิ ่ ำด้ วยกำรจัดกำรศพของผู้หญิง ..........................79


1. สตรี จะต้ องอาบน ้าศพให้ กบั สตรี ...................................... 79
2. ส่งเสริมให้ ห่อศพสตรี ด้วยผ้ าสีขาวจานวน 5 ชิ ้น ................ 80
3. การจัดผมของศพผู้หญิง ................................................. 81
4. บทบัญญัตเิ กี่ยวกับการติดตามไปส่งศพสตรี .................... 81
5. ห้ ามสตรี มิให้ ไปเยี่ยมหลุมฝั งศพ ...................................... 82
6. ห้ ามไม่ให้ มีการร้ องราพันคร่ าครวญ ................................. 84
บทที่ 7 บัญญัตวิ ่ ำด้ วยกำรถือศีลอดของผู้หญิง ............................87
การถือศีลอดจาเป็ นแก่ผ้ ใู ด? ............................................... 88
ข้ อผ่อนปรนต่างๆ ในการถือศีลอดของผู้หญิง ....................... 89
บทที่ 8 บัญญัตวิ ่ ำด้ วยกำรประกอบพิธีหัจญ์ และอุมเรำะฮฺของ
ผู้หญิง ....................................................................................................95
1. มะห์ร็อม ........................................................................ 96
2. ได้ รับอนุญาตจากสามี .................................................... 98
3. การทาหัจญ์และอุมเราะฮฺแทนผู้ชาย ................................ 99
4. เลือดประจาเดือนและเลือดหลังการคลอด ..................... 100
5. สิ่งที่สตรี จะต้ องปฏิบตั ขิ ณะเข้ าพิธีหจั ญ์ ......................... 104
6. ชุดที่สวมใส่ในพิธีหจั ญ์และอุมเราะฮฺ .............................. 105
7. อาภรณ์ที่อนุโลมให้ สวมใส่ ............................................ 107
8. การกล่าวตัลบียะฮฺ ....................................................... 108
9. หลักปฏิบตั ใิ นการเฏาะวาฟเวียนรอบบัยตุลลอฮฺ ............. 108
10. เดินเฏาะวาฟและสะแอโดยไม่ต้องวิ่ง ........................... 110
3

11. พิธีกรรมหัจญ์ที่ผ้ มู ีประจาเดือนปฏิบตั ไิ ด้ และห้ ามปฏิบตั ิ 110


12. อนุโลมให้ สตรี ออกจากมุซดะลิฟะฮฺก่อน ....................... 116
13. การตัดผมของสตรี ...................................................... 117
14. การเปลื ้องอิห์รอมของสตรี ที่มีประจาเดือน ................... 119
15. มีประจาเดือนหลังจากเฏาะวาฟอิฟาเฎาะฮฺ ................. 119
16. การเยือนมัสญิดนะบะวีย์ ............................................ 121
บทที่ 9 บัญญัตวิ ่ ำด้ วยกำรเป็ นสำมีภรรยำ และกำรสิน้ สภำพ. 123
สภาพของสตรี ที่จะแต่งงานด้ วย ........................................ 130
วะลีย์ในการแต่งงาน ......................................................... 134
จาเป็ นต้ องมีวะลีย์หรื อผู้ปกครองของฝ่ ายหญิงในการแต่งงาน
และเหตุผลที่ต้องมีผ้ ปู กครอง ............................................ 134
การตีกลองเพื่อประกาศการแต่งงาน .................................. 135
ภรรยาต้ องเชื่อฟั งสามีและไม่อนุญาตให้ ฝ่าฝื น ................... 136
สิ่งที่สตรี ต้องปฏิบตั เิ มื่อสิ ้นสภาพจากการเป็ นภรรยา ........... 144
อิดดะฮฺมี 4 ประเภท.......................................................... 144
ข้ อห้ ามสาหรับสตรี ที่อยูใ่ นอิดดะฮฺ ..................................... 146
บทที่ 10 ว่ ำด้ วยกำรรั กษำเกียรติและควำมบริสุทธิ์ของสตรี .... 154
1. การลดสายตาและรักษาอวัยวะเพศเช่นเดียวกับผู้ชาย .... 154
2. การออกห่างจากการฟั งเพลงและดนตรี ......................... 157
3. การไม่อนุญาตให้ เดินทางโดยไม่มีมะห์ร็อม .................... 159
4. ห้ ามชายหญิงอยูก่ นั ตามลาพัง ...................................... 162
4

เพิ่มเติม : ห้ ามสตรี จบั มือกับผู้ชายที่ไม่ใช่มะห์ร็อม .............. 168


บทส่งท้ าย........................................................................ 171
5

หนังสือที่ประมวลบทบัญญัติต่ำงๆ ในอิสลำมที่เกี่ยวข้ องกับ


สตรี เ ป็ นกำรเฉพำะ รวบรวมประเด็ น ต่ ำงๆ โดยสั ง เขป
ประกอบด้ วยบทบั ญญั ติท่ ัวไป บั ญ ญั ติเกี่ยวกับ กำรตกแต่ ง
เรื อนร่ ำงของสตรี บัญญั ติเกี่ยวกับ เลือดประจำเดือน เลือด
เสี ย และเลื อดหลั งคลอด เสื อ้ ผ้ ำ และหิญ ำบ กำรละหมำด
กำรจัดกำรศพ กำรถือศีลอด กำรประกอบพิธีหัจญ์ และอุ ม
เรำะฮฺ กำรเป็ นสำมีภรรยำและกำรสิน้ สุดระหว่ ำงกัน บัญญัติ
ต่ ำงๆ ที่ จะปกป้ องรั ก ษำเกี ยรติ ศั ก ดิ์ ศ รี และควำมบริ สุท ธิ์
ของสตรี
6

คำนำ

ด้วยพระนามของอัลลอฮฺผู้ทรงกรุณาปรานี ผู้ทรงเมตตาเสมอ

การสรรเสริ ญทังมวลเป็
้ นสิทธิของอัลลอฮฺ ผู้ทรงสร้ างสรรพ
สิ่ง แล้ วชี ้นาทาง และทรงสร้ างคูค่ รองที่มาจากผู้ชายและผู้หญิง มา
จากน ้าอสุจิเมื่อมันถูกหลัง่ ออกมา ฉันขอปฏิญาณว่าไม่มีพระเจ้ า ที่
ถูกเคารพภักดีอย่างแท้ จริ ง นอกจากอัลลอฮฺเพียงองค์เดียวเท่านัน้
ไม่มี ภ าคีอันใดสาหรับพระองค์ สาหรับพระองค์เท่านัน้ ที่ ฉันมอบ
การสรรเสริ ญทังโลกนี
้ ้และโลกหน้ า และฉันขอปฏิญาณว่ามุหมั มัด
เป็ นบ่าวและศาสนทูตของพระองค์ ผู้ซึ่งถูกนาพาขึน้ ไปสู่ฟ ากฟ้ า
แล้ วได้ เห็นสัญ ญาณต่างๆ อัน ยิ่งใหญ่ ของพระผู้อภิ บาลของเขา
ความจ าเริ ญ และความศานติจ งมี แด่ท่าน วงศาคณาญาติ และ
เหล่าสาวกของท่านทุกคน
อนึ่ง เมื่อสถานภาพของสตรี มุสลิ ม ในอิสลามนัน้ มี ความ
สูงส่ง และเธอก็ มี ภ ารกิ จ ส าคัญ หลายประการ และท่านเราะสูล
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ก็ ได้ มีคาชีแ้ นะต่างๆ แก่บรรดาสตรี
เป็ นการเฉพาะ ท่านได้ สงั่ เสียให้ ดแู ลพวกเธอในคุฎบะฮฺของท่าน ณ
ทุ่งอะเราะฟาต ซึ่งเป็ นหลักฐานที่บ่งชี ถ้ ึงความจาเป็ นที่ต้องเอาใจ
7

ใส่ตอ่ พวกเธอในทุกสมัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคปั จจุบนั ซึ่งสตรี ผ้ ู


ศรัทธาตกเป็ นเป้าหมายเฉพาะในการรุ กราน เพื่อต้ องการทาลาย
เกี ยรติและศักดิ์ศรี ของเธอ และดึงสถานภาพอันสูงส่งของเธอให้
ต่าลง ดังนันจ ้ าเป็ นอย่างยิ่งที่ ให้ เธอตระหนักต่ออันตราย และต้ อง
นาเสนอแนวทางรอดพ้ นให้ แก่เธอ
ข้ าพเจ้ าหวังว่าหนังสือเล่มนีจ้ ะเป็ นส่วนหนึ่งในภารกิจนี ้
ซึ่ ง ได้ ป ระมวลบทบัญ ญั ติ ต่ า งๆ ที่ เกี่ ย วกับ สตรี เป็ นการเฉพาะ
ถึงแม้ ว่าจะเป็ นการมีส่วนร่ วมเพียงเล็กน้ อย แต่มนั ก็เป็ นการทุ่มเท
อย่างที่สุดเท่าที่ได้ แล้ ว และข้ าพเจ้ าหวังว่าอัลลอฮฺจะทรงทาให้ มนั
เกิ ด ประโยชน์ ต ามปริ ม าณของมัน และเป็ นก้ าวแรกของภารกิ จ
ดังกล่าว โดยหวังว่าในอนาคตจะมีก้าวอื่นๆ ที่จะมาเติม เต็ม ให้ มี
ความครอบคลุมและสมบูรณ์มากยิ่งขึ ้น
และสิ่ ง ที่ ข้ าพเจ้ าจะน าเสนอในช่ ว งเวลาอั น รี บ เร่ ง นี ้
ประกอบด้ วย
บทที่ 1 บทบัญญัตทิ วั่ ไป
บทที่ 2 บทบัญญัตเิ กี่ยวกับการตกแต่งเรื อนร่างของสตรี
บทที่ 3 บทบัญญัติเกี่ยวกับเลือดประจาเดือน เลือดเสีย
และเลือดหลังคลอด
บทที่ 4 บทบัญญัตเิ กี่ยวกับเสื ้อผ้ าและหิญาบ
บทที่ 5 บทบัญญัตเิ กี่ยวกับการละหมาดของสตรี
บทที่ 6 บทบัญญัตเิ กี่ยวกับการจัดการศพของสตรี
8

บทที่ 7 บทบัญญัตเิ กี่ยวกับการถือศีลอดของสตรี


บทที่ 8 บทบัญ ญั ติ เกี่ ย วกับ การประกอบพิ ธี หัจ ญ์ แ ละ
อุมเราะฮฺของสตรี
บทที่ 9 บทบัญ ญัติเกี่ ยวกับการเป็ นสามีภรรยา และการ
สิ ้นสุดระหว่างกัน
บทที่ 10 บทบั ญ ญั ติ ต่ า งๆ ที่ จ ะปกป้ องรั ก ษาเกี ย รติ
ศักดิศ์ รี และความบริ สทุ ธิ์ของสตรี
ผู้เขียน
9

บทที่ 1
บทบัญญัตทิ ่ วั ไป

หนึ่ง สถำนภำพของสตรี ในยุคก่ อนอิสลำม


“ยุ ค ก่ อ น อิ ส ล า ม ” ห ม า ย ถึ ง ยุ ค ส มั ย อ น า รย ช น
(ญาฮิ ลี ย ะฮฺ ) ซึ่ง เป็ นยุค การด าเนิ น ชี วิต ของชาวอาหรั บ เป็ นการ
เฉพาะ และการใช้ ชีวิตโดยทัว่ ไปของชนอื่นๆ โดยที่ผ้ คู นทังหลายอยู
้ ่
ในยุค สมัย ที่ ข าดช่วงจากบรรดาศาสนทูต และอยู่ในยุค อวิ ช ชา
อัลลอฮฺได้ มองมายังพวกเขา –ดังที่มีปรากฏในหะดีษ- แล้ วทรงกริ ว้
โกรธพวกเขา ทัง้ ที่เป็ นชาวอาหรับและไม่ใช่ชาวอาหรับ นอกจาก
ชาวคัมภีร์ที่ยงั หลงเหลืออยู่ และในเวลานันสตรี ้ ส่วนใหญ่จะอยู่ใน
ภาวะลาบาก แร้ นแค้ น -โดยเฉพาะในสังคมชาวอาหรับ - พวกเขา
รังเกียจที่จะได้ บตุ รสาว และบางคนจะฝั งบุตรสาวทังเป็ ้ น หรื อบาง
คนจะทอดทิ ้งให้ เธอใช้ ชีวิตอย่างต่าต้ อย ไร้ เกียรติ ดังที่อลั ลอฮฺตรัส
ว่า
َ‫أ‬ ُ‫أ‬ َ ُّ َ
‫ َي َت َو ى َر ى‬٥٨ ‫نث َظل َو أج ُه ُهۥ ُم أس َو ّدا َو ُه َو َكظِيم‬
‫ى م َِن ٱلق أو ِم مِن‬ ‫ش أ َح ُد ُهم بِٱۡل َ ى‬
َ ِ ‫﴿ ِإَوذا ب‬
َ ُ ‫َأ‬ ٓ َ َ ُ َُ ‫أ‬ َ َ
ُ ‫ُ ٓ ِ َ ُ ّ َ ٓ ُ أ ُ ُ َ َى‬
﴾ ٥٩ ‫اب أل َسا َء َما َيك ُمون‬ َ
ِ ‫َع هون أم يدسهۥ ِف ٱلُّت‬ ‫سوء ما ب ِش بِهِۦ أيمسِكهۥ‬
]٥٩ -٥٨ :‫[انلحل‬
 10 

ความว่ า “และเมื่ อ คนหนึ่ ง ในหมู่ พ วกเขาได้ รั บ แจ้ งข่ า วว่ า ได้


ลูกผู้หญิ ง ใบหน้ าของพวกเขากลายเป็ นหมองคลา้ และเศร้ าสลด
เขาจะหลบหน้ าจากกลุ่มชน อันเนื่องจากความอับอายที่เขาได้ รับ
การแจ้ ง ข่า วร้ าย และครุ่ น คิด ว่า เขาจะเก็ บ ลูก สาวไว้ ด้ ว ยความ
อัปยศหรื อจะฝั งเธอไว้ ใต้ ดนิ พึงรู้เถิดว่าสิ่งที่พวกเขาตัดสินนันมั
้ นชัว่
ร้ ายยิ่ง” (อัน-นะห์ลฺ : 58-59)

และพระองค์ตรัสอีกว่า
َ ُ‫َ أَأ‬
‫ۥدةُ ُسئلَ أ‬
]٨ :‫ ﴾ [اتلكوير‬٨ ‫ت‬ ِ ‫﴿ ِإَوذا ٱلموء‬
ความว่า “และเมื่อทารกหญิ งที่ถูกฝั งทังเป็
้ นถูกถาม ด้ วยความผิด
อันใดเล่าเธอจึงถูกฆ่า” (อัต-ตักวีร : 8-9)

คาว่า “อัล-เมาอูดะฮฺ” หมายถึง เด็กผู้หญิงที่ถกู ฝั งในดินทัง้


เป็ นจนกระทั่งเสียชีวิต และเมื่อเธอรอดพ้ นจากจากการฝั ง และมี
ชีวิตอยู่ เธอก็จะใช้ ชีวิตอย่างไร้ เกียรติ ไม่มีสิทธิ์ได้ รับมรดกของญาติ
ที่ใกล้ ชิด ถึงแม้ ว่าเขาจะมีทรัพย์สมบัติมากมายเพียงใดก็ตาม และ
ถึง แม้ ว่า เธอจะทนทุกข์ ทรมานอันเนื่ องจากความยากจน เพราะ
พวกเขาจะแบ่ ง มรดกให้ เฉพาะผู้ ชายเท่ า นั น้ มิ ห น าซ า้ เธอจะ
กลายเป็ นมรดกเมื่ อ สามี ได้ เสี ย ชี วิ ต ลง เสมื อ นกับ ว่า เธอเป็ นดัง
ทรัพย์สินของสามี
 11 

สตรี จานวนมากตกอยู่ภายใต้ กรรมสิทธิ์ ของสามี คนเดียว


โดยที่พวกเขาสามารถมีภรรยาจานวนกี่คนก็ได้ ไม่จากัด และไม่ได้
เอาใจใส่ ต่ อ ความล าบากยากแค้ น ความคับ อกคับ ใจ ความ
ปวดร้ าว และความอธรรมอันจะเกิดขึ ้นกับบรรดาสตรี เพศ

สอง สถำนภำพของสตรีในอิสลำม
อิส ลามได้ ขจัดความอธรรมต่างๆ เหล่านัน้ ออกจากสตรี
และคืนความเป็ นมนุษย์แก่เธอ โดยที่อลั ลอฮฺตรัสได้ วา่
ُ َ ُ ‫َ َأ َى‬
‫كم ّمِن َذكر َوأ َ ى‬
]١٣ :‫نث ﴾ [احلجرات‬ ُ ‫ي َأي َها ٱنل‬
‫اس إِنا خلقن‬ َٰٓ َ ﴿
ความว่า “โอ้ มวลมนุษยชาติทงั ้ หลาย แท้ จริ งเราได้ สร้ างพวกเจ้ า
จากเพศชายและเพศหญิง” (อัล-หุญรุ อต : 13)

ในโองการนี ้ อัลลอฮฺได้ บอกว่าเธอให้ มีความเท่าเทียมกับ


บุรุษเพศในความเป็ นมนุษย์ เช่นเดียวกับที่เธอมีความเท่าเทียมกัน
ในการได้ รับภาคผลบุญหรื อบทลงโทษต่อการประพฤติปฏิบตั ิ
พระองค์ยงั ตรัสอีกว่า
َ ََ ‫ّ َ َ َأ ُ َى ُ أ‬ َ َ
‫نث َوه َو ُمؤمِن فل ُن أحيِيَن ُهۥ َح َي ىوة َط ّي ِ َبة َونلَ أجزِ َين ُه أم‬ ‫﴿ َم أن َع ِمل صىل ِحا مِن ذكر أو أ‬
َ ُ ُ َ َ ُ َ
]٩٧ :‫ ﴾ [انلحل‬٩٧ ‫أ أج َرهم بِأ أح َس ِن َما َكنوا َي أع َملون‬
ความว่า “ผู้ใดปฏิบัติความดี ไม่ว่าจะเป็ นผู้ชายหรื อผู้หญิ งก็ตาม
ในขณะที่เขาเป็ นผู้ศรัทธา ดังนันเราจะให้
้ เขามีชีวิตที่ดี และแน่นอน
เราจะตอบแทนพวกเขาด้ วยรางวัลที่ดียิ่งสาหรับภาคผลของการที่
พวกเขาได้ เคยปฏิบตั ไิ ว้ ” (อัน-นะห์ลฺ : 97)
 12 

และอัลลอฮฺยงั ตรัสอีกว่า
َ ‫َ َ أُ أ‬ ‫ُّ َ ّ َ ُ أُ َى َ َ أُ َى َى َ أُ أ‬
ِ ‫شك ى‬
]٧٣ : ‫ت﴾ [األحزاب‬ ِ ‫شك ِي وٱلم‬
ِ ‫ت وٱلم‬ ِ ‫﴿ ِّلعذِب ٱّلل ٱلمنفِقِي وٱلمنفِق‬
ความว่า “เพื่ อ อัล ลอฮฺ นัน้ จะทรงลงโทษบรรดามุน าฟิ กชายและ
หญิ ง และจะทรงลงโทษบรรดาผู้ ตัง้ ภาคี ช ายและหญิ ง ” (อัล -
อะห์ซาบ : 73)

และอัล ลอฮฺ ได้ ห้ามเอาสตรี มาเป็ นส่วนหนึ่งของมรดกใน


กรณีที่สามีได้ เสียชีวิตลง อัลลอฮฺตรัสว่า
َ ٓ ّ ُ َ َ ُ َ َ َ َ َ
]١٩ : ‫ِين َء َام ُنوا ل َيِل لك أم أن ت ِرثوا ٱلن َِسا َء ك أرها ﴾ [النساء‬
َ ‫يأي َها ٱَّل‬
َٰٓ ﴿
ความว่า “โอ้ บรรดาผู้ศรัทธาทังหลาย
้ ไม่เป็ นการอนุมตั ิแก่พวกเจ้ า
ในการที่จะเอาบรรดาสตรี มาเป็ นมรดกด้ วยการบังคับ” (อัน-นิสาอ์ :
19)

อิ ส ลามได้ ประกั น ความเป็ นอิ ส รภาพของสตรี โดย


กาหนดให้ เธอมีสิทธิในมรดก โดยไม่ต้องตกเป็ นมรดกเสียเองเฉก
เช่ น ในอดี ต และได้ ก าหนดให้ สตรี เ ป็ นผู้ มี สิ ท ธิ์ ไ ด้ รั บ มรดกใน
ทรัพย์สินของญาติผ้ ใู กล้ ชิดของเธอด้ วย พระองค์ได้ ตรัสว่า
َ َ‫ّ ََ َ أ‬ َ ٓ َ ّ َ َ ُ َ ‫ّ َ َ َ أ َى َ َ أ َأ‬ َ َ ّ ّ
ِ ‫ان وٱۡلقربون ول ِلن ِسا ِء ن ِصيب مِما ترك ٱلو ى ِِل‬
‫ان‬ ِ ‫ال ن ِصيب مِما ترك ٱلو ِِل‬ ِ ‫ِلرج‬
ِ ‫﴿ل‬
‫أ‬ َ
َ َُ َ ‫َ أُ أ‬ َ ‫أ َأ‬
]٧ : ‫ ﴾ [النساء‬٧ ‫ث ن ِصيبا مف ُروضا‬ ‫َوٱۡلق َر ُبون مِما قل مِنه أو ك‬
 13 

ความว่า “สาหรับผู้ช ายนัน้ มี ส่วนแบ่งจากสิ่ งที่ พ่อแม่และบรรดา


ญาติใกล้ ชิดได้ ทิ ้งไว้ และสาหรับผู้หญิงนันก็
้ มีส่วนแบ่งจากสิ่งที่พ่อ
แม่และบรรดาญาติใกล้ ชิด ได้ ทิง้ ไว้ ซึ่งสิ่งนันจะมี
้ จานวนน้ อยหรื อ
มากก็ตาม เป็ นส่วนแบ่งที่ถกู กาหนดอัตราส่วนไว้ แล้ ว” (อัน-นิสาอ์ :
7)

และอัลลอฮฺได้ ตรัสว่า
َ َ ٓ ُ َ ‫أُ َ ّ أ ُ ََأ‬ َ ‫َأ َ ُ أ‬ ُ ُ ُ ُ
‫ين فإ ِ ن كن ن َِسا ء ف أوق‬ِ ‫﴿ يوصِ يكم ٱ ّلل ِ ٓف أ و ىل ِد كم ل ِذل ك ِر مِثل ح ِظ ٱ ۡل نثي‬
ُ ََ ‫ٱثأنَ َت أي فَلَ ُهن ثُلُ َثا َما تَ َر َك ِإَون ََكنَ أ‬
]١١ : ‫ت َوىح َِدة فل َها ٱنلّ أِصف﴾ [النساء‬ ِ
“อัล ลอฮฺ ไ ด้ ท รงสั่ง เสี ย พวกเจ้ าไว้ เกี่ ย วกับ ลูก ๆ ของพวกเจ้ า ว่ า
สาหรับผู้ชายนันมี ้ สิทธิ์ ได้ รับเท่ากับส่วนแบ่งของผู้หญิ งสองคน แต่
หากลูกๆ เป็ นผู้หญิ ง สองคนขึน้ ไป พวกเธอก็จะได้ รับสองในสาม
จากสิ่งที่ เขาได้ ทิง้ ไว้ และถ้ าลูกเป็ นผู้หญิ งคนเดียว เธอก็จะได้ รับ
ครึ่งหนึง่ ...” (อัน-นิสาอ์ : 11)

รวมถึงอายะฮฺ อื่นๆ ที่ กล่าวถึงบทบัญ ญัติเกี่ ยวกับการให้


สตรี มี สิ ท ธิ์ ไ ด้ รั บ มรดก ไม่ ว่ า จะเป็ นมารดา ลู ก ผู้ หญิ ง พี่ ส าว
น้ องสาวและภรรยา
ส่ ว นในด้ านการเป็ นสามี ภ รรยานัน้ อัล ลอฮฺ ได้ จ ากัด ให้
ผู้ชายมีภรรยาไม่เกิน 4 คน (ในเวลาเดียวกัน) โดยมีเงื่อนไขให้ ดารง
 14 

ไว้ ซึ่งความยุติธรรมที่มี ความสามารถระหว่างบรรดาภรรยา และ


ทรงกาหนดให้ อยูร่ ่วมกับพวกเธอด้ วยดี ดังที่พระองค์ตรัสว่า
‫أ أ‬ ُ ُ َ َ
‫ِشوهن بِٱل َمع ُر ِ ن‬
]١٩ : ‫وف﴾ [النساء‬ ِ ‫﴿وَع‬
ความว่า “และพวกเจ้ าจงอยู่ร่วมกับพวกเธอด้ วยดี ” (อัน-นิสาอ์ :
19)

และพระองค์ได้ ทรงกาหนดให้ สินสอด (เศาะดาก) เป็ นสิทธิ


ของผู้หญิง และได้ สงั่ ใช้ ให้ มอบแก่เธออย่างครบถ้ วนตามที่ได้ ตกลง
กันไว้ ยกเว้ นในกรณีที่เธอจะสละสิทธิ์ด้วยความยินดี ซึง่ พระองค์ได้
ตรัสไว้ วา่
ٓ َ ُُ َ ‫َأ‬ ُ َ َ‫أ‬
‫ك أم َعن َ أ‬ َ َ‫أ‬ َ ٓ ّ ُ
‫َشء ّم أِن ُه نفسا فُكوهُ هن ِيا‬ ‫﴿ َو َءاتوا ٱلن َِسا َء َص ُدقىت ِ ِهن ِِنلة فإِن طِب ل‬
ٓ
]٤ : ‫ ﴾ [النساء‬٤ ‫مرِيا‬
ความว่า “และจงให้ แก่บรรดาสตรี ซึ่งสินสอดของพวกเธอด้ วยความ
เต็มใจ แต่ถ้าเธอเห็นชอบที่จะให้ สิ่งหนึ่งแก่พวกเจ้ าจากสินสอดนัน้
แล้ ว ก็จงบริโภคสิ่งนันโดยสะดวกและส
้ าราญใจ” (อัน-นิสาอ์ : 4)

อัลลอฮฺได้ บญ
ั ญัติให้ ภรรยาเป็ นผู้ดแู ลบ้ านของสามี เป็ นผู้
อบรมขั ด เกลาบรรดาลู ก ๆ ท่ า นเราะสู ล ศ็ อ ลลั ล ลอฮุ อ ะลั ย ฮิ
วะสัลลัม กล่าวว่า
َ َ
»‫ت َز ْو ِج َها َو َم ْسئولة ع ْن َر ِعيَّ ِت َها‬ َْ َ َ َْ َْ
ِ ‫« َوالمرأة را ِعية ِيف بي‬
 15 

"และสตรี นัน้ เป็ นผู้ดูแ ลภายในบ้ า นของสามี และเธอจะต้ อ งถูก


สอบสวนต่อ ผู้ที่ อ ยู่ในการดูแ ลของเธอ” (บัน ทึ ก โดยอัล -บุค อรี ย์
5200 มุสลิม 4701 อบู ดาวูด 2928 และอัต-ติรมิซีย์ 1705)
และพระองค์ ไ ด้ บัญ ญั ติ ใ ห้ สามี จ่ า ยค่ า เลี ย้ งดู และค่ า
เสื ้อผ้ าอาภรณ์แก่ภรรยาด้ วยดี เหมาะสมตามจารี ตประเพณี

สำม เป้ำหมำยของศัตรู ต่อสตรีมุสลิม


เป้าหมายของศัตรูและผู้ที่เห็นพ้ องกับพวกเขา คือต้ องการ
ที่จะให้ สตรี สลัดเกียรติ ศักดิศ์ รี และภารกิจของเธอ
แท้ จ ริ งศัตรู ข องอิ ส ลาม – ทว่า ที่ จ ริ ง ทุก วัน นี พ้ วกเขาคื อ
ศัตรู กับความเป็ นมนุษย์ ด้วยซ า้ ซึ่งประกอบด้ วยบรรดาผู้ปฏิ เสธ
บรรดาผู้ก ลับ กลอก และบรรดาผู้ที่ หัวใจมี โรค- พวกเขามี ค วาม
เคียดแค้ น ที่เห็นสตรี มุส ลิมดารงตนอยู่ในเกี ยรติ และศักดิ์ศรี และ
ได้ รับการปกป้องให้ ปลอดภัยในอิสลาม เพราะว่าพวกเขาต้ องการ
ใช้ สตรี เป็ นเครื่ องมือในการทาลายอิสลาม และใช้ พวกเธอเป็ นกับ
ดักเพื่อล่อลวงผู้ที่มีศรัทธาอ่อนและผู้ที่มีอารมณ์เบี่ยงเบน หลังจาก
ที่ ปล่อยให้ พวกเขาใช้ อารมณ์ ปรารถนาให้ อิ่มหนาสาราญจากตัว
ของพวกเธอแล้ ว ดังที่อลั ลอฮฺได้ ตรัสไว้ วา่
ً ُ َ َ ََ َ
]٢٧ : ‫ ﴾ [النساء‬٢٧ ‫ت أن ت ِميلوا َم أيل َعظِيما‬
ِ ‫ِين يَتب ِ ُعون ٱلشهو ى‬ ُ ‫﴿ َو ُير‬
َ ‫يد ٱَّل‬
ِ
ความว่า “และบรรดาผู้ที่ปฏิบตั ิตามอารมณ์ใฝ่ ต่านัน้ ต้ องการที่จะ
ให้ พวกเจ้ าหันเหจากแนวทางอันเที่ยงตรงให้ มาก” (อัน-นิสาอ์ : 27)
 16 

และมุส ลิ ม บางคนที่ หัวใจมี โรค เขาต้ อ งการให้ ส ตรี เป็ น


สินค้ าแก่บรรดาผู้ที่จมปลักอยู่ในอารมณ์ ใฝ่ ต่า และในการล่อลวง
ของชัยฏอนมารร้ าย เป็ นสินค้ าที่ถกู นามาแสดงต่อหน้ าสาธารณชน
ซึ่ง พวกเขาจะเพลิ ด เพลิ น ในความสวยงามจากเรื อนร่ างของเธอ
หรื อยังเลยเถิดไปสูส่ ิ่งที่เลวร้ ายกว่านัน้
และด้ วยเหตุดงั กล่าว พวกเขาจึงยุยงให้ สตรี ออกจากบ้ าน
เพื่อให้ ไปร่วมทางานปะปนกับผู้ชาย เป็ นพยาบาลคอยปรนนิบตั ิรับ
ใช้ พวกผู้ชายในโรงพยาบาล เป็ นพนักงานบริ การแขกบนเครื่ องบิน
เป็ นนักศึกษาหรื อเป็ นอาจารย์ในชันเรี ้ ยนที่มีการปะปนระหว่างชาย
และหญิ ง เป็ นนัก แสดง นัก ร้ อง หรื อ เป็ นฝ่ ายประชาสัม พัน ธ์ ใน
องค์ ก รต่ า งๆ โดยอวดโฉม ยั่ว ยวนด้ ว ยกั บ น า้ เสี ย งและรู ป ร่ า ง
หน้ าตา
สื่ อสิ่ งพิ ม พ์ ต่างๆ ได้ เอารู ป หญิ งสาวที่ ยั่วยวน แต่งตัวโป๊
เปลือยมาขึ ้นปกเพื่อเป็ นสื่อสาหรับการโฆษณาสินค้ า นักธุรกิจ และ
พ่อค้ าบางคน ได้ ยึดเอาภาพเหล่านีเ้ พื่อมากระตุ้นสินค้ าให้ มียอด
จาหน่ายเพิ่มขึ ้น โดยที่เอารูปภาพต่างๆ มาวางโฆษณาไว้ บนสินค้ า
และผลิตภัณฑ์ของพวกเขา
และจากแนวทางที่ ผิดพลาดเหล่านี ้ ทาให้ สตรี ละทิ ้งหน้ าที่
หลัก ภายในบ้ า นของเธอ ซึ่ง เป็ นเหตุให้ ส ามี ต้ องไปเอาคนรั บ ใช้
ต่างศาสนิกหรื อต่างชาติมาเลีย้ งดูบุตร (หมายถึงตามที่เป็ นความ
 17 

นิยมของสังคมในประเทศอาหรับส่วนใหญ่ – บรรณาธิการ) และมา


จัดระเบียบดูแลบ้ านของพวกเขาแทน เป็ นสาเหตุที่ทาให้ เกิดความ
วุน่ วายเป็ นอย่างมาก และทาให้ เกิดความเลวร้ ายหลายประการ
สี่ กำรทำงำนนอกบ้ ำนของผู้หญิง
อนุญ าตให้ ผู้ห ญิ ง ท างานนอกบ้ า นได้ หากปฏิ บัติ ต าม
เงื่อนไขต่อไปนี ้
1. เธอมี ค วามจ าเป็ นต้ อ งท างานดัง กล่ า ว หรื อ สัง คมมี
ความจาเป็ นต้ องพึง่ เธอ เนื่องจากหาผู้ชายทางานนันไม่ ้ ได้
2. งานนันจะต้
้ องเป็ นงานรอง หลังจากที่เธอได้ ปฏิบตั ิงาน
หลักที่บ้านเรี ยบร้ อยแล้ ว
3. งานนันจะต้
้ องอยูใ่ นแวดวงของสตรี เช่น การสอนผู้หญิง
การรักษาหรื อการปฐมพยาบาลผู้หญิงด้ วยกัน โดยไม่ได้ ปะปนกับ
ผู้ชาย
4. และเช่ น เดี ย วกั น ไม่ มี ข้ อห้ ามอัน ใดที่ เธอจะออกไป
ศึ ก ษาเล่ า เรี ย น ทว่ า เป็ นความจ าเป็ นต่ อ สตรี ที่ จ ะต้ องเรี ย นรู้
เรื่ องราวศาสนา และไม่มี ข้อห้ ามอันใดในการที่ เธอจะไปสอนใน
เรื่ องราวศาสนาซึ่งมีความจาเป็ น โดยการเรี ยนการสอนนันต้ ้ องไม่
ปะปนกับ ผู้ช าย และไม่ เป็ นไรที่ เธอจะเข้ าไปเรี ย นรู้ ที่ มัสยิ ด และ
สถานที่อื่นๆ โดยที่เธอแต่งกายมิดชิดและแยกจากผู้ชาย ดังเช่นกุล
สตรี ในยุคแรกของอิสลามได้ ประพฤติเอาไว้ ซึ่งพวกเธอก็ทางาน ร่ า
เรี ยน และไปมัสญิดเช่นกัน
 18 

บทที่ 2
บัญญัตวิ ่ ำด้ วยกำรดูแลเรือนร่ ำงของสตรี

หนึ่ง ดูแลตัวเองตำมฟิ ฏเรำะฮฺ


สตรี ต้องดูแลตัวเองตามกมลสันดานที่เรี ยกว่า ฟิ ฏเราะฮฺ ที่
เหมาะสมและเจาะจงเฉพาะกับเธอ อาทิเช่น การตัดและการดูแล
เล็บ เพราะการตัดเล็บเป็ นจริยวัตร (แบบอย่างสุนนะฮฺของท่านเราะ
สูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ตามมติเอกฉันท์ของบรรดาปวง
ปราชญ์ ดังที่มีปรากฏอยู่ในคาสอนของท่าน เพราะการตัดเล็บเป็ น
การทาความสะอาดและตกแต่งให้ สวยงาม ถ้ าปล่อยให้ เล็บยาวจะ
ทาให้ เกิดความภาพลักษณ์ที่ไม่น่าดู เป็ นเหมือนสัตว์เดรัจฉาน ทา
ให้ เกิดการสะสมของสิ่งสกปรก น ้าไม่สามารถเข้ าไปได้ อย่างทัว่ ถึง
สตรี บางคนไว้ เล็บยาวเพราะเลียนแบบต่างศาสนิกและไม่เข้ าใจใน
แบบอย่างของท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
ยังมีสุนนะฮฺอื่นๆ ให้ สตรี ปฏิบตั ิด้วย เช่น การขจัดขนรักแร้
ขนในที่ลบั ตามที่มีปรากฏในหะดีษของท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุ
อะลัยฮิ วะสัล ลัม ซึ่งถื อว่าเป็ นการดูแลตนเองให้ สวยงามอี กด้ วย
และทางที่ดีควรขจัดขนดังกล่าวทุกๆ สัปดาห์ หรื อไม่ก็อย่าปล่อยให้
มันล่วงเลยไปมากกว่าสี่สิบวัน
 19 

สอง ข้ อปฏิบัตเิ กี่ยวกับเส้ นผมและขน


ก. สตรี ต้ องไว้ ผม และไม่ อนุ ญ ำตให้ โกนผม ยกเว้ น
กรณีท่ มี ีควำมจำเป็ น
ท่านชัยค์ มุหัม มัด บิน อิบ รอฮี ม อาล อัช -ชัย ค์ มุฟ ตีแห่ง
ราชอาณาจักรซาอุดิอาระเบีย กล่าวว่าไม่อนุญ าตให้ โกนผมของ
ผู้หญิ ง เพราะมี หะดีษ จากอะลี ซึ่ง บันทึกโดยอิม ามอัน -นะสาอี ย์
(5064) และจากอุ ษ มาน ซึ่ ง บั น ทึ ก โดย อั ล -บั ซ ซาร และจาก
อิกริ มะฮฺ ซึง่ บันทึกโดยอิบนุ ญะรี รฺ พวกเขากล่าวว่า
ْ َ ْ َْ ْ َ َ َ
‫نَه رسول اهلل أن َت ِل َق ال َم ْرأة َرأ َس َها‬
ความว่า “ท่านเราะสูล ศ็อ ลลัล ลอฮุอะลัยฮิ วะสัล ลัม ห้ ามไม่ให้
ผู้หญิงโกนศีรษะของเธอ”
การห้ ามใดที่ มี ปรากฏจากหะดี ษ ของท่ า นเราะสู ล
ศ็อลลัล ลอฮุอะลัยฮิ วะสัล ลัม นัน้ ให้ ถือว่าเป็ นข้ อวินิจฉัยสั่งห้ าม
และไม่อนุญาตให้ ทา ตราบใดที่ยงั ไม่มีหลักฐานอื่นมาหักล้ าง
มุล ลา อะลี กอรี ได้ ก ล่าวไว้ ในหนัง สื อ อัล -มิ รกอต ชัร ห์
อั ล -มิ ช กาต ว่ า “ค าว่ า “ห้ ามไม่ ใ ห้ ผู้ หญิ งโกนศี ร ษะของเธอ”
เนื่องจากเส้ นผมสาหรับผู้หญิ งนัน้ เทียบได้ เหมือนกับ เคราสาหรับ
ผู้ชายในด้ านบุคลิกและความสวยงาม...” (มัจญ์ มูอฺ ฟะตาวา อัช -
ชัยค์ มุหมั มัด บิน อิบรอฮีม อาล อัช-ชัยค์ : 2/49)
ส่วนการตัดผมออกให้ สัน้ สามารถกระทาได้ หากมี ความ
จาเป็ น แต่ไม่ใช่เป็ นการประดับตกแต่ง เช่น ไม่สามารถที่ จะดูแล
รักษาได้ หรื อยาวมากจนสร้ างความยากลาบาก ดังนันการจะตั ้ ด
 20 

ออกบางส่วนถื อว่าไม่ เป็ นไร ดังที่ ภ รรยาบางคนของท่านเราะสูล


ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ ปฏิ บตั ิหลังจากที่ท่านได้ เสียชีวิต
เนื่องจากพวกเธอไม่มีความจาเป็ นที่จะต้ องประดับประดาโดยการ
ไว้ ผมยาวอีกต่อไป
แต่ ถ้ าหากเป้ าหมายของการตั ด ผม สั น้ เพื่ อ เป็ นการ
เลี ย นแบบผู้ห ญิ ง ต่างศาสนิ ก หรื อบรรดาผู้ห ญิ ง ฟาสิ ก บกพร่ อ ง
ศีลธรรม หรื อเพื่อเลียนแบบผู้ชาย ก็ย่อมเป็ นสิ่งต้ องห้ าม (หะรอม)
โดยไม่ มี ข้ อ สงสัย แต่ป ระการใด ด้ ว ยเหตุผ ลของการห้ า มไม่ ใ ห้
เลียนแบบต่างศาสนิกโดยภาพรวม และห้ ามไม่ให้ ผ้ หู ญิงเลียนแบบ
ผู้ชาย และหากตังใจว่้ าทาเพื่อเป็ นการประดับตกแต่ง ทัศนะเท่าที่
เห็นมีน ้าหนักกว่าก็คือไม่เป็ นที่อนุญาต
ท่านชัยค์มหุ มั มัด อัล-อะมีน อัช-ชันกี ฏีย์ เราะหิมะฮุลลอฮฺ
ได้ กล่าวในหนังสือ ของท่านว่า “แท้ จริ งการตัดผมสัน้ จนกระทั่งถึง
โคนผมนัน้ เป็ นประเพณีที่มีการปฏิบตั ิกนั อย่างแพร่หลายของพวก
ฝรั่ง ซึ่งค้ านกับแบบอย่างของสตรี มุส ลิ ม และสตรี ช าวอาหรับ ยุค
ก่อนอิสลาม การกระทาดังกล่าวนี ้เป็ นสิ่งที่เบี่ยงเบน ซึ่งเป็ นปั ญหา
ที่ แพร่ ระบาดในวงกว้ างต่อ ศาสนา ภาพลัก ษณ์ จรรยามารยาท
และพฤติกรรมอื่นๆ”
หลังจากนันท่
้ านได้ ชี ้แจงเกี่ยวกับหะดีษที่วา่
ْ ْ َ َ َ
.‫وس ِه ََّن َح َََّت تكون َكل َوف َر ِة‬ ْ َ ْ ْ َ َ ََّ َ ْ َ َ َُ ََّ َ َّ َ‫انل‬
َّ ‫َو ََك َن أَ ْز َواج‬
ِ ‫ب صَل اَّلل علي ِه َوسلم يأخذن ِمن رء‬ ِِ
 21 

ความว่ า “บรรดาภรรยาของท่ า นเราะสู ล ศ็ อ ลลัล ลอฮุ อ ะลัย ฮิ


วะสัลลัมได้ ตดั ผมของพวกเธอออกจนกระทั่งถึงบริ เวณสองติ่งหู ”
(บันทึกโดยมุสลิม : 726)
พวกนางตัดผมให้ สัน้ หลังจากที่ ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอ
ฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ เสียชีวิต เพราะว่าพวกนางได้ ตกแต่งและดูแล
ตัวเองในขณะที่ท่านยังมีชีวิตอยู่ และส่วนหนึ่งจากการตกแต่งที่มี
เสน่ห์สวยงามที่สดุ ของพวกนางก็คือเส้ นผมของพวกนาง
แต่หลังจากที่ท่านได้ เสียชีวิตไปแล้ ว พวกนางมีบทบัญญัติ
เฉพาะซึ่งแตกต่างกับผู้หญิ งทั่วไป นั่นคือพวกนางจะไม่สามารถ
แต่งงานได้ อีกต่อไป พวกนางเปรี ยบเสมือนผู้หญิงที่มีอิดดะฮฺ ซึ่งถูก
กักไว้ จนกระทัง่ เสียชีวิต เนื่องจากพวกนางเป็ นภรรยาของท่านนบี
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ดังที่อลั ลอฮฺตรัสว่า
َ َ ُ َ َ ََٓ َ ُ ‫َ َ َ ُ َ ُأ‬
‫ِح ٓوا أ أز َوى َج ُهۥ مِن َب أع ِده ِٓۦ أبَ ًدا إِن‬‫﴿ َو َما َكن لك أم أن تؤذوا َر ُسول ٱّللِ ول أن تنك‬
]٥٣ : ‫ ﴾ [األحزاب‬٥٣ ‫ظِيما‬ َ ‫ِك أم ََك َن ع‬
ً ‫ِند ٱّللِ َع‬ ُ ‫َى‬
‫ذل‬
ความว่า “และไม่เป็ นการบังควรแก่พวกเจ้ าที่จะก่อความราคาญ
แก่ศาสนทูตของอัลลอฮฺ และพวกเจ้ าจะต้ องไม่แต่งงานกับบรรดา
ภรรยาของท่าน ภายหลังจากที่ท่านได้ เสียชีวิตไปแล้ วเป็ นอันขาด
แท้ จ ริ ง เรื่ องนี ส้ าหรับ อัล ลอฮฺเป็ นเรื่ องที่ใหญ่ หลวงนัก ” (อัล-อะห์
ซาบ : 53)
และการหมดหวังที่จะแต่งงานอีก อาจจะเป็ นสาเหตุหนึ่ง
ของการผ่อนปรนให้ งดจากการประดับประดาตกแต่งในบางเรื่ องได้
 22 

ซึ่งไม่เป็ นที่อนุญาตให้ ทาหากเป็ นเพราะเหตุอื่นๆ นอกจากสาเหตุ


ดังกล่าวเท่านัน้ (อัฎวาอ์ อัล-บะยาน : 5 / 598-601)
ดังนัน้ จาเป็ นที่สตรี ผ้ ศู รัทธาจะต้ องรักษา เอาใจใส่ดแู ลผม
ของพวกเธอ และถักเปี ย และไม่อนุญาตให้ ม้วนทาทรงไว้ บนศีรษะ
หรื อมุมหนึง่ มุมใดของท้ ายทอย
ชัยคุลอิสลาม อิบนุ ตัยมียะฮฺ ได้ กล่าวในหนังสือ ของท่าน
ว่า “เสมื อนกับพวกโสเภณี บางคนที่ ตงั ้ ใจถักเปี ยผมของนางเป็ น
ส่วนเดียว และปล่อยไว้ โชว์ให้ เห็นระหว่างบ่าทังสอง" ้ (มัจญ์ มูอฺฟะ
ตาวา : 22/14)
ท่านชัยค์มุหัมมัด บิน อิบรอฮีม อาล อัช-ชัยค์ กล่าวไว้ ว่า
“สาหรับสิ่งที่สตรี บางคนได้ กระทาในยุคปั จจุบนั เช่น การแยกผม
บนศีรษะไว้ ด้านหนึ่ง และรวบไว้ ที่ท้ายทอยด้ านหลัง หรื อมัดเกลียว
ไว้ ข้างบน เหมือนกับที่พวกผู้หญิ งฝรั่งทา ลักษณะเช่นนี ้ถื อว่าเป็ น
สิ่งที่ไม่อนุญ าตให้ กระทา เนื่องจากเป็ นการเลียนแบบสตรี ต่างศา
สนิก ”
เนื่องจากมีรายงานจากอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ
–ในหะดีษบทหนี่งที่มีความยาว- กล่าวว่า ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุ
อะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
َ
َ َّ‫ون ب َها انل‬ ْ َ ََْ َ ْ َ َ َ ْ َ َ ْ َ َ َ َ ْ َ َّ ْ َ ْ َْ
‫اس‬ ِ ‫ب‬ ‫ْض‬
ِ ِ ‫ي‬ ‫ر‬‫ق‬‫اْل‬ ‫اب‬
ِ ‫ قوم معهم ِسياط كأذن‬: ‫ار لم أرهما‬ ِ ‫ان ِمن أه ِل انل‬ِ ‫« ِصنف‬
َ َ ْ ْ ْ َ ْ َ َ َّ َ َ َ َ َ َ َ َ
‫ت ال َمائِل ِة ل‬ ِ ‫َونِساء َك ِسيات اع ِريات م ِميالت مائِالت رءوسهن كأس ِنم ِة اْلخ‬
َ َ َ َ َ َ ْ َ ‫ل ََي ْد َن رحيَ َها َوإ َّن رحيَ َها َيل‬َ َ َ َّ َ ْ َ ْ ْ َ
»‫ري ِة كذا َوكذا‬ ‫وجد ِمن م ِس‬ ِ ِ ِ ِ ‫يدخلن اْلنة و‬
 23 

ความว่า “ชาวนรกสองจาพวกที่ฉันยังไม่เคยเห็นพวกเขา พวกหนึ่ง


มีแส้ คล้ ายกับหางวัวคอยเฆี่ยนตี (ลงโทษ) มนุษย์ และอีกพวกหนึ่ง
คือสตรี ที่สวมใส่เสื ้อผ้ าไม่มิดชิด เดินเอนไปเอนมา ศี รษะของพวก
เธอเหมื อ นกับ โหนกอูฐ พวกเธอจะไม่ได้ เข้ าสวนสวรรค์ และจะ
ไม่ ไ ด้ ด ม (สัม ผัส ) กลิ่ น ไอของมัน ทัง้ ๆ ที่ ก ลิ่ น ไอของมัน จะดม
(สัมผัส) ได้ ในระยะทางเท่านันเท่ ้ านี ้” (บันทึกโดยมุสลิม 5547)

นักปราชญ์ บางท่านได้ ขยายความคาว่า “เอนไปเอนมา”


คือ พวกเธอได้ หวีผมในลักษณะเอน ซึ่งเป็ นการหวีของหญิงโสเภณี
และการหวีลักษณะเช่นนี่เป็ นการกระทาของพวกผู้หญิ งฝรั่ง และ
ผู้หญิงมุสลิมที่ดาเนินตามแนวทางของพวกเธอ (มัจญ์ มอู ฺ ฟะตาวา
ของชัยค์มุหมั มัด บิน อิบรอฮีม เล่มที่ 2/47 และอัล-อีฎอห์ วะ อัต-
ตับยีน ของหะห์มดู อัต-ตุวยั ญิรีย์ หน้ าที่ 85)
ดังที่ห้ามไม่ให้ สตรี โกนศีรษะหรื อตัดผมออกโดยไม่มีความ
จาเป็ นแล้ ว ก็ ยังมี บัญ ญั ติ ห้ามไม่ให้ เธอต่อผม หรื อเอาผมอื่ นมา
เสริ ม ดัง ที่ มี ห ลั ก ฐานที่ ป รากฏในต าราของอิ ม ามอั ล -บุ ค อรี ย์
(5934) และมุสลิม (5530)
َ ْ َ َ َ ْ َّ ََ
»‫اصلة َوالم ْستَ ْو ِصلة‬
ِ ‫«لعن رسول اَّلل الو‬
ความว่า “ท่านเราะสูล ศ็อลลัล ลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ สาปแช่ง
ผู้หญิงที่ตอ่ ผมให้ ผ้ อู ื่น และผู้หญิงที่ขอให้ ผ้ อู ื่นต่อผมให้ ”
 24 

อันเนื่ องจากการกระทาดังกล่าวนัน้ เป็ นการปลอมแปลง


นอกจากนี ้การใช้ ผมปลอมในปั จจุบนั ก็เข้ าข่ายการต่อผมเช่นกัน
อัล -บุ ค อรี ย์ มุ ส ลิ ม และท่ า นอื่ น ๆ ได้ รายงานว่ า “เมื่ อ
มุอาวิยะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ ได้ มายังนครมะดีนะฮฺ ท่านได้ เอาผม
มากาหนึง่ แล้ วกล่าวตักเตือนว่า
َ َّ َّ َّ َ َ ْ َ َ َ َ ْ ْ
‫اَّلل َصَل اَّلل َعليْ ِه‬ َََْْ ْ َ َ َ
ِ ‫ س ِمعت رسول‬، ‫وس ِهم ِمثل هذا‬ ِ ‫ما بال نِسائِكم َيعلن ِيف رؤ‬
ً ‫ام َرأَة ََتْ َعل يف َرأْس َها َش ْع ًرا ِم ْن َش ْعر َغ ْري َها إل ََك َن ز‬
»‫ورا‬
ْ َ َّ
‫ « َما ِم ِن‬: ‫ يقول‬، ‫َو َسل َم‬
ِ ِ ِ ِ ِ
ความว่า "บรรดาสตรี ของพวกท่านเป็ นอะไรกัน ถึงได้ เอาของพวกนี ้
มาใส่บนศีรษะของพวกนาง ฉันได้ ยินท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะ
ลัยฮิวะสัลลัมกล่าวว่า “ไม่มีสตรี คนใดเอาผมของผู้อื่นมาต่อกับผม
ของนาง นอกจากนั่น ถื อว่าเป็ นการปลอมแปลง” (บันทึกโดยอัล -
บุคอรี ย์ : 3468 , 5932 และมุสลิม : 5543)
และค าว่า “ผมปลอม” คื อ ผมเที ย มที่ ถูก ผลิ ต ขึน้ มา ซึ่ง
เหมือนกับผมจริ ง และการสวมใส่มันนัน้ ถื อว่าเป็ นการกระทาเชิง
หลอกลวง

ข. ไม่ อนุญำตให้ สตรีมุสลิมกำจัดขนคิว้


ไม่ว่าทังหมดหรื
้ อบางส่วน และไม่ว่าด้ วยวิธีการใดๆ ก็ตาม
จะด้ วยการโกน หรื อการตัด หรื อการใช้ เครื่ องมือ หรื อการใช้ น ้ายา
ขจัด ทัง้ หมดหรื อ บางส่ว น เพราะนั่น เข้ า ข่า ยการถอนที่ ท่ า นนบี
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ ดอุ าอ์สาปแช่งผู้หญิ งที่ถอนขนคิ ้ว
 25 

และผู้ห ญิ ง ที่ ให้ ค นอื่ น ถอนขนคิ ว้ ให้ (บัน ทึ ก โดยอัน -นะสาอี ย์ :


5111) โดยเข้ าใจว่าเป็ นการเสริมสวย
และนี่ คือการเปลี่ ยนแปลงการสร้ างสรรค์ของอัลลอฮฺ ซึ่ง
ชัย ฏอนมารร้ ายได้ สัญ ญาไว้ ว่ า มัน จะสั่ง ให้ มนุ ษ ย์ ก ระท าการ
ดังกล่าว ดังที่อลั ลอฮฺตรัสไว้ วา่
‫َ ُ َ ُ أ َََُُّ َ أ‬
]١١٩ : ‫ّين خل َق ٱّللِ ﴾ [النساء‬
ِ ‫﴿وٓأَلمرنهم فليغ‬
ความว่า “และแน่นอนยิ่ง ข้ า (ชัยฎอน) จะใช้ พวกเขา แล้ วแน่นอน
พวกเขาก็จะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่อลั ลอฮฺทรงสร้ าง” (อัน-นิสาอ์ : 119)

และในเศาะฮี หฺ อัล -บุ ค อรี ย์ มี ร ายงานจากอิ บ นุ มัส อู ด


เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ กล่าวว่า
ْ َ ِّ َ َ ْ َ ِّ َ َ ْ َ َّ ‫اَّلل ال ْ َواش َمات َوالْم ْستَ ْوش َمات َو‬
َّ َ َ َ
‫ات لِلح ْس ِن‬
ِ ‫ات َوالمتفلج‬ِ ‫ات َوالمتنمص‬
ِ ‫انلا ِمص‬ ِ ِ ِ ِ ‫« لع ن‬
َّ َ ْ َ َ ِّ َ ْ
»‫اَّلل‬
ِ ‫ات خلق‬ ِ ‫المغري‬
ความว่า “อัล ลอฮฺ ได้ ส าปแช่งผู้ห ญิ ง ที่ สัก ผู้ห ญิ ง ที่ ให้ ผ้ ูอื่ น สักให้
ผู้หญิ งที่ถอนขนคิ ้ว ผู้หญิ งที่ให้ ผ้ อู ื่น ถอนขนคิ ้วให้ ผู้หญิ งที่ ตกแต่ง
ฟั นเพื่ อ ความสวยงาม ผู้ที่ เปลี่ ย นแปลงการสร้ างของอัล ลอฮฺ ”
(บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 5931และมุสลิม : 5538)

หลังจากนันท่
้ านยังได้ กล่าวว่า
َّ
.‫اَّلل‬ َ‫اَّلل َعلَيْه َو َسلَّ َم َوه َو يف كت‬
َّ َّ َ َّ َ ‫َو َما ل َل أَلْ َعن َم ْن لَ َع َن‬
ِ ‫اب‬ ِ ِ ِ ِ ‫َل‬ ‫ص‬ ‫اَّلل‬
ِ ‫ول‬ ‫س‬‫ر‬ ِ
 26 

“ฉันจะไม่ส าปแช่งผู้ที่ท่านเราะสูล ศ็อลลัล ลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม


เคยสาปแช่ง ไว้ ได้ อย่างไร ทัง้ ๆ ที่มีนเป็ นสิ่งที่ถูกบัญญัติไว้ ในอัลกุ
รอาน?” ท่านหมายถึงคาตรัสของอัลลอฮฺที่วา่
ُ ‫ََٓ َ َى ُ ُ ُ ُ َ ُ ُ ُ ََ ََ ى‬
َ َ‫ك أم َع أن ُه ف‬
]٧ :‫ٱنت ُهوا ﴾ [احلرش‬ ‫﴿وما ءاتىكم ٱلرسول فخذوه وما نهى‬
ความว่า “และสิ่ งใดที่ เราะสูล ได้ น ามายังพวกเจ้ า ก็ จ งยึด เอาไว้
และสิ่งใดที่ทา่ นได้ ห้ามพวกเจ้ าไว้ ก็จงละเว้ นเสีย” (อัล-หัชรฺ : 7)

อิบนุ กะษี รฺ ได้ กล่าวไว้ ในหนังสือ ตัฟซี รฺของท่าน (2/359)


ว่า “สตรี จานวนมากในทุกวันนี ้ได้ รับการทดสอบด้ วยโรคร้ ายเหล่านี ้
ซึ่งเป็ นบาปใหญ่ ช นิดหนึ่ง จนกระทั่งการขจัดขนคิว้ ได้ กลายเป็ น
สิ่งจาเป็ นรายวัน และไม่อนุญาตให้ ภรรยาเชื่อฟั งสามี ถ้าเขาสัง่ ให้
กระทาในเรื่ องดังกล่าว เพราะเขากาลังสัง่ ให้ ทาสิ่งที่ ถือว่าเป็ นการ
ฝ่ าฝื นหรื อมะอฺศยิ ะฮฺนนั่ เอง”

ค. ไม่ อนุ ญำตให้ สตรี มุสลิมผ่ ำแยกฟั น โดยกำรถูด้วย


ตะไบเพื่อกำรเสริมสวย
แต่ ห ากว่ า ในกรณี ที่ ฟั นมี ค วามผิ ด ปกติ และมี ค วาม
จ าเป็ นต้ องขจัด สิ่ งรบกวนให้ ห มดไป หรื อเพื่ อแก้ ไขให้ ดี ขึน้ ก็ ไม่
เป็ นไร เพราะเป็ นการรักษาเยียวยา และขจัดความราคาญให้ หมด
ไป และต้ องให้ แพทย์หญิงผู้มีความรู้เฉพาะทางเป็ นผู้รักษา

ง. ไม่ อนุญำตให้ สตรีสักบนร่ ำงกำย หรื อให้ ผ้ ูอ่ ืนสักให้


 27 

การสัก คื อ การใช้ เ ข็ ม ที่ มี น า้ หมึ ก ทิ่ ม แทงตามมื อ หรื อ


ใบหน้ า เพราะท่ า นเราะสู ล ศ็ อ ลลั ล ลอฮุ อ ะลั ย ฮิ ว ะสั ล ลั ม ได้
สาปแช่งผู้หญิงที่เป็ นช่างสักและผู้หญิงที่ให้ คนอื่นสักให้ การกระทา
ดังกล่าวถื อว่าเป็ นบาปใหญ่ เพราะว่าท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุ
อะลัยฮิวะสัลลัม ได้ สาปแช่งผู้ที่กระทาหรื อผู้ที่ให้ คนอื่นกระทาให้
และการสาปแช่งจะไม่เกิดขึ ้น นอกจากในสิ่งที่เป็ นบาปใหญ่เท่านัน้

จ. บทบัญญัติหรือข้ อชีข้ ำดเกี่ยวกับกำรย้ อมสี ด้วยใบ


เทียน กำรย้ อมผม และกำรใช้ เครื่องประดับที่เป็ นทองคำ
1. กำรย้ อมด้ วยใบเทียน
อิมามอัน-นะวะวีย์ กล่าวไว้ ในหนังสือ อัล-มัจญ์ มอู ฺ (เล่ม1
หน้ า 324) “การย้ อมมื อ และเท้ าด้ วยใบเที ย นส าหรั บ ผู้ หญิ งที่
แต่งงานแล้ ว เป็ นสิ่งที่ส่งเสริ มให้ กระทาอันเนื่องจากมีหะดีษต่างๆ
ดัง เป็ นที่ รั บ รู้ กั น ...” ดัง รายงานจากอบู ดาวู ด (4164) และอัน -
นะสาอี ย์ (5095) ว่า “แท้ จ ริ ง มี ผ้ ูห ญิ ง คนหนึ่ ง ได้ ถ ามท่ า นหญิ ง
อาอิชะฮฺ ถึงการย้ อมเล็บด้ วยใบเทียน เธอตอบว่า “ไม่มีปัญหาอะไร
ทว่าฉันไม่ชอบมัน เพราะท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
ที่รักของฉันก็รังเกียจกลิ่นของมัน”
และมีรายงานจากท่านหญิ งอาอิชะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา
เล่าว่า “มี ผ้ ูหญิ งคนหนึ่งได้ ยื่นมื อ มาจากหลังม่านเพื่ อส่งหนังสื อ
ให้ แก่ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัล ลัม แล้ วท่านก็ ไม่รับ
และกล่าวว่า “ฉันไม่ทราบว่าเป็ นมือของผู้ชายหรื อมือของผู้หญิง?”
 28 

เธอกล่าวว่า “เป็ นมือของผู้หญิง ” แล้ วท่านก็กล่าวว่า “หากเธอเป็ น


ผู้ห ญิ ง แน่ น อนเธอย่อ มย้ อ มเล็ บ ของเธอด้ วยใบเที ย น” (บัน ทึ ก
โดยอบู ดาวูด : 4166 และอัน -นะสาอี ย์ : 5089) แต่ก ารย้ อมเล็ บ
จะต้ องไม่ใช้ วตั ถุหรื อสารที่ตดิ แข็งจนไม่สามารถทาความสะอาดได้

2. กำรย้ อมผมของสตรี
หากกรณี เป็ นผมหงอก สามารถย้ อมได้ ทุกสีที่ไม่ใช่สีดา
เนื่องจากท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม มีคาสัง่ ห้ ามมิ
ให้ ใช้ สีดาในการย้ อม
อัน-นะวะวี ย์ ได้ กล่าวไว้ ในหนังสื อ (ริ ยาฎ อัศ -ศอลิ ฮี น :
626) บทว่าด้ วยเรื่ องการห้ ามผู้ชายและผู้หญิ งไม่ให้ ย้อมผมด้ วยสี
ด า และได้ ก ล่ า วไว้ ใ นหนัง สื อ มั จ ญ์ มู อฺ (1/324) ว่ า “ไม่ มี ค วาม
แตกต่างระหว่างผู้ช ายและผู้ห ญิ งในการห้ ามมิ ให้ ย้อมด้ วยสี ด า
และนี่คือทัศนะของมัซฮับเรา..”
ส่วนการย้ อมผมสีดาของสตรี เพื่ อให้ เปลี่ยนเป็ นสีอื่นนัน้
ฉัน(ผู้เขียน)มีความเห็นว่า กรณีนี ้ไม่เป็ นที่อนุญาต เพราะไม่มีความ
จาเป็ นอันใดที่ จ ะต้ องกระทาอย่างนัน้ เพราะสีดาของผมนัน้ เป็ น
ความสวยงาม อยู่ แ ล้ ว ไม่ ถื อว่ า เป็ นสิ่ ง ผิ ด ปกติ จนต้ องไป
เปลี่ยนแปลงมัน และการกระทาเช่นนัน้ เป็ นการเลียนแบบผู้หญิ ง
ต่างศาสนิก
 29 

3. อนุ ญ ำตให้ สตรี ใช้ เครื่ องประดั บ ที่ท ำจำกทองค ำ


และเงินตำมประเพณีท่ ปี ฏิบัตกิ ัน
และนี่ เป็ นมติเอกฉันท์ ของปวงปราชญ์ แต่ไม่อนุญาตให้
เธอน าเอาเครื่ อ งประดับ ออกมาเผยให้ เห็ น แก่ ผ้ ูช ายที่ ส ามารถ
แต่งงานกันได้ จาเป็ นที่จะต้ องปกปิ ดโดยเฉพาะอย่างยิ่ง เวลาออก
จากบ้ านและอยู่ในที่ที่อาจจะทาให้ บุรุษหันมามองเธอ เพราะนั่น
เป็ นการยั่วยวน แท้ จริ งแล้ วเธอถูกห้ ามไม่ให้ ผ้ ชู ายได้ ยินเสียงของ
กาไลหรื อเครื่ องประดับที่ เธอใส่อยู่ที่ เท้ า ซึ่งมัน อยู่ใต้ เสื อ้ ผ้ า แล้ ว
นับประสาอะไรกับการเปิ ดเผยเครื่ องประดับที่อยูน่ อกเสื ้อผ้ าอีกเล่า
อัลลอฮฺตรัสว่า
َ ‫ُأ َ َ َ ُأ‬ َ ‫ََ َ أ‬
َ ‫ُيف‬
]٣١ : ‫ِي مِن زِينت ِ ِهن ﴾ [انلور‬ ‫ۡض أب َن بِأ أر ُجل ِ ِهن ِّلعلم ما‬
ِ ‫﴿ ول ي‬
ความว่า “และพวกเธออย่าได้ กระทืบเท้ าของพวกเธอ เพื่อให้ ร้ ู ถึง
เครื่ องประดับที่พวกเธอปกปิ ดไว้ ” (อัน-นูรฺ : 31)
 30 

บทที่ 3
บัญญัตวิ ่ ำด้ วยเลือดประจำเดือน
เลือดเสีย และเลือดหลังคลอด

หนึ่ง เลือดประจำเดือน (หัยฎ์ )


1. คำนิยำมของเลือดประจำเดือน (หัยฎ์ )
ตามหลักภาษา หมายถึง การไหล
ตามหลักบทบัญ ญัติ หมายถึง เลือดที่ออกมาจากมดลูก
ของผู้หญิง ตามวันเวลาซึง่ เป็ นที่รับรู้กนั ไม่ได้ เกิดมาจากสาเหตุการ
เป็ นโรค หรื อประสบอุบตั ิเหตุ แต่เป็ นสิ่งที่อลั ลอฮฺทรงกาหนดให้ แก่
บรรดาสตรี เพศ เพื่ อไว้ หล่อเลี ย้ งทารกขณะที่ อยู่ในครรภ์ แล้ วจะ
เปลี่ ย นเป็ นนมเมื่ อคลอดบุต ร ดังนัน้ เมื่ อ สตรี ไม่ได้ ตงั ้ ครรภ์ ห รื อ
ไม่ได้ ให้ นมแก่บตุ ร เลือดนี ้จะยังคงอยูโ่ ดยไม่มีสิ่งใดมาเปลี่ยนแปลง
ซึ่ ง มั น จะไหลออกมาในช่ ว งวัน เวลาที่ รั บ รู้ และรู้ จัก กัน ในนาม
ประจาเดือนหรื อรอบเดือน

2. อำยุของผู้มีประจำเดือน
 31 

สตรี ที่มีประจาเดือนโดยทัว่ ไปอายุน้อยสุดคือ 9 ปี จนไปถึง


อายุ 50 ปี
อัลลอฮฺได้ ตรัสว่า
‫َََُ َ أ‬ ُ َ َ ُ ٓ ّ ‫أ‬
‫يض مِ ن ن َِسا ئِك أم ِإ ِن ٱ أر ت أب ُت أم فعِد ت ُهن ثل ىثة أش ُهر‬ِ ‫ح‬
‫أ‬
ِ ‫﴿ َوٱ َٰٓلـِي َيئِس َن مِ َن ٱل َم‬
‫َ َٰٓ َ َ أ‬
]٤ : ‫ٱلـِي ل أم َيِض َن ﴾ [الطالق‬ ‫و‬
ความว่า “ส่วนบรรดาผู้หญิงในหมูภ่ ริยาของพวกเจ้ าที่หมดหวังใน
การมีประจาเดือน หากพวกเจ้ ายังสงสัย(ในเรื่ องอิดดะฮฺ) ดังนัน้ พึง
รู้เถิดว่าอิดดะฮฺของพวกนางคือสามเดือน และบรรดาผู้หญิงที่ไม่มี
ประจาเดือนก็นบั อิดดะฮฺแบบนันเช่
้ นเดียวกัน” (อัฏ-เฏาะลาก : 4)

สตรี ที่หมดหวังในการมีประจาเดือน หมายถึง ผู้หญิงที่มี


อายุประมาณ 50 ปี และผู้ที่ยงั ไม่มีประจาเดือน หมายถึง ผู้หญิงที่
อายุยงั ไม่ถึง 9 ปี

3. บทบั ญ ญั ติ แ ละข้ อชี ้ข ำดเกี่ ยวกั บ ผู้ ที่ มี เ ลื อ ด


ประจำเดือน
3.1 ไม่อนุญาตให้ มีเพศสัมพันธ์ทางอวัยวะเพศกับภรรยาที่
มีประจาเดือน เนื่องจากอัลลอฮฺได้ ตรัสไว้ วา่
َ ‫أ‬ ٓ ّ ُ َ ‫َ أ‬ َ ُ ‫ُأ‬ ‫أ‬ َ َ َ ُ َ ‫﴿ َو ي َ أ‬
‫يض َول‬ ِ ‫ت لوا ٱلن َِسا َء ِف ٱل َم‬
ِ ‫ح‬ َ
ِ ‫يض قل هو أ ذ ى فٱ ع‬ ِ ‫ح‬ ِ ‫سلونك ع ِن ٱل َم‬
ُ َ ُ ‫ث أَ َم َر ُك ُم‬
ُ ‫أ َ أ‬ ُ ُ‫َ َأ‬ َ َ َ َ ُ َُ ‫َأ‬
‫َيب‬ِ ‫ٱّلل‬ ‫ٱّلل إِن‬ ‫ّت َي أط ُه أر ن فإ ِذا ت َطه أر ن فأتوهن مِن حي‬
‫وهن َح ى‬ ‫تقرب‬
َ ‫أ‬
َ ‫حب ٱل ُمت َط ّهر‬ َ
]٢٢٢ :‫ ﴾ [اْلقرة‬٢٢٢ ‫ين‬ ِِ ِ ‫ٱتلوىبِي َو ُي‬
 32 

ความว่า “และพวกเขาจะถามเจ้ าเกี่ยวกับประจาเดือน จงกล่าวเถิด


ว่ามันเป็ นสิ่งโสโครก ดังนัน้ พวกเจ้ าจงงดจากการมีเพศสัมพันธ์กบั
ภรรยาในขณะที่ มีประจาเดือน และอย่าได้ มี เพศสัมพันธ์ กับ พวก
เธอจนกว่าพวกเธอจะสะอาดเสียก่อน ครัน้ เมื่อพวกเธอได้ ทาความ
สะอาดชาระร่างกายแล้ ว ก็จงเข้ าหาพวกเธอตามที่อลั ลอฮฺได้ ทรงใช้
พวกเจ้ า แท้ จริ ง อัลลอฮฺทรงรักบรรดาผู้ที่กลับเนื ้อกลับตัว และทรง
รักบรรดาผู้ที่ทาความสะอาดทังหลาย”
้ (อัล-บะเกาะเราะฮฺ : 222)

และข้ อห้ ามนี ้จะดาเนินไปจนกระทัง่ เลือดประจาเดือนหยุด


ไหล และเธออาบน า้ ช าระร่ า งกายตามบทบั ญ ญั ติ เนื่ อ งจาก
พระองค์อลั ลอฮฺตรัสไว้ วา่
ُ ‫ث َأ َم َر ُك ُم ٱ‬
ُ ‫أ َ أ‬ ُ ُ‫َ َأ‬ َ َ َ َ ُ َُ ‫َ َ َأ‬
﴾ ‫ّلل‬ ‫ّت َي أط ُه أر ن فإ ِ ذ ا ت َطه أر ن فأ توهن مِ ن حي‬
‫وهن َح ى‬ ‫﴿ و ل تقر ب‬
]٢٢٢ :‫[اْلقرة‬
ความหมาย “และอย่าได้ มีเพศสัมพันธ์ กับพวกเธอจนกว่าพวกเธอ
จะสะอาดเสี ย ก่ อ น ครั น้ เมื่ อ พวกเธอได้ ท าความสะอาดช าระ
ร่ างกายแล้ ว ก็จ งเข้ าหาพวกเธอตามที่ อัลลอฮฺได้ ทรงใช้ พ วกเจ้ า ”
(อัล-บะเกาะเราะฮฺ : 222)

และอนุ ญ าตแก่ ส ามี ที่ จ ะหาความสุ ข กั บ ภรรยาที่ มี


ประจ าเดื อ นได้ แต่ต้ อ งไม่ถึ ง ขัน้ การร่ วมสัง วาสทางอวัย วะเพศ
เนื่องจากท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวว่า
 33 

َ ََّ ْ َ ََّ
‫اصنَعوا ك‬
ْ «
»‫َشء ِإل ا َِّنلَك َح‬
ความว่า “ท่านทังหลายจงท
้ าทุกอย่างได้ ยกเว้ นการร่วมประเวณี ”
(บันทึกโดยมุสลิม : 692)
3.2 ผู้ห ญิ งที่ มี ป ระจ าเดื อ น ไม่ต้ องถื อศี ล อดและไม่ต้ อ ง
ละหมาด และหากปฏิบตั ิก็ถือว่าเป็ นเรื่ องต้ องห้ าม และใช้ ไม่ได้ ดัง
หลักฐานจากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวว่า
َ َ ِّ َ ْ َ َ َ َ ََْ
»‫ت ل ْم ت َصل َول ْم تص ْم‬ ‫«أليس إِذا حاض‬
ความว่า “เมื่อสตรี มีประจาเดือน เธอไม่ละหมาดและไม่ถือศีลอด
มิใช่หรื อ?” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 304และมุสลิม : 759)

จากนัน้ เมื่อสะอาดจากประจาเดือนแล้ ว เธอจะต้ องถือศีล


อดชดใช้ ส่ ว นละหมาด ไม่ ต้ องชดใช้ ดัง ที่ ท่ า นหญิ งอาอิ ช ะฮฺ
เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา กล่าวว่า
َّ ‫اَّلل َعلَيْه َو َسلَّ َم – فَكنا ن ْؤ َمر ب َق َضاء‬
َّ َّ َ َّ َ ْ َ ََ َ َّ
ِ‫الص ْوم‬ ِ ِ ِ ‫ صَل‬- ‫اَّلل‬
ِ ‫ول‬ ِ ‫َنيض لَع عه ِد رس‬ ِ ‫«كنا‬
َ َّ َ ْ َ
»‫الصال ِة‬ ‫َول نؤ َمر بِق َضا ِء‬
ความว่า “พวกเรามีประจาเดือนในสมัยของท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอ
ฮุ อะลัย ฮิ วะสัล ลัม เราถูก สั่ง ให้ ถื อ ศี ล อดชดใช้ และไม่ถูก สั่ง ให้
ละหมาดชดใช้ ” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 321และมุสลิม : 761)

ส่วนความแตกต่างระหว่างการละหมาดและการถือศีลอด
นัน้ – อัลลอฮฺร้ ูดียิ่ง - เพราะการละหมาดทาซ ้าวันละหลายครัง้ จึง
ไม่ต้องชดใช้ เพราะเกิดความลาบาก ซึง่ ต่างกับการถือศีลอด
 34 

3.3 ห้ ามไม่ให้ สตรี ที่มีประจาเดือนสัมผัสอัล กุรอานโดยที่


ไม่มีสิ่งกัน้ เนื่องจากอัลลอฮฺได้ ตรัสไว้ วา่
َ ‫أ‬
]٧٩ :‫ ﴾ [الواقعة‬٧٩ ‫﴿ ل َي َمس ُه ٓۥ إِل ٱل ُم َطه ُرون‬
ความว่า “และจะไม่สัม ผัสอัล กุรอาน นอกจากบรรดาผู้ที่สะอาด
เท่านัน”
้ (อัล-วากิอะฮฺ : 79)

และดัง ที่ มี ส าสน์ จ ากท่ า นเราะสูล ศ็ อ ลลัล ลอฮุอ ะลัย ฮิ


วะสัลลัม ได้ เขียนไปหาอัมร์ บิน หัซม ว่า
َّ َ ْ َ َ
»‫«ل ي َم َّس الق ْرآن إِل َطا ِهر‬
“อย่าได้ สมั ผัสอัลกุรอาน นอกจากผู้ที่สะอาดเท่านัน”
้ (บันทึกโดยมา
ลิก : 468 , อัน-นะสาอีย์ และท่านอื่นๆ)

ซึ่งเปรี ยบเสมือนหะดีษมุตะวาติร (บันทึกและรายงานโดย


มหาชน) เนื่องจากผู้คนจานวนมากได้ ยอมรับ
ชัยคุลอิสลาม อิบนุ ตัยมียะฮฺ กล่าวว่า “ทัศนะของบรรดา
อิมามทังสี
้ ่เห็นพ้ องกันว่า ไม่อนุญาตให้ สมั ผัส อัลกุรอานนอกจากผู้
ที่สะอาดบริ สทุ ธิ์เท่านัน”

ส่วนการอ่านอัลกุรอานของสตรี ที่มีประจาเดือนโดยที่ไม่ได้
สัม ผัสนัน้ เป็ นประเด็นที่บรรดานักวิชาการมีทัศนะที่แตกต่างกัน
และทางที่ ดี คื อ เธอไม่ ค วรอ่า นอัล กุรอานขณะที่ มี ป ระจ าเดื อ น
 35 

นอกจากในกรณี ที่มีความจาเป็ นเท่านัน้ เช่น เกรงว่าจะลืม ส่วนที่


เคยท่องจาไปแล้ ว (อัลลอฮฺเป็ นผู้ที่ร้ ูดียิ่ง)

3.3 ห้ ามสตรี ที่ มี ป ระจ าเดื อ นเดิ น เวี ย นรอบบัย ตุล ลอฮฺ
(เฏาะวาฟ) ดังที่ทา่ นเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าว
แก่ทา่ นหญิงอาอิชะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา ขณะที่นางมีประจาเดือน
ว่า
َ ْ َ ْ ‫ري أَ ْن َل َتطوِف ب‬
َ ْ ‫اج َغ‬ ْ
ُ َ ‫احل‬ َْ َ ْ
»‫ت َح ََّت ت ْطه ِري‬
ِ ‫اْلي‬ ِ ِ ‫«اف َع ِل ك َما يف َعل‬
ความว่า “จงปฏิบตั ิเยี่ยงผู้ที่ทาหัจญ์ คนอื่นๆ เพียงแต่เธอจะต้ องไม่
เฏาะวาฟจนกว่าเธอจะสะอาด” (บันทึกโดย อัล-บุคอรี ย์ : 305 และ
มุสลิม : 2911)

3.4 ห้ ามสตรี ที่ มี ป ระจ าเดื อ นพ านัก ในมัส ยิ ด ดัง ที่ ท่ า น


เราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวไว้ วา่
َ َْ ُ َ ِّ
»‫« ِإِّن ل أ ِحل ال َم ْس ِج َد ِحلَائِض َول ْلنب‬
ความว่า “แท้ จริง ฉันไม่อนุญาตให้ ผ้ ทู ี่มีประจาเดือนและผู้ที่มี ญุนบุ
(มี มูล เหตุที่ ต้ อ งอาบน า้ ช าระร่ า งกาย)พ านัก ในมัส ยิ ด ” (บัน ทึ ก
โดยอบู ดาวูด : 232)

และท่านยังกล่าวอีกว่า
َ ُ َ َ َ ْ َ ْ ِّ
»‫حيل ِحلَائِض َول جنب‬
ِ ‫« ِإن المس ِجد ل‬
 36 

ความ ว่ า “แท้ จริ ง มั ส ยิ ด นั น้ ไม่ เ ป็ นที่ อนุ ญ าตส าหรั บ ผู้ ที่ มี
ประจาเดือนและผู้ที่มีญนุ บุ ” (บันทึกโดยอิบนุ มาญะฮฺ : 645)

และอนุญ าตให้ ผ้ ูที่ มี ป ระจ าเดื อ นเดิน ผ่ านมัส ยิ ด ได้ โดย


ไม่ ไ ด้ ห ยุด พ านัก อัน เนื่ อ งจากมี ห ะดี ษ จากท่ า นหญิ ง อาอิ ช ะฮฺ
เราะฎิ ยัล ลอฮุอัน ฮา กล่าวว่า ท่ านเราะสูล ศ็อ ลลัล ลอฮุอ ะลัย ฮิ
วะสัลลัม กล่าวว่า
ْ
ْ ‫ «إ َّن َحي ْ َضتَك لَي ْ َس‬: ‫ قَ َال‬.‫ إ ِِّّن َحائض‬:‫ فقلْت‬،»‫اْل ْم َر َة م ْن ال ْ َم ْسجد‬ َ
»‫ت بِيَ ِد ِك‬ ِ ِ ِ ِ ِ ِ ِ ‫او ِيل ِن‬
ِ ‫«ن‬
ความว่า “เธอจงเอาผ้ าปูละหมาดจากมัสยิดมาให้ ฉั น” แล้ วฉันก็
ตอบว่ า ฉั น มี ป ระจ าเดื อ น ท่ า นเราะสู ล ศ็ อ ลลั ล ลอฮุ อ ะลั ย ฮิ
วะสัล ลัม เลยกล่าวว่า “แท้ จริ งประจาเดือนของเธอไม่ได้ อยู่ที่มื อ
ของเธอสักหน่อย” (บันทึกโดยมุสลิม : 678 , อบู ดาวูด : 261 , อัน-
นะสาอี ย์ : 328 , อิ บ นุ มาญ ะฮฺ : 632 และอั ต -ติ ร มิ ซี ย์ :134)
(เจ้ าของหนังสือมุนตะกอ อัล-อัคบาร มัจญ์ ดดุ ดีน กล่าวว่า บันทึก
โดยนักบันทึกทังเจ็
้ ดยกเว้ นอัล-บุคอรี ย์ : 1/140)

และอนุญาตแก่ผ้ มู ีประจาเดือน สามารถอ่านถ้ อยคาราลึก


ต่างๆ ที่ถูกบัญญัติไว้ ได้ เช่น การกล่าวคาว่า ลาอิลาฮะอิลลัลลอฮฺ
อัลลอฮฺอักบัร สุบหานัลลอฮฺ ตลอดจนคาวิงวอนต่างๆ และสามารถ
อ่านถ้ อยคาราลึกในยามเช้ า ยามเย็น ขณะเข้ านอน และตื่นนอน”
และอนุญาตให้ อา่ นตาราทางวิชาการ เช่น ตัฟซีรฺ หะดีษ และฟิ กฮฺ
 37 

เกร็ ดควำมรู้ ข้ อชีข้ ำดทำงบทบัญญัติของกำรตกขำว


และนำ้ คำวปลำ (ศุฟเรำะฮฺ และกุดเรำะฮฺ)
ศุ ฟ เรำะฮฺ คื อ สิ่ ง ที่ มี ลั ก ษณ ะคล้ ายกั บ น า้ หนองมี สี
ค่อนข้ างเหลือง
กุดเรำะฮฺ คือ สิ่งที่มีลกั ษณะคล้ ายกับสีของน ้าขุน่ สกปรก
ดังนัน้ เมื่อมีสิ่งใดจากทัง้ สองนีอ้ อกมาจากผู้หญิ ง ในช่วง
เวลาของประจ าเดือน ก็ ให้ ถือว่าเป็ นประจ าเดือน ใช้ บ ทบัญ ญั ติ
และข้ อชี ้ขาดเดียวกับการมีประจาเดือน
และหากออกมาในเวลาที่ไม่มีประจาเดือน ก็ ไม่นับว่าทัง้
สองอย่างนันเป็
้ นประจาเดือน และถือว่าตัวของเธอสะอาดอยู่ ดังที่
มีหลักฐานจากอุมมุ อะฎียะฮฺ กล่าวว่า
ْ َ ْ ُ َ َْ ََْ ُ َ ََ ْ ْ ُ َ َّ
»‫الطه ِر شيئًا‬ ‫«كنا ل نعد الكدرة والصفرة بعد‬
ความว่า “เราไม่ถือว่าศุฟเราะฮฺและกุดเราะฮฺหลังจากที่สะอาดแล้ ว
(เลือดหยุดแล้ ว) ว่า เป็ นประจาเดือนแต่อย่างใด” (บันทึกโดยอบู
ดาวูด : 307)

ในบัน ทึ ก ของอัล -บุ ค อรี ย์ ไม่ มี ค าว่า “หลัง จากที่ ส ะอาด


แล้ ว”
และคาพูดของอุมมุอะฏี ยะฮฺ นนั ้ มีสถานะเดียวกับคาพูด
ของท่านเราะสูล ศ็อ ลลัล ลอฮุอะลัย ฮิ วะสัล ลัม -ตามทัศ นะของ
 38 

นักวิชาการหะดีษ- เพราะท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม


ได้ ให้ การรับรองหรื อยอมรับแล้ ว
และสิ่งที่สามารถเข้ าใจได้ จากหะดีษนี ้ก็คือ ศุฟเราะฮฺและ
กุด เราะฮฺ ที่ อ อกมาในช่ว งประจ าเดื อ นก็ เป็ นประจ าเดื อ น ซึ่ง ใช้
บทบัญญัตแิ ละข้ อชี ้ขาดเดียวกับประจาเดือน

เกร็ดควำมรู้ เพิ่มเติม
คำถำม รู้ได้ อย่างไรว่าประจาเดือนหมดแล้ ว?
ค ำต อ บ รู้ ได้ โด ย ก ารห ยุ ด ไห ล ข องเลื อ ด ซึ่ ง จ ะมี
เครื่ องหมายใดจากสองเครื่ องหมายนี ้
หนึ่ ง มี น า้ สี ขาวออกมา (ก็ อ ศเศาะฮฺ บัยฎออ์ ) ซึ่งมันจะ
ออกมาหลังจากประจาเดือน คล้ ายกับน ้าของปูนพลาสเตอร์ และ
บางทีก็อาจจะเป็ นสีอื่น ทังนี ้ ้ ขึ ้นอยูก่ บั สภาพของผู้หญิงแต่ละคน
สอง อวัยวะเพศแห้ ง พิสูจน์ได้ โดยการใช้ ผ้าหรื อสาลีสอด
เข้ าไปในอวัยวะเพศ จากนันดึ ้ งออกมา แล้ วพบว่ามันอยู่ในสภาพที่
แห้ ง ไม่มีสิ่งใดติดมาเลย ไม่วา่ จะเป็ นเลือด ศุฟเราะฮฺ หรื อกุดเราะฮฺ

4. สิ่งที่ต้องปฏิบัตหิ ลังจำกหมดประจำเดือน
 39 

สิ่ งที่ ส ตรี ต้องปฏิ บัติ ห ลังจากที่ ป ระจ าเดือนหมด คือการ


อาบน า้ ช าระให้ ทั่ว ทุก ส่ ว นของร่ า งกาย โดยตัง้ เจตนาท าความ
สะอาด เพราะท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
ِّ َ ْ َ ْ َ ْ َ َ َ َ َّ ََ َ َْ ْ َََْ َ َ
»‫وصل‬ ِ ‫«فإِذا أقبلت حيضت ِك فد ِِع الصالة َوإِذا أدب َرت فاغ‬
‫تس ِل‬
ความว่ า “เมื่ อ มี ป ระจ าเดื อ นเธอจงหยุ ด ละหมาด และเมื่ อ
ประจาเดือนหมด เธอก็ จงอาบนา้ ช าระร่ างกายแล้ ว จงละหมาด”
(บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 331)

วิธีกำรอำบนำ้
• ให้ ตงเจตนา(เนี
ั้ ยต) ยกหะดัษ หรื อทาความสะอาด เพื่อ
การละหมาดและอื่นๆ
• จากนันให้
้ กล่าวคาว่า "บิสมิลลาฮฺ"
• รดน ้าให้ ทวั่ ทังร่้ างกาย และให้ น ้าเข้ าถึงโคนผม
• ในกรณี ที่เป็ นผมเปี ย ไม่จาเป็ นต้ องคลายออก เพียงแต่
ให้ น ้าทัว่ ถึง
• หากใช้ น ้าใบพุทรา สบู่หรื อแชมพูทาความสะอาดพร้ อม
กับน ้าได้ ก็จะเป็ นการดี
• และควรใช้ ส าลี ชุบ เครื่ องหอมมาสอดไว้ ในช่องคลอด
หลัง จากการอาบนา้ เนื่ องจากท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัย ฮิ
วะสัลลัม เคยสัง่ ใช้ ให้ อสั มาอ์ทาเช่นนัน้ (บันทึกโดยมุสลิม)

ข้ อควรระวัง!!
 40 

• หากเลือดประจาเดือนหรื อเลือดหลังคลอดบุตรหมดก่อน
ดวงอาทิตย์ตกดิน จาเป็ นที่จะต้ องละหมาดซุ ฮร์ และอัศร์ (ละหมาด
รวม)ของวันนันด้ ้ วย
• หากเลื อ ดหมดก่ อ นแสงอรุ ณ ขึ น้ ก็ จ าเป็ นที่ จ ะต้ อง
ละหมาดมัฆริบและอิชาอ์ของคืนนัน้ เพราะเวลาของละหมาดที่สอง
(อัศร์ หรื อ อิ ชาอ์) คือเวลาของละหมาดที่หนึ่ง (ซุฮ ร์ และ มัฆ ริ บ)
ด้ วย ในกรณีมีอปุ สรรคที่ได้ รับการผ่อนปรน
ชัยคุลอิสลาม อิบนุ ตัยมียะฮฺ ได้ กล่าวในหนังสือ ของท่าน
ว่า “เพราะเหตุนี ้ปราชญ์ ส่วนมาก -เช่น มาลิก อัช-ชาฟิ อีย์ อะห์มดั
- มี ความเห็นว่า เมื่ อประจาเดือนหมดในช่วงสุดท้ ายของกลางวัน
เธอจะต้ อ งละหมาดทัง้ ซุ ฮ ร์ แ ละอัศ ร์ และเมื่ อ เลื อ ดหมดในช่ ว ง
สุดท้ ายของกลางคืน เธอก็จะต้ องละหมาดทังมั ้ ฆริ บและอิชาอ์ ดังที่
มีรายงานจากอับดุร เราะห์ ม าน บิน เอาฟฺ , อบู ฮุร็อยเราะฮฺ และ
อิบ นุ อับ บาส เพราะช่วงเวลาดังกล่าวนัน้ เป็ นเวลาร่ วมกัน ของ
ละหมาดทังสองในกรณี
้ ที่มีอปุ สรรค
ดังนัน้ เมื่อเลือดหมดในช่วงสุดท้ ายของกลางวัน เวลาของ
ละหมาดซุ ฮร์ ก็ยังเหลื ออยู่ เธอจะต้ องละหมาดซุ ฮร์ ด้วยก่อนที่จ ะ
ละหมาดอัศร์ และหากเลือดหยุดในช่วงสุดท้ ายของกลางคืน เวลา
ของละหมาดมัฆริ บก็เหลืออยูใ่ นยามที่มีอปุ สรรค ดังนัน้ เธอจะต้ อง
ละหมาดมัฆ ริ บ ด้ ว ยก่ อ นที่ จ ะละหมาดอิ ช าอ์ ” (อัล -ฟะตาวา :
22/434)
 41 

ส่วนในกรณี ที่เมื่ อเข้ าเวลาละหมาดแล้ ว แต่เธอยังไม่ได้


ละหมาด หลังจากนัน้ เธอมีประจาเดือนหรื อมี เลือดหลังคลอดบุตร
ตามทัศนะที่มีน ้าหนักมากกว่า คือไม่จาเป็ นต้ องละหมาดชดใช้
ชัยคุลอิสลาม อิบนุ ตัยมียะฮฺ ได้ กล่าวในหนังสือ มัจญ์ มูอฺ
อัล-ฟะตาวา (23/335) ในประเด็นนี ว้ ่า “สิ่งที่ปรากฏชัดเจนที่สุดใน
หลักฐาน คือ ทัศนะของอบู หะนี ฟ ะฮฺ และมาลิก ที่ เห็นว่าเธอไม่
จ าเป็ นต้ องชดใช้ เพราะการชดใช้ นัน้ เป็ นสิ่ งที่ จ าเป็ นก็ ต่อ เมื่ อ มี
คาสัง่ ใช้ และตรงจุดนี ้ไม่มีคาสัง่ ใดๆ ให้ ละหมาดชดใช้ และเพราะ
การล่าช้ าของเธอได้ รับ การอนุโลม ดังนัน้ เธอจึงไม่ใช่ผ้ ูที่ละเลย
ส่ ว นผู้ ที่ น อนหลั บ หรื อ ผู้ ลื ม -แม้ เขาไม่ ใ ช่ ผ้ ู ที่ ล ะเลย- แท้ จริ ง
ละหมาดของเขาไม่ใช่การชดใช้ แต่นั่นคือเวลาละหมาดของเขา
เมื่อตื่นขึ ้นมาหรื อเมื่อนึกได้ ก็ต้องละหมาดทันที”

สอง เลือดเสีย (อิสติหำเฎำะฮฺ)


1. บทบัญญัตหิ รือข้ อชีข้ ำดเกี่ยวกับเลือดเสีย
เลือดเสีย คือ เลือดที่ไหลออกมาโดยไม่มีกาหนดเวลาที่
แน่นอน ในลักษณะที่ออกบ่อยๆ จากเส้ นเลือดหนึง่ ซึ่งเรี ยกว่า “อัล-
อาซิล” (เป็ นการเปรี ยบเปรยของท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ
วะสัลลัม แปลว่า ก่อกวนหรื อตาหนิ) และเลือดประเภทนีม้ ี ความ
คลุมเครื อ อันเนื่องจากมีความคล้ ายคลึงกับเลือดประจาเดือน
 42 

ดังนัน้ เมื่อเลือดไหลออกมาตลอดเวลาหรื อเกินเวลาปกติ


แล้ ว จะถื อว่าเลื อดไหนเป็ นเลื อดประจ าเดือนและเลื อดไหนเป็ น
เลื อดเสีย ซึ่งถ้ ามีเลื อดนี ต้ ้ องไม่งดเว้ นจากการถื อศีลอดและต้ อง
ละหมาดตามปกติด้วย เพราะผู้ที่มี เลือดเสีย นัน้ มี หุก่มเหมือนกับ
ผู้หญิงที่สะอาดจากรอบเดือน
ดังนัน้ ผู้ที่มีเลือดเสีย จะมี 3 ลักษณะด้ วยกัน
ลักษณะที่หนึ่ง สตรี ที่มีประจาเดือนสม่าเสมอก่อนที่จะมี
เลือดเสีย เช่น ประจาเดือนมา 5 วัน หรื อ 8 วัน เป็ นต้ น ไม่ว่าจะมา
ตอนต้ นเดือนหรื อกลางเดือน และเธอก็ ร้ ู ดีถึงจ านวนวันเวลาของ
ประจาเดือนปกติที่มาเป็ นประจา เธอจะงดละหมาดและละเว้ นการ
ถื อศีล อดตามจานวนวันและเวลาที่ ประจ าเดือนเคยมาเป็ นปกติ
เพราะถื อว่าวันเวลาดังกล่าวคือประจาเดือนของเธอ หลังจากนัน้
เธอก็จะต้ องอาบน ้าชาระล้ างร่างกาย แล้ วละหมาด ส่วนเลือดที่ยงั
เหลืออยู่นนถื
ั ้ อว่าเป็ นเลือดเสีย เนื่องจากท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอ
ฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวกับอุมมุ หะบีบะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา
ว่า
ِّ َ َْ َْ ْ َ َ َ َ ْ َ ْ
»‫وصل‬ ‫ت َت ِبس ِك َحيْ َضت ِك ث َّم اغت ِس ِل‬ ‫«امك ِِث قدر ما َكن‬
ความว่า “จงงดละหมาดตามระยะเวลาที่เธอมีประจาเดือน จากนัน้
จงอาบน ้าชาระร่างกายและจงละหมาด” (บันทึกโดยมุสลิม : 757)
และท่ า น ยั ง ได้ กล่ า วแก่ ฟ าติ ม ะฮฺ บิ น ตุ อบี หุ บั ย ช์
เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา ว่า
 43 

َ َ َّ َ ْ َ‫ فَإ َذا أَ ْقبَل‬، ‫«إ َّن َما َذلك ع ْرق َولَي ْ َس ِبَيْض‬
»‫الصالة‬ ‫ت َحيْ َضت ِك ف َد ِِع‬ ِ ِ ِ ِ ِ ِ
ความว่า “แท้ จริงแล้ ว อิสติหาเฎาะฮฺนนเป็
ั ้ นเลือดจากเส้ นเลือดเส้ น
หนึ่งเท่านัน้ ไม่ใช่เลือดประจาเดือนแต่ประการใด ดังนัน้ (ยังไม่ต้อง
งดละหมาดถ้ ามี เลื อ ดนี )้ จนเมื่ อ ประจ าเดื อ นมา เธอจึ ง งดการ
ละหมาดได้ ” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 228 และมุสลิม : 751)

ลัก ษณะที่สอง สตรี ที่มี ประจาเดือนไม่แน่นอน แต่เลือด


ของเธอสามารถแยกแยะได้ ว่าเป็ นประจาเดือนหรื อเลือดเสีย โดย
เลื อดประจ าเดือนจะมี ลักษณะเป็ นสี ดา เหนี ยว หรื อมี กลิ่น ส่วน
เลือดอีกชนิดเป็ นสีแดง ไม่เหนียว และไม่มีกลิ่น ในสภาพเช่นนี ้ให้
ถื อ ว่ า เลื อ ดที่ มี ลั ก ษณ ะเป็ นประจ าเดื อ น ให้ ถื อ ว่ า เป็ นเลื อ ด
ประจาเดือน เธอก็จะต้ องงดการละหมาดและถือศีลอด ส่วนเลือดที่
ไม่มี ลักษณะของเลื อดประจาเดือน ก็ ให้ ถือว่าเป็ นเลื อดเสี ย เธอ
จะต้ องช าระร่ า งกาย หลั ง จากหมดเลื อ ดที่ มี ลั ก ษณ ะของ
ประจาเดือน จะต้ องละหมาดและถือศีลอด เพราะถือว่าเธอสะอาด
ดังที่ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวแก่ฟาติมะฮฺ
บินตุ อบี หุบยั ช์ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา ว่า
َّ َ َ ْ َ َ َ َ َ َّ ََْ ْ َ َ َّ َ ْ َ َ َ
‫ ف ِإذا َكن اْلخر فتَ َوض ِِئ‬، ِ‫الصالة‬ ‫«إذا َكن احلَيْض ف ِإنه دم أ ْس َود يع َرف فأم ِس ِِك َع ِن‬
ِّ
»‫َو َصل‬
ความว่า “เลือดประจาเดือนนันมี
้ สีดาเป็ นที่รับรู้กนั ดังนัน้ เธอจงงด
การละหมาด หากว่ามันไม่ใช่สีดา (ไม่ใช่ประจาเดือน) เธอก็จงเอา
นา้ ละหมาดและละหมาดตามปกติ” (บันทึกโดยอบู ดาวูด : 286,
 44 

อัน -นะสาอี ย์ : 215, อิ บ นุ หิ บ บาน : 1348 และอัล -หากิ ม : 620


เห็นว่าเป็ นหะดีษเศาะฮีหฺ)

ในหะดีษบทนี ้เป็ นหลักฐานว่า แท้ จริงผู้ที่มีเลือดเสียจะต้ อง


พิ จ ารณาลัก ษณะของเลื อ ด แล้ ว แยกแยะระหว่างเลื อ ดเสี ย กับ
ประจาเดือน และเลือดอื่นๆ

ลั ก ษณะที่ ส ำม สตรี ที่ มี ประจ าเดือนไม่แน่น อน และไม่


สามารถแยกแยะระหว่างเลื อดประจ าเดือนกับ เลื อดอื่ น ๆ ได้ ใน
กรณี นี ก้ ็ ใ ห้ เธองดละหมาดและศี ล อด ตามเวลามากสุ ด ของ
ประจาเดือนปกติ คือ 6 หรื อ 7 วัน เพราะจานวน 6 หรื อ 7 วัน นัน้
นับว่ามากสุดแล้ วส าหรับเลื อดประจ าเดือนของผู้หญิ งส่วนใหญ่
ดังที่ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวแก่หมั นะฮฺ
บินตุ ญะห์ชนิ ว่า
َْ َ َ َ َ َ َ َ‫الشيْ َطان َفت‬ ََّ َ ََ َ َْ َ ََّ
‫ح َّيَ ِِض ِس َّتَة أيََّام أ ْو َسبْ َعة أيََّام ث ََّم اغت ِس ِل‬ ِ ‫ات‬
ِ ‫«إنما يه ركضة من ركض‬
َ َ ََّ َ ً َ ْ َ َ ْ ‫ين َيلْلَ ًة أَ ْو أَ ْر َب ًعا َوع‬ َ ‫الثًا َو ِع ْرش‬ َ َ َّ َ َ ْ َ ْ َ ْ َ
ِ ‫رشين يللة َوأيامها َوص‬
‫وِم‬ ِ ِ ِ ‫فإذا استنقأ ِت فص ِل ث‬ ِ
َ َّ َ َ َ َ ْ َ َ َ َ َ ْ َ َ ََّ َ
»‫َتيض ال ِنساء‬ ِ ‫وصل ف ِإن ذلِك َي ِزئ ِك وكذلِك فافع َِل كما‬
“แท้ จริ ง สิ่ ง นั น้ เป็ นการรบกวน ของชั ย ฏอนมารร้ าย จงนั บ
ประจาเดือน 6 หรื อ 7 วัน จากนันจงอาบน ้ ้าชาระร่างกาย ครัน้ เมื่อ
สะอาดแล้ ว ก็ จ งละหมาด 24 หรื อ 23 วัน จงถื อ ศี ล อดและจง
ละหมาด แท้ จริ ง นั่น ถื อ ว่ า ใช้ ไ ด้ แล้ ว ส าหรั บ เธอ และจงปฏิ บัติ
เหมื อนกับ บรรดาผู้ที่ มี ป ระจ าเดือ นทั่วไป” (บัน ทึก โดยอะห์ มัด :
 45 

27463 , อบู ดาวูด : 278 , อัน -นะสาอี ย์ : 354 , อิ บ นุ มาญะฮฺ :


622 และอัต-ติรมิซีย์ : 128 กล่าวว่า เป็ นหะดีษเศาะฮีหฺ)

สรุ ป สตรี ที่มีประจาเดือนสม่าเสมอตามวันเวลาที่ แน่นอน


ก็ ให้ ถื อปฏิ บัติต ามนัน้ ส่วนสตรี ที่ส ามารถแยกแยะลักษณะของ
เลือดประจาเดือนและเลือดอื่นได้ ก็ให้ ยดึ เอาลักษณะของเลือดเป็ น
หลัก สาหรับสตรี ที่มี จานวนวันของประจ าเดือนไม่ชัดเจนและไม่
สามารถแยกลักษณะเลือดระหว่างประจาเดือนกับเลือดอื่นได้ ก็ให้
นับว่าประจาเดือนของเธอเป็ น 6 หรื อ 7 วัน และนี่เป็ นการปฏิบัติ
ตามหะดีษทังสามที ้ ่กล่าวถึงผู้มีเลือดเสีย
ชัยคุลอิสลาม อิบนุ ตัยมียะฮฺ กล่าวว่า “เครื่ องหมายหรื อ
สั ญ ญ าณ ที่ ถู ก กล่ า วถึ ง มี 6 ประการด้ วยกั น บางที ใ ช้ เลื อ ด
ประจาเดือน เพราะถือว่าเป็ นเครื่ องหมายที่ ชดั เจนมีนา้ หนักที่ สุด
เพราะเดิมที มันเป็ นที่ของประจาเดือนไม่ใช่เลือดอื่น และบางทีใช้
การแยกแยะ เพราะว่าเลือดสีดา เหนียว และมีกลิ่นน่าจะเป็ นเลือด
ประจาเดือนมากกว่าเลือดสี แดง และบางครัง้ ยึดถื อเอาส่วนมาก
ของเลือดประจาเดือน เพราะหลัก การเดิมในทางฟิ กฮฺก็คือต้ องเอา
สิ่ ง เล็ ก น้ อ ยไปผนวกกับ ส่ วนใหญ่ ที่ ค รอบคลุม กว่า ทัง้ สามนี ค้ ื อ
เครื่ อ งหมายที่ มี ห ลัก ฐานรั บ รองจากสุ น นะฮฺ แ ละการอิ อฺ ติ บ ารฺ
(ประเภทหนึง่ ของการกิยาส) จากนัน้ ท่านก็ได้ กล่าวถึงเครื่ องหมาย
อื่นๆ และได้ กล่าวในตอนท้ ายว่า แนวทางที่ถกู ต้ องที่สดุ คือ การยึด
 46 

ถื อเอาเครื่ องหมายต่างๆ ตามที่ มี ป รากฏในแบบฉบับ (สุนนะฮฺ )


และให้ ยกเลิกสิ่งอื่นจากนัน...”

2. สิ่งที่ผ้ ูมีเลือดเสียต้ องปฏิบัติ


2.1 จะต้ องอาบนา้ ชาระล้ างร่ างกาย เมื่อสิน้ สุดเวลาของ
การมีประจาเดือน ดังที่มีการแจกแจงมาก่อนหน้ านี ้
2.2 ต้ องชาระล้ างอวัยวะเพศ เพื่อขจัดสิ่งที่ออกมาทุกครัง้
ก่อนละหมาด และให้ ใช้ ส าลี ห รื อ อื่ น ๆ ซับ ที่ ช่องคลอดเพื่ อระงับ
ไม่ให้ เลือดไหลออกมา และไม่ให้ ไหลย้ อยในเวลาละหมาด จากนัน้
ให้ อาบน ้าละหมาดทุกครัง้ เมื่อเข้ าเวลาละหมาด ดังที่ท่านเราะสูล
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวถึงสตรี ที่มีเลือดเสียคนหนึง่ ว่า
َ ِّ َّ َ ََْ ْ َ َ َّ َ َ َ َّ َ
»‫ ث َّم تغت ِسل َوت َوضأ عند ك َصالة‬، ‫ام أق َرائِ َها‬ ‫«ت َدع الصالة أي‬
ความว่ า “เธอจะงดการละหมาดในช่ ว งเวลาที่ มี ป ระจ าเดื อ น
หลังจากนัน้ ให้ ชาระร่างกายและอาบน ้าละหมาดทุกครัง้ ก่อนที่จะ
ละหมาด” (บั น ทึ ก โดยอบู ดาวู ด : 297, อิ บ นุ มาญ ะฮฺ : 625
และอัต-ติรมีซีย์ : 126 และกล่าวว่า เป็ นหะดีษหะสัน)
และท่านยังได้ กล่าวอีกว่า
َّ ‫«أَ ْن َعت لَك الْك ْرس َف فَإنَّه ي ْذهب‬
»‫ادل َم‬ ِ ِ ِ
ความว่า “ฉัน แนะนาให้ เธอใช้ ส าลี ซึ่ง มัน จะท าให้ เลื อ ดหยุด ได้ ”
(บันทึกโดยอบู ดาวูด : 287 , อัต-ติรมิซีย์ : 128 และอิบนุ-มาญะฮฺ
: 622)
 47 

และสามารถที่จะใช้ ผ้าอนามัยตามที่มีอยู่ในยุคปั จจุบนั นี ้


แทนได้

สำม เลือดหลังคลอดบุตร (นิฟำส)


3.1 นิยำม และระยะเวลำของเลือดหลังคลอด
เลื อ ดหลั ง คลอดบุ ต ร คื อ เลื อ ดที่ อ อกมาจากมดลู ก
เนื่ อ งจากการคลอดบุต รและหลัง จากการคลอด เป็ นเลื อ ดที่ ยัง
ตกค้ าง หรื อเหลืออยู่ในมดลูกตอนตังครรภ์ ้ แล้ วมันค่อยทยอยไหล
ออกมาเมื่อคลอด
ส่วนเลือดที่ไหลออกมาก่อนคลอด ซึ่ง มีสญ ั ญาณของการ
คลอด ก็ ถื อ ว่ า เป็ นเลื อ ดจากการคลอดบุ ต ร โดยที่ บ รรดานั ก
นิติศาสตร์ อิสลามได้ ระบุไว้ ว่า ประมาณสองถึงสามวันก่อนคลอด
และโดยปกติเลือดดังกล่าวจะไหลออกมาพร้ อมกับการคลอดบุตร
การคลอดที่ ถู ก นั บ หรื อ เป็ นมาตรฐาน คื อ คลอดสิ่ ง ที่
ปรากฏเป็ นรู ป ร่ า งของมนุษ ย์ อย่ า งน้ อยสุด มี อ ายุ 81 วัน และ
โดยมากหรื อปกติแล้ วคือ 3 เดือน
ดังนันหากแท้
้ งก่อนเวลาดังกล่าว และมีเลือดออกมา ก็ไม่
ถือว่าเป็ นเลือดจากการคลอด จะต้ องละหมาดและถือศีลอดเพราะ
เป็ นเลือดเสีย ดังนัน้ ให้ ใช้ บทบัญญัติและข้ อชี ้ขาดเดียวกับผู้มีเลือด
เสีย
 48 

และโดยปกติแล้ ว เวลามากสุดของเลือดหลังคลอด คือ 40


วัน เริ่ ม นั บ จากเวลาคลอดหรื อ ก่ อ นคลอด 2 หรื อ 3 วัน –ดัง ที่
น าเสนอมาก่ อ นหน้ า- เนื่ อ งจากหะดี ษ จากอุ ม มุ สะละมะฮฺ
เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา ที่วา่
َ ‫اَّلل َعلَيْه َو َسلَّ َم أَ ْر َبع‬
‫ني يَ ْو ًما‬
َّ َّ َ َّ
‫اَّلل صَل‬ َ ْ َ ََ َْ َ َُ ْ َ َ
ِ ِ ِ ‫ول‬ ِ ‫َكنت انلفساء َت ِلس لَع عه ِد رس‬
ความว่า ในสมัยของท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม สตรี
ที่มีเลือดจากการคลอดบุตร จะงดจากการละหมาดและการถือศีล
อดเป็ นระยะเวลา 40 วัน (บัน ทึก โดยอัต -ติ รมิ ซี ย์ : 258 และคน
อื่นๆ)
และบรรดาปวงปราชญ์ มี ม ติ เป็ นเอกฉั น ท์ ในเรื่ อ งนี ้ ดัง
ที่อตั -ติรมิซีย์ และนักวิชาการท่านอื่นๆ ได้ รายงานไว้
และหากเลื อ ดหยุด ไหลก่ อ น 40 วัน เธอจะต้ อ งอาบน า้
ชาระร่างกายและจะต้ องละหมาด เนื่องจากไม่มีกาหนดระยะเวลา
น้ อยสุดของเลือดจากการคลอดบุตร เพราะเวลาน้ อยสุดมิถกู ระบุไว้
และเมื่อเลยเวลา 40 วันแล้ ว ถ้ าหากตรงกับระยะเวลาของ
เลือดประจาเดือน ก็ให้ ถือว่าเป็ นเลือดประจาเดือน และหากไม่ตรง
กับช่วงเวลาของเลือดประจาเดือนแต่เลือดยังไม่หยุด ก็ให้ ถือว่าเป็ น
เลือดเสีย และต้ องปฏิบตั ศิ าสนกิจตามปกติ
และในกรณี ที่เลือดไหลเกิน 40 วัน แต่ไม่ไหลต่อเนื่องและ
ไม่ตรงกับประจาเดือน กรณีนี ้นักวิชาการมีทศั นะความเห็นแตกต่าง
กัน
 49 

3.2 บทบัญญัตเิ กี่ยวกับเลือดหลังคลอดบุตร


บท บั ญ ญั ติ เ กี่ ยวกั บ เลื อดห ลั ง คลอด ก็ เห มื อนกั บ
บทบัญญัตเิ กี่ยวกับเลือดประจาเดือน ดังรายละเอียดต่อไปนี ้
1. ห้ ามมีเพศสัมพันธ์ เช่นเดียวกับภรรยาที่มีประจาเดือน
และอนุโลมให้ หยอกล้ อ หาความสุขอย่างอื่นได้
2. ห้ ามถื อ ศี ล อด ละหมาด หรื อ เวี ย นรอบบัย ตุล ลอฮฮุ
เช่นเดียวกับผู้ที่มีประจาเดือน
3. ห้ ามสัมผัส หรื ออ่านอัลกุรอาน ตราบใดที่ ไม่เกรงว่าจะ
ลืม
4. ต้ องชดใช้ การถื อศีลอดที่ ขาดในช่วงมี เลื อดหลังคลอด
เช่นเดียวกับคนที่มีประจาเดือน
5. ต้ องอาบน ้าชาระร่างกายเมื่อเลือดหยุด
และหลักฐานในเรื่ องนี ้คือ
(1) จากอุมมุสะละมะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา กล่าวว่า
َ ‫اَّلل َعلَيْه َو َسلَّ َم أَ ْر َبع‬
‫ني يَ ْو ًما‬
َّ َّ َ َّ
‫اَّلل صَل‬ َ ْ َ ََ َْ َ َُ ْ َ َ
ِ ِ ِ ‫ول‬ ِ ‫َكنت انلفساء َت ِلس لَع عه ِد رس‬
ความว่า ในสมัยของท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม สตรี
ที่มีเลือดจากการคลอดบุตร จะงดจากการละหมาดและการถือศีล
อดเป็ นระยะเวลา 40 วัน (โดยนัก บัน ทึ ก อัต -ติ รมิ ซี ย์ 258, อิ บ นุ
มาญะฮฺ 648, อบู ดาวูด 312)
 50 

ท่านมัจญ์ ดุดดีน ปู่ ของอิบนุตยั มียะฮฺ ได้ กล่าวในหนังสื อ


ของท่าน (อัล -มุล ตะกอ : 1/184) ความหมายของหะดีษ บทนี ค้ ื อ
“เธอถูกสั่งให้ งดจาการละหมาดและศีล อดเป็ นเวลา 40 วัน ทัง้ นี ้
เพื่อมิให้ คาพูดของท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เป็ น
เท็ จ เพราะเป็ นไปไม่ ไ ด้ ที่ ป กติ แ ล้ วผู้ หญิ งในยุ ค หนึ่ ง ๆ จะมี
ประจาเดือนหรื อเลือดหลังคลอดเท่ากัน"
(2) รายงานจากอุมมุ สะละมะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา กล่าว
ว่า
َ ًَ َ َ ََْ َ ْ َ َّ َ ْ َ َ َّ َ ِّ َّ َ ‫ََكنَت ال ْ َم ْرأَة ِم ْن ن‬
‫ني يلْلة ل‬ ِ ‫ب صَل اهلل علي ِه َوسل َم تقعد ِيف انلِّف‬
‫اس أرب ِع‬ ِ ‫انل‬ ‫ء‬
ِ ‫ا‬‫س‬ ِ ِ
َ ِّ َ َ َ َ َ َّ َ َ ْ َ َ َّ َ ُ َّ َ ْ َ
‫اس‬
ِ ‫يأمرها انل ِب صَل اهلل علي ِه وسلم بِقضا ِء صال ِة انلف‬
ความว่า ภรรยาของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม ได้ พัก
ในขณะมี เลื อ ดหลัง คลอด 40 วัน โดยท่ า นไม่ ไ ด้ สั่ง ให้ เธอชดใช้
ละหมาด ที่ขาดไปในช่วงนัน้ (บันทึกโดยอบู ดาวูด : 312)

เกร็ดควำมรู้
หากเลือดหยุดก่อนครบ 40 วัน แล้ วเธอได้ อาบน ้าชาระล้ าง
ร่างกาย ละหมาด และถือศีลอด หลังจากนันมี ้ เลือดไหลอีกครัง้ หนึ่ง
ก่อนครบ 40 วัน ที่ถกู ต้ องแล้ วให้ ถือว่าเป็ นเลือดจากการคลอดบุตร
โดยที่เธอจะต้ องงดการถือศีลอดและงดละหมาด ส่วนการถือศีลอด
ในช่วงที่สะอาดระหว่างนันก็ ้ ใช้ ได้ ไม่ต้องชดใช้ (โปรดดูมจั ญ์ มอู ฺฟะ
ตาวา ของชัยค์ มุหัม มัด บิ น อิบ รอฮี ม เล่ม ที่ 2 หน้ าที่ 102 , อัล -
ฟะตาวา ของชัยค์อับดุลอะซีซ บินบาซ ที่ได้ ตีพิมพ์ในวารสารอัด -
 51 

ดะวะฮฺ เล่มที่ 1/44 , หาชิยะฮฺของอิบนุ กอสิม อะลา ชัรห์ อัซ-ซาด


เล่ ม ที่ 1/405, ริ ส าละฮฺ ฟี อั ด -ดิ ม าอ์ อั ฏ -เฏาะบิ อี ย ะฮฺ ลิ อั น -
นิสาอ์ หน้ า 55-56 และอัล-ฟะตาวา อัส-สะอฺดียะฮฺ หน้ าที่ 137)

เกร็ดควำมรู้ อ่ ืนๆ
ชัยค์อบั ดุรเราะห์ มาน อิบนุ อัส-สะอฺ ดีย์ เราะหิมะฮุลลอฮฺ
กล่าวว่า “เป็ นที่ ประจักษ์ ว่าเลื อดจากการคลอดบุตรนัน้ มี สาเหตุ
จากการคลอดบุต ร ส่วนเลื อ ดเสี ย นัน้ คื อ เลื อ ดที่ ไ ม่ป กติ เพราะ
เจ็บป่ วยและอื่นๆ และประจาเดือนคือเลือดปกติ ” (อิรชาด อุลิล อับ
ศอร วัล อัลบาบ หน้ าที่ 25)

กำรรับประทำนยำ
อนุญ าตให้ รับประทานยาเพื่ อระงับเลื อดประจ าเดือนได้
หากไม่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพ ดังนัน้ เมื่อได้ รับประทานแล้ ว และ
ประจาเดือนได้ หยุด จงถื อศีลอด ละหมาด และเฏาะวาฟรอบบัย
ตุลลอฮฺ และปฏิบตั สิ ิ่งอื่นๆ ได้ เหมือนกับผู้ที่มีความสะอาดทัว่ ไป

บทบัญญัตวิ ่ ำด้ วยกำรทำแท้ ง


โอ้ สตรี ผ้ ูศรัทธาเอ๋ย เธอจะต้ องรับผิดชอบต่อสิ่งที่อัลลอฮฺ
ทรงสร้ างขึน้ มาในครรภ์ ข องเธอ ดัง นัน้ เธออย่ า ได้ ปกปิ ดสิ่ ง นัน้
อัลลอฮฺได้ ตรัสว่า
 52 

َ ‫كن يُ أؤمِن بٱّللِ َو أ‬


‫ٱّل أو ِم‬
ُ
‫ن‬ ‫إ‬ ‫ن‬ ‫ه‬ ‫م‬
ِ ‫ا‬‫ح‬َ ‫ف أَ أر‬
ٓ ‫ٱّلل‬
‫َ َ َ َُ َ َ أ‬
ُ ‫ك ُت أم َن َما َخلَ َق‬ ‫﴿ول َيِل لهن أن ي‬
ِ ِ ِ ِ
]٢٢٨ :‫ٱٓأۡلخ ِِرن ﴾ [اْلقرة‬
ความว่า “และไม่เป็ นที่อนุมัติสาหรับพวกเธอในการที่พวกเธอจะ
ปกปิ ดสิ่งที่อลั ลอฮฺได้ สร้ างขึ ้นมาในมดลูกของพวกเธอ หากว่าพวก
เธอนันเป็
้ นผู้ศรัทธาต่ออัลลอฮฺและวันสุดท้ าย” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ :
228)

และเธออย่าได้ ใช้ เล่ห์กลในการทาแท้ ง ไม่ว่าจะด้ วยวิธีการ


อันใดก็ตาม แท้ จริ งอัลลอฮฺได้ ผอ่ นปรนให้ เธอละศีลอดในเดือนเราะ
มะฎอนได้ เมื่อการถือศีลอดเป็ นความลาบากในขณะที่เธอตังครรภ์ ้
หรื อการถื อศีลอดทาให้ เกิดอันตรายกับทารกในครรภ์ และแท้ จริ ง
การทาแท้ งที่แพร่หลายในสมัยนี ้นัน้ เป็ นสิ่งที่ต้องห้ าม
และหากสิ่งที่อยู่ในครรภ์ถูกเป่ าวิญญาณแล้ ว และได้ ตาย
ไปด้ วยสาเหตุของการทาแท้ ง แท้ จริ งนั่นถือว่าเป็ นการฆ่าชีวิตโดย
ไม่ ช อบธรรม ซึ่ ง อั ล ลอฮฺ ท รงห้ ามและจะติ ด ตามด้ วยความ
รับผิดชอบเรื่ องสินไหม ตามอัตราที่ถูกกาหนด และ -ในทัศนะของ
ผู้ร้ ู บางคน- ต้ องจ่ายกัฟ ฟาเราะฮฺ (ค่าไถ่โทษ) คือ การปล่อยทาส
หญิ งที่ ศ รัท ธา หากไม่ส ามารถก็ ให้ ถือศี ล อดสองเดือนติดต่อกัน
และผู้ร้ ูบางคนได้ เรี ยกการกระทานี ้ว่า “การฝั งทังเป็
้ นประเภทเล็ก”
ชัยค์มุหมั มัด อิบนุ อิบรอฮีม เราะหิมะฮุลลอฮฺ ได้ กล่าวใน
หนังสือมัจญ์ มอู ฺฟะตาวา เล่มที่ 11 หน้ าที่ 105 ว่า “การหาช่องทาง
 53 

ที่ จ ะท าแท้ งขณะที่ ไ ม่ แ น่ ใจว่ า เด็ ก ตายแล้ วหรื อ ยัง นัน้ ไม่ เป็ นที่
อนุญาต แต่ในกรณีที่มนั่ ใจว่าเด็กเสียชีวิตแล้ วก็สามารถทาแท้ งได้ ”
สภานักวิชาการระดับสูง ของประเทศซาอุดิอาระเบียมี มติ
เลขที่ 140 ลงวันที่ 20/6/1407 ดังต่อไปนี ้
1. ไม่อนุญ าตให้ ท าแท้ งไม่ ว่าในระยะใด ยกเว้ น จะมี ข้ อ
ผ่อนผันทางบทบัญญัติ และอยูใ่ นขอบเขต(กรอบ) ที่จากัดยิ่ง
2. ไม่อนุญาตให้ ทาแท้ งในช่วงแรก -คือระยะครรภ์ 40 วัน
แรก- หากการกระทาดังกล่าวเนื่ องจากกลัวความยากลาบากใน
ก ารเลี ย้ งดู บุ ต ร ก ลั ว ว่ า ไม่ ส าม ารถ แ บ ก รั บ ค่ า ใช้ จ่ า ย ใน
ชีวิตประจาวัน ค่าศึกษาเล่าเรี ยน หรื อกลัวถึงอนาคตของพวกเขา
หรื อจานวนลูกที่มีอยูพ่ อเพียงแล้ ว
3. ไม่อนุญ าตให้ ท าแท้ ง เมื่ อในครรภ์ เป็ นก้ อ นเลื อด หรื อ
ก้ อนเนือ้ แล้ ว นอกจากกรณี ที่คณะแพทย์ซึ่งเชื่อถื อได้ ยืนยันว่าจะ
เป็ นอันตรายต่อแม่ เช่นเกรงว่าจะเกิดอันตรายถึงชีวิตหากให้ อยู่ใน
ครรภ์ ต่อไป ซึ่งในกรณี เช่นนี ้อนุญาตให้ ทาแท้ งได้ ทังนี ้ ้หลังจากใช้
เครื่ องมือทุกชนิดเพื่อป้องกันอันตรายเหล่านันแล้ ้ ว
4. หลังจากระยะที่ 3 (เป็ นก้ อนเนือ้ ) และหลังจากครบ 4
เดือนของการตังครรภ์
้ ไม่อนุญาตให้ ทาแท้ ง ยกเว้ นจะมีคณะแพทย์
ผู้เชี่ยวชาญและเชื่อถือได้ ยืนยันว่าการอุ้มท้ องต่อไปจะเป็ นเหตุให้
มารดาเสียชีวิต ทังนี ้ ้หลังจากใช้ เครื่ องมือทุกชนิดเพื่อช่วยชีวิตของ
เด็กในครรภ์แล้ ว และการที่อนุญาตให้ ทาแท้ งตามเงื่อนไขต่างๆ นัน้
 54 

ก็ให้ วางอยู่บนหลักการขจัดอันตรายที่ยิ่งใหญ่กว่าจากอันตรายทัง้
สองด้ าน (อัน ตรายต่อ ชี วิตของแม่และเด็ก) และเพื่ อ ให้ ได้ ม าซึ่ง
ผลประโยชน์ที่ยิ่งใหญ่กว่าจากประโยชน์ทงั ้ สอง (เพื่อชีวิตแม่และ
เด็ก)
จากนั น้ สภานั ก วิ ช าการระดับ สู ง ได้ สั่ ง เสี ย ให้ มี ค วาม
ยาเกรงต่ออัลลอฮฺ และให้ มีการไตร่ตรองพิจารณาในเรื่ องนี ้ อัลลอฮฺ
เป็ นผู้ที่ประทานความสาเร็ จ ขอพระองค์ทรงประทานพรแด่ท่านนบี
มุหมั มัด บรรดาวงศ์วาน และบรรดาอัครสาวกของท่านด้ วยเทอญ
ชัยค์มุหมั มัด อิบนุ อุษัยมีน กล่าวไว้ ในหนังสือ ริ สาละฮฺ ฟี
อัด-ดิมาอ์ อัฏ-เฏาะบิอียะฮฺ ลิ อัน-นิสาอ์ หน้ าที่ 60 ว่า “หากการทา
แท้ งโดยมี เจตนาที่ จ ะท าลายเด็ ก ที่ อ ยู่ในครรภ์ ห ลัง จากถูก เป่ า
วิญญาณเข้ าไปในเด็กแล้ ว การกระทาดังกล่าวเป็ นสิ่งต้ องห้ าม โดย
ไม่ มี ข้ อ สงสัย ใดๆ เพราะเป็ นการฆ่ า ชี วิ ต โดยอธรรม ซึ่ ง เป็ นสิ่ ง
ต้ องห้ ามตามอัลกุรอาน หะดีษ และมติเอกฉันท์ของปวงปราชญ์”
และอิมามอิบนุ อัล-เญาซีย์ ได้ กล่าวไว้ ในหนังสืออะห์กาม
อัน-นนิสาอ์ หน้ าที่ 108-109 ว่า “เมื่อจุดประสงค์ของการแต่งงาน
คือการมี ลูก และไม่ได้ หมายความว่านา้ (อสุจิ) ทัง้ หมดจะเป็ นลูก
ดังนันเมื
้ ่อเด็กก่อตัวขึน้ เป็ นรูปร่ างก็ถือว่าบรรลุจุดมุ่งหมาย ดังนัน้
การเจตนาทาแท้ งจึงค้ านกับเป้าหมายของการแต่งงาน เว้ นแต่ว่า
การทาแท้ งได้ เกิดขึน้ ในตอนแรกของการตังครรภ์ ้ ก่อนที่จะมี การ
เป่ าวิญ ญาณเข้ าไป ซึ่งเป็ นความผิดที่ใหญ่ หลวง เพราะกาลังก้ าว
 55 

ไปสู่ ค วามสมบู ร ณ์ ครบถ้ วนของการเป็ นมนุ ษ ย์ แต่ อั น นี จ้ ะมี


ความผิดน้ อยกว่ากรณีที่มีการเป่ าวิญญาณเข้ าไปแล้ ว และการทา
แท้ งหลังจากการเป่ าวิญญาณเสมือนกับการฆ่าชีวิตศรัทธาชน โดย
ที่อลั ลอฮฺได้ ตรัสว่า
‫ بأَ ّي َذۢنب قُت ِلَ أ‬٨ ‫ت‬
]٩ ،٨ :‫ ﴾ [اتلكوير‬٩ ‫ت‬
َ ُ‫َ أَأ‬
‫ۥدةُ ُسئلَ أ‬‫﴿ ِإَوذا ٱلموء‬
ِ ِ ِ
ความว่า “และเมื่อทารกหญิ งที่ถูกฝั งทังเป็
้ นถูกถาม ด้ วยความผิด
อันใดเขาจึงถูกฆ่า” (อัต-ตักวีร : 8-9)

โอ้ สตรี ผ้ ูศรัทธาเอ๋ย จงยาเกรงต่ออัลลอฮฺเถิด และอย่าได้


กระทาความผิ ดนี โ้ ดยเด็ดขาด ไม่ว่าจะด้ วยวัตถุป ระสงค์อันใดก็
ตาม และอย่ า ได้ หลงค าโฆษณาชวนเชื่ อ ที่ ห ลงผิ ด หรื อ การ
เลี ยนแบบที่จ ะนาไปสู่ความเสี ยหาย ซึ่งไม่เป็ นที่ พึงประสงค์ของ
สติปัญญาหรื อศาสนาแต่อย่างใด
 56 

บทที่ 4
บัญญัตวิ ่ ำด้ วยอำภรณ์ และหิญำบ

หนึ่ง คุณสมบัตขิ องอำภรณ์ สำหรั บสตรี ผ้ ูศรั ทธำ


1. จะต้ องปกปิ ดทุกส่วนของร่างกายจากการมองของผู้ชาย
ที่ แ ต่ ง งานกั น ได้ และไม่ เ ปิ ดเผยแก่ ผ้ ู ชายที่ แ ต่ ง งานกั น ไม่ ไ ด้
(ญาติ ส นิ ท ที่ เป็ นมะห์ ร็อ ม)นอกจากสิ่ ง ที่ เปิ ดเผยตามประเพณี
ปฏิบตั ิ เช่น ใบหน้ า มือทังสอง
้ และเท้ าทังสอง้
2. มีความหนา สามารถปกปิ ดสีของผิวหนังได้
3. ไม่รัดรู ป จนทาให้ เห็นสัดส่วนอย่างชัดเจน ดังในบันทึก
ของมุสลิม
َ
َ َّ‫ون ب َها انل‬ ْ َ ََْ َََْ َ ْ َ َ ْ َ َ َ َ ْ َ ‫انل‬ َّ ْ َ ْ َْ
.‫اس‬ ِ ‫ْضب‬ ِ ‫ابَ اْلق ِر ي‬
ِ ‫ قوم معهم ِسياط كأذن‬:‫ار لم أرهما‬ ِ ‫« ِصنفان ِمن أه ِل‬
َ َ ْ ْ ْ َ ْ َ َّ َ َ َ َ َ َ َ َ
‫ ل‬.‫ت ال َمائِل ِة‬ ِ ‫ رؤوسهن كأس ِنم ِة اْلخ‬،‫َونِساء َك ِسيات اع ِريات م ِميالت مائِالت‬
َ َ َ َ َ َ ْ ْ َْ َْ
َ ‫ َوإ َّن رحيَ َها َيل‬،‫اْلَنَّ َة َو َل ََي ْد َن رحيَ َها‬
»‫ري ِة كذا َوكذا‬ ‫وجد ِمن م ِس‬ ِ ِ ِ ِ ‫يدخلن‬
ความว่า “ชาวนรกสองจาพวกที่ฉันไม่เคยเห็น หนึ่งคือพวกเขามีแส้
คล้ ายกับหางวัวใช้ เฆี่ ยนตีผ้ ูคน และอีกกลุ่มคือบรรดาผู้หญิ งที่ใส่
อาภรณ์ ไม่มิ ด ชิ ด ยั่วยวน ศี รษะของพวกนางคล้ ายกับ โหนกอูฐ
พวกนางจะไม่ได้ เข้ าสวรรค์ และไม่ได้ ดมกลิ่นของสวรรค์ ทังที ้ ่กลิ่น
ของมันจะสัมผัสได้ ในระยะเท่านันเท่ ้ านี ้” (บันทึกโดยมุสลิม : 5547)
 57 

อิบนุ ตัยมียะฮฺ เราะหิมะฮุลลอฮฺ ได้ อธิบายคาว่า “ปกปิ ด


ไม่มิดชิด” คือ การแต่งกายด้ วยอาภรณ์ที่ไม่ปกปิ ดเรื อนร่าง ดูเผินๆ
คือสวมใส่แต่ในความเป็ นจริ งเหมือนกับเปลือยกาย ดังเช่นคนสวม
ใส่เสื ้อผ้ าที่บางจนเห็นผิวหนัง หรื อรัดรูปจนเห็นสัดส่วน เช่น สะโพก
แขน และอื่นๆ และแท้ จริ งแล้ วอาภรณ์ของผู้หญิงคือสิ่งที่ปกปิ ด ไม่
เปิ ดเผยเรื อนร่างและสัดส่วน เพราะว่าอาภรณ์ของผู้หญิงหนาและ
กว้ าง (ใหญ่)” (มัจญ์มอู ฺฟะตาวา : 22/146)
4. ไม่เลียนแบบการแต่งกายของผู้ชาย เพราะท่านเราะสูล
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม สาปแช่งผู้หญิงที่ทาตัวเป็ นผู้ชายและ
ผู้ชายที่ทาตัวเป็ นผู้หญิ ง และการเลียนแบบผู้ชายในการแต่งกาย
นัน้ คื อ สวมใส่ เ สื อ้ ผ้ าที่ เป็ นชุ ด เฉพาะส าหรั บ ผู้ ชายตามจารี ต
ประเพณี ทังในด้ ้ านชนิดและลักษณะของเสื ้อผ้ า
อิบนุ ตัยมียะฮฺ กล่าวว่า “ความแตกต่างระหว่างเสื ้อผ้ าของ
ผู้ชายและผู้หญิ งนัน้ ให้ กลับไปพิจารณาสิ่งที่เหมาะสมของแต่ละ
คน ซึ่งเหมาะสมกับคาสัง่ ที่ให้ ผ้ หู ญิงปกปิ ดและสวมใส่หิญาบ มิใช่
การเผยโฉม ด้ วยเหตุนี ้จึงไม่มีบญ ั ญัติให้ เธอใช้ เสียงในการอะซาน
การกล่าวคาตัล บี ยะฮฺ ในการท าหัจ ญ์ และอุม เราะฮฺ ไม่ขึน้ ไปบน
ภูเขาเศาะฟาและมัรวะฮฺ ไม่ใส่ชดุ อิหฺรอมเหมือนผู้ชาย เพราะผู้ชาย
ต้ องเปิ ดศี รษะ ต้ องไม่ส วมใส่เสื อ้ ผ้ าที่ ใช้ กัน ตามปกติ ที่ เย็ บเป็ น
ส่วนๆ ตามอวัยวะ เช่น เสื อ้ กางเกง หมวก และรองเท้ าหุ้ม ข้ อ...
ส่ ว นผู้ห ญิ ง ไม่ มี อ าภรณ์ ใดที่ ถูก ห้ า ม เพราะเธอถูก สั่ง ให้ ป กปิ ด
 58 

เพียงแต่ห้ามเธอใช้ ผ้าคลุมหน้ า ถุงมือ เพราะนั่นเป็ นอาภรณ์ ที่ถูก


ผลิตขึ ้นมาตามขนาดของอวัยวะ และเธอก็ไม่มีความจาเป็ นต้ องใช้
มัน ... แต่เธอปิ ดหน้ ามิให้ ผ้ ชู ายมองด้ วยผ้ าอื่นแทน ... และเมื่อเป็ น
ที่ ป ระจัก ษ์ แล้ วว่ า อาภรณ์ ผู้ ชายและผู้ หญิ งต้ องแตกต่ า งกั น
อาภรณ์ผ้ หู ญิงคือสิ่งที่มีเป้าหมายใช้ ในการปกปิ ด แก่นแท้ ในเรื่ องนี ้
ย่อมประจักษ์ และยังเป็ นที่ประจักษ์ อีกว่า หากสิ่งนัน้ เป็ นอาภรณ์
ของผู้ช าย - โดยส่ว นมาก- ก็ ห้ า มผู้ห ญิ ง สวมใส่ ... และถ้ า หาก
อาภรณ์นนปกปิ
ั้ ดไม่มิดชิดและยังคล้ ายคลึง กับอาภรณ์ผ้ ชู าย ก็ยิ่ง
ห้ ามสวมใส่มากขึ ้นไปอีก เพราะน ้าหนักของเหตุผลดังกล่าวทังสอง ้
ด้ าน วัลลอฮุอะอฺลมั ” (มัจญ์มอู ฺฟะตาวา : 22/ 148,149,155 )
5. ในอาภรณ์ ของผู้หญิง จะต้ องไม่มีเครื่ องประดับที่ดึงดูด
ความสนใจ เมื่อเธอต้ องออกจากบ้ าน เพื่อเธอจะไม่อวดโฉมด้ วย
เครื่ องประดับ

สอง นิยำมของหิญำบ พร้ อมหลักฐำนและประโยชน์


หิ ญ าบ คื อ การปกปิ ดเรื อ นร่ า งจากผู้ ชายที่ ส ามารถ
แต่งงานกันได้ ดังหลักฐาน
َ ‫َع ُج ُيوبهن َو َل ُي أبد‬
‫ِين‬ ‫ِب ُمرهِن َ َ ى‬ ُ َ ‫َ َ َ َ أَ َأَ أ أ‬ ََُ َ ‫ََ ُأ‬
ِِ ِ ِ ‫ۡضبن‬ ِ ‫﴿ول يبدِين ِزينتهن إِل ما ظهر مِنها وّل‬
َ َ ٓ َ َ ٓ َ َ َ ٓ َ ٓ َ َ َ
‫زِين َت ُهن إِل ِِلُ ُعوتل ِ ِهن أ أو َءابَائ ِ ِهن أ أو َءابَاءِ ُب ُعوتل ِ ِهن أ أو أ أب َنائ ِ ِهن أ أو أ أب َناءِ ُب ُعوتل ِ ِهن أ أو‬
‫أ‬
]٣١ : ‫إِخ َوىن ِ ِهن﴾ [انلور‬
 59 

ความว่ า “และพวกเธอจะไม่ แ สดงเครื่ อ งประดับ ของพวกเธอ


นอกจากสิ่งที่เปิ ดเผย (อยูภ่ ายนอก) เท่านัน้ และจงดึงผ้ าคลุมศีรษะ
มาปิ ดหน้ าอกเสื อ้ ของพวกเธอ และอย่ า แสดงเครื่ อ งประดั บ
นอกจากแก่สามี พ่อ พ่อของสามี ลูกของพวกเธอ ลูกของสามี หรื อ
พี่น้องชายของเธอ” (อัน-นูรฺ : 31)

และอัลลอฮฺตรัสว่า
َ ٓ ُ َُ ‫َ َ َأ ُ َ َ َ أ‬
‫﴿ِإَوذا سأتلُ ُموهن متىعا فسلوهن مِن َو َراءِ حِج ن‬
]٥٣ : ‫اب ﴾ [األحزاب‬
ความว่า “และเมื่อพวกท่านต้ องการขอสิ่งใดจากพวกเธอ จงขอจาก
ด้ านหลังของสิ่งกาบัง” (อัล-อะห์ซาบ : 53)

“สิ่งกาบัง” คือ สิ่งที่ผ้ หู ญิ งใช้ ปกปิ ดเรื อนร่ าง เช่น กาแพง


ประตู หรื ออาภรณ์ บทบัญ ญัตินีค้ รอบคลุมผู้ศรัทธาทุกคน แม้ ว่า
โองการนี ไ้ ด้ กล่าวถึงภรรยาของท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ
วะสัลลัม เป็ นการเฉพาะก็ตาม เนื่องจากอัลลอฮฺได้ บอกเหตุผลว่า
ُُ ُ ُ ُ َ ُ َ
]٥٣ : ‫﴿ذىل ِك أم أ أط َه ُر ل ِقلوبِك أم َوقلوب ِ ِهن ﴾ [األحزاب‬
ความว่า “นั่นเป็ นความบริ สุทธิ์ ยิ่งสาหรับจิตใจของพวกท่านและ
จิตใจของพวกเธอ” (อัล-อะห์ซาบ : 53)

และนี่คือเหตุผลที่ครอบคลุมทุกคน เมื่อเหตุผลครอบคลุม
บทบัญญัตกิ ็ยอ่ มครอบคลุมเช่นกัน
 60 

และอัลลอฮฺตรัสว่า
َ َ َ ‫ُ َّأَ َ َََ َ َ َ ٓ أُ أ َ ُأ‬
‫ِي َعل أي ِهن مِن َجلىبِيب ِ ِهن‬ َ َ َٰٓ َ ﴿
ِ ‫يأيها ٱنل ِب قل ِۡلزو ى‬
‫جك وبنات ِك ون ِساءِ ٱلمؤ ِمن ِي يدن‬
]٥٩ : ‫﴾ [األحزاب‬
ความว่า “โอ้ ศาสนทูตของอัลลอฮฺเอ๋ย จงกล่าวแก่บรรดาภรรยาของ
เจ้ า บรรดาลูกสาวของเจ้ า และภรรยาของบรรดาผู้ศรัทธา ให้ พวก
เขาดึงเสื ้อคลุมลงมาปกปิ ดเรื อนร่ างของพวกเขา” (อัล-อะห์ซาบ :
59)

อิบนุ ตัยมียะฮฺ กล่าวว่า เสื ้อคลุม (ญิลบาบ) คือผ้ าผืนใหญ่


ซึ่งปิ ดศีรษะและทุกส่วนของร่ างกาย ซึ่งอิบนุ มัสอูด และท่านอื่นๆ
เรี ยกมันว่า ริดาอ์ แต่คนทัว่ ๆ ไปจะเรี ยกมันว่า อิซาร ท่านอบู อุบยั
ดะฮฺได้ กล่าวว่า แท้ จริ ง ผู้หญิ งจะดึงเสื ้อคลุมลงมาทางศีรษะ แล้ ว
ไม่เปิ ดส่วนใดนอกจากตาเท่านัน้ และนิกอบก็ อยู่ ในประเภทของ
เสื ้อคลุม(มัจญ์มอู ฺฟะตาวา : 22/110-111)
และส่วนหนึ่งจากหลักฐานที่บอกว่าจาเป็ นต้ องปิ ดใบหน้ า
มิ ให้ ผ้ ูช ายที่ แต่งงานกันได้ ม อง คือหะดีษ จากท่านหญิ งอาอิช ะฮฺ
เราะฎิยลั ลอฮฺอนั ฮา
َ َ ْ َّ َ َّ َّ َّ
‫اَّلل َصَل اَّلل َعليْ ِه َو َسل َم ُم ِر َمات فإِذا‬ َ َ َ َْ َ َ َ ُ َ َْ ُ َ َ
ِ ‫ول‬ ِ ‫«َكن الركبان يمرون بِنا وَنن مع رس‬
ْ َ َ َ َ َ َ َ َ ْ َ ََ َ َْ ْ َ َ َْ َ َ ْ ْ َ َ َ َ ْ َ َ
»‫اوزونا كشفنَاه‬ ‫حاذوا بِنا سدلت إِحدانا ِجلبابها ِمن رأ ِسها لَع وج ِهها فإِذا ج‬
ความว่า “ขบวนของผู้ชายได้ ผ่านมาทางพวกเรา ขณะที่เราอยู่ใน
พิ ธี หัจ ญ์ แ ละอุม เราะฮฺ (ซึ่ ง พวกเธอเปิ ดใบหน้ า ) พร้ อมกับ ท่ า น
เราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เมื่อพวกเขาอยู่ตรงพวกเรา
 61 

คนหนึ่งจากพวกเราได้ ปล่อยเสื ้อคลุมจากทางศรี ษะมาปิ ดหน้ า เมื่อ


พวกเขาผ่านไป เราก็ ดึง ออก” (บันทึกโดยอบู ดาวูด : 1833 และ
อิบนุ มาญะฮฺ : 2935)
หลั ก ฐานที่ บ่ ง บองถึ ง ความจ าเป็ นต้ องปิ ดหน้ านั น้ มี
มากมาย และฉันจะแนะนาให้ เธอได้ อ่านหนังสือของอิบนุ ตัยมียะฮฺ
“การแต่ ง กายของสตรี ใ นการละหมาด” และหนั ง สื อ ของชัย ค์
อับดุลอะซีซ บิน บาซ “การเผยโฉมและการสวมใส่หิญาบ” และของ
ชัยค์หะมูด บิน อับดุลลอฮฺ อัต-ตุวยั ญิรีย์ ที่ชื่อ “อัศ-ศอริม อัล-มัชฮูรฺ
อะลา อัล-มัฟตูนีน บิ อัส-สุฟูร” และหนังสือของชัยค์มุหมั มัด อัล-
อุษัยมีน “อัล-หิญาบ” ซึง่ มีเนื ้อหาอย่างพอเพียง
พึงทราบเถิด โอ้ สตรี ผ้ ศู รัทธาเอ๋ย แท้ จริ งบรรดาผู้ร้ ูที่อนุโลม
ให้ เปิ ดหน้ านัน้ ทังๆ
้ ที่ทศั นะของพวกเขาขาดน ้าหนักแล้ ว พวกเขา
ยังได้ วางเงื่อนไขว่า อนุโลมให้ เปิ ดหน้ าได้ เมื่อปราศจากสิ่งที่นาสู่
การยัว่ ยวน และการยัว่ ยวนเป็ นสิ่งที่เลี่ยงยาก โดยเฉพาะยุคนี ้ ซึ่ง
ผู้ คนไม่ ค่ อ ยเคร่ ง ครั ด ในศาสนา ขาดความละอาย และคนที่
เรี ยกร้ องสู่การยัว่ ยวนมีจานวนมาก และผู้หญิ งก็ชอบแต่งหน้ ากัน
อย่างแพร่หลายซึ่งมักจะนาไปสู่ฟิตนะฮฺได้ ดังนัน้ เธอจงหลีกเลี่ยง
สิ่งเหล่านันเถิ
้ ด จงสวมใส่หิญาบที่ปกป้องรักษามิให้ เกิดการยัว่ ยวน
และไม่มีผ้ รู ้ ูคนใดเลย -ในอดีตและปั จจุบนั - อนุโลมให้ ผ้ หู ญิงกระทา
สิ่งที่ก่อให้ เกิดการยัว่ ยวน
 62 

ผู้หญิงบางคนตีสองหน้ า เมื่ออยู่ในสังคมที่สวมใส่หิญาบก็
จะสวมใส่ด้วย และจะไม่สวมใส่หากอยู่ในอีกสังคมหนึ่ง บางคนจะ
สวมใส่เมื่ ออยู่ในสถานที่ ทั่วไป แต่เมื่ อเข้ าห้ างร้ าน โรงพยาบาล
หรื อร้ านขายเครื่ องประดับ หรื อคุยกับช่างตัดเสื ้อ ก็จะเปิ ดหน้ า มือ
เสมือนอยูก่ บั สามี หรื อญาติที่แต่งงานกันไม่ได้
จงย าเกรงอัล ลอฮฺ เถิ ด แท้ จริ ง เราเห็ น ผู้ หญิ ง บางคนที่
เดินทางมายังประเทศของเรา พวกเขาจะไม่สวมใส่หิญาบ นอกจาก
เมื่อลงจากเครื่ องบินเท่านัน้ คล้ ายกับว่าหิญาบเป็ นเพียงวิถีปฏิบตั ิ
เท่านัน้ ไม่ได้ เป็ นบทบัญญัตแิ ต่ประการใด
โอ้ สตรี ผ้ ศู รัทธา แท้ จริ งหิญาบจะปกป้องเธอจากการมองที่
ถูกอาบยาพิษ ซึ่งเป็ นการมองของผู้ชายที่หัวใจเป็ นโรคและคนชั่ว
และจะตัดความใคร่อนั เลวร้ ายของพวกเขา ดังนันจงสวมใส่ ้ หิญาบ
เถิ ด และอย่ า สนใจค าเรี ย กร้ องที่ ใ ห้ เปลื อ้ งหิ ญ าบ หรื อ ไม่ ใ ห้
ความสาคัญกับหิญาบ เพราะพวกเขาไม่หวังดีตอ่ เธอ ดังที่อลั ลอฮฺ
ตรัสว่า
ً ُ َ َ ََ َ
]٢٧ : ‫ ﴾ [النساء‬٢٧ ‫ت أن ت ِميلوا َم أيل َعظِيما‬
ِ ‫ِين يَتب ِ ُعون ٱلشهو ى‬ ُ ‫﴿ َو ُير‬
َ ‫يد ٱَّل‬
ِ
ความว่า “และบรรดาผู้ที่ตามอารมณ์ใฝ่ ต่าต้ องการให้ พวกเจ้ าหันเห
ออกห่างไปอย่างมากมายจากแนวทางความถูกต้ อง” (อัน-นิสาอ์ :
27)
บทที่ 5
 63 

บัญญัตวิ ่ ำด้ วยกำรละหมำดของผู้หญิง

จงรักษาละหมาดตามเวลาที่ถูกกาหนดไว้ โดยให้ ถูกต้ อง


ตามเงื่อนไขและองค์ประกอบ อัลลอฮฺได้ ตรัสแก่บรรดาภรรยาของ
ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ว่า
َ ‫ِي ٱلز َك ىوةَ َوأَط أِع َن‬
ُ َ ‫ٱّلل َو َر ُس‬
]٣٣ : ‫وَل ٓۥ ﴾ [األحزاب‬ َ ‫﴿ َوأَق أِم َن ٱلصلَ ىوةَ َو َءات‬

ความว่า “พวกเธอจงรั ก ษาละหมาด จงจ่ า ยซะกาต จงเชื่ อ ฟั ง


อัลลอฮฺและศาสนทูตของพระองค์” (อัล-อะห์ซาบ : 33)

และนี่ เป็ นค าสั่ง แก่ ส ตรี ทุก คน เพราะการละหมาดเป็ น


หลักการข้ อที่สองจากโครงสร้ างของอิสลาม อีกทังยั ้ งเป็ นเสาหลัก
ของศาสนา การละทิ ง้ ละหมาดเป็ นพฤติ ก รรมกุฟ รฺ /การปฏิ เสธ
ศรัทธาที่จะทาให้ สิน้ สภาพจากการเป็ นมุสลิม เพราะไม่มีศาสนา
และไม่มีอิสลามสาหรับคนที่ไม่ละหมาดไม่วา่ ผู้ชายหรื อผู้หญิง
การปล่อยให้ เวลาละหมาดหมดไปโดยไม่มีอปุ สรรคที่ได้ รับ
การอนุโลมนันคื
้ อการละเลย อัลลอฮฺตรัสว่า
َ َ‫َ َ أ‬ َ ُ ‫خلَ َف مِن َب أعد ه أِم َخ ألف أَ َض‬
َ َ
‫اعوا ٱلصل ىو َة َوٱت َب ُعوا ٱلش َه َو ى ِت ف َس أوف َيلق أون‬ ِ ‫﴿ ۞ف‬
َ ُ َ ‫َ ُ َ َٰٓ َ َ أ ُ ُ َ أ َ َ َ َ ُ أ‬ َ‫َ َ َ َ َ َ َ َ َ َ ى‬ َ
‫ إ ِل من تاب وءامن وع ِمل صل ِحا فأ ولئ ِك يد خلون ٱ ۡلنة و ل يظلمون‬٥٩ ‫غ ًّيا‬
‫َ أ‬
]٦٠ ،٥٩ :‫ ﴾ [مريم‬٦٠ ‫شيا‬
 64 

ความว่า “แล้ ว คนชั่ว ก็ ม าแทนที่ พ วกเขา ซึ่ง พวกเขาละเลยการ


ละหมาด และปฏิบตั ิตามอารมณ์ ใฝ่ ต่า แน่นอนพวกเขาจะพบกับ
ความขาดทุนและการลงโทษในนรก นอกจากผู้ที่กลับเนื ้อกลับตัว
ได้ ศรัทธา และประกอบความดี พวกเขาก็จะได้ เข้ าสวรรค์ และพวก
เขาจะมิถกู อธรรมแม้ เพียงเล็กน้ อย” (มัรยัม : 59-60)

อิบนุ กะษี รฺ เราะหิมะฮุลลอฮฺ ได้ นาเสนอคาอธิบายจากนัก


อธิ บ ายจ านวนหนึ่ ง -ในต าราตั ฟ สี ร ของท่ า นว่ า -ค าว่ า ละเลย
ละหมาด คือการปล่อยจนหมดเวลา โดยละหมาดหลังจากเลยเวลา
ไปแล้ ว ส่วนคาว่า “ฆ็อยย์” ที่ถกู ระบุในโองการดังกล่าวว่า พวกเขา
จะได้ พบ ก็คือความขาดทุน และเป็ นนรกขุมหนึง่ ซึง่ อยูใ่ นญะฮันนัม
บทบัญ ญัติและข้ อชี ้ขาดเฉพาะเกี่ยวกับการละหมาดของ
สตรี มีหลายประการ ดังนี ้

1. ไม่มีการอะซานและอิกอมะฮฺ เนื่องจากการอะซานต้ อง
ใช้ เสี ยงดัง ขณะเดีย วกันไม่อนุญ าตให้ ผ้ ูหญิ ง เปล่ง เสี ย งดัง การ
อะซานและอิกอมะฮฺของผู้หญิ งนันใช้้ ไม่ได้ อิบนุ กุดามะฮฺกล่าวว่า
“ในประเด็นนี ้ เราไม่พ บว่าปวงปราชญ์ มี ทัศนะที่ ขัดแย้ งกันเลย”
(อัล-มุฆนีย์ : 2/26)
 65 

2. ต้ องปกปิ ดทุกส่วนของร่างกายนอกจากใบหน้ า ส่วนมือ


และเท้ านันปวงปราชญ์
้ มีทศั นะต่างกัน และทังหมดนี้ ้เฉพาะในกรณี
ที่ไม่มีผ้ ชู ายที่แต่งงานกันได้ มองเห็น แต่หากมีผ้ ชู ายที่แต่งงานกันได้
เห็ น อยู่ด้ ว ย ก็ จ าเป็ นต้ อ งปิ ดทุก ส่วน ดัง ที่ ต้ อ งปิ ดนอกละหมาด
ดัง นัน้ ในละหมาดก็ ต้ อ งปิ ดศี รษะ บ่า และทุก ส่ ว นของร่ า งกาย
จนกระทั่งหลังเท้ าทัง้ สองด้ วย ดังรายงานจากท่านหญิ งอาอิช ะฮฺ
เราะฎิ ยัล ลอฮุอัน ฮา ท่านเราะสูล ศ็อ ลลัล ลอฮุอ ะลัย ฮิ ว ะสัล ลัม
กล่าวว่า
َّ َ َ َ َّ َ ْ َ َ
»‫ِب َمار‬
ِ ِ ‫«ل يقبل اَّلل صالة حائِ ِض ِإل‬
ความว่า “อัลลอฮฺจะไม่ตอบรับการละหมาดของสตรี ที่บรรลุศาสน
ภาวะแล้ ว นอกจากต้ อ งมี ผ้ าคลุม ” (บัน ทึก โดยอบู ดาวูด : 641,
อัต-ติรมิซีย์ : 377 และอิบนุ มาญะฮฺ : 655)

คาว่า "ผ้ าคลุม" คือ ผ้ าที่คลุมศีรษะและต้ นคอ


และมีรายงานจากอุมมุสะละมะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา ว่า
َ َْ َ َ ْ َ ْ ِّ َ َّ َ َّ َّ َّ َّ ْ َ َ َ َ َّ َ
‫ِخار لي َس َعليْ َها إِ َزار‬
ِ ‫ب َصَل اَّلل َعليْ ِه َو َسل َم أت َصل ال َم ْرأة ِيف ِدرع و‬ِ ‫أنها سألت انل‬
َ ْ َ َ َ َ ِّ َ ً َ ْ ِّ َ َ َ َ َ
»‫ «إِذا َكن ادلرع سابِغا يغطي ظهور قدميها‬: ‫قال‬
ความว่ า แท้ จริ ง เธอได้ ถามท่ า นเราะสู ล ศ็ อ ลลัล ลอฮุ อ ะลั ย ฮิ
วะสัล ลัม ว่า ผู้หญิ งจะละหมาดโดยใส่ เสื อ้ และผ้ าคลุม โดยไม่ใส่
ผ้ านุ่งได้ หรื อไม่? ท่านเราะสูลตอบว่า “ได้ เมื่อเสือ้ นัน้ ยาวพอที่จะ
ปิ ดหลังเท้ าของเธอ” (บันทึกโดยอบู ดาวูด : 640)
 66 

หะดีษทังสองบทนี
้ ้บ่งชี ้ว่า เธอจะต้ องคลุมศีรษะและบ่า ดัง
หะดีษของท่านหญิงอาอิชะฮฺ และจะต้ องปิ ดทุกส่วนของร่างกายดัง
หะดีษของอุมมุ สะละมะฮฺ
และอนุโลมให้ เปิ ดใบหน้ า เมื่อไม่มีผ้ ูชายที่แต่งงานกันได้
มองเห็น เนื่องจากปวงปราชญ์มีมติเป็ นเอกฉันท์ในเรื่ องนี ้
อิ บ นุ ตัย มี ย ะฮฺ เราะหิ ม ะฮุล ลอฮฺ กล่า วว่า "หากผู้ห ญิ ง
ละหมาดคนเดียว เพียงพอด้ วยผ้ าคลุมศีรษะ และขณะที่เธออยู่ใน
บ้ านนัน้ สามารถเปิ ดศีรษะได้ เมื่อไม่ได้ อยู่ ในละหมาด เพราะการ
แต่ง กายในขณะละหมาดนัน้ คื อ หน้ า ที่ ต่อ อัล ลอฮฺ เนื่ อ งจากไม่
อนุญาตแก่คนใดที่จะเวียนรอบกะบะฮฺในสภาพที่เปลือย แม้ จะอยู่
คนเดียวในยามค่าคืนก็ตาม และไม่อนุญาตแก่คนใดที่จะละหมาด
ในสภาพที่เปลือยแม้ อยูค่ นเดียวก็ตาม... ดังนันส่ ้ วนที่ต้องปกปิ ดใน
ละหมาดไม่ได้ เกี่ยวกับการปกปิ ดจากการมองของผู้คนเลย ไม่ว่าใน
ความเหมือนหรื อความต่าง (หมายถึง การปกปิ ดต่อหน้ าผู้คนนัน้
ต่างกับการปกปิ ดในละหมาด และขณะอยู่ในบ้ าน)” (มัจญ์ มอู ฺ อัล-
ฟะตาวา : 22/113-114)
อิบนุ กุดามะฮฺ เราะหิมะฮุลลอฮฺ กล่าวว่า “ในการละหมาด
ของสตรี ที่เป็ นไท (มิใช่ทาส) จาเป็ นต้ องปกปิ ดทุกส่วนของร่างกาย
ของ หากเปิ ดเผยส่วนใดการละหมาดก็ใช้ ไม่ได้ นอกจากจะเปิ ดเผย
เพี ย งเล็ ก น้ อยเท่านัน้ และนี่ เป็ นทัศ นะของมาลิ ก , อัล -เอาซาอี ย์
และอัช-ชาฟิ อีย์” (อัล-มุฆนีย์ : 2/328)
 67 

3. ผู้หญิงจะไม่กางมือออกกว้ างขณะรูกอู ฺ และสุญดู


อิบนุ กุดามะฮฺ เราะหิมะฮุลลอฮฺ กล่าวว่า “แท้ จริ งผู้หญิ ง
จะเอามือแนบกับตัวของเธอในขณะรูกอู ฺและสุญดู แทนการกางมือ
และแขน และจะนั่ง แบบขาชิ ด กัน หรื อ ปล่อ ยเท้ า ทัง้ สองไปทาง
ด้ านขวา แทนการนัง่ บนเท้ าซ้ าย และใช้ เท้ าขวายันพื ้น (อิฟติรอช)
หรื อแทนการนั่งบนตะโพกโดยเท้ าซ้ ายสอดใต้ ขาขวา และใช้ เท้ า
ขวายันกับพื ้น (ตะวัรรุก) เพราะจะเป็ นการปกปิ ดที่ดียิ่ง กว่าสาหรับ
ผู้หญิง” (อัล-มุฆนีย์ : 2/258)
อิมาม อัน-นะวะวีย์ เราะหิมะฮุลลอฮฺ กล่าวว่า "อัช-ชาฟิ อีย์
กล่าวว่า ไม่มี ค วามแตกต่างกัน ระหว่างผู้ช ายและผู้ห ญิ งในการ
ละหมาด เพียงแต่ว่าผู้หญิงควรจะแนบอวัยวะต่างๆ กับตัว หรื อขา
อ่อนจะแนบชิดกับท้ อง ในขณะสุญูด เพราะนัน่ เป็ นการปกปิ ดที่ ดี
ยิ่งกว่าสาหรับเธอ และฉันชอบที่จะให้ ปฏิบตั ิเช่นนี ้ในขณะรูกอู ฺและ
ในการละหมาดทังหมด” ้ (อัล-มัจญ์มอู ฺ : 3/455)
4. การละหมาดญะมาอะฮฺ ร ะหว่า งผู้ห ญิ ง ด้ ว ยกัน โดย
ผู้หญิงเป็ นอิมามนัน้ บรรดาผู้ร้ ูมีทศั นะต่างกัน ระหว่างผู้ที่ห้ามและ
ผู้ที่อนุญาต
• ส่วนมากเห็นว่าอนุญาตให้ ทาได้ “เนื่องจากท่านเราะสูล
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ สงั่ ให้ อมุ มุ วะรอเกาะฮฺนาละหมาด
แก่คนในครอบครัว” (บันทึกโดยอบู ดาวูด : 592)
 68 

• บางส่วนเห็นว่า ไม่สง่ เสริมให้ กระทา


• บางส่วนเห็นว่า ไม่ควรกระทา (มักรูฮฺ)
• บางส่วนเห็นว่า อนุญาตให้ กระทาในละหมาดภาคสมัคร
ใจ (ละหมาดสุนตั ) ไม่ใช่ละหมาดภาคบังคับ (ละหมาดฟั รฎ)ู
ทัศนะที่มีน ้าหนักมากที่สุด คือ ส่งเสริ มหรื อชอบให้ ปฏิบตั ิ
และเพื่ อ ความรู้ เพิ่ ม เติ ม ในประเด็น นี ้ โปรดดูห นัง สื อ อัล -มุฆ นี ย์
(2/202) และอัล-มัจญ์มอู ฺ (4/84-85) และพวกเธอสามารถที่จะอ่าน
เสียงดังได้ เมื่อไม่มีผ้ ชู ายที่อนุญาตให้ แต่งงานได้ ยิน

5. อนุญ าตให้ ผ้ ูห ญิ ง ออกไปละหมาดที่ มัส ญิ ดพร้ อมกับ


บรรดาผู้ชาย แต่การละหมาดที่บ้านดียิ่งกว่าสาหรับพวกเธอ ตามที่
มีหลักฐานดังนี ้
َّ َ َ َ َّ َ َ ََْ َ
»‫اَّلل‬
ِ ‫اجد‬ ِ ‫اَّلل مس‬
ِ ‫«ل تمنعوا إماء‬
ความว่า “พวกท่านอย่าได้ ห้ามมิให้ บรรดาผู้หญิ งออกไปละหมาด
ที่มสั ญิดของอัลลอฮฺ” (บันทึกโดยมุสลิม : 989)
َ َ
»‫اج َد َوبيوته َّن خ ْري له َّن‬ َ َ ْ َ َ ْ ْ َ ْ َ َ َ ِّ ََْ َ
ِ ‫«ل تمنعوا النساء أن َيرجن إَل المس‬
ความว่า “พวกท่านอย่าได้ ห้ามมิให้ ผ้ หู ญิงออกไปละหมาดที่มสั ญิด
และบ้ านของพวกเธอนัน้ ดี ยิ่ ง กว่า ส าหรั บ พวกเธอ” (บัน ทึก โดย
อะห์มดั : 5470 และอบู ดาวูด : 576)
 69 

ดังนัน้ การละหมาดที่บ้านย่อมเป็ นสิ่งที่ดีกว่า อันเนื่องจาก


เป็ นการปกปิ ดที่ดีกว่า
และในกรณี ที่พวกเธอออกไปละหมาดที่มัสญิ ด ควรจะมี
มารยาทดังนี ้
5.1 ต้ องสวมใส่อาภรณ์ที่มิดชิดและมีหิญาบ ดังหะดีษ
ِّ َ ْ َ ْ َ َّ َ َّ َ َ ْ َ َ َّ َّ َ َّ َ َ َ َ ِّ َ َ ِّ َ َ
‫َصف َن متَلف َعات‬
ِ ‫اَّلل صَل اَّلل علي ِه وسلم ثم ين‬
ِ ‫ول‬ِ ‫َكن النساء يصلني مع رس‬
َ َْ ْ ْ
‫وط ِه َّن َما يع َرف َن ِمن الغل ِس‬
ِ ‫بِمر‬
ความว่า “บรรดาผู้หญิงเคยละหมาด (ศุบ ห์) พร้ อมกับท่านเราะสูล
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม จากนันพวกเธอแยกย้
้ ายกลับโดยที่มี
ผ้ าคลุม ไม่มีใครรู้จกั พวกเธออันเนื่องจากความมืด” (บันทึกโดยอัล-
บุคอรี ย์ : 867 และมุสลิม : 1457)
5.2 ไม่ ใ ช้ น า้ หอม เนื่ อ งจากหะดี ษ ของท่ า นเราะสู ล
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
َ َ ْ ْ ْ َّ َ َ َ َّ َ َ ََْ َ
»‫ َويلَخرج َن ت ِفالت‬، ‫اَّلل‬
ِ ‫اجد‬ ِ ‫اَّلل مس‬
ِ ‫«ل تمنعوا إماء‬
ความว่า “พวกท่านอย่าได้ ห้ามมิให้ ผ้ หู ญิงออกไปละหมาดที่มสั ญิด
และพวกเธอจงออกไปโดยไม่ใช้ นา้ หอม” (บัน ทึกโดยอะห์ มัด :
9625 และอบู ดาวูด : 565)
และมีรายงานจากอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ ท่าน
เราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมกล่าวว่า
َ ْ َ َ ْ ََ َ ْ َ َْ ََ ً َ ْ َ َ َ ََْ َ َُ
»‫اء اْل ِخ َرة‬‫«أيما امرأة أصابت ِبورا فال تشهد معنا ال ِعش‬
 70 

ความว่า “สตรี ค นใดได้ ใส่น า้ หอมแล้ ว เขาอย่าได้ ร่ว มละหมาด


อิ ช าอ์ พ ร้ อมกับ เรา” (บัน ทึก โดยมุส ลิ ม : 997, อบู ดาวูด : 4175
และอัน-นะสาอีย์ : 5143)
และรายงานจากท่านหญิ งซัยนับ ภรรยาของอิบ นุ มัสอูด
เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมกล่าว
ว่า
َ ََ ْ ْ ْ َ َ
»‫« ِإذا ش ِه َدت ِإح َداك َّن ال َم ْس ِج َد فال ت َم َّس ِطيبًا‬
ความว่า “เมื่อคนใดจากพวกเธอต้ องการไปละหมาดที่มสั ญิด เธอ
อย่าใส่น ้าหอม” (บันทึกโดยมุสลิม : 996)

อัช-เชากานี ย์ กล่าวว่า "หะดีษเหล่านี บ้ ่งชีว้ ่า อนุญ าตให้


สตรี ไปละหมาดที่มสั ญิด เมื่อไม่มีสิ่งที่ก่อให้ เกิดการยัว่ ยวน หรื อสิ่ง
ที่อยู่ในข่ายการยัว่ ยวน เช่นน ้าหอม... และหะดีษเหล่านี ้บ่งชี ้ว่า การ
อนุญ าตให้ ภ รรยาไปละหมาดที่มัสญิ ดนัน้ เมื่อในการออกไปของ
พวกเธอไม่มีสิ่งที่นาสู่การยัว่ ยวน เช่น น ้าหอม เครื่ องประดับ หรื อ
อาภรณ์ใดๆ” (นัยลุลเอาฏอรฺ : 3/140-141)
5.3 เธอจะไม่ออกไปมัสญิ ดในสภาพที่ประดับประดาด้ วย
เสื ้อผ้ า หรื อเครื่ องประดับ ท่านหญิ งอาอิชะฮฺ เราะฎิ ยลั ลอฮุอันฮา
กล่าวว่า
ْ َ َْ ِّ َ َّ َ َّ َّ َّ َ َ َّ َ ْ َ
‫اَّلل َصَل اَّلل َعليْ ِه َو َسل َم َرأى ِم ْن الن َسا ِء َما َرأينَا ل َمنَ َعه َّن ِم ْن ال َم ْس ِج ِد‬
ِ ‫لو أن رسول‬
َ َ ْ َ ْ َََ َ َ
.‫اءه ْم‬َ ‫يل ن ِ َس‬ ‫كما منعت بنو إْسا ِئ‬
 71 

ความว่า “หากท่านเราะสูล ศ็อลลัล ลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม ได้ เห็น


จากบรรดาสตรี ซึ่งสิ่งที่พวกเราเห็น ท่านย่อมหักห้ ามมิให้ พวกเธอ
ไปมัส ญิ ด ดังที่ ช าวอิส รออี ล ได้ ห้ ามภรรยาของพวกเขา” (บันทึก
โดยอัล-บุคอรี ย์ : 869 และมุสลิม : 998)
อัช-เชากานีย์กล่าวว่า “คาว่าหากท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุ
อะลัยฮิวะสัล ลัม ได้ เห็นดังที่ เราเห็น หมายความว่า เห็นเสื อ้ ผ้ าที่
สวยๆ การใช้ นา้ หอม เครื่ องประดับ และการอวดโฉม และแท้ จริ ง
แล้ วสมัยก่อนนัน้ บรรดาผู้หญิง จะออกไปมัสญิดโดยการสวมใส่ผ้า
คลุม และเสื ้อผ้ าที่เนื ้อหยาบๆ”
อิบนุล เญาซี ย์ เราะหิมะฮุลลอฮฺ กล่าวว่า "สตรี ควรระวัง
เป็ นอย่างยิ่งในการออกไปมัสญิด แม้ ว่าตัวเธอเองจะปลอดภัยจาก
การยัว่ ยวนของคนอื่น แต่คนอื่นอาจจะไม่ปลอดภัยจากการยัว่ ยวน
ของเธอ ดังนัน้ เมื่อจาเป็ นต้ องออกไปก็ต้องได้ รับอนุญาตจากสามี
ของเธอ ด้ วยชุดที่ ไม่ดึงดูดสายตา เดินตามทางที่ ไม่ปะปน เลี่ ยง
ตลาด และระวังมิให้ ผ้ คู นได้ ยินเสียงของเธอ และเดินริ มทางไม่ใช่
กลางถนน” (อะห์กาม อัน-นิสาอ์ : 39)
5.4 หากผู้หญิงคนเดียว ก็ให้ ยืนหลังจากแถวของผู้ชาย ดัง
หะดีษจากอะนัส เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ กล่าวว่า
ْ َ ََ ْ ََ
.‫اءه َوال َعجوز ِم ْن َو َرائِنَا‬‫ق ْمت أنا َوايلَتِيم ور‬
 72 

ความว่า “ฉันและเด็กกาพร้ าได้ ยืนหลังท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุ


อะลัย ฮิ ว ะสัล ลัม และหญิ ง ชรา (ย่ าของฉัน )ได้ ยื น หลัง จากเรา”
(บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 380)
และยังมีรายงานจากอะนัส เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ ว่า
َ
َْ َ َ َّ َ َّ َّ ِّ َّ َ ْ َ َ ْ َ
.‫ب َصَل اَّلل َعليْ ِه َو َسل َم َوأ ِِّّم أ ُم سليْم خلفنَا‬ َ ْ َ َ ْ َّ َ
ِ ‫صليت أنا وايل ِتيم ِيف بي ِتنا خلف انل‬
ความว่า “ฉันและเด็กกาพร้ าได้ ละหมาดหลังท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุ
อะลัยฮิวะสัลลัม ที่บ้านของเรา และแม่ของฉัน (อุมมุ สุลัยม์ ) อยู่
หลังจากเรา” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 727, 874)
และจากอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ กล่าวว่า ท่าน
เราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
َ َ ُ َ َ َ َ ِّ َْ َ َ ُ َ َ َ َّ َ َ ِّ َْ
»‫َشها أ َّول َها‬ ‫آخرها و‬ ِ ‫آخرها َوخري صف‬
ِ ‫وف النسا ِء‬ ِ ‫َشها‬ ‫ال أولها و‬
ِ ‫وف الرج‬
ِ ‫«خري صف‬
ความว่า “ผลบุญ มากที่สุดจากแถวของผู้ชายคือแถวแรก และผล
บุญ น้ อ ยที่ สุด คื อ แถวหลัง สุด และดี ที่ สุด จากแถวของผู้ห ญิ งคื อ
หลังสุด และผลบุญน้ อยที่สดุ คือแถวแรก” (บันทึกโดยมุสลิม : 984)

ดังนัน้ หะดีษทังสองบทนี
้ ้บ่งชี ้ว่า บรรดาสตรี จะยืนหลังจาก
แถวของผู้ชายและจะไม่ละหมาดกันแบบกระจัดกระจาย เมื่อพวก
เขาละหมาดหลัง ผู้ช าย ไม่ ว่าจะเป็ นละหมาดฟั รฎู (ภาคบังคับ )
หรื อละหมาดตะรอวีหฺก็ตาม
5.5 เมื่ ออิม ามเกิ ดความผิ ดพลาดขึน้ ในละหมาด แท้ จ ริ ง
ผู้ หญิ งจะเตื อ นอิ ม าม โดยการใช้ หลั ง มื อ ตี กั บ หลั ง มื อ อี ก ข้ าง
เนื่องจากท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
 73 

ِّ ِّ ْ ِّ ‫الص َالةِ فَلْي َسبِّ ْح‬ ْ َ ‫إذا نَابَك ْم‬


َ
»‫الر َجال َويل َصف ْق الن َساء‬ َّ ‫َشء يف‬
ِ «
ความว่า “เมื่อมีสิ่งใดเกิ ดขึน้ แก่พ วกท่านในขณะละหมาด ดังนัน้
ผู้ชายจงกล่าวว่า สุบหานัลลอฮฺ (เพื่ อเป็ นการส่งสัญ ญาณเตือน)
และผู้หญิงจงเตือนด้ วยการตบมือ” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 719)
นี่คือการอนุญาตให้ ผ้ หู ญิงตบมือในขณะละหมาด เมื่อมีสิ่ง
ใดเกิดขึ ้น เช่น การเผลอของอิมาม ทังนี ้ เ้ นื่องจากเสียงของผู้หญิ ง
นันเป็
้ นสิ่งที่ยวั่ ยวนแก่ผ้ ชู าย ดังนันเธอถู
้ กใช้ ให้ ตบมือแทนการเปล่ง
เสียง
5.6 เมื่ออิมามให้ สลามเสร็ จจากการละหมาด ให้ ผ้ หู ญิงรี บ
ออกจากมัสญิ ด และผู้ชายยังคงนั่งอยู่ต่อ เพื่อมิให้ ไปทันผู้หญิ งที่
แยกย้ ายกลับไป เนื่องจากอุมมุ สะละมะฮฺ กล่าวว่า
َّ َ َّ َّ َّ
‫اَّلل َصَل اَّلل َعليْ ِه َو َسل َم‬ َ َ َ َ َ ْ َ ْ َ ْ َ َ ْ َّ َ َ َّ َ َ ِّ َّ
ِ ‫إِن النساء كن إِذا سلمن ِمن المكتوب ِة قمن وثبت رسول‬
َ َ‫اَّلل َعلَيْه َو َسلَّ َم ق‬
‫ام‬
َّ َّ َ َّ
‫اَّلل صَل‬ َ َ َ َ َ َّ َ َ َ ‫الر َج‬
ِّ ‫َو َم ْن َص ََّل ِم َن‬
ِ ِ ‫ فإِذا قام رسول‬،‫ال ما شاء اَّلل‬
ِ
.‫الر َجال‬
ِّ

ความว่า “แท้ จริ งบรรดาสตรี ในยุคของท่านเราะสูล เมื่ อพวกเธอ


สลามจากการละหมาดฟั รฎูแล้ ว พวกเธอจะลุกขึน้ เพื่ อแยกย้ าย
กลับ และท่านเราะสูล ศ็อลลัล ลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม และบรรดา
ผู้ชายที่ละหมาดยังคงนัง่ อยู่ตอ่ ตามที่อลั ลอฮฺทรงประสงค์ (เพื่อมิให้
ปะปนกั บ ผู้ หญิ ง) ครั น้ เมื่ อ ท่ า นเราะสู ล ศ็ อ ลลั ล ลอฮุ อ ะลั ย ฮิ
วะสัลลัมได้ ลกุ ขึ ้น บรรดาผู้ชายก็จะลุกขึ ้น”
 74 

อัซ -ซุ ฮฺ รี ย์ ก ล่ า วว่ า "เราเห็ น ว่ า การกระท าเช่ น นัน้ เพื่ อ


บรรดาผู้หญิงจะได้ ออกไปก่อน” -อัลลอฮฺทรงรู้ดียิ่ง- (บันทึกโดยอัล-
บุคอรี ย์ : 870)
อัช-เชากานีย์ กล่าวว่า “ในหะดีษบทนี ้บ่งชี ้ว่า แท้ จริงอิมาม
ควรจะเอาใจใส่ต่อสภาพของมะอ์มูม และควรป้องกันสิ่งที่อาจจะ
นาสู่การกระทาอันต้ องห้ าม เลี่ยงสถานที่อนั เกิดความระแวง และ
อย่ า ให้ มี ก ารปะปนตามถนนหนทางระหว่ า งหญิ งและชาย
นอกเหนือจากการปะปนกันในบ้ าน” (นัยลุลเอาฏอรฺ : 2/326)
อัน-นะวะวีย์ เราะหิมะฮุลลอฮฺ กล่าวว่า “ในการละหมาด
ญะมาอะฮฺนนผู ั ้ ้ หญิงจะแตกต่างจากผู้ชาย หลายประการ อาทิ
หนึง่ ไม่เน้ นย ้าให้ ละหมาดญะมาอะฮฺเหมือนกับผู้ชาย
สอง อิมามที่เป็ นผู้หญิงจะยืนระหว่างกลางของพวกเธอ
สาม ผู้หญิงคนเดียวจะยืนหลังผู้ชาย ไม่ใช่ด้านข้ างซึ่งต่าง
กับผู้ชาย
สี่ เมื่อผู้หญิงละหมาดพร้ อบกับผู้ชาย แถวหลังจะเป็ นแถว
ที่ดีที่สดุ (อัล-มัจญ์มอู ฺ : 3/455)
และจากที่กล่าวมาทังหมดนั ้ นสรุ
้ ปได้ วา่ การปะปนระหว่าง
หญิงและชายเป็ นสิ่งต้ องห้ าม
5.7 การออกไปละหมาดอีด มีรายงานจากอุมมุ อะฏี ยะฮฺ
เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา กล่าวว่า
 75 

ْ ْ َْ ْ ْ ْ َ َّ َ َّ َّ َّ َ ََََ
‫اَّلل َصَل اَّلل َعليْ ِه َو َسل َم أن ُن ِر َجه َّن ِيف ال ِف ْط ِر َواألض ََح ال َع َواتِ َق‬
ِ ‫أمرنا رسول‬
َ َ ْ َ َ ْ َ ْ َ ْ َ ْ َ َ َ َ َّ َ ْ َ ْ َ َ ْ َّ َ َ
َّ ‫احل‬ ْ َ َ َّ ْ
‫َتلن الصالة ويشهدن اْلري ودعوة‬ ِ ‫ع‬‫ي‬ ‫ف‬ ‫ض‬ ‫ي‬ ‫ فأما‬،‫ور‬ ِ ‫َواحليض َوذ َو‬
ِ ‫ات اْلد‬
َ ‫الْم ْسلم‬
.‫ني‬ ِِ
ความว่า “ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม สั่งให้ เราพา
ผู้ห ญิ ง ออกไปในวัน อี ดิ ล ฟิ ฏร์ แ ละอี ดิ ล อัฎ หา ทัง้ เด็ ก สาว ผู้ที่ มี
ประจาเดือน และหญิงโสด ส่วนผู้มีประจาเดือนนันให้ ้ ออกห่างจาก
สถานที่ละหมาด และพวกเธอจะร่วมฟั งคุฏบะฮฺ และการขอดุอาอ์
ของบรรดาชาวมุ ส ลิ ม ” (บัน ทึ ก โดยอัล -บุ ค อรี ย์ : 974, มุ ส ลิ ม :
2051, อบู ดาวูด : 1136, อัน -นะสาอีย์ : 1558, อัต-ติรมิซีย์ : 539
และอิบนุ มาญะฮฺ : 1308)
อัช-เชากานีย์ กล่าวว่า “หะดีษบทนี ้และรวมถึงหะดีษอื่นๆ
ที่มีความหมายในทานองนี ้ บ่งชี ้ว่า ส่งเสริ มให้ ผ้ หู ญิงทุกคนออกไป
ยัง สถานที่ ล ะหมาดอี ด ไม่มี ก ารแยกระหว่างเด็ก สาว แม่ห ม้ า ย
คนชรา คนมี ป ระจาเดือน ตราบใดที่ ไม่ได้ อยู่ในอิดดะฮฺ (เวลารอ
คอยสาหรับผู้หญิ งที่สามีตายหรื อหย่าร้ าง) และในการออกไปไม่มี
การยั่วยวนหรื อมีอุปสรรคที่ได้ รับการอนุโลม...” (นัยลุล เอาฏอรฺ :
3/306)
อิบนุ ตัยมียะฮฺ กล่าวว่า “แท้ จริ งท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุ
อะลัยฮิวะสัลลัม ได้ บอกแก่บรรดาสตรี ว่า การละหมาดที่บ้านนัน้
ประเสริ ฐยิ่งกว่าการร่ วมละหมาดวันศุกร์ และละหมาดญะมาอะฮฺ
 76 

นอกจากละหมาดอีด เพราะท่านได้ สงั่ ให้ พวกเธอออกไป -อัลลอฮฺร้ ู


ดียิ่ง- เนื่องจากสาเหตุตอ่ ไปนี ้
หนึ่ง วันอีดมี 2 ครัง้ ในรอบปี จึงเป็ นสิ่งที่รับได้ ซึ่งต่างกับ
ละหมาดวันศุกร์ และญะมาอะฮฺ (มีอยูต่ ลอด)
สอง วั น อี ด ไม่ มี สิ่ ง ใดมาทดแทน ต่ า งกั บ วั น ศุ ก ร์ แ ละ
ละหมาดญะมาอะฮฺ เพราะเธอละหมาดซุฮร์ ที่บ้านได้
สาม การออกไปละหมาดอีด เป็ นการราลึกถึงอัลลอฮฺ ซึ่ง
คล้ ายกับกับการประกอบพิธีหจั ญ์ ในบางด้ าน และโดยเหตุนี ้เองวัน
อีดิลอัฎหา จึงอยู่ในช่วงฤดูกาลหัจญ์ ทังนี ้ ้เพื่อให้ สอดคล้ องกับคน
ทาหัจญ์ (มัจญ์มอู ฺ อัล-ฟะตาวา : 6/459-459)
บรรดาผู้ร้ ู ในมัซฮับอัช -ชาฟิ อีย์ได้ ตงเงื
ั ้ ่อนไขว่า การออกไป
ละหมาดอีดของเหล่าสตรี นนจะต้ ั ้ องไม่มีลกั ษณะที่โดดเด่น
อัน-นะวะวี ย์ กล่าวว่า "อัช -ชาฟิ อี ย์และบรรดาสหายของ
ท่านกล่าวว่า ส่งเสริมแก่บรรดาสตรี ที่ไม่มีลกั ษณะที่โดดเด่นออกไป
ละหมาดอีด ส่วนผู้ที่มีลกั ษณะที่โดดเด่นนันไม่ ้ ควรออกไป และหาก
พวกเธอต้ องการจะออกไปก็ควรสวมเสื ้อผ้ าเก่าๆ และไม่สวมเสื ้อผ้ า
ที่ทาให้ โดดเด่น ควรซักและทาความสะอาดด้ วยนา้ และไม่ควรใช้
น ้าหอม ทังหมดนี
้ ้เป็ นบทบัญญัติเกี่ยวกับผู้หญิ งสูงวัย ซึ่งไม่เป็ นที่
ปรารถนาของผู้ชาย ส่วนเด็กสาว และคนสวยๆ และผู้ที่ยังเป็ นที่
หมายปองนัน้ ไม่ ค วรออกไป เนื่ อ งจากเกรงว่าพวกเธอจะได้ รั บ
อันตราย หรื อเกิดการยัว่ ยวน
 77 

หากมีคนแย้ งว่าเรื่ องนี ้ขัดแย้ งกับหะดีษของอุมมุ อะฏียะฮฺ


ซึ่งได้ นาเสนอก่อนนี ้แล้ ว เราขอตอบว่า มีรายงานในบันทึกของอัล -
บุคอรี ย์: 869 และมุส ลิ ม : 998 จากหะดีษ ของท่านหญิ ง อาอิช ะฮฺ
เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา กล่าวว่า
‫اج َد‬ َ َ ْ َّ َ َ َ َ َ ِّ َ َ ْ َ َ َ َّ َ َ ْ َ َ َّ َّ َ َّ َ َ َ ْ َ َْ
ِ ‫ لمنعهن المس‬، ‫ ما أحدث النساء‬- ‫ صَل اَّلل علي ِه وسلم‬- ‫اَّلل‬ ِ ‫لو أدرك رسول‬
َ َ ْ َ
.‫ْسا ِئيل‬‫ك َما م ِن َعت ن ِ َساء بَ ِن ِإ‬
ความว่า “หากท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ เห็นสิ่ง
ที่เหล่าสตรี อตุ ริ ขึ ้นมา (จากการแต่งกายและการอวดโฉม) แน่นอน
ท่านต้ องห้ ามมิให้ พวกเธอไปมัสญิด ดังที่เหล่าสตรี ของวงศ์วานของ
อิสรออีลเคยถูกห้ าม”
เนื่ อ งจากอั น ตราย และประตู แ ห่ ง ความชั่ ว ในยุ ค นี ม้ ี
มากมาย ซึ่ง ต่า งจากยุค แรกๆ มากนัก – วัล ลอฮุอ ะอฺ ลัม ” (อัล -
มัจญ์มอู ฺ : 5/13)
ฉัน(ผู้เขียน)ขอกล่าวเสริ มว่า ในยุคของเรานี ้มียาแย่มากยิ่ง
กว่าอีกหลายเท่าเลยทีเดียว
อิบนุล เญาซีย์ ได้ กล่าวในหนังสือของท่านว่า "ฉันเคยแจก
แจงแล้ วว่า แท้ จริ งการออกไปละหมาดของสตรี นนเป็ ั ้ นสิ่งที่อนุมัติ
แต่เมื่อเกรงว่าจะเกิดอันตรายหรื อการยัว่ ยวน การยับยังมิ ้ ให้ พวก
เธอออกไปนันเป็ ้ นสิ่งที่ดียิ่งกว่า เนื่องจากบรรดาสตรี ในยุคแรกของ
อิส ลามต่างกับ สภาพของบรรดาสตรี ในยุค นี ้ และบรรดาบุรุษ ก็
 78 

เช่นเดียวกัน” (อะห์กาม อัน -นิสาอ์ : 39) หมายถึงในยุคแรกๆ นัน้


จะมีความเคร่งครัดมากกว่า
จากที่กล่าวมานัน้ เธอได้ ร้ ู ว่า การออกไปละหมาดอีดเป็ น
สิ่ ง ที่ ศ าสนาอนุ มัติ โดยต้ อ งอยู่ในกรอบ และมี เจตนาเพื่ อ ภัก ดี
ต่ อ อั ล ลอฮฺ และมี ส่ ว นร่ ว มในการวิ ง วอน การแสดงออกถึ ง
เอกลัก ษณ์ ข องอิ ส ลาม มิ ใช่ เพื่ อ โชว์ เครื่ อ งประดับ และยั่ว ยวน
ดังนัน้ จงพึงสังวรเถิด
 79 

บทที่ 6
บัญญัตวิ ่ ำด้ วยกำรจัดกำรศพของผู้หญิง

พระองค์อัลลอฮฺได้ ทรงกาหนดความตายแก่ทุกชีวิต และ


พระองค์จะคงอยูต่ ลอดกาลแต่เพียงพระองค์เดียว อัลลอฮฺได้ ตรัสไว้
ว่า
‫َ َ أ َ َ أ ُ َ ّ َ ُ أَ َى َ أ أ‬
]٢٧ :‫ ﴾ [الرمحن‬٢٧ ‫ٱۡلك َر ِام‬ ‫﴿ ويب ى‬
ِ ‫ق وجه ربِك ذو ٱۡلل ِل و‬
ความว่า “และพระพักตร์ ของพระผู้เป็ นเจ้ าของเจ้ า ผู้เป็ นเจ้ าของ
การยกย่ อ งและการให้ เกี ย รติ จะคงอยู่ ไ ปตลอดกาล” (อั ร -
เราะห์มาน : 27)

พระองค์ทรงวางบทบัญญัติเกี่ยวกับศพลูกหลานของอาดัม
เป็ นการเฉพาะ ซึ่ ง ผู้ที่ มี ชี วิ ต จะต้ อ งด าเนิ น ตาม ในบทนี ้ เราจะ
นาเสนอบัญญัตทิ ี่เกี่ยวกับการจัดการศพผู้หญิงเป็ นการเฉพาะ ดังนี ้

1. สตรีจะต้ องอำบนำ้ ศพให้ กับสตรี


ไม่อนุญาตให้ ผ้ ชู ายเป็ นผู้อาบน ้าให้ นอกจากสามีของนาง
เท่านัน้ เพราะเขามี สิ ทธิ์ ในการอาบนา้ ให้ แ ก่ ภ รรยาของเขา และ
 80 

ผู้ชายจะทาหน้ าที่ในการอาบนา้ ศพผู้ชาย และไม่อนุญ าตให้ สตรี


เป็ นผู้อาบให้ นอกจากผู้เป็ นภรรยาเท่านัน้ เพราะเธอมี สิทธิ์ ในการ
อาบนา้ ให้ แก่ศพของเขา เนื่องจากท่านอะลีย์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ
ได้ อาบน ้าให้ แก่ภรรยาของท่าน –ท่านหญิงฟาฏิมะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุ
อันฮา- ซึง่ เป็ นลูกสาวของท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
และอัสมาอ์ บินติ อุมยั ส์ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา ได้ อาบน ้าให้ สามีของ
เธอคือท่านอบู บักรฺ อัศ-ศิดดีก เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ

2. ส่ งเสริมให้ ห่อศพสตรีด้วยผ้ ำสีขำวจำนวน 5 ชิน้


ประกอบด้ วย ผ้ านุ่งหนึ่งผืน ผ้ าคลุมศีรษะ เสื ้อ และผ้ าหุ้ม
ห่ อ 2 ผื น ซึ่ง อยู่ชัน้ นอกสุด เนื่ อ งจากมี รายงานจากลัย ลา อั ษ -
ษะกอฟี ยะฮฺ กล่าวว่า
َ َ َ ْ َّ َ َّ َ َ ْ ْ َّ َ َّ َ ْ َ ْ
‫ َوَكن‬،‫هلل َصَل اهلل َعليْ ِه َو َسل َم ِعن َد َوفاتِ َها‬
ِ ‫ول ا‬ ِ ‫كنت ِفيمن غسل أم ُكثوم بِنت رس‬
ْ
َ ‫اْل َم‬
‫ ث َّم‬،‫ار‬
َ ْ ِّ َّ َ َ ْ َ َّ َ َ ْ َ َ
ِ ‫ ث َّم‬،‫ادلرع‬
َّ َ َ َ َ ْ َ َ َ
‫ ثم‬،‫احلقاء‬ ِ ‫هلل صَل اهلل علي ِه وسلم‬ ِ ‫أ َّول ما أعطانا رسول ا‬
ْ ْ ْ
.‫ ث َّم أ ْد ِر َج ْت َب ْعد ِيف اثلَّ ْو ِب اْل ِخ ِر‬،‫ال ِمل َح َف َة‬
ความว่า “ฉันเป็ นคนหนึ่งจากผู้ที่อาบน ้าให้ แก่อมุ มุ กุลษู ม ลูกสาว
ของท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ตอนที่นางเสียชีวิต
และสิ่ ง แรกที่ ท่านเราะสูล ได้ ให้ แ ก่เรานัน้ คื อ ผ้ า นุ่ง เสื อ้ ผ้ าคลุม
ศรี ษะ หลังจากนัน้ เป็ นผ้ าหุ้มห่อ หลังจากนัน้ นางได้ ถูกหุ้ม ห่อทับ
ด้ วยผ้ าอีกผืนหนึง่ ” (บันทึกโดยอบู ดาวูด : 3157)
 81 

อัช -เชากานี ย์ กล่าวไว้ ในหนังสื อ (นัยลุล เอาฏอรฺ : 4/42)


"หะดีษบทนี เ้ ป็ นหลักฐานว่าแท้ จ ริ งสิ่ งที่ ถูกบัญ ญั ติในการห่อศพ
ผู้หญิงนัน้ คือ ผ้ านุง่ เสื ้อ ผ้ าคลุมศีรษะ ผ้ าหุ้มห่ออีกสองผืน"

3. กำรจัดผมของศพผู้หญิง
ให้ รวบหรื อถักผมเป็ นสามเปี ย แล้ วเอาไว้ ด้านหลังของเธอ
เนื่องจากมีหะดีษ จากอุมมุ อะฏี ยะฮฺ เราะฎิ ยัลลอฮุอันฮา ในการ
อาบนา้ ศพลูกสาวของท่านเราะสูล ศ็อลลัล ลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
ที่วา่
َ ْ‫فض َّف ْرنَا َش ْع َر َها ثَ َالثَ َة قرون َوأَلْ َقيْنَاه َخل‬
.‫فها‬ َ

ความว่า “แล้ วเราได้ ถักผมของเธอออกไปเป็ นสามเปี ย แล้ วเราได้


เอามันไปไว้ ทางด้ านหลังของนาง” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 1262
และมุสลิม : 2168)

4. บทบัญญัตเิ กี่ยวกับกำรติดตำมไปส่ งศพสตรี


มีรายงานจากอุมมุ อาฏียะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา กล่าวว่า
َ ْ َ ْ ِّ
ِ َ‫ن ِهينَا َع ْن اتب‬
.‫اع اْلَنَائِ ِز َول ْم يع َز ْم َعليْنَا‬
ความว่า “เราถูกห้ ามมิให้ ติดตามไปส่งศพ และเราไม่ได้ ถกู ห้ ามโดย
เด็ดขาด” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 313 และมุสลิม : 2164)
สิ่งที่เห็นได้ จากการห้ ามนัน้ คือไม่อนุญาตให้ กระทา และ
คากล่าวของเธอที่ว่า “และเรามิได้ ถกู ห้ ามโดยเด็ดขาด” นัน้ ชัยคุล
อิ ส ลาม อิ บ นุ ตัย มี ย ะฮฺ เราะหิ ม ะฮุล ลอฮฺ ได้ ก ล่า วไว้ ในหนัง สื อ
 82 

(มั จ ญ์ มู อฺ อั ล -ฟะตาวา 24/355) ว่ า “บางที ค วามหมายที่ เ ธอ


หมายถึ ง ก็ คื อ ไม่ ไ ด้ ห้ า มอย่ า งจริ ง จัง หรื อ เน้ นย า้ แต่นั่น ก็ ไ ม่ ไ ด้
แปลว่าการห้ ามดังกล่าวเป็ นโมฆะ และบางทีอาจจะเป็ นความคาด
เดาของเธอเองว่ า นี่ เ ป็ นการห้ ามที่ ไ ม่ ถึ ง ขัน้ หะรอม ในขณะที่
ใจความของหลักฐานนันต้ ้ องดูที่คาพูดของท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอ
ฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ไม่ได้ อยู่ที่ การคาดเดาของคนใดคนหนึ่งอื่น ไป
จากท่าน”

5. ห้ ำมสตรีมิให้ ไปเยี่ยมหลุมฝั งศพ


มีรายงานจากอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ ว่า
ْ َّ َّ َ َّ َ َ َّ َ
َ ‫اَّلل َعلَيْه َو َسلَّ َم لَ َع َن َز َّو‬
.‫ور‬
ِ ‫ب‬ ‫ق‬ ‫ال‬ ‫ات‬
ِ ‫ار‬ ِ ‫اَّلل صَل‬
ِ ‫أن رسول‬
ความว่า “แท้ จ ริ ง ท่ า นเราะสูล ศ็อ ลลัล ลอฮุอ ะลัย ฮิ วะสัล ลัม ได้
สาปแช่งบรรดาผู้หญิ งที่ ไปเยี่ ยมหลุมฝั งศพอยู่บ่อยครัง้ ” (บันทึก
โดยอะห์มดั : 2030 และอัต-ติรมีซีย์ : 230 และกล่าวว่าเป็ นหะดีษ
เศาะฮีหฺ)
ชัยคุลอิสลาม อิบนุ ตัยมียะฮฺ ได้ กล่าวไว้ ในมัจญ์ มูอฺ อัล-
ฟะตาวา เล่มที่ 24/355-356 ว่า “และเป็ นที่ทราบกันดีว่า ถ้ าเรื่ องนี ้
ถูกเปิ ดกว้ างแก่ผ้ หู ญิ งแล้ วย่อมเป็ นเหตุนาไปสู่การขาดความขันติ
การราพึง ราพัน และการร้ องห่ ม ร้ องไห้ เนื่ อ งจากนางอ่อนแอ มี
ความอดทนน้ อย อันจะเป็ นสาเหตุให้ ผ้ ตู ายเดือดร้ อนเพราะการคร่ า
 83 

ครวญโหยหวนของเธอ และเป็ นสาเหตุของการยั่วยวนแก่ผ้ ูช าย


ด้ วยน ้าเสียงและรูปร่างของเธอ ดังที่มีรายงานในหะดีษหนึง่ ว่า
َ ِّ‫ين ال ْ َمي‬
»‫ت‬ َّ َ ْ‫ت ال‬
َ ‫ح َوت ْؤ ِذ‬ َّ ‫«فَإنَّك َّن َت ْف‬
ِ ِ
ความว่า “แท้ จ ริ งพวกเธอย่อมจะท าให้ ผ้ ูที่ มี ชี วิต อยู่ต้อ งปั่ นป่ วน
(ยัว่ ยวน) และก่อความเดือดร้ อนแก่คนตาย"
เมื่อการไปเยี่ยมหลุมฝั งศพของบรรดาสตรี อาจจะเป็ นที่มา
และสาเหตุของเรื่ องราวต่างๆ ที่ต้องห้ ามในตัวของพวกเธอและแก่
ผู้ชาย –ขณะที่เหตุผลทางบทบัญญัติตรงนีไ้ ม่มีกฎเกณฑ์ ตายตัว -
ดังนัน้ จงไม่ส ามารถก าหนดกรอบและปริ ม าณสิ่ ง ที่ อ าจจะเป็ น
สาเหตุ และไม่ส ามารถแยกแยะแต่ล ะประเภทได้ กรณี แบบนี ม้ ี
ทฤษฎีทางบทบัญญัติกาหนดไว้ คือ เมื่อเหตุผลแห่งบทบัญญัติเป็ น
สิ่ ง ซ่ อ นเร้ นหรื อ ไม่ เ ป็ นที่ แ พร่ ห ลาย ก็ ใ ห้ ข้ อชี ข้ าดผู ก พั น กั บ
แหล่งที่มาและสาเหตุ ดังนัน้ เรื่ องนี ้จึงเป็ นสิ่งต้ องห้ ามเพื่อเป็ นการ
ปิ ดช่องทาง เช่นเดียวกับการห้ ามมองเครื่ องประดับของสตรี ที่อยู่
ภายในเนื่องจากเกิดการยัว่ ยวน และเช่นเดียวกับที่ห้ามการอยู่กับ
ผู้หญิงโดยลาพังและการมองผู้หญิง และในการที่สตรี เยี่ยมหลุมฝั ง
ศพนัน้ ไม่มีผลดีมากพอที่จะเอามาเทียบกับผลเสีย เพราะในการ
เยี่ ย มนัน้ ไม่มี ค วามดี ใดนอกจากการวิง วอนของเธอให้ แก่ ผ้ ูตาย
เท่านัน้ และนั่นเป็ นสิ่งที่ เธอสามารถทาได้ ภายในบ้ านของเธอเอง
(โดยไม่ต้องไปที่สสุ าน)”
 84 

6. ห้ ำมไม่ ให้ มีกำรร้ องรำพันคร่ ำครวญ


คือการราพึง ราพันเสี ย งดัง ฉี ก เสื อ้ ผ้ า ตบตี แก้ ม โกนผม
การย้ อมสี และขีดข่วนบนใบหน้ า อันเนื่องจากความท้ อแท้ เพราะ
สูญเสียผู้ตาย การคร่ าครวญขอให้ เกิดความหายนะ และอื่นๆ จาก
สิ่งที่ บ่งบอกถึ ง ความท้ อแท้ ในลิ ขิต ของอัล ลอฮฺ ไม่มี ความอดทน
เหล่านี ล้ ้ วนเป็ นสิ่ งที่ ต้องห้ ามและเป็ นบาปใหญ่ เนื่ องจากหะดีษ
ที่วา่
ْ ْ َ َ ْ َّ َ َ َ ْ َ َ َ ْ َ َّ َ ْ َ
»‫وب َود َاع بِ َدع َوى اْلَا ِه ِل َّية‬ ‫«ليس ِمنا من لطم اْلدود وشق اْلي‬
ความว่า “ไม่ใช่แนวทางของเรา ผู้ที่ตบตีใบหน้ า ฉีกเสื ้อผ้ า และคร่ า
ครวญเยี่ ยงพฤติกรรมสมัย ญาฮิ ลี ย ะฮฺ ”(บัน ทึกโดยอัล -บุค อรี ย์ :
1294 และมุสลิม : 281)

َّ َّ َ ْ َ َّ ْ َّ َ َ َّ َ
.‫الصا ِلق ِة َواحلَا ِلق ِة َوالشاق ِة‬ ‫اَّلل صَل اهلل عليه وسلم بَ ِريء ِمن‬
ِ ‫أن رسول‬
ความว่า “ท่านเราะสูลลุ ลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ไม่ขอยุ่ง
เกี่ ยวกับผู้หญิ งที่ ส่งเสี ยงดัง ผู้หญิ งที่ โกนผม ผู้หญิ งที่ ฉี กเสื อ้ ผ้ า ”
(บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 1296 และมุสลิม : 283) กล่าวคือ ผู้หญิงที่
กระทาการเหล่านี ้ในเวลาที่ตวั เองประสบเคราะห์กรรม

และยังมีหะดีษอีกว่า
َ ْ َ َّ َ َّ َ َ ْ َ َ َّ َّ َ َّ َ َ ََ
.‫ َوالم ْستَ ِم َعة‬، ‫اِئَة‬
ِ ‫اَّلل صَل اَّلل علي ِه وسلم انل‬
ِ ‫لعن رسول‬
ความว่า “ท่ า นเราะสู ลุ ล ลอฮฺ ศ็ อ ลลัล ลอฮุอ ะลัย ฮิ ว ะสัล ลัม ได้
สาปแช่ ง หญิ ง ที่ ร่ า ไห้ ค ร่ า ครวญ และผู้ รั บ ฟั งเสี ย งร้ องนัน้ ด้ ว ย”
 85 

(บันทึกโดยอบู ดาวูด : 3128) กล่าวคือผู้ที่มีเจตนารับฟั งและพอใจ


เสียงราพันคร่ าครวญนัน้

โอ้ พี่ น้องผู้ศรัท ธา จ าเป็ นที่ เธอต้ องหลี กเลี่ ยงการกระท า


เช่นนี ้ เมื่อประสบกับการทดสอบ จาเป็ นที่ เธอต้ องอดทน และหวัง
ผลตอบแทนจากอัลลอฮฺ เพื่อให้ บททดสอบของเธอลบล้ างความผิด
ต่างๆ และเพิ่มพูนความดีให้ แก่เธอ
อัลลอฮฺได้ ตรัสไว้
ُ َ‫أ‬ ‫ّ أ َأ‬ ‫َ َ َ أ ُ َ ُ َ أ ّ َ أَ أ َ أُ ِ َ أ‬
‫ت‬ِ ‫وع َونقص ِم َن ٱۡلم َو ى ِل َوٱۡلنف ِس َوٱثل َم َر ى‬ ‫﴿ ونلبلونكم بَِشء مِن ٱۡلو ِف وٱۡل‬
َ ُ ‫ٓ َ أ َى‬ ُٓ َ َ ‫ ٱَّل َ َ ٓ َ َ أ‬١٥٥ ‫ين‬َ ‫َوب َ ّ ِش ٱلصىِب‬
١٥٦ ‫ّلل ِإَونا إِ ّلهِ ر ِجعون‬ ِ ِ ‫ِين إِذا أصى َبت ُهم م ِصيبة قالوا إِنا‬ ِِ ِ
َ ُ َ ‫ّ أ َ َ أ َ َ ُ َ َٰٓ َ ُ ُ أ ُ أ‬ ّ َ َ َ ‫أ‬ ‫أ‬ َ َ َ َ ُ
:‫ ﴾ [اْلقرة‬١٥٧ ‫أ و َٰٓلئِك علي ِهم صلو ىت مِن رب ِ ِهم و رۡحة وأ و لئِك هم ٱلمهتد ون‬
]١٥٧ ،١٥٥
ความว่า “และเราจะทดสอบพวกเจ้ าด้ วยส่วนหนึ่ง(สิ่งเล็กน้ อย)จาก
ความกลัว ความหิ ว โหย ความเสี ย หายในทรั พ ย์ สิ น ชี วิ ต และ
ผลผลิต และเจ้ าจงแจ้ งข่าวดีแก่บรรดาผู้อดทนเถิด บรรดาผู้ที่เมื่อมี
บททดสอบได้ มาประสบกับพวกเขา พวกเขาก็กล่าวว่าแท้ จริ งเรา
เป็ นกรรมสิทธิ์ของอัลลอฮฺ และแท้ จริ งเราจะต้ องกลับไปหาพระองค์
ชนเหล่านี ้แหละ จะได้ รับพรและความเมตตาจากพระผู้เป็ นเจ้ าของ
พ วก เขา แล ะชน เห ล่ า นี แ้ ห ละคื อผู้ ที่ ได้ รั บ ท างน า ” (อั ล -
บะเกาะเราะฮฺ : 155-157)
 86 

อนุญ าตให้ ร้องไห้ ได้ โดยที่ ต้องไม่มี การราพัน คร่ าครวญ


และปราศจากการกระท าที่ ต้ อ งห้ าม ไม่ โมโหโกรธเคื อ งต่อ การ
กาหนดของอัลลอฮฺ เพราะว่าลาพังการร้ องไห้ นนั ้ ถือว่าเป็ นความ
เมตตาแก่ผ้ ูตายและความอ่อนโยนของหัวใจ และมัน เป็ นสิ่งที่ไม่
สามารถยับยังได้
้ ดังนัน้ การร้ องให้ จึงเป็ นสิ่ง ที่ อนุมตั ิ และบางครัง้
อาจจะเป็ นสิ่งที่ชอบให้ กระทาเสียอีกด้ วย
ขออัลลอฮฺทรงเป็ นผู้ที่ให้ ความช่วยเหลือ
 87 

บทที่ 7
บัญญัตวิ ่ ำด้ วยกำรถือศีลอดของผู้หญิง

การถื อศี ล อดในเดือนเราะมะฎอนเป็ นสิ่ง จ าเป็ นส าหรั บ


มุสลิมทุกคน และเป็ นรุ ก่นหรื อองค์ประกอบหลักประการหนึ่งของ
ศาสนาอิสลาม
อัลลอฮฺตรัสไว้ วา่
ُ َ ََ َ ُ َ َ ُ َ ّ ُ ُ ‫َ َ َ ُ ُ َ َ َأ‬ َ َ
‫ِين مِن ق أبل ِك أم‬
َ ‫َع ٱَّل‬ ِ ‫يأي َها ٱَّلِين ءامنوا كت ِب عليكم‬
‫ٱلصيام كما كت ِب‬ َٰٓ ﴿
َ ُ َ ُ َ
]١٨٣ :‫ ﴾ [اْلقرة‬١٨٣ ‫ل َعلك أم تتقون‬
ความว่า “โอ้ บรรดาผู้ศรัทธาทังหลาย
้ การถือศีลอดได้ ถกู กาหนดแก่
พวกเจ้ า เหมื อนกับที่ ได้ ถูกกาหนดแก่ พ วกที่ม าก่อนหน้ าพวกเจ้ า
หวังว่าพวกเจ้ าจะยาเกรง” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ : 183)

คาว่า “ถูกกาหนด” หมายถึง ถูกบัญญัติ ดังนันเมื ้ ่อเด็กสาว


ได้ บรรลุศาสนภาวะแล้ ว โดยมีเครื่ องหมายหนึ่งจากเครื่ องหมายใน
การบรรลุศาสนภาวะให้ เห็น เช่นเริ่ มมีประจาเดือน เมื่อนัน้ การถื อ
ศีล อดก็ เป็ นวาญิ บ (จ าเป็ น)ส าหรับ เธอ เด็กสาวบางคนอาจจะมี
ประจาเดือน เมื่ออายุ 9 ปี ซึ่งเธออาจจะยังไม่ร้ ูว่าจาเป็ นต้ องถือศีล
อด เธอเลยไม่ถือโดยที่เข้ าใจว่าเธอนัน้ ยังเล็กอยู่ และผู้ปกครองก็
 88 

ไม่ได้ สงั่ เธอให้ ทาการถือศีลอด สิ่งนี ้ถือว่าเป็ นความบกพร่องอย่าง


ยิ่ ง เพราะละทิ ง้ องค์ ป ระกอบหลัก อี ก ประการหนึ่ ง ของอิ ส ลาม
เด็ก สาวคนใดที่ มี รอบเดื อนเกิ ด ขึน้ จะต้ องศี ลอดชดเชย
ตามจานวนวันที่ขาด ตังแต่ ้ ช่วงแรกของการมีประจาเดือน ถึงแม้ ว่า
ผ่านไปนานแล้ วก็ตาม เพราะว่าการถื อศีลอดนัน้ ยังอยู่ในความ
รับผิดชอบของเธอ

กำรถือศีลอดจำเป็ นแก่ ผ้ ูใด?


เมื่ อเดือนเราะมะฎอนได้ มาถึงจ าเป็ นต่อมุสลิม ทุกคนทัง้
ชายและหญิง ผู้ซึ่งบรรลุศาสนภาวะ มีสขุ ภาพดี และไม่ได้ เดินทาง
(อยู่ประจาถิ่น) จะต้ องถือศีลอดในเดือนดังกล่าว และบุคคลใดป่ วย
หรื อเดินทางในช่วงเดือนเราะมะฎอน เขาจะได้ รับก็ได้ รับอนุญาตให้
ละศีลอด และชดใช้ ตามจานวนวันที่ขาดไป อัลลอฮฺตรัสไว้ วา่
َ َ َ ‫أ َ َ أ َ ُ أ ُ َ َ َ َ َ ً َ أ َ َى‬ ُ َ َ
‫َع َسفر فعِدة ّم أِن أيام‬ ‫﴿ ف َمن ش ِه َد مِنك ُم ٱلشهر فليصمه ومن َك ن م ِريضا أ و‬
َ ُ
]١٨٥ :‫أخ َر ﴾ [اْلقرة‬
ความว่า “ดังนัน้ ผู้ใดในหมู่พวกเจ้ าเข้ าอยู่ในเดือนนันแล้
้ ว ก็จงถือ
ศีลอด และผู้ใดป่ วยหรื ออยู่ในการเดินทาง -แล้ วเขาละศีลอด- ก็ให้
เขาได้ ถือชดใช้ ในวันอื่นแทน” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ :185)

ในทานองเดียวกัน ผู้ที่มีชีวิตในเดือนเราะมะฎอนในขณะที่
เขาเป็ นผู้แก่ชรามาก ไม่สามารถถือศีลอดได้ หรื อผู้ป่วยเรื อ้ รังซึ่งไม่
มีความหวังที่จะหายจากโรคนัน้ ไม่ว่าจะเป็ นชายหรื อหญิ งก็ตาม
 89 

แท้ จริงให้ เขาละศีลอดและให้ จา่ ยอาหารแก่ผ้ ขู ดั สนจานวนหนึง่ ลิตร


ต่อหนึง่ วันจากอาหารหลักของท้ องถิ่น
อัลลอฮฺตรัสว่า
ُ ُ َ
ُ ‫يقونَ ُهۥ ف أِديَة َط َع‬ ََ
]١٨٤ :‫ام م أِسكِي ﴾ [اْلقرة‬ ‫﴿ َوَع ٱَّلِين ي ِط‬
ความว่า “และบรรดาผู้ที่ถือศีลอดได้ ด้วยความยากลาบาก ก็ให้ มี
การจ่ายสิ่งชดเชย คือจ่ายอาหารแก่ผ้ ขู ดั สน” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ :
184)

อิบนุ อับบาส เราะฎิ ยัลลอฮุอันฮุ กล่าวว่า “บทบัญญัตินี ้


สาหรับคนชรา” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 4505) ส่วนคนป่ วยที่ ไม่มี
หวังจะหายก็ใช้ บญ ั ญัติเดียวกับคนชราได้ ไม่ต้องถื อศีลอดชดใช้
เนื่ อ งจากขาดความสามารถ ค าว่ า “การถื อ ศี ล อดด้ ว ยความ
ลาบาก” คือ การถือศีลอดได้ ด้วยความทุกข์ทรมาน

ข้ อผ่ อนปรนต่ ำงๆ ในกำรถือศีลอดของผู้หญิง


สาหรับสตรี นนมี ั ้ ข้อผ่อนปรนหลายประการ ให้ ละศี ลอดได้
และชดใช้ ในวันอื่นๆ ตามจานวนวันที่ขาดไป
1. เลือดประจำเดือน และเลือดหลังคลอดบุตร
ห้ ามสตรี ที่มีประจาเดือนและเลือดหลังคลอดทาการถือศีล
อด และจ าเป็ นที่ จ ะต้ องถื อชดเชยในวันอื่ น เนื่ องจากหะดี ษ ของ
ท่านหญิงอาอิชะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา กล่าวว่า
َ َّ َ َ َ ْ َ َ ِّ َ َ َ ْ َّ
ِ‫كنا نؤمر بِقضا ِء الصيامِ َول نؤمر بِقضا ِء الصالة‬
 90 

ความว่า “เราถูกสั่งให้ ชดเชยการถือศีลอด และไม่ถูกใช้ ให้ ชดเชย


การละหมาด” (บัน ทึกโดยอัล -บุค อรี ย์ : 321 , มุส ลิม : 759 , อบู
ดาวูด : 262 , อัต-ติรมิซีย์ : 130 และอัน-นะสาอีย์ : 2317)

และทัง้ นี ้ เนื่ อ งจากมี ส ตรี ผ้ ูห นึ่ ง ได้ ถ ามเธอว่า ท าไมผู้มี


ประจาเดือนต้ องถือศีลอดชดเชย และไม่ต้องละหมาดชดเชย? เธอ
ก็ได้ อธิ บายว่า “แท้ จ ริ งเรื่ องนี เ้ ป็ นส่วนหนึ่งจากเรื่ องราวที่ต้องยึด
ตามตัวบท”
เหตุผลที่ไม่ ต้องถือศีลอด ชัยคุลอิสลาม อิบนุ ตัยมียะฮฺ
ได้ กล่าวไว้ ในมัจญ์ มูอฺ อัล-ฟะตาวา เล่มที่ 25/251 “เลือดที่ออกมา
เพราะการมี ป ระจ าเดื อ นนัน้ คือ การออกมาของเลื อด และผู้ที่ มี
ประจาเดือนสามารถที่จะถือศีลอดในเวลาที่ไม่มีเลือดได้ ดังนันการ ้
ถือศีลอดเวลาที่ไม่มีเลือดนันเป็ ้ นการถือศีลอดที่สมดุล ซึง่ เลือดเป็ น
องค์ประกอบที่ทาให้ ร่างกายแข็งแรง และการถือศีลอดในขณะที่มี
ประจาเดือน ทาให้ เกิดความบกพร่ องและอ่อนแอต่อร่ างกายของ
เธอ และการถือศีลอดไม่สมดุล ดังนันเธอจึ ้ งถูกสัง่ ใช้ ให้ ถือศีลอดใน
เวลาที่ไม่มีประจาเดือน"

2. กำรตัง้ ครรภ์ และกำรให้ นม


 91 

คือการตังครรภ์
้ และการให้ นมที่ทาให้ เกิดอันตรายต่อสตรี
ต่อทารกในครรภ์ หรื อทังต่ ้ อตัวของแม่และเด็กเอง เธอก็สามารถละ
ศีลอดได้ ในขณะที่กาลังตังครรภ์้ หรื อช่วงให้ นม
หากเธอละศีลอดเพราะเกรงว่าอันตรายจะเกิดกับเด็ก เธอ
จะต้ องถือศีลอดชดเชยวันที่ได้ ละศีลอด และให้ จ่ายอาหารแก่ผ้ ขู ดั
สนหนึง่ คนต่อจานวนหนึง่ วันที่ได้ ละเว้ นการถือศีลอด
หากเธอละศีลอดเพราะเกรงอันตรายที่จะเกิดขึ ้นกับเธอเอง
ก็ให้ ถือศีลอดชดเชยอย่างเดียวไม่ต้องจ่ายอาหาร ทังนี ้ ้เนื่องจากผู้
ที่ตงครรภ์
ั้ และผู้ที่ให้ นม เข้ าข่ายในคาตรัสของอัลลอฮฺที่วา่
ُ ُ َ
ُ ‫يقونَ ُهۥ ف أِديَة َط َع‬ ََ
]١٨٤ :‫ام م أِسكِي ﴾ [اْلقرة‬ ‫﴿ َوَع ٱَّلِين ي ِط‬
ความว่า “และสาหรับผู้ที่ถือศีลอดได้ ด้วยความยากลาบาก ให้ จ่าย
สิ่งชดเชยคืออาหารแก่ผ้ ขู ดั สน” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ : 184)

อิ บ นุ กะษี รฺ กล่ า วไว้ ในตัฟ ซี รฺ ข องท่ า น เล่ ม ที่ 1/379 ว่ า


“และผู้ที่เข้ าข่ายในความหมายนี ้ คือ ผู้ที่ตงครรภ์ั้ และผู้ที่ให้ นมบุตร
เมื่อเขาทังสองกลั
้ วจะเป็ นอันตรายต่อตัวเอง หรื อเป็ นอันตรายต่อ
ลูก”
ชัยคุลอิสลาม อิบนุตยั มียะฮฺ ได้ กล่าวไว้ ในหนังสือของท่าน
เล่มที่ 25/318 “หากว่าเธอกลัวว่าจะเป็ นอันตรายต่อทารกในครรภ์
ก็อนุญ าตให้ ละศีลอด และจะต้ องชดเชยตามจานวนวันที่ขาดไป
 92 

และจะต้ องจ่ายอาหารแก่ผ้ ูขดั สนหนึ่งคนจานวนหนึ่งลิตรต่อ หนึ่ง


วันที่ละศีลอด”

สิ่งที่จำเป็ นต้ องรู้


1. ผู้ที่มีเลือดเสีย (อัล-มุสตะหาเฏาะฮฺ) –คือผู้ที่มีเลือดมา
โดยที่ ไ ม่ ใช่ ป ระจ าเดื อ นดัง ที่ ก ล่ า วก่ อ นนี แ้ ล้ ว - จ าเป็ นแก่ เธอที่
จะต้ องถือศีลอด และไม่อนุญาตให้ ละทิ ้งการถือศีลอดอันเนื่องจาก
มีเลือดเสีย
ชัยคุลอิสลาม อิบนุตยั มียะฮ ได้ กล่าวไว้ ในหนังสือของท่าน
เล่มที่ 25/251 หลังจากที่กล่าวถึงการละศีลอดของผู้มีประจาเดือน
“ซึ่งแตกต่างกับเลือดเสีย เพราะว่าเลือดเสียนันไม่ ้ สามารถควบคุม
เวลาได้ โดยเธอถูกใช้ ให้ ถือศี ล อดในเวลานัน้ และไม่สามารถจะ
ระวังมันได้ เช่น การอาเจียนออกมา การมีเลือดออกมาตามแผล
และฝี ต่างๆ การฝั น และในทานองนัน้ ในบรรดาสิ่งที่ ไม่สามารถ
ควบคุ ม ได้ มั น จึ ง ไม่ มี ผ ลกั บ การถื อ ศี ล อดเหมื อ นกั บ เลื อ ด
ประจาเดือน”
2. จ าเป็ นต่อผู้มี ป ระจ าเดื อน ผู้ที่ ตงั ้ ครรภ์ และผู้ ที่ ให้ น ม
เมื่อพวกเธอละทิ ้งการถือศีลอด จะต้ องถือศีลอดชดใช้ ตามจานวน
วั น ที่ ไ ด้ ละศี ล อด ในระหว่ า งเดื อ น เราะมะฎ อน นี ก้ ั บ เดื อ น
เราะมะฎอนที่จะมาถึง และการรี บชดใช้ เป็ นสิ่งที่ประเสริฐที่สดุ และ
เมื่อเหลือไม่กี่วนั ที่เดือนเราะมะฎอนใหม่จะมาถึงนอกจากเท่ากับ
 93 

วันที่ ได้ ล ะศีล อด ก็จ าเป็ นที่ จ ะต้ องถื อศีล อดชดใช้ เพื่ อมิ ให้ เดือน
เราะมะฎอนใหม่ ม าถึ ง โดยที่ ยัง มิ ได้ ช ดเชยของก่อ น ถ้ าหากเข้ า
เราะมะฎอนใหม่และยังมิได้ ชดเชย โดยที่ไม่มีอุปสรรคที่ได้ รับการ
อนุโลมแล้ ว ก็จาเป็ นที่จะต้ องถือศีลอดชดเชย พร้ อมจ่ายอาหารแก่
ผู้ขดั สนหนึ่งคนต่อหนึ่งวัน หากการล่าช้ าเกิดจากอุปสรรคก็จะต้ อง
ถือศีลอดชดใช้ อย่างเดียว (ไม่ต้องจ่ายอาหาร) ผู้ที่จาเป็ นต้ องถือศีล
อดชดเชย ด้ วยสาเหตุของการละทิ ้งศีลอดอันเนื่องจากการเจ็บป่ วย
หรื อ การเดิ น ทางนัน้ ก็ ใ ช้ บ ทบัญ ญั ติ แ ละข้ อ ชี ข้ าดเดี ย วกั บ ผู้ มี
ประจาเดือน ดังที่แจกแจงมาก่อนแล้ ว
3. ไม่อนุญ าตให้ ส ตรี ถือ ศีล อดภาคสมัครใจ (ตะเฎาวุ อฺ )
เมื่อสามี ของเธออยู่บ้าน ไม่ได้ เดินทาง นอกจากด้ วยการอนุญาต
ของสามีเท่านัน้ ดังหะดีษที่อิมามอัล-บุคอรี ย์และมุสลิม และท่าน
อื่นๆ ได้ รายงานจากอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ ว่าท่านนบี
ศ็อลลัลลอฮุอะละฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
ْ َّ َ َ ‫« َل َحي ُل للْ َم ْرأَة أَ ْن تَص‬
»‫وم َو َز ْوج َها شا ِهد إِل بِإِذنِ ِه‬ ِ ِ ِ
ความว่า “ไม่อนุญาตให้ ภรรยาถือศีลอดในขณะที่สามีของนางอยู่
บ้ า น ไม่ ไ ด้ เดิ น ทาง นอกจากด้ ว ยการอนุ ญ าตของเขาเท่ า นัน้ ”
(บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 5192 และมุสลิม :2367)
และในบางสายรายงานของอะห์ มัด และอบู ดาวูด ที่ ว่า
“นอกจากเดือนเราะมะฎอน” ถ้ าสามีได้ อนุญ าตให้ ถือศีลอดภาค
สมัครใจ หรื อสามีไม่ได้ อยู่กบั เธอ หรื อเธอไม่มีสามี ก็ส่งเสริ มให้ เธอ
 94 

ถือศีลอดโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวันที่ส่งเสริม ให้ ถือ เช่น วันจันทร์ วัน


พฤหัส บดี สามวัน ของทุกๆ เดือน หกวัน ของเดือนเชาวาล สิบวัน
ของเดือนซุลหิจญะฮฺ วันอะเราะฟะฮฺ วันอาชูรออ์ หนึ่งวันก่อนและ
หลังจากวันอาชูรออ์ เพี ยงแต่ไม่สมควรสาหรับเธอที่ จะถื อศีลอด
สมัครใจ (สุนัต) ในขณะที่ยังติดค้ างศีลอดเดือนเราะมะฎอน เธอ
จะต้ องถือศีลอดชดเชยเสียก่อน วัลลอฮุอะอฺลมั
4. เมื่ อสตรี ส ะอาดจากประจ าเดื อ นในช่วงกลางวัน ของ
เดือนเราะมะฎอน เธอจะต้ องงดการรับประทานในช่วงเวลาส่วนที่
เหลือของวันนัน้ และเธอยังต้ องถือศีลอดชดของวันนันด้ ้ วย พร้ อมๆ
กับวันอื่นๆ ที่ได้ ละเว้ นการถือศีลอดเพราะมีประจาเดือน และการ
งดอาหารในส่วนที่เหลือของวันที่ เธอสะอาดนันเป็ ้ นวาญิ บ/จาเป็ น
ทังนี
้ ้เพราะเป็ นการให้ เกียรติเดือนเราะมะฎอน
 95 

บทที่ 8
บัญญัตวิ ่ ำด้ วยกำรประกอบพิธีหจั ญ์ และ
อุมเรำะฮฺของผู้หญิง

การประกอบพิ ธี หัจ ญ์ ณ บัย ตุล ลอฮฺ ในทุก ๆ ปี นัน้ เป็ น


ข้ อ บัง คับ ในภาพรวม(ฟั รฎู กิ ฟ ายะฮฺ ) ส าหรั บ ประชาชาติ มุส ลิ ม
ทังหมด
้ ส่วนที่เป็ นวาญิบ(ฟั รฎอัู ยนฺ)สาหรับมุสลิมทุกคนนันคื ้ อหนึ่ง
ครั ง้ ตลอดชี วิ ต ส าหรั บ ผู้ ที่ มี เ งื่ อ นไขในการท าหั จ ญ์ ครบถ้ วน
นอกเหนือจากนันก็ ้ เป็ นหัจญ์ภาคสมัครใจ (ตะเฏาวุอฺ)
การประกอบพิ ธี หัจญ์ นัน้ เป็ นโครงสร้ างหลักของศาสนา
อิสลาม และเป็ นรู ปแบบการมี ส่วนร่ วมของบรรดาสตรี ในภารกิ จ
การต่อสู้ในหนทางของอัลลอฮฺ (ญิ ฮาด) เนื่องจากหะดีษของท่าน
หญิงอาอิชะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา ได้ กล่าวว่า
ْ َ َ َ ِّ َ ْ َ َّ َ َ َ
‫ احل َ ُج‬، ‫ َعليْ ِه َّن ِج َهاد ل قِتَال ِفي ِه‬، ‫ «ن َع ْم‬:‫اَّلل هل َلَع الن َسا ِء ِج َهاد ؟ قال‬
ِ ‫يا رسول‬
ْ
»‫َوالع ْم َرة‬
ความว่า “โอ้ ท่ านเราะสูลุล ลอฮฺ สตรี ต้ อ งท าการต่อ สู้ ในหนทาง
ของอัลลอฮฺใช่ไหม (ญิฮาด)? ท่านกล่าวว่า ใช่ จาเป็ นแก่พวกเธอที่
จะต้ องทาการญิ ฮาด แต่เป็ นการญิ ฮาดที่ ไม่มี การฆ่าฟั น คือการ
 96 

ประกอบพิ ธี หัจ ญ์ และอุ ม เราะฮฺ ” (บัน ทึ ก โดยอะห์ มั ด : 25198


และอิบนุ มาญะฮฺ : 2901 ด้ วยสายรายงานที่ถกู ต้ อง)

และในรายงานของอัล -บุค อรี ย์ จากท่ า นหญิ ง อาอิ ช ะฮฺ


เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา กล่าวว่า
ْ َ َ ْ َ َّ َ َ َ َ َ َ َ َ َ ْ َ َ ْ َ َ َ ْ ‫اَّلل ن َرى‬
َّ َ َ َ
‫اْل َها ِد َحج‬
ِ ‫كن أفضل‬ ِ ‫ «ل‬: ‫اْلهاد أفضل العم ِل أفال ُنا ِهد قال‬
ِ ِ ‫يا رسول‬
»‫َم ْْبور‬
ความว่า “โอ้ ศ าสนทูต ของอัล ลอฮฺ เรารู้ ว่าการญิ ฮ าดในหนทาง
ของอัลลอฮฺเป็ นงานที่ ประเสริ ฐยิ่ง จะไม่ให้ เราออกไปญิ ฮาดด้ วย
หรื อ? ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า แต่การญิ
ฮาดที่ ดี ยิ่ ง (ส าหรั บ พวกเธอ)คื อ การท าหัจ ญ์ ที่ ส มบูรณ์ ” (บัน ทึ ก
โดยอัล-บุคอรี ย์ : 1520)

บทบั ญ ญั ติในกำรประกอบพิ ธี หั จ ญ์ ที่ เกี่ ยวกั บ สตรี


เป็ นกำรเฉพำะ มีหลายประการได้ แก่

1. มะห์ ร็อม
เงื่อนไขที่จาเป็ นในการประกอบพิธี หัจญ์ ซึ่งครอบคลุมทัง้
ผู้ชายและผู้หญิ งมีหลายประการ คือ เป็ นมุสลิม มีสติสมั ปชัญญะ
เป็ นไท (มิใช่ทาส) บรรลุศาสนภาวะ มีความสามารถในค่าใช้ จา่ ย
ส่วนเงื่อนไขที่จาเป็ นสาหรับผู้หญิงเป็ นการเฉพาะ คือ ต้ อง
มีมะห์ร็อมเดินทางไปประกอบพิธี หัจญ์ พร้ อมกับเธอ คือสามี หรื อ
 97 

ผู้ชายที่ถูกห้ ามไม่ให้ แต่งงานกับเธอแบบถาวรเนื่องจากเป็ นเครื อ


ญาติ เช่น พ่อ ลูกชาย พี่ชาย หรื อน้ องชาย หรื อด้ วยสาเหตุอื่น เช่น
พี่ น้ องชายจากการดื่ ม นมร่ ว มแม่ น มกั บ เธอ หรื อ สามี ข องแม่
(พ่อเลีย้ ง) หรื อลูกชายของสามี (ลูกเลีย้ ง) หลักฐานในเรื่ องนี ้มี หะ
ดีษจากอิบนุอบั บาส เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ กล่าวว่า แท้ จริ ง เขาได้ ยิน
ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวคาปาฐกถาว่า
َ ‫ع ذي َُمْ َرم َف َق‬
‫ام‬ ِ
َ َ َ ْ َّ ً ََّ َ ْ َ َ َ َ َ ْ ََّ َِّ َ َ َ َ َ َ َ
‫ َو ِإ ِِّن اكتتِبْت ِيف غ ْز َو ِة كذا‬،‫اجة‬‫ ِإن امرأ ِِت خرجت ح‬،‫ يا رسول اَّلل‬:‫ فقال‬،‫َرجل‬
َ َ ْ َ ْ َ َ َ َ
»‫ فح ََّج َم َع ام َرأ ِتك‬،‫ ان َط ِل ْق‬:‫ قال‬،‫َوكذا‬
ความว่า “ชายคนหนึ่งจะไม่อยู่ตามลาพังกับผู้หญิง นอกจากจะมีผ้ ู
ที่ เป็ นมะห์ ร็อ มของเธออยู่ด้ วยเท่านัน้ และผู้ห ญิ ง จะไม่ เดิน ทาง
นอกจากจะมีผ้ ทู ี่เป็ นมะห์ร็อมไปพร้ อมกับเธอด้ วย” ชายคนหนึ่งได้
ยืนขึ ้น แล้ วกล่าวว่า โอ้ ท่านศาสนทูตของอัลลอฮฺ แท้ จริงภรรยาของ
ฉันต้ องการออกไปประกอบพิธีหจั ญ์ และแท้ จริงฉันนี ้ได้ ถกู ลงชื่อให้
ร่วมสงครามที่นนั่ ที่นี่ ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม จึง
กล่าวว่า “ท่านจงออกไป แล้ วจงประกอบพิธีหจั ญ์ พร้ อมกับภรรยา
ของท่าน” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 3006 และมุสลิม : 3259)

และมี ร ายงานจากอิ บ นุ อุ มัรฺ เราะฎิ ยัล ลอฮุอัน ฮุ ท่ า น


เราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
َْ َّ ً َ َ َ ْ َ
»‫«ل ت َسا ِف ْر ال َم ْرأة ثالثا ِإل َم َع ِذي ُم َرم‬
 98 

ความว่า “สตรี จะไม่เดินทางระยะเวลาสามวัน นอกจากจะต้ องมี


มะห์ ร็อมเดินทางพร้ อมกับ เธอเท่านัน้ ” (บันทึก โดยอัล -บุค อรี ย์ :
1087 และมุสลิม : 3245)

หะดีษในทานองนี ้มีอีกมากมาย ซึ่งห้ ามไม่ให้ สตรี เดินทาง


ไปประกอบพิธีหจั ญ์ และอื่นๆ โดยที่ไม่มีมะห์ร็อมไปด้ วย เนื่องจาก
สตรี นนอ่
ั ้ อนแอ อาจจะมีสาเหตุไม่คาดคิด หรื อความลาบากในการ
เดิ น ทางมาประสบกับ เธอ ซึ่ง สิ่ ง เหล่ า นัน้ ไม่ มี ใครที่ จ ะเผชิ ญ ได้
นอกจากผู้ชาย และผู้หญิ งนันก็ ้ เป็ นที่ปรารถนาของคนชัว่ ทังหลาย

ดังนัน้ จึงจาเป็ นต้ องมี ม ะห์ ร็อมคอยปกป้องรักษาเธอ ให้ รอดพ้ น
จากการก่อความเดือดร้ อนของคนเหล่านัน้

เงื่อ นไขของผู้ ท่ ี จ ะเป็ นมะห์ ร็อ มในกำรประกอบพิธี


หัจญ์
- มีสติสมั ปชัญญะ
- บรรลุศาสนภาวะ
- เป็ นมุสลิม
หากเธอหาบุคคลที่เป็ นมะห์ร็อมไม่ได้ ก็จาเป็ นต้ องหาคน
มาทาหัจญ์แทนให้ กบั เธอ

2. ได้ รับอนุญำตจำกสำมี
 99 

หากการประกอบพิ ธี หั จ ญ์ ภาคสมั ค รใจ จะต้ องได้ รั บ


อนุญ าตจากสามี เพราะสิ ท ธิ ข องสามี ที่ เธอต้ อ งปฏิ บัติ จ ะขาด
หายไป เจ้ าของตาราอัล -มุฆนี ย์ได้ กล่าวว่า “สามีมีสิทธิ ยบั ยัง้ มิให้
เธอไปประกอบพิ ธี หัจ ญ์ ภ าคสมัค รใจได้ อิ บ นุล มุน ซิ รฺ กล่าวว่า
“ปวงปราชญ์ ทกุ คนที่ฉันได้ จดจามาจากพวกเขา มีมติเป็ นเอกฉันท์
ว่า สามีมีสิทธิยบั ยังมิ
้ ให้ เธอออกไปประกอบพิธีหจั ญ์ ภาคสมัครใจ
ได้ เนื่องจากหน้ าที่ต่อสามีนนั ้ เป็ นภาคบังคับ (วาญิ บ) ดังนัน้ เธอ
จะเอาสิ่งที่ไม่ใช่เป็ นภาคบังคับมาทาให้ สิ่งที่เป็ นภาคบังคับต้ องขาด
หายไปมิได้ ก็เช่นเดียวกับทาสที่ต้องได้ รับอนุญาตจากผู้เป็ นนาย”
(อัล-มุฆนีย์ : 3/240)

3. กำรทำหัจญ์ และอุมเรำะฮฺแทนผู้ชำย
สตรี ส ามารถท าหัจ ญ์ และอุม เราะฮฺ แทนผู้ช ายได้ ชัย คุล
อิสลาม อิบนุ ตัยมียะฮฺ ได้ กล่าวไว้ ในตาราของท่านว่า “อนุญาตให้
ผู้หญิงทาหัจญ์ แทนผู้หญิงได้ โดยมติเอกฉันท์ของปวงปราชญ์ ไม่ว่า
จะเป็ นลูกสาวของเธอหรื อไม่ก็ตามแต่ และเช่นเดียวกันอนุญาตให้
ผู้ห ญิ ง ท าหัจ ญ์ แ ทนผู้ช ายได้ ตามทัศ นะของอิ ม ามทัง้ สี่ แ ละผู้ร้ ู
ส่วนมาก ดังที่ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ สั่งให้
หญิงเผ่าค็อซอัมคนหนึง่ ทาหัจญ์ แทนบิดาของเธอ เมื่อตอนที่เธอได้
กล่าวว่า “โอ้ ท่านศาสนทูตของอัลลอฮฺ แท้ จริ งบทบัญญัติที่ให้ ปวง
บ่าวของอัลลอฮฺประกอบพิธีหจั ญ์ ได้ มาถึงบิดาของฉัน ขณะที่เขามี
 100 

อายุมากแล้ ว” ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมก็เลยสัง่ ให้


เธอท าหั จ ญ์ แทนบิ ด าของเธอ ทัง้ ที่ ก ารท าหัจ ญ์ ของผู้ ชายนั น้
สมบูรณ์ ยิ่งกว่าการทาหัจ ญ์ ของผู้ห ญิ ง (มัจ ญ์ มูอฺ อัล -ฟะตาวา :
26/13)

4. เลือดประจำเดือนและเลือดหลังกำรคลอด
เมื่ อ สตรี เ กิ ด มี ป ระจ าเดื อ นหรื อ เลื อ ดหลั ง การคลอด
ในขณะที่ เธออยู่ใ นพิ ธี หัจ ญ์ ก็ ให้ ด าเนิ น ต่อ ไป ถ้ าหากสิ่ ง นัน้ ได้
เกิดขึ ้นตอนที่จะเข้ าพิธีหจั ญ์ หรื ออุมเราะฮฺ ก็ให้ เธอเข้ าพิธี (อิห์รอม)
เหมื อ นกับ สตรี ค นอื่ น ๆ เนื่ อ งจากการเข้ า พิ ธี นัน้ ไม่ มี เงื่ อ นไขว่ า
จะต้ องมีความสะอาด
อิบนุ กุดามะฮฺ ได้ กล่าวไว้ ในตาราของท่าน (อัล-มุฆนีย์ : 3/
293-294) “สรุ ปจากที่ได้ กล่าวมานัน้ แท้ จริ งการอาบนา้ ชาระล้ าง
ร่ างกายสาหรับผู้หญิ งขณะเข้ าพิธีนัน้ เป็ นสิ่ งที่ ส่งเสริ ม ให้ ปฏิ บัติ
เช่นเดียวกับผู้ชาย เพราะเป็ นพิธีกรรมชนิดหนึ่ง และสาหรับผู้ที่มี
ประจาเดือนและเลือดหลังคลอด ก็เน้ น ย ้าเป็ นอย่างยิ่ง เนื่องจากมี
รายงานจาก ญาบิรฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ กล่าวว่า
َ ْ َ َ ْ َ َ ْ َ َ َ ْ َ َّ َ ْ ْ َ ْ َ َ َ َ ْ ََْ
‫ت إَِل‬ ‫َح ََّت أتينَا ذا احلليْف ِة ف َو َدلت أ ْس َماء بِنت ع َميس ُممد بن أ ِِب بكر فأرسل‬
َ َْ ْ َ َْ َ َ َ َ َ َّ َ َّ َّ َّ
‫استث ِف ِري بِث ْوب‬ ‫ «اغت ِس ِل و‬: ‫ قال‬، ‫اَّلل َصَل اَّلل َعليْ ِه َو َسل َم كيْف أ ْصنَع ؟‬
ِ ‫ول‬ ِ ‫رس‬
َ
ْ َ
»‫َوأح ِر ِِّم‬
ความว่า จนกระทัง่ พวกเราได้ มาถึงซุล หุลยั ฟะฮฺ แล้ วอัสมาอ์ บินตุ
อุมยั สฺ ได้ คลอดบุตรชื่อมุหมั มัด อิบนุ อบี บักรฺ แล้ วเธอได้ ส่งคนไป
 101 

ถามท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมว่า ฉันจะทาอย่างไร?


ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัล ลัม ตอบว่า เธอจงอาบนา้
ช าระร่ างกายและใช้ ผ้ า ซับ เลื อ ดไว้ และจงเข้ าพิ ธี หัจ ญ์ ” (บัน ทึก
โดยอัล-บุคอรี ย์ : 1650 และมุสลิม : 2941/2900)
และมีรายงานจากอิบนุ อับบาส เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ท่าน
เราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
َّ َ َ َ ْ َ ْ َ َ َ ْ ْ َْ ََ َ ََ َ ْ
َ َ ُ ‫احلَائض َو‬
‫اسك ُك َها‬
ِ ‫ان المن‬
ِ ‫ان وتق ِضي‬
ِ ‫ت تغتسالن و َت ِرم‬
ِ ‫انلفساء ِإذا أتتا لَع الوق‬ ِ «
ْ َ ْ ‫الط َواف ب‬ َ ْ ‫َغ‬
َّ ‫ري‬
»‫ت‬ ِ ‫اْلي‬ ِ ِ
ความว่า “สตรี ที่มีประจาเดือน และสตรี ที่มีเลือดหลังคลอด เมื่อทัง้
สองมาถึงมีกอต (เขตกาหนดเพื่อการเข้ าพิธีหจั ญ์ และอุมเราะฮฺ) ก็
จะอาบนา้ ช าระร่ างกายและเข้ าพิธี และปฏิ บัติภ ารกิ จ หัจ ญ์ และ
อุมเราะฮฺทกุ ประการนอกจากการเฏาะวาฟเท่านัน” ้ (บันทึกโดยอบู
ดาวูด : 1744 )
และท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ สงั่ ใช้ ให้
ท่านหญิ งอาอิชะฮฺอาบนา้ ชาระล้ างร่ างกายเข้ าพิธีหจั ญ์ ในขณะที่
เธอมีประจาเดือน (บันทึกโดยมุสลิม : 2929 )
เหตุ ผ ลของการอาบน า้ ช าระล้ างร่ า งกายส าหรั บ ผู้ มี
ประจาเดือน และเลือดหลังคลอดนันคื ้ อการทาความสะอาด และ
ขจัดกลิ่ นอันไม่พึงประสงค์ เพื่ อไม่ให้ รบกวนผู้อื่นในขณะที่ มี การ
รวมตัวกัน และทาให้ นะญิ ส (มูลเหตุที่ต้องอาบนา้ ชาระร่ างกาย)
เบาบางลง
 102 

หากเกิดมีประจาเดือนหรื อเลือดหลังคลอด ในขณะที่อยูใ่ น


พิธีแล้ ว ก็จะไม่มีผลกระทบอันใดและให้ อยู่ในพิธีต่อไป และยังต้ อง
หลีกเลี่ยงจากข้ อห้ ามต่างๆ ของหัจญ์ และอุมเราะฮฺ และจะต้ องไม่
เฏาะวาฟจนกว่าเลือดจะหยุดและได้ อาบน ้าชาระร่างกายเสียก่อน
หากวันอะเราะฟะฮฺมาถึงในขณะที่เธอยังไม่สะอาด และยัง
อยู่ในพิธีอมุ เราะฮฺอีก ก็ให้ เธอเข้ าพิธี หจั ญ์ โดยควบรวมกับอุมเราะฮฺ
ที่เดียวเลย ซึ่งกรณี นี ก้ ็จะเปลี่ยนเป็ นการทาหัจญ์ แบบกิรอนแทน
(หัจญ์และอุมเราะฮฺในคราวเดียวกัน) หลักฐานในเรื่ องดังกล่าวคือ
َّ ‫انل‬َّ ‫ت بع ْم َرة فَ َد َخ َل َعلَيْ َها‬ْ َّ‫ت أَ َهل‬ْ َ‫اَّلل َعنْ َها حاضت و ََكن‬
ُ َ َ َ َ َ ‫َح‬
‫ب‬ ِ ِ ‫اضت أن اعئِشة ر ِِض‬
َ َ َ ْ َ َ ْ َ َّ َ َ ْ َ َ َ ْ َ َ ‫اَّلل َعلَيْه َو َسلَّ َم َو‬
ُ َّ َ
:‫ت ن َع ْم قال‬ ‫ت؟» قال‬ ِ ‫يك لعل ِك ن ِفس‬ ِ ‫ك‬ ِ ‫ «ما يب‬:‫ قال‬،‫يه تب ِِك‬ ِ ِ ‫صَل‬
َ َ َ
ْ َ ْ َ َّ َ ْ ََْ َ َْ ََ َ
َ َ َ َ ُ َ َ ْ َ ْ َ ‫« َه َذا‬
‫وِف‬ِ ‫ غري أن ل تط‬،‫ افع ِل ما يفعل احلاج‬،‫ات آدم‬ ِ ‫َشء قد كتبه اَّلل لَع بن‬
َْْ ‫ب‬
»‫ت‬ ِ ‫اْلي‬ ِ
ความว่า “แท้ จริ งท่านหญิ งอาอิชะฮฺได้ มีประจาเดือน ขณะที่เธอได้
อยู่ในพิธีอุมเราะฮฺ แล้ วท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
เข้ ามาหาเธอ โดยที่เธอกาลังร้ องไห้ ท่านเราะสูลถามว่า อะไรทาให้
เธอร้ องไห้ มี ป ระจ าเดื อ นหรื อ ? เธอตอบว่า ใช่ ค่ะ ท่ านเราะสูล
กล่าวว่า นี่เป็ นสิ่ งที่อัลลอฮฺได้ ลิขิตแก่ลูกสาวของอาดัม จงปฏิบัติ
ภารกิจ เยี่ ยงกับผู้ทาหัจ ญ์ ทุกอย่าง เพี ยงแต่เธออย่าเวียนรอบบัย
ตุลลอฮฺ” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 305 และมุสลิม : 2911)
และในรายงานของญาบิรฺ เราะฎิ ยัล ลอฮุอัน ฮุ ซึ่งบัน ทึก
โดยอัล-บุคอรี ย์และมุสลิม
 103 

َ ََ َ َ َ َ َ َ َّ َ َّ َّ َّ َ َ َ َ َّ
‫ « َو َما‬: ‫ ف َو َج َدها تبْ ِِك فقال‬، ‫اَّلل َصَل اَّلل َعليْ ِه َو َسل َم َلَع َاعئِشة‬ ِ ‫ثم دخل رسول‬
ْ َ ْ ‫انلاس َول َ ْم أ ْحل ْل َول َ ْم أَط ْف ب‬
َّ ‫ضت َوقَ ْد َح َّل‬ ْ ْ َ ِّ َ ْ َ ْ َ َ َ ْ َ
‫ت‬ ِ ‫اْلي‬ ِ ِ ‫ح‬ِ ‫د‬ ‫ق‬ ‫ِّن‬ ‫أ‬ ‫ِّن‬
ِ ‫أ‬ ‫ش‬ : ‫ت‬ ‫ال‬‫ق‬‫ف‬ »‫؟‬ ‫ك‬
ِ ‫ن‬ ‫شأ‬
َْ َ َ َ َ
َ َ َ َّ َ َ ْ َ َّ َ َ َ َ َ َ َ ْ
‫ات آدم فاغت ِس ِل‬ َّ ‫َو‬
ِ ‫ « ِإن هذا أمر كتبه اَّلل لَع بن‬:‫ فقال‬،‫انلاس يذهبون ِإَل احلج اْلن‬
َ َّ َ ْ َ ْ ْ َ َ ْ َ َ َ َّ َ َ َ َ ْ َ َ ْ َ َ َ َ ِّ ْ ِّ َ َّ
‫الصفا‬ ِ‫ت وب‬ِ ‫ت المواقِف حَت إِذا طهرت طافت بِاْلي‬ ِ ‫ ففعلت َو َوقف‬،»‫ثم أ ِهل بِاحلَج‬
ً ‫جك َوع ْم َرتك َمج‬ ِّ َ ْ ْ َ َ ْ َ َ َ َّ ْ َْ
»‫يعا‬ ِ ِ ِ ِ ‫ت ِمن ح‬ ِ ‫ «قد حلل‬: ‫َوالمر َو ِة ثم قال‬
ความว่า หลังจากนันท่ ้ านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ก็
เข้ ามาหาท่านหญิ งอาอิชะฮฺ แล้ วพบว่าเธอกาลังร้ องไห้ ท่านเราะ
สูลจึงถามว่า “เป็ นอะไรหรื อ?” แล้ วเธอก็ตอบว่า ฉันมีประจาเดือน
ในขณะที่ผ้ คู นได้ ปลดเปลื ้องจากการทาอุมเราะฮฺแล้ ว แต่ฉนั ยังมิได้
ปลดเปลือ้ ง และยังมิได้ เวียนรอบบัยตุลลอฮฺ เลย และขณะนีผ้ ้ ูคน
ต่างเข้ าสู่พิธี หัจ ญ์ กันแล้ ว ท่านเราะสูล กล่าวว่า “แท้ จริ งนี่ เป็ นสิ่ง
ที่อลั ลอฮฺได้ ลิขิตแก่ลกู สาวของอาดัม ดังนันจงอาบน
้ ้า แล้ วเข้ าสู่พิธี
หัจญ์ เสีย” แล้ วเธอก็ได้ กระทา และได้ ไปตามจุดต่างๆ ของภารกิจ
หัจญ์ จนกระทัง่ เมื่อเธอสะอาดแล้ ว เธอได้ เวียนรอบบัยตุลลอฮฺ ภู
เขาเศาะฟาและมัรวะฮฺ จากนัน้ ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ
วะสัล ลัม กล่าวแก่เธอว่า “แท้ จ ริ งเธอได้ ป ลดเปลื อ้ งทัง้ จากหัจ ญ์
และอุมเราะฮฺ ด้วยแล้ ว” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 305 และมุสลิม :
2929)
อิบนุล ก็อยยิม ปราชญ์อาวุโสกล่าวไว้ ในหนังสือ (ตะฮฺซีบสุ
สุนนั : 2/303) “หะดีษต่างๆ ซึ่งเป็ นที่เชื่อถือได้ บ่งชี อ้ ย่างชัดเจนว่า
ท่านหญิ งอาอิชะฮฺ ได้ ประกอบพิธีอุม เราะฮฺก่อน จากนัน้ เมื่อเธอมี
ประจาเดือน ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ก็ สงั่ ให้ เธอ
 104 

เข้ าสู่ พิ ธี หั จ ญ์ จึ ง กลายเป็ นหั จ ญ์ แบบกิ ร อน (หั จ ญ์ พร้ อมกั บ


อุมเราะฮฺ) และโดยเหตุนี ้ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
ได้ กล่าวแก่เธอว่า การเฏาะวาฟเวียนรอบบัยตุลลอฮฺ และการสะแอ
เวียนระหว่างภูเขาเศาะฟากับมัรวะฮฺ เป็ นการเพียงพอแล้ วสาหรับ
การประกอบพิธีหจั ญ์และอุมเราะฮฺของเธอ”

5. สิ่งที่สตรีจะต้ องปฏิบัติขณะเข้ ำพิธีหัจญ์


สตรี จะปฏิบตั ิเยี่ยงผู้ชาย ไม่ว่าจะเป็ นการอาบน ้า และการ
ท าความสะอาด โดยการขจัด ขน ผม เล็ บ และกลิ่ น อัน ไม่ พึ ง
ประสงค์ เพื่ อที่ จ ะไม่ต้ องท าสิ่ ง เหล่านัน้ อี ก ในขณะที่ เข้ าพิ ธี แ ล้ ว
เพราะเป็ นที่ ต้องห้ าม แต่ถ้าหากเธอไม่มี ขน เล็บ และกลิ่น ที่ ต้อง
ขจัด ก็ ไม่จ าเป็ นต้ องทา เพราะเรื่ องเหล่านี ไ้ ม่ใช่เงื่ อนไขของการ
อิห์รอมเข้ าพิธีแต่อย่างใด และไม่เป็ นไรถ้ าหากเธอจะใช้ เครื่ องหอม
ต่างๆ ตามร่ างกาย ซึ่งสิ่ งที่ ไม่มี กลิ่ นฟุ้งกระจาย เนื่ องจากหะดีษ
จากท่านหญิงอาอิชะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา
ْ ْ َْ ْ ََ َ َّ ‫ك َّنا َُنْرج َم َع‬
ِّ َ َ َ َّ َ َ ْ َ َ َّ َّ َ ِّ ‫انل‬
، ِ‫اْلح َرام‬
ِ ‫ب صَل اَّلل علي ِه وسلم فنضمد ِجباهنا بِال ِمس ِك ِعند‬ ِ
َ َ ْ َ َ َ َ َّ َ َ ْ َ َ َّ َّ َ ُ َّ َ َ َ َ ْ َ ََ َ َ َ َ ْ ْ َ َ َ َ
.‫فإِذا ع ِرقت إحدانا سال لَع وج ِهها فرياها انل ِب صَل اَّلل علي ِه وسلم فال ينهاها‬
ความว่า “พวกเราได้ อ อกไปพร้ อมกับ ท่า นเราะสูล ศ็อ ลลัล ลอฮุ
อะลัยฮิวะสัลลัม แล้ วเราได้ พันหน้ าผากของเราด้ วยผ้ าที่มีน ้าหอม
เมื่ อ จะเข้ า พิ ธี อิ ห์ ร อม และเมื่ อ คนหนึ่ ง จากพวกเรามี เหงื่ อ ไหล
ออกมา เหงื่อก็ไหลลงมาที่ ใบหน้ าของเธอ แล้ วท่านก็เห็นและไม่ได้
ห้ ามแต่อย่างใด” (บันทึกโดยอบู ดาวูด : 1830)
 105 

อิมาม อัช-เชากานีย์ กล่าวไว้ ในหนังสือ (นัยลุลเอาฏอรฺ : 5


/12) “การนิ่งเฉยของท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม นัน้
บ่ ง บอกถึ ง การอนุ ญ าต เพราะว่ า ท่ า นจะไม่ นิ่ ง เฉยต่ อ สิ่ ง ที่ ไ ม่
ถูกต้ อง”

6. ชุดที่สวมใส่ ในพิธีหัจญ์ และอุมเรำะฮฺ


เมื่อสตรี ต้องการจะเข้ าพิธี หัจญ์ หรื ออุมเราะฮฺ เธอจะต้ อง
ถอดบุร กุอฺ แ ละนิ ก อบออก -หากเธอสวมใส่ อ ยู่ก่ อ น- บุร กุ อฺ แ ละ
นิกอบ คือ สิ่งที่ใช้ นามาปิ ดหน้ า ซึ่งมีสองรู ตรงที่ตา ซึ่งสตรี จะมอง
ผ่านรู ทงั ้ สองนัน้ และบุรกุอฺนนั ้ จะมิดชิดกว่านิกอบ เนื่องจากท่าน
เราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
َ ْ ََْ
»‫ب ال َم ْرأة‬
ِ ‫«ول تنت ِق‬
ความว่า “สตรี ที่อยูใ่ นพิธีหจั ญ์ และอุมเราะฮฺนนจะไม่
ั้ สวมใส่นิกอบ”
(บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 1838)

เธอจะไม่ส วมถุงมื อ ทัง้ สองข้ าง แต่เธอจะปกปิ ดใบหน้ า


ด้ วยสิ่งอื่นที่ไม่ใช่นิกอบและบุรกุอฺได้ โดยนาเอาผ้ าคลุมศีรษะหรื อ
เสื อ้ ผ้ ามาปิ ดหน้ าขณะที่ ผ้ ู ชายซึ่ ง มิ ใ ช่ ม ะห์ ร็ อ มมองมา และ
เช่นเดียวกันเธอจะปิ ดมือทังสองจากการมองของผู
้ ้ ชายโดยไม่ใช้ ถงุ
มือ แต่โดยการเอาเสือ้ ผ้ ามาคลุม เนื่องจากใบหน้ าและมือทัง้ สอง
เป็ นสิ่งที่ต้องปกปิ ดมิให้ เพศชายมอง ทังในขณะอยู
้ ่ในพิธีหจั ญ์ และ
อื่นๆ
 106 

ชัยคุลอิสลาม อิบนุ ตัยมียะฮฺ กล่าวว่า “สตรี นนเป็ ั ้ นสิ่งพึง


สงวน (เอาเราะฮฺ) ด้ วยเหตุนี ้จึงอนุโลมให้ เธอสวมใส่เสื ้อผ้ าที่ปกปิ ด
ตัวของเธอ และใช้ สิ่งของที่แบกถือเป็ นร่ มเงา แต่ทว่าท่านเราะสูล
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ห้ ามมิให้ เธอสวมใส่นิกอบ หรื อถุงมือ
(กุฟ ฟาซ) และหากสตรี ไ ด้ น าเอาสิ่ ง ใดมาปกปิ ดใบหน้ า โดยไม่
สัมผัสกับใบหน้ า ก็เป็ นที่อนุญาตโดยมติเอกฉันท์ของปวงปราชญ์
และหากปกปิ ดด้ วยเป็ นสิ่ ง สัมผัสกับใบหน้ า ตามทัศนะที่ถูกต้ อง
แล้ ว ถือว่าเป็ นที่อนุญาตเช่นเดียวกัน สตรี นนั ้ ไม่ ได้ ถูกสัง่ ให้ เอาผ้ า
คลุมหน้ าแยกออกห่างไม่ให้ ติดแนบกับ ใบหน้ า ไม่ว่าด้ วยไม้ ด้ วย
มื อ หรื อ ด้ วยสิ่ ง อื่ น ๆ เพราะว่าท่ านเราะสูล ศ็อ ลลัล ลอฮุอ ะลัย ฮิ
วะสัลลัม ไม่ได้ แบ่งแยกระหว่างใบหน้ าและมือของเธอ และทังสอง ้
ก็ เหมื อนกับร่ างกายของผู้ชาย มิ ใช่เหมื อนกับ ศีรษะ และบรรดา
ภรรยาของท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม จะปล่อยผ้ า
คลุมศีรษะลงมาปิ ดที่ใบหน้ า โดยไม่มี การคานึงถึงเรื่ องการให้ ติด
แนบหรื อให้ ห่างจากใบหน้ า และไม่มีผ้ รู ้ ูคนใดเลยรายงานจากท่าน
เราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ว่า ท่านได้ กล่าวว่า การเข้ า
พิธีหจั ญ์ และอุมเราะฮฺของผู้หญิงคือการเปิ ดใบหน้ าของเธอ แต่เป็ น
คาพูดของบางคนจากยุคสะลัฟเท่านัน” ้
อิ บ นุ ล ก็ อ ยยิ ม ได้ ก ล่ า วไว้ ใ นหนัง สื อ (ตะฮฺ ซี บุ ส สุ นัน :
2/350) “ไม่มีรายงานจากท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
เลยว่า สตรี ต้องเปิ ดใบหน้ าขณะเข้ าพิธีหจั ญ์ และอุมเราะฮฺ เพียงแต่
 107 

ท่านห้ ามมิให้ สวมใส่นิกอบ... และเป็ นที่ยืนยันว่า แท้ จริ งอัสมาอ์ ได้


ปิ ดใบหน้ าของเธอ ขณ ะอยู่ ใ นพิ ธี และท่ า นหญิ งอาอิ ช ะฮฺ
เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา กล่าวว่า
َ َ ْ َّ َ َّ َّ َّ
‫اَّلل َصَل اَّلل َعليْ ِه َو َسل َم ُم ِر َمات فإِذا‬ َ َ َ َْ َ َ َ ُ َ َْ ُ َ َ
ِ ‫ول‬ ِ ‫َكن الركبان يمرون بِنا وَنن مع رس‬
ْ َ َ َ َ َ َ َ َ ْ َ ََ َ َْ ْ َ َ َْ َ َ ْ ْ َ َ َ َ ْ َ َ
‫اوزونا كشفنَاه‬ ‫حاذوا بِنا سدلت إِحدانا ِجلبابها ِمن رأ ِسها لَع وج ِهها فإِذا ج‬
ความว่า “ขบวนผู้ชายได้ เดินผ่านมาทางพวกเรา ในขณะที่เราอยู่
พร้ อมกับท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม โดยทุกคนอยู่
ในพิธีหจั ญ์ และอุมเราะฮฺ เมื่อพวกเขาเข้ ามาใกล้ คนหนึ่งจากพวก
เราก็ปล่อยเสือ้ คลุมของเธอมาปิ ดหน้ า โดยลงมาทางศีรษะ ครัน้
เมื่อพวกเขาได้ ผ่านไป เราก็จะเปิ ดมันออก (บันทึกโดยอบู ดาวูด :
1833)
พึงทราบเถิด โอ้ สตรี ผ้ ูศรัทธาเอ๋ย เธอถูกห้ ามไม่ให้ ปกปิ ด
ใบหน้ า และมื อทัง้ สอง ด้ วยสิ่ งที่ มี การตัดเย็บ เป็ นชุด เฉพาะ เช่น
นิกอบและถุงมือ และแท้ จริ งแล้ วเธอจะต้ องปิ ดใบหน้ าและมือ ทัง้
สอง เพื่ อ มิ ให้ ช ายที่ ไม่ได้ เป็ นมะห์ ร็อ มเห็ น โดยใช้ ผ้ าคลุม ศี รษะ
เสื ้อผ้ า และอื่นๆ และแท้ จริ งไม่มีหลักฐานใดที่สงั่ ให้ วางสิ่งของเพื่อ
กันมิ
้ ให้ ผ้าคลุมสัมผัสกับใบหน้ า ไม่วา่ ด้ วยไม้ และอื่นๆ

7. อำภรณ์ ท่ อี นุโลมให้ สวมใส่


อนุ ญ าตให้ สตรี ที่ อ ยู่ ใ นพิ ธี หัจ ญ์ และอุม เราะฮฺ สวมใส่
อาภรณ์ของผู้หญิง ซึ่งไม่มีการประดับประดา ไม่เลียนแบบอาภรณ์
ผู้ชาย ไม่รัดรูปจนทาให้ เห็นทรวดทรงของอวัยวะต่างๆ ไม่บางจน
 108 

ทาให้ ม องทะลุด้านใน และไม่สัน้ จนไม่สามารถปิ ดมื อและเท้ าได้


แต่จะต้ องเป็ นอาภรณ์ที่หลวม หนา และกว้ าง
อิบ นุล มุน ซิ รฺ ได้ กล่าวใน (อัล -มุฆ นี ย์ : 3/328) ว่า “และ
ปวงปราชญ์ มีมติเป็ นเอกฉันท์ว่าแท้ จริ งสาหรับสตรี ที่ทาหัจญ์ และ
อุมเราะฮฺนนั ้ เธอมี สิทธิ ที่จะสวมใส่เสื อ้ ผ้ า กางเกง ผ้ าคลุม ศีรษะ
และรองเท้ าหุ้มส้ น” และไม่มีการเจาะจงให้ สวมใส่เสื ้อผ้ าสีใดเป็ น
การเฉพาะ เช่ น สี เ ขี ย วเป็ นต้ น แท้ จริ ง เธอสามารถสวมใส่ สี ที่
ปรารถนาได้ จากสี ที่อนุโลมเฉพาะส าหรับ ผู้หญิ ง เช่น แดง เขียว
หรื อดา และอนุโลมให้ เปลี่ยนอาภรณ์ได้ ตามความประสงค์

8. กำรกล่ ำวตัลบียะฮฺ
หลังจากเข้ าพิธีแล้ ว ส่งเสริมให้ กล่าวคาตัลบียะฮฺ ด้วยเสียง
ที่ตวั เองได้ ยิน อิบนุ อับดิลบัรฺ กล่าวไว้ ว่า “ปวงปราชญ์มีมติเป็ นเอก
ฉันท์วา่ แท้ จริงแบบอย่างสาหรับสตรี ในการกล่าวคาตัลบียะฮฺ คือจะ
ไม่ส่ง เสี ยงดัง และให้ เธอออกเสี ย งเท่าที่ เธอได้ ยิ น ไม่ส่งเสริ ม ให้
กล่าวเสี ยงดัง เนื่ องจากกลัวว่าจะเกิ ด ความเสี ย หาย และความ
เดือดร้ อนแก่เธอ และด้ วยเหตุนี ้เองการอาซานและการอิกอมะฮฺ จึง
ไม่มีแบบอย่างให้ ปฏิบตั ิสาหรับสตรี ส่วนแนวปฏิบตั ิสาหรับสตรี ใน
การเตือนอิมามในขณะละหมาดนัน้ คือการตบมือ ไม่ใช่การกล่าว
ซุบหานัลลอฮฺ” (อัล-มุฆนีย์ : 2/330-331)

9. หลักปฏิบัติในกำรเฏำะวำฟเวียนรอบบัยตุลลอฮฺ
 109 

ในการเฏาะวาฟเวียนรอบบัยตุลลอฮฺนนั ้ สตรี จะต้ องมีการ


ปกปิ ดอย่างมิ ดชิ ด ลดเสี ยง ลดสายตา และไม่ไปเบีย ดเสี ยดกับ
ผู้ชาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่ออยู่ที่มุมหินดาหรื อมุมยะมะนีย์ การ
พยายามเวียนรอบบัยตุลลอฮฺ บริ เวณส่วนไกลสุดของลาน โดยไม่
เบียดเสียดกับผู้ชายนันย่ ้ อมประเสริฐกว่าการเวียนในส่วนที่ใกล้ สดุ
กับ กะอฺ บะฮฺ พ ร้ อมกับ มี การเบียดเสียด เพราะการเบียดเสี ยดกับ
ผู้ชายเป็ นสิ่งที่ต้องห้ าม เนื่องจากความปั่ นป่ วนจะเกิดขึ ้น
ส่วนการอยู่ใกล้ กบั กะอฺบะฮฺและการจูบหินดานัน้ เป็ นการ
กระทาที่สง่ เสริ ม ในกรณีที่มีความสะดวกเท่านัน้ และเธอจะต้ องไม่
กระท าสิ่ ง ที่ ต้ อ งห้ า มเพื่ อ ให้ ได้ ม าซึ่ ง สิ่ ง ที่ ศ าสนาส่ ง เสริ ม แต่ใ น
สภาพที่มีการเบียดเสียดนัน้ การจูบหินดาก็ไม่เป็ นที่ส่งเสริ มแก่เธอ
เมื่อมาถึงแนวเขตของหินดา ก็ให้ เธอชี ้ไปยังหินดา
อิม าม อัน -นะวะวี ย์ กล่าวไว้ ในหนัง สื อ (อัล -มัจ ญ์ มูอฺ :
8/37) ว่า “บรรดาสหายของเรา (ปราชญ์ ในสายอัช -ชาฟิ อี ย์ ) ได้
กล่าวว่า “ไม่ส่งเสริ มให้ สตรี จบู และสัมผัสหินดานอกจากในตอนที่
ลานเวียนว่างเท่านัน้ จะเป็ นเวลากลางคืนหรื อเวลาอื่นๆ เพราะจะ
เกิดอันตรายแก่พวกเธอเอง และเป็ นอันตรายต่อคนอื่นด้ วยๆ”
และอิบนุ กุดามะฮฺ ได้ กล่าวไว้ ในหนังสือ (อัล-มุฆ นีย์ : 3/
37) ว่า “ส่งเสริ ม ให้ สตรี ทาการเวียนรอบบัยตุลลอฮฺในเวลาค่าคืน
เพราะเป็ นการปกปิ ดที่ดียิ่งสาหรับเธอ และการแก่งแย่งจะน้ อยกว่า
เธอสามารถเข้ าไปใกล้ บยั ตุลลอฮฺ และสามารถสัมผัสหินดาได้ ”
 110 

10. เดินเฏำะวำฟและสะแอโดยไม่ ต้องวิ่ง


อิ บ นุ กุด ามะฮฺ กล่า วว่า "การเฏาะวาฟและสะแอ (เดิ น
เวี ยน) ของสตรี นัน้ คือการเดิน อย่างเดียวไม่ต้องวิ่ง อิบนุล มุนซิ รฺ
กล่ า วว่ า “ปวงปราชญ์ มี ค วามเห็ น พ้ องต้ องกั น ว่ า ไม่ มี ก ารวิ่ ง
เหยาะๆ สาหรับสตรี ในการเฏาะวาฟและสะแอ และไม่จาเป็ นที่
พวกเธอจะต้ องสวมใส่ ผ้าอิห์รอมพาดเฉี ยง (อิฎฏิ บาอฺ) เนื่องจาก
หลักการเดิมของการวิ่งเหยาะๆ และการใส่ผ้าอิห์รอมพาดเฉียงนัน้
เป็ นการแสดงออกถึงความเข้ มแข็ง และการแสดงออกเช่นนันมิ ้ ได้ มี
เป้าหมายไปยังสตรี แต่เป้าหมายสาหรับสตรี คือการปกปิ ด และใน
การวิ่งเหยาะๆ และใส่ผ้าอิห์รอมพาดเฉี ยงอาจจะเป็ นเหตุนาไปสู่
การเผยเอาเราะฮฺ” (อัล-มุฆนีย์ : 3/394)

11. พิธีกรรมหัจญ์ ท่ ผี ้ ูมีประจำเดือนปฏิบัตไิ ด้ และห้ ำมปฏิบัติ


สตรี ที่มีประจาเดือนให้ ปฏิบตั ิพิธีกรรมหัจญ์ ได้ ทุกประการ
ได้ แก่ การเจตนาเข้ าพิธี /อิห์รอม การไปวุกูฟ ณ อะเราะฟะฮฺ การ
ค้ างแรม ณ มุซดะลิฟะฮฺ การขว้ างเสาหิน ยกเว้ นการเฏาะวาฟเวียน
รอบบัยตุลลอฮฺ จนกว่าจะสะอาด เพราะท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุ
อะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวแก่ทา่ นหญิงอาอิชะฮ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา
ขณะที่เธอมีประจาเดือนว่า
َ ْ َ ْ ‫ري أَ ْن َل َتطوِف ب‬
َ ْ ‫اج َغ‬ ْ
ُ َ ‫احل‬ َْ ْ
»‫ت َح ََّت ت ْطه ِري‬
ِ ‫اْلي‬ ِ ِ ‫«اف َع ِل َما يف َعل‬
 111 

ความว่า “จงปฏิบัติเยี่ยงคนทาหัจ ญ์ เพี ยงแต่เธอจะต้ องไม่เวียน


รอบบัย ตุล ลอฮฺ จ นกว่า เธอจะสะอาด”(บัน ทึ ก โดยอัล -บุค อรี ย์ :
305,5548 และมุสลิม : 2929)

และในสายรายงานของมุสลิม กล่าวว่า
ََْ ْ َ ْ ‫ري أَ ْن َل َتطوِف ب‬
َ ْ ‫اج َغ‬ ْ
ُ َ ‫احل‬ َْ ْ َ
»‫ت َح ََّت تغت ِس ِل‬
ِ ‫اْلي‬ ِ ِ ‫«فاق ِِض َما يق ِِض‬
ความว่า “จงปฏิบตั ิเยี่ยงผู้ประกอบพิธีหจั ญ์ เพียงแต่เธอจะต้ องไม่
เวียนรอบบัยตุลลอฮฺจนกว่าจะได้ อาบน ้าชาระล้ างร่างกาย” (บันทึก
โดยมุสลิม : 2910)

อิมาม อัช-เชากานีย์ ได้ กล่าวไว้ ในหนังสือ (นัยลุลเอาฏอรฺ :


5/49) ว่ า “หะดี ษ บทนี เ้ ป็ นที่ ป ระจั ก ษ์ ชั ด ว่ า ห้ ามมิ ใ ห้ สตรี ที่ มี
ประจาเดือนทาการเฏาะวาฟเวียนรอบบัยตุลลอฮฺ จนกว่าเลือดของ
เธอจะหยุดและได้ อาบน ้าชาระล้ างร่างกายแล้ ว และการห้ ามได้ บ่ง
บอกถึ ง ความเป็ นโมฆะที่ ห มายถึ ง การใช้ ไม่ไ ด้ ดัง นัน้ การเวี ย น
รอบบัยตุลลอฮฺของสตรี ที่มีประจาเดือนนัน้ เป็ นสิ่งที่ใช้ ไม่ได้ ซึ่งเป็ น
คากล่าวของบรรดาผู้ร้ ูสว่ นมาก”
สตรี ที่มีประจาเดือนจะยังไม่มีการสะแอระหว่างเศาะฟา
และมัรวะฮฺ เนื่ องจากการสะแอนัน้ ต้ องทาหลังจากการเฏาะวาฟ
เท่ า นั น้ (เฏาะวาฟกุ ดู ม หรื อ เฏาะวาฟอิ ฟ าเฎาะฮฺ ทั ง้ สองเป็ น
 112 

เฏาะวาฟภาคบัง คับ ) เพราะท่ า นเราะสู ล ศ็ อ ลลัล ลอฮุอ ะลัย ฮิ


วะสัลลัม ไม่เคยสะแอนอกจากหลังการเฏาะวาฟเท่านัน้
อิม าม อัน -นะวะวี ย์ ได้ ก ล่าวไว้ ในหนัง สื อ (อัล -มัจ ญ์ มูอฺ
8/82) ว่า “ประเด็นปั ญ หา หากเขาสะแอก่อนที่ จ ะเฏาะวาฟ การ
สะแอของเขาจะใช้ ไม่ได้ ตามทัศนะของเรา และเป็ นทัศนะของผู้ร้ ู
ส่วนมาก และเราเคยนาเสนอจาก อัล-มาวัรดียฺว่า เขาได้ รายงาน
มติ เอกฉัน ท์ ข องปวงปราชญ์ ในเรื่ อ งดัง กล่ าว ซึ่ง เป็ นทัศ นะของ
อิมาม มาลิก, อบู หะนีฟะฮฺ และอะห์มดั
อิ บ นุ ล มุ น ซิ รฺ ได้ เล่ า จากอะฏ ออ์ และบ างค น จาก
นักวิช าการหะดีษ ว่า “การสะแอก่อนเฏาะวาฟนัน้ ใช้ ได้ ” บรรดา
สหายของเรา (ของอัน -นะวะวี ย์ ) ได้ เล่ า จากอะฏออ์ แ ละดาวูด
หลักฐานของเราคือ ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ทา
การสะแอหลังจากเฏาะวาฟ และกล่าวว่า
َ ََ ْ
»‫اسكك ْم‬
ِ ‫« ِ َتلأخذوا من‬
ความว่า “จงยึดแบบอย่างของฉันในการทาหัจ ญ์ ของพวกท่าน”
(บันทึกโดยมุสลิม : 1324)
ส่วนหะดีษของอุสามะฮฺ อิบนุ ชะรี ก กล่าวว่า
َ َ َ ْ َّ ‫اجا فَ ََك َن‬ ًّ ‫اَّلل َعلَيْه َو َسلَّ َم َح‬
َّ َّ َ ِّ َّ َ َ ْ َ َ َ َ
‫ يَا‬: ‫ ف ِم ْن قائِل‬، ‫انلاس يَأتونه‬ ِ ‫قال خرجت مع انل ِب صَل‬
ْ‫ أَ ْو قَ َّد ْمت َشيْئًا ؟ فَ ََك َن َيقول لَهم‬، ‫ أَ ْو أَ َّخ ْرت َشيْئًا‬، ‫وف‬
َ َ ْ َ َ ْ َ ْ َ َ َّ َ َ
‫اَّلل سعيت قبل أن أط‬ ِ ‫رسول‬
َ َ َ َ ْ َ َ َ ْ َ َّ
َ ‫ إل لَع َرجل اق‬، ‫ ل ح َرج‬، ‫ ل َح َر َج‬:
َ َ َ
‫ فذلك‬، ‫َتض ِع ْرض َرجل مس ِلم وهو ظالِم‬ ِ
َ َ َ َّ
.‫اَّلي َح َّر َج َوهلك‬
ِ
 113 

ความว่า “ฉันได้ ออกไปทาหัจญ์ พร้ อมกับท่านศาสนทูตของอัลลอฮฺ


แล้ วผู้คนทัง้ หลายก็ม าหาท่าน บางคนกล่าวว่า โอ้ ท่านศาสนทูต
ของอัลลอฮฺ ฉันสะแอก่อนเฏาะวาฟ หรื อทาสิ่งนันก่ ้ อน ทาสิ่งนี ้หลัง
แล้ ว ท่ านก็ ต อบว่า “ไม่ เป็ นบาปแต่อ ย่ า งใดนอกจากผู้ที่ ท าลาย
ชื่อเสียงของมุสลิม โดยที่เขาเป็ นผู้อธรรม นัน่ แหละคือผู้ที่หายนะ
และมี บาป” (บัน ทึกโดยอบู ดาวูด : 1695) ด้ วยสายสื บ ที่ ถูกต้ อง
ผู้รายงานหะดีษ ทุกคนเป็ นผู้รายงานของ อัล -บุคอรี ย์ และมุสลิ ม
นอกจากอุสามะฮฺ อิบนุ ชะรี ก เขาคือเศาะหาบะฮฺของท่านเราะสูล
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
และหะดีษบทนีม้ ีความเป็ นไปได้ ตามการอธิ บายของอัล -
ค็อฏฏอบีย์ และท่านอื่นๆ ว่า "การสะแอก่อนเฏาะวาฟนัน้ คือการ
สะแอหลังจากเฏาะวาฟกุดมู (เฏาะวาฟเมื่อมาถึง ซึ่งเป็ นเฏาะวาฟ
อุม เราะฮ หรื อเฏาะวาฟของหัจ ญ์ กิรอน หรื ออิฟ รอด) ไม่ใช่ เฏาะ
วาฟอิ ฟ าเฎาะฮฺ (เฏาะวาฟหั จ ญ์ ) – จบการอ้ างค าพู ด ของ
อัน-นะวะวีย์
ชัยค์มุหมั มัด อัล-อะมีน อัช-ชันกี ฏีย์ ได้ กล่าวไว้ ในหนังสือ
(อัฎ วาอ์ อัล -บะยาน : 5/252) “พึงทราบเถิ ดว่า แท้ จ ริ งทัศนะของ
นักวิชาการส่วนมากคือการสะแอจะใช้ ไม่ได้ นอกจากหลังการเฏาะ
วาฟเท่านัน้ ถ้ าหากว่าเขาสะแอก่อนเฏาะวาฟ แน่นอนการสะแอ
ของเขาก็ ใช้ ไม่ ไ ด้ ตามทัศ นะของนัก วิ ช าการส่ว นมาก ซึ่ง ได้ แ ก่
อิมามทังสี้ ่ท่าน อัล-มาวัรดียฺ และท่านอื่นๆ ได้ รายงานมติเอกฉันท์
 114 

ของปวงปราชญ์ ในเรื่ องดังกล่าว” หลังจากนัน้ ชัยค์อชั -ชันกีฏีย์ได้


อ้ างค าพูด ของอัน -นะวะวี ย์ ดัง ที่ ก ล่ า วก่ อ นนี ้ และชัย ค์ ไ ด้ ชี แ้ จง
เกี่ ย วกับ หะดี ษ ของ อิ บ นุ ชะรี ก โดยอธิ บ ายค าที่ ว่า สะแอก่ อ น
เฏาะวาฟนัน้ คือสะแอก่อนเฏาะวาฟอิฟ าเฎาะฮฺ (เฏาะวาฟหัจญ์ )
ซึ่งเป็ นรุ ก่นหลักสาคัญ ของหัจญ์ และก็ไม่ได้ ขัดแย้ งว่าเขาสะแอ
หลังเฏาะวาฟกุดมู ซึง่ มิใช่รุก่นของหัจญ์”
อิบนุ กุดามะฮฺ ได้ กล่าวไว้ ในหนังสือ (อัล-มุฆนีย์ : 5/240)
“การสะแอนัน้ อยู่หลังการเฏาะวาฟ การสะแอจะใช้ ไม่ได้ นอกจาก
จะต้ องเฏาะวาฟก่อน ดังนันหากเขาท้ าการสะแอก่อน ก็ใช้ ไม่ได้ นี่
คื อ ทั ศ นะของมาลิ ก อั ช -ชาฟิ อี ย์ และสหายของอบู ห ะนี ฟ ะฮฺ
ส่วนอัล-อะฏออ์ กล่าวว่าใช้ ได้ และมีรายงานจากอะห์มดั ว่า ถือว่า
ใช้ ไ ด้ ห ากเขาลื ม และใช้ ไ ม่ ไ ด้ ห ากเขาตัง้ ใจ เนื่ อ งจากเมื่ อ ท่ า น
เราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ถูกถามเกี่ ยวกับการกระทา
ก่อนและหลัง ในขณะที่ ขาดความรู้และลืม ท่านก็กล่าวว่า “ไม่เป็ น
บาปแต่ประการใด”
และต้ องให้ น ้าหนักกับทัศนะที่หนึ่ง เนื่องจากท่านเราะสูล
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ ส ะแอหลังจากเฏาะวาฟ และได้
กล่าวว่า “จงยึดแบบอย่างของฉันในการทาหัจญ์ของพวกท่าน”
จากที่กล่าวมาเป็ นที่รับรู้ ได้ ว่า แท้ จริ งหะดีษที่ถูกอ้ างเป็ น
หลักฐานว่าการสะแอก่อนการเฏาะวาฟใช้ ได้ นนั ้ ในหะดีษไม่มีสิ่ง
ใดที่เป็ นหลักฐาน เนื่องจากมีความเป็ นไปได้ หนึง่ จากสองประการนี ้
 115 

หนึ่ ง อาจจะเกี่ ยวกับผู้ที่สะแอก่อนเฏาะวาฟอิฟ าเฎาะฮฺ


และเขาได้ สะแอเพื่อเฏาะวาฟกุดมู มาแล้ ว ดังนันการสะแอของเขา

จึงอยูห่ ลังจากเฏาะวาฟนัน่ เอง
สอง หรื อมีความเป็ นไปได้ วา่ หะดีษจากัดเฉพาะสาหรับผู้ที่
ไม่ร้ ูหรื อลืมโดยมิได้ ตงใจ ั ้ และที่ฉันได้ อธิบายยาวในปั ญหานี ้ เพราะ
ในปั จ จุบัน ได้ มี ผ้ ูชี ข้ าดปั ญ หาศาสนาว่า อนุญ าตให้ ส ะแอก่ อ น
เฏาะวาฟได้ อัลลอฮุลมุสตะอาน
คำเตื อน หากสตรี ได้ เฏาะวาฟเสร็ จแล้ ว จากนัน้ เธอก็ มี
ประจ าเดือน ในสภาพเช่นนีเ้ ธอจะทาการสะแอได้ เนื่ องจากการ
สะแอนันไม่ ้ มีเงื่อนไขว่าจะต้ องมีความสะอาด
อิ บ นุ กุ ด า ม ะ ฮฺ ก ล่ าวใน (อั ล -มุ ฆ นี ย์ : 5/246) ว่ า
นักวิชาการส่วนมากมีความเห็นว่า ความสะอาดไม่ใช่เงื่อนไขของ
การสะแอ และส่วนหนึ่งจากผู้ร้ ูที่มีทศั นะเช่นนี ้ คือ อะฏออ์, มาลิก,
อัช-ชาฟี อีย์ , อบู เษารฺ และสหายของอบู หะนีฟะฮฺ
อบู ดาวูดได้ กล่าวว่า “ฉันได้ ยินอะห์มัด บิน หันบัล กล่าว
ว่า “เมื่ อสตรี ได้ เฏาะวาฟแล้ ว หลังจากนัน้ เธอมี ประจาเดือน ก็ให้
เธอสะแอ จากนันเธอก็ ้ ออกเดินทางกลับภูมิลาเนา”
และมีรายงานจากท่านหญิ งอาอิชะฮฺ และอุมมุ สะละมะฮฺ
ทังสองได้
้ กล่าวว่า
ْ َ َّ َ ْ َ ْ َ ْ َ ْ َ َ َّ ْ َ َ ْ َ ْ َّ َ َّ ْ َ ْ ‫إذا َطافَت ال ْ َم ْرأَة ب‬
َ
»‫الصفا َوال َم ْر َو ِة‬ ‫ني ثم حاضت فلتطف بني‬
ِ ‫ت ثم صلت ركعت‬ ِ ‫اْلي‬ ِ ِ «
 116 

ความหมาย “เมื่อสตรี ได้ เฏาะวาฟและละหมาดสองร็ อกอะฮฺแล้ ว


(สุนนะฮฺ หลังเฏาะวาฟ) จากนัน้ เธอมี ประจ าเดือน เธอก็ จ งสะแอ
ระหว่ า งเศาะฟาและมั ร วะฮฺ ต่ อ ไปได้ ” (บัน ทึ ก โดยอัล -อัษ ร็ อ ม
ถ่ายทอดโดยอิบนุ อบี ชัยบะฮฺ : 14396)

12. อนุโลมให้ สตรีออกจำกมุซดะลิฟะฮฺก่อน


อนุญ าตให้ สตรี และคนอ่อนแอออกจากมุซดะลิฟะฮฺ ก่อน
คนทั่ว ไป หลัง จากที่ ด วงจัน ทร์ ไ ด้ ห ายไปจากขอบฟ้ าแล้ ว และ
อนุญ าตให้ ขว้ างเสาหินต้ นแรกเมื่อได้ ไปถึงมีนา อันเนื่องจากเกรง
ว่าเธอจะได้ รับความเดือดร้ อนจากความแออัด
อิบนุ กุดามะฮฺ ได้ กล่าวไว้ ใน (อัล-มุฆนีย์ : 5/286) ว่า “ไม่
เป็ นไรในการที่ จะให้ คนอ่ อ นแอและกลุ่ ม สตรี ได้ ออกจาก
มุซดะลิฟะฮฺก่อน” และส่วนหนึ่งจากผู้ที่ให้ คนในครอบครัวที่อ่อนแอ
ได้ อ อกก่ อ น ได้ แ ก่ อับ ดุร เราะห์ ม าน บิ น เอาฟฺ และท่ า นหญิ ง
อาอิชะฮฺ และผู้ที่มีทศั นะเช่นนี ้ คือ อะฏออ์, อัษ-เษารี ย์, อัช-ชาฟิ อีย์
, อบู เษารฺ และสหายของอบู หะนีฟะฮฺ และเราไม่ทราบว่ามีผ้ ใู ดมี
ความเห็นขัดแย้ ง เพราะว่าในการให้ ออกก่อนนันเป็ ้ นการผ่อนปรน
แก่พวกเขา และป้องกันความลาบากที่เกิดจากการแออัด และเป็ น
การตามแบบอย่างของท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม”
อิมาม อัช-เชากานีย์ ได้ กล่าวไว้ ในหนังสือ (นัยลุลเอาฏอรฺ :
5/70) ว่า หลักฐานต่างๆ ได้ บง่ ชี ้ว่า เวลาของการขว้ างเสาหินนันคื ้ อ
 117 

หลังจากดวงอาทิตย์ขึ ้น สาหรับผู้ที่ไม่ได้ รับการผ่อนปรนแก่เขา และ


ส าหรั บ ผู้ที่ ได้ รับ การผ่อ นปรน เช่น บรรดาสตรี แ ละผู้ที่ อ่อ นแอก็
อนุโลมให้ ขว้ างก่อนหน้ านันได้ ้ ”
อิม าม อัน -นะวะวีย์ ได้ กล่าวไว้ ในหนังสือ (อัล-มัจญ์ มูอฺ :
8/125) ว่ า “อั ช -ชาฟิ อี ย์ และบรรดาสหายของเรา กล่ า วว่ า
แบบอย่างของท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม คือ ให้ นา
บรรดาสตรี และผู้ที่อ่อนแอออกจากมุซดะลิฟะฮสูม่ ีนาก่อน หลังจาก
ที่ เลยเที่ ย งคื น ไปแล้ ว เพื่ อ ให้ พ วกเขาจะได้ ข ว้ า งเสาหิ น ต้ น แรก
ก่อนที่จะมีการแออัดของผู้คน” - หลังจากนันเขา ้ (อัน-นะวะวีย์) ได้
ยกหลักฐานจากหะดีษมาอ้ างอิง

13. กำรตัดผมของสตรี
สตรี จ ะตั ด ผมของเธอในการประกอบพิ ธี หั จ ญ์ และ
อุม เราะฮฺ โดยตัดส่วนปลายของเส้ นผมปริ ม าณข้ อนิ ว้ มื อ ส่วนบน
และไม่อนุญาตให้ โกนศีรษะ
อิบนุ กุดามะฮฺ กล่าวใน (อัล-มุฆนีย์ : 5/310) ว่า “และสิ่งที่
ถูก บัญ ญั ติแ ก่ ส ตรี นัน้ คื อการตัด ผม ไม่ใช่การโกน ซึ่ง ไม่มี ค วาม
ขัดแย้ งอันใดในเรื่ องดังกล่าว อิบนุล มุนซิร กล่าวว่า “ปวงปราชญ์ มี
มติเป็ นเอกฉันท์ ในเรื่ องนี ้ เนื่องจากการโกนศี รษะส าหรับสตรี นัน้
เป็ นการทาให้ เสียโฉม” มี หะดีษจาก อิบนุ อับบาส เราะฎิ ยัลลอฮุ
อันฮุ ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
 118 

ْ َّ ِّ َ َّ ْ ِّ َ َْ
»‫اتلق ِصري‬ ‫«لي َس َلَع الن َسا ِء َحلق ِإن َما َلَع الن َسا ِء‬
ความว่า “ไม่มีการโกนศีรษะสาหรับบรรดาสตรี แท้ จริงสาหรับพวก
เธอคือมีการตัดเท่านัน”
้ (บันทึกโดยอบู ดาวูด : 1984)

และจากอะลี เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ กล่าวว่า


‫أس َها‬ َ ‫أن ََتْل َق‬
َ ‫الم ْرأة َر‬ ْ
- ‫ صَل اهلل عليه وسلم‬- ‫هلل‬
َ َ
ِ ِ ‫نَه رسول ا‬
ความว่า “ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ ห้ามมิให้
สตรี โกนศีรษะของเธอ” (บันทึกโดยอัต-ติรมิซีย์ : 914)

อิ ม าม อะห์ มั ด กล่ า วว่ า “ให้ เธอตั ด ออกจากทุ ก เปี ย


ปริ ม าณหนึ่งข้ อ นิ ว้ มื อส่วนบน” ซึ่งเป็ นทัศนะของอิบนุ อุมัรฺ, อัช -
ชาฟิ อีย์, อิสหาก และอบู เษารฺ
และอบู ดาวูด กล่าวว่า “ฉันได้ ยินอิม ามอะห์ มัด ถูกถาม
เกี่ ยวกับ สตรี ว่าเธอจะตัดผมทั่วศีรษะใช่หรื อไม่? ท่านตอบว่า ใช่
โดยที่เธอรวบผมของเธอไปยังท้ ายทอย แล้ วตัดปลายผมประมาณ
หนึง่ ข้ อนิ ้วมือ”
อิ ม า ม อั น -น ะ วะ วี ย์ ได้ ก ล่ าว ใน (อั ล -มั จ ญ์ มู อฺ :
8/150,154) ว่า “ปวงปราชญ์มีมติเป็ นเอกฉันท์วา่ สตรี มิถกู สัง่ ใช้ ให้
โกนศีรษะ แต่หน้ าที่ ของเธอนัน้ คือการตัดผมบนศี รษะของเธอ...
เพราะการโกนเป็ นสิ่งที่ถกู อุตริ ในศาสนาสาหรับพวกเธอ และทาให้
เสียโฉม”
 119 

14. กำรเปลือ้ งอิห์รอมของสตรีท่ มี ีประจำเดือน


เมื่อสตรี ที่มีประจาเดือนได้ ขว้ างเสาหินต้ นแรก(ญัมเราะฮฺ
อะเกาะบะฮฺ) และได้ ตดั ผมของเธอแล้ ว เธอก็สามารถปลดเปลื ้อง
(ตะหัลลุล)จากพิธีหจั ญ์ได้ และสิ่งที่เคยต้ องห้ ามปฏิบตั เิ กี่ยวกับการ
ทาหัจญ์ ก็จะกลายเป็ นที่อนุญ าต เพียงแต่เธอยังไม่เป็ นที่อนุญาต
สาหรับสามี ดังนัน้ จึงไม่อนุญาตให้ มีเพศสัมพันธ์ จนกว่าเธอจะได้
เฏาะวาฟอิฟาเฏาะฮฺเสียก่อน ถ้ าหากมีเพศสัมพันธ์ในระหว่างนัน้ ก็
จาเป็ นที่เธอจะต้ องจ่ายค่าชดเชย คือการเชือดแพะหรื อแกะหนึ่งตัว
ที่ มักกะฮฺ โดยแจกจ่ายให้ แก่ผ้ ูขัดสนในเขตมักกะฮฺ เพราะว่าการ
กระทาดังกล่าวได้ เกิดขึ ้นหลังจากการปลดเปลื ้องครัง้ ที่หนึง่ แล้ ว

15. มีประจำเดือนหลังจำกเฏำะวำฟอิฟำเฎำะฮฺ
เมื่อสตรี มี ประจาเดือนหลังจากเฏาะวาฟอิฟาเฎาะฮฺ แล้ ว
เธอสามารถเดินทางเมื่อไหร่ก็ได้ ตามความประสงค์ และเธอไม่ต้อง
เฏาะวาฟอาลา(วะดาอฺ )อี กต่อ ไป เนื่ องจากหะดีษ ของท่านหญิ ง
อาอิชะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา กล่าวว่า
َ َ ْ َ َ َ ْ َ َ َ َّ َ َ ْ َ َ َّ َّ َ ِّ َّ َ ْ َ ‫َ َّ َ َّ َ ْ َ َ ي‬
َ ِ‫ك ل‬
‫ول‬
ِ ‫س‬‫ر‬ ِ ‫أن ص ِفية بِنت حي زوج انل ِب صَل اَّلل علي ِه وسلم حاضت فذكرت ذل‬
َ َ َ َ ْ َ َ َ ْ َ َ َّ َ
َ ِ ‫ «أ َحاب َستنَا‬:‫اَّلل َعلَيْ ِه َو َسلَّ َم َف َق َال‬
َّ َّ َ َّ
‫ «فال‬: ‫ قلت ِإنها قد أفاضت قال‬،»‫يه ؟‬ ِ ‫اَّلل صَل‬
ِ
ْ َ
»‫ِإذن‬
ความว่า เศาะฟี ยะฮฺ บิ น ตุ หุยัย ได้ มี ป ระจ าเดื อนหลัง จากเฏาะ
วาฟอิ ฟ าเฎาะฮฺ แ ล้ ว ฉั น จึ ง บอกเรื่ อ งดัง กล่ า วแก่ ท่ า นเราะสู ล
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม แล้ วท่านเราะสูลก็กล่าวว่า “เธอจะมา
 120 

ขัดขวางเรามิให้ กลับมะดีนะฮฺหรื อ?” ฉัน(อาอิชะฮ)กล่าวว่า โอ้ ท่าน


เราะสูลุลอฮฺ แท้ จริ งเธอได้ เข้ าสู่มักกะฮฺและเฏาะวาฟอิฟ าเฎาะฮฺ
เสร็ จเรี ยบร้ อยแล้ ว และมีประจาเดือนหลังจากเฏาะวาฟอิฟาเฎาะฮฺ
ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า “ถ้ าเช่นนันก็
้ ให้
เธอเดินทางได้ ” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 1733 และมุสลิม : 3209)

และจากอิบนุ อับบาส เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ กล่าวว่า


ْ َ ْ َ َ ِّ َّ َ َّ ْ َ ْ ‫ون آخر َع ْهده ْم ب‬
َ ْ َ
‫ إل أنه خفف ع ْن ال َم ْرأ ِة احلَائِ ِض‬، ‫ت‬
ِ ‫اْلي‬ ِ ِ ِ ِ ‫انلاس أن يَك‬
َّ ‫أ ِم َر‬

ความว่า “ผู้คนทังหลายถู
้ กใช้ ให้ ทาภารกิจสุดท้ ายพวกของเขาด้ วย
การเฏาะวาฟบั ย ตุ ล ลอฮฺ เพี ย งแต่ ถู ก ผ่ อ นปรนให้ แก่ ส ตรี ที่ มี
ประจาเดือน” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ :1755 และมุสลิม : 3207)

และมี ร ายงานจากอิ บ นุ อั บ บาส เราะฎิ ยั ล ลอฮุ อั น ฮุ


เช่นเดียวกัน กล่าวว่า
ْ َ َ ْ َ ْ َ َ َ َ َ ْ َ ََْ َ ْ َ ْ َ
َ َ‫ت يف ْاْلف‬ َ ْ َ ََّ َ
‫اض ِة‬ ِ ِ ‫رخص لِلحائِ ِض أن تصدر قبل أن تطوف إِذا َكنت قد طاف‬
ความว่า “ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ ผ่อนปรนแก่
สตรี ที่มีประจาเดือนให้ ออกเดินทางก่อนที่จ ะเฏาะวาฟอาลา เมื่ อ
เธอได้ เฏาะวาฟอิฟาเฎาะฮฺแล้ ว” (บันทึกโดยอะห์มดั : 3505)

อิ ม าม อัน -นะวะวี ย์ ไ ด้ ก ล่ า วใน (อัล -มั จ ญ์ มู อฺ : 8/281)


อิบนุล มุนซิร กล่าวว่า “และบรรดาผู้ร้ ู ทั่วไปก็ ได้ กล่าวเช่นนี ้ ส่วน
 121 

หนึ่ง จากพวกเขาได้ แ ก่ มาลิ ก , อะห์ มัด , อิ ส หาก, อบู เษารฺ , อบู


หะนีฟะฮฺ และท่านอื่นๆ”
อิบนุ กุดามะฮ (อัล -มุฆ นี ย์ : 3/65) กล่าวว่า “นี่ คือทัศนะ
ของบรรดานักนิติศาสตร์ อิสลามส่วนมากจากเมืองต่างๆ และกล่าว
ว่ า ...บทบั ญ ญั ติ เ กี่ ย วกั บ ผู้ ที่ มี เ ลื อ ดหลั ง คลอด ก็ เ หมื อ นกั บ
บทบั ญ ญั ติ ที่ เ กี่ ย วกั บ ผู้ ที่ มี ป ระจ าเดื อ น เพราะบั ญ ญั ติ ต่ า งๆ
เกี่ยวกับเลือดหลังคลอด คือบทบัญญัตขิ องเลือดประจาเดือนในสิ่ง
ที่บงั คับ และสิ่งที่ไม่ต้องทา”

16. กำรเยือนมัสญิดนะบะวีย์
ส่งเสริ ม ให้ สตรี ไปเยือนมัสญิ ดนะบะวีย์ ณ นครมะดีนะฮฺ
เพื่อละหมาดและทาการเคารพภักดีต่างๆ (ไปพร้ อมกับ มะห์ร็อม)
แต่ไม่อนุญาตให้ เยี่ยมสุสานของท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ
วะสัลลัม เนื่องจากเธอถูกห้ ามจากการเยี่ยมสุสาน
ชัยค์มุหัม มัด บิน อิบรอฮี ม อาล อัช -ชัยค์ ผู้ชี ข้ าดปั ญ หา
ศาสนาแห่ ง ประเทศซาอุดิอ าระเบี ย กล่ า วว่า “ความถูก ต้ อ งใน
ประเด็นนี ้คือห้ ามมิให้ สตรี เยี่ยมสุสานของท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุ
อะลัยฮิวะสัลลัม เนื่องจากเหตุผลสองประการ
หนึ่ ง ความครอบคลุ ม ของหลัก ฐานที่ ห้ าม และเมื่ อ มี
หลักฐานที่ ครอบคลุม แล้ ว ก็ไม่อนุญ าตแก่คนใดมาหาข้ อยกเว้ น
 122 

นอกจากจะมีหลักฐานอื่นมารองรับ อีกประการหนึ่งก็คือ เหตุผลที่


ห้ ามเยี่ยมสุสานก็ยงั คงมีอยู”่ (ดู มัจญ์มอู ฺฟะตาวา : 3 /239)
ชัยค์ อับดุลอะซีซ บิน บาซ กล่าวไว้ ในหนังสือการทาหัจญ์
ของท่าน เมื่ อ กล่าวถึง การเยี่ ยมสุส าน ส าหรับ คนที่ เยี่ ยมมัส ญิ ด
นะบะวีย์วา่ “การเยี่ยมสุสานถูกบัญญัติเฉพาะสาหรับผู้ชายเท่านัน้
ส่วนสตรี ไม่มีบทบัญ ญัติให้ เยี่ยมสุสานเลย ดังที่มียืนยันจากท่าน
เราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ว่าท่านสาปแช่งบรรดาสตรี ที่
เยี่ยมสุสาน และผู้สร้ างมัสญิดและประดับไฟบนสุสาน ส่วนการมุ่ง
ไปยังมะดีนะฮเพื่อละหมาดในมัสญิ ดของท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอ
ฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และเพื่ อทาการภักดีอื่นๆ นัน้ ถูกบัญญัติให้ แก่
ทุกคน” (อัต-ตะห์กีก วัล-อีฎอหฺ : หน้ า 19)
 123 

บทที่ 9
บัญญัตวิ ่ ำด้ วยกำรเป็ นสำมีภรรยำ และ
กำรสิน้ สภำพ

อัลลอฮฺตรัสว่า
َ َ ُ َّ َ ُ ُ َ ُ َ َ َ ‫َ أ‬ َ
‫﴿ َو ِم أن َء ا ىيتِه ِٓۦ أ ن خل َق لكم ّ ِم أن أ نفسِك أم أ أز َ ىو جا لِت أسك ُن ٓوا ِإ أّل َها َو َج َعل‬
َ َ َّ َ َ َ ًَ‫َأَ ُ َ َ َ أ‬
]٢١ :‫ ﴾ [الروم‬٢١ ‫ۡحة إِن ِف ذىل ِك ٓأَليىت ل ِق أوم َي َتفك ُرون‬ ‫بينكم مودة ور‬
ความว่า “และส่ ว นหนึ่ ง จากสัญ ญาณต่า งๆ แห่ ง อานุภ าพของ
พระองค์ คือพระองค์ได้ ทรงสร้ างคู่ครองแก่พวกเจ้ า ซึ่งมาจากพวก
เจ้ าเอง เพื่อพวกเจ้ าจะได้ มีความสุขกับพวกเธอ และพระองค์ได้ ทรง
ทาให้ มีขึ ้นระหว่างหมู่พวกเจ้ า ซึ่งความรักและความเมตตา แท้ จริ ง
ในสิ่ ง ดัง กล่ า วนั น้ ย่ อ มเป็ นสัญ ญาณต่ า งๆ ส าหรั บ กลุ่ ม ชนที่
ใคร่ครวญ” (อัร-รูม : 21)

ُ ُ ُ َٓ ‫َ أ َ ِ ُ أ‬ ُ َ‫ُ أ‬ َ
‫ِإَوما ئ ِك أم إِ ن َيكونوا‬ ‫حي مِن عِبا د كم‬ِ ِ ‫م مِنك أم َوٱلصىل‬ ‫ِحوا ٱۡل َ ىي َ ى‬‫﴿ َوأ نك‬
ُ ‫ٱّلل مِن فَ أضلِهِۦ َو‬
]٣٢ : ‫ ﴾ [انلور‬٣٢ ‫ٱّلل َوىسِع َعل ِيم‬ ُ ‫ُف َق َرا ٓ َء ُي أغنِه ُم‬
ِ
ความว่า “และจงสมรสให้ แก่ผ้ เู ป็ นโสดจากหมู่พวกเจ้ า และบรรดา
คนดีจากทาสชายและทาสหญิ งของพวกเจ้ า หากพวกเขายากจน
 124 

อัล ลอฮฺ จะทาให้ พ วกเขามั่งมี ด้ วยความโปรดปรานของพระองค์


และอัลลอฮฺ ทรงเป็ นผู้กว้ างใหญ่ไพศาล ทรงรอบรู้เสมอ” (อัน-นูรฺ :
32)

อิม าม อิบ นุ กะษี รฺ กล่าวว่า “นี่ คื อคาสั่ง ให้ จัดการสมรส


แท้ จริง ผู้ร้ ูกลุ่มหนึ่งมีความเห็นว่า การสมรสนันเป็
้ นภาคบังคับแก่ผ้ ู
ที่มีความสามารถ โดยยึดหลักฐานจากหะดีษที่ว่า
ْ َ ْ ُ َ َ َّ َ ْ َ َ َ ْ َ َ َ َ ْ ْ ْ َ َ َ ْ ْ َ َ َّ َ َ ْ َ َ
‫َت َّوج ف ِإنه أغض لِلبَ ََص َوأح َصن‬‫اب من استطاع ِمنكم اْلاءة فلي‬ ِ ‫«يا معرش الشب‬
َ َّ َ َّ ‫للْ َف ْرج َو َم ْن لَم ي َ ْستَط ْع َف َعلَيْه ب‬
»‫الص ْومِ ف ِإنه َل ِو َجاء‬ِ ِ ِ ِ ِ
ความว่า “โอ้ บรรดาคนหนุ่มทัง้ หลาย ผู้ใดจากหมู่พ วกเจ้ า ถึงวัยที่
สามารถมี เพศสัม พันธ์ และค่าใช้ จ่ายในการสมรส เขาจงท าการ
สมรส เพราะการสมรสนันท ้ าให้ ลดสายตาจากการมองสิ่งต้ องห้ าม
และรักษาอวัยวะเพศให้ บริ สุทธิ์ยิ่งกว่า และผู้ใดไม่มีความสามารถ
เขาจงถือศีลอด เพราะการถือศีลอดนันเป็ ้ นสิ่งป้องกันสาหรับเขา”
(บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 5065 และมุสลิม : 3384 จากอิบนุ มัสอูด)
หลังจากนัน้ ท่านได้ กล่าวถึง การสมรสว่า เป็ นสาเหตุของ
ความมัง่ มี โดยยึดหลักฐานที่วา่
‫َ أ‬ ُ ‫كونُوا ُف َق َرا ٓ َء ُي أغنِه ُم‬
]٣٢ : ‫ٱّلل مِن فضلِهِۦ﴾ [انلور‬
ُ َ
‫﴿إِن ي‬
ِ
ความว่า “หากพวกเขายากจน อัลลอฮฺจะทาให้ พวกเขามั่งมี ด้ วย
ความโปรดปรานของพระองค์” (อัน-นูรฺ : 32)
 125 

และมีรายงานจาก อบู บักรฺ อัศ-ศิดดีก เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ


กล่ า วว่ า “ท่ า นทั ง้ หลายจงเชื่ อ ฟั งอั ล ลอฮฺ ใ นการสมรสตามที่
พระองค์ทรงสัง่ ใช้ แล้ วพระองค์จะให้ ความมัง่ มีที่พระองค์สญ ั ญาไว้
แก่พวกท่านได้ ลลุ ว่ ง อัลลอฮฺตรัสว่า
‫َ أ‬ ُ ‫كونُوا ُف َق َرا ٓ َء ُي أغنِه ُم‬
]٣٢ : ‫ٱّلل مِن فضلِهِۦ﴾ [انلور‬
ُ َ
‫﴿إِن ي‬
ِ
ความว่า “หากพวกเขายากจน อัลลอฮฺจะทาให้ พวกเขามั่งมี ด้ วย
ความโปรดปรานของพระองค์” (อัน-นูรฺ : 32)

และมีรายงานจากอิบนุ มัสอูด เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ กล่าวว่า


“ท่านทังหลายจงแสวงหาความมั
้ ง่ มีในการแต่งงานเถิด อัลลอฮฺตรัส
ว่า หากว่าพวกเขายากจน อัลลอฮฺจะทาให้ พวกเขามัง่ มี ด้ วยความ
โปรดปรานของพระองค์ และอัลลอฮฺทรงกว้ างใหญ่ไพศาล ทรงรอบ
รู้ เสมอ” (รายงานโดยอิบนุ-ญะรี ร) และในทานองเดียวกันนี ้ อัล -
บะฆอวีย์ก็ได้ รายงานจากอุมรั ฺ (อิบนุ กะษีรฺ : 5/94 -95)
ชัยคุลอิสลาม อิบนุ ตัยมียะฮฺ กล่าวว่า “อัลลอฮฺได้ อนุมัติ
การสมรสแก่บรรดาผู้ศรัทธา การหย่าร้ าง และการสมรสกับสตรี ที่
ถูกหย่า หลังจากที่เธอได้ สมรสกับชายอื่น ในขณะที่ชาวคริ สต์ห้าม
การแต่ ง งานกั บ คนที่ เคยสมรสกั บ ชายอื่ น และผู้ ใดที่ พ วกเขา
อนุญ าตให้ ส มรสแล้ ว พวกเขาก็ จ ะไม่อนุญ าตให้ ทาการหย่าร้ าง
ในขณะที่ ชาวยิวอนุญาตให้ มีการหย่าร้ าง แต่เมื่อสตรี ที่ถูกหย่าได้
ไปสมรสกับคนอื่น เธอก็เป็ นที่ ต้องห้ ามสาหรับสามี เดิม ในทัศนะ
 126 

ของพวกเขา ในขณะที่ชาวคริ สต์นนไม่ ั ้ มีการหย่าร้ าง ณ ที่พวกเขา


และชาวยิวนันไม่ ้ มีการคืนดีกนั หลังจากที่ เธอได้ ไปสมรสกับคนอื่น
ในขณะที่ อัล ลอฮฺ ได้ อนุมัติแก่บ รรดาผู้ศรั ทธาซึ่งสิ่ งนี แ้ ละสิ่งนัน้ ”
(มัจญ์มอู ฺ ฟะตาวา : 32/90)
อิ บ นุ ล ก็ อ ยยิ ม กล่ า วแจกแจงถึ ง ประโยชน์ ข องการมี
เพศสัมพันธ์ ซึ่งเป็ นหนึ่งจากวัตถุประสงค์ของการสมรสว่า แท้ จริ ง
การมีเพศสัมพันธ์นนถู ั ้ กกาหนดขึ ้นเพราะเหตุผล 3 ประการ ซึง่ เป็ น
เป้าหมายหลัก
หนึ่ง รักษาไว้ ซึ่งการสืบเชื ้อสาย และการคงอยู่ของมนุษย์
ไปจนกระทัง่ ครบจานวนที่อลั ลอฮฺทรงกาหนดไว้
สอง นาเอานา้ ออกจากร่ างกาย ซึ่งจะทาให้ เกิดอันตราย
หากกักเก็บไว้
สำม ขจัด กาหนัดและอารมณ์ ใคร่ ทางเพศ การได้ ลิ ม้ รส
ความสุข และมีความสาราญกับความโปรดปรานของอัลลอฮฺ
กำรสมรสมีประโยชน์ มำกมำย ที่สำคัญที่สุดได้ แก่ :
- ป้องกันจากการผิดประเวณี และยับยังจากการมองสิ ้ ่งที่
ต้ องห้ าม
- ทาให้ ได้ มาซึง่ เชื ้อสาย และรักษาไว้ ซงึ่ วงศ์ตระกูล
- ทาให้ เกิดความสุขระหว่างสามีภรรยา และมีความสงบ
ทางอารมณ์
 127 

- ความร่วมมือระหว่างสามีภรรยาในการสร้ างครอบครัวที่
ดี ซึง่ ครอบครัวที่ดีนนเปรี
ั ้ ยบเสมือนกับอิฐก้ อนหนึง่ ของสังคม
- สามี ท าหน้ าที่ ดู แ ลและปกป้ องภรรยา และภรรยา
ปฏิบตั ิงานภายในบ้ าน และปฏิบตั ิหน้ าที่ของเธอในการใช้ ชีวิต ซึ่ง
ต่างค ากล่าวอ้ างของบรรดาศัตรู ว่าเธอมี ส่วนร่ วมกั บ สามี ในการ
ทางานนอกบ้ าน พวกเขาจึงนาเธอออกไปนอกบ้ านของเธอ ถอด
ถอนเธอออกจากหน้ าที่ที่เหมาะสม และมอบหมายงานคนอื่นให้ กบั
เธอ และมอบงานของเธอให้ แ ก่ ค นอื่ น ระบบครอบครั ว จึ ง ขาด
เสถี ย รภาพ และเกิ ด ความไม่ เข้ า ใจกัน ระหว่ า งสามี ภ รรยา ซึ่ ง
บ่อยครัง้ นาสู่การหย่าร้ าง หรื ออยู่ร่วมกันด้ วยความเจ็บปวดและ
ทุกข์ทรมาน (อัล-ฮัดย์ อัน-นะบะวีย์ : 3/149)
ชัย ค์ มุ หัม มัด อัล -อะมี น อัช -ชัน กี ฏี ย์ กล่ า วไว้ ในต ารา
อธิ บายความหมายอัลกุรอาน (อัฎวาอ์ อัล -บะยาน : 3 /422) “พึง
ทราบเถิด –ขออัลลอฮฺโปรดชีน้ าฉันและท่าน เพื่อสิ่งที่ พระองค์รัก
และพอพระฤทัย - แท้ จ ริ ง ปรั ช ญาที่ ค้ า นกับ อิ ส ลาม ซึ่ ง มี ค วาม
ผิดพลาดและล้ ม เหลว ขัดแย้ งกับ ความรู้ สึก สติปัญ ญา ค้ านกับ
โองการของอัลลอฮฺที่มาจากฟากฟ้า และค้ านกับบัญญัติของผู้ทรง
สร้ าง โดยพยายามอ้ างว่าต้ องการให้ มีความเสมอภาคระหว่างสตรี
กับผู้ชาย ในทุกบทบัญญัติและในเวทีตา่ งๆ นัน้ ล้ วนแล้ วทาให้ เกิด
ความเสื่อมเสีย และทาให้ เกิดความบกพร่องในระบบสังคมมนุษย์
ซึง่ ทุกคนสามารถรับรู้ได้ นอกจากคนที่อลั ลอฮฺให้ สติปัญญาของเขา
 128 

มื ด บอด ทั ง้ นี เ้ นื่ อ งจากอั ล ลอฮฺ ใ ห้ ผู้ หญิ งมี ลั ก ษณะพิ เศษ ซึ่ ง
เหมาะสมที่จะมีสว่ นร่วมในการสร้ างสังคมมนุษย์ –ความเหมาะสม
ที่ไม่มี ใครทาแทนได้ เช่น การตัง้ ครรภ์ การคลอด การให้ นม การ
เลี ้ยงดูลูก การดูแลบ้ าน การทางานภายในบ้ านอันประกอบไปด้ วย
การปรุ งอาหาร การนวดแป้ง การปั ดกวาดบ้ าน และอื่นๆ และงาน
เหล่านี ้ที่ เธอปฏิบตั ิเพื่อสังคมมนุษย์ภายในบ้ านนัน้ มีความมิดชิด
และปกป้องแก่เธอ มีความบริ สทุ ธิ์ผดุ ผ่อง รักษาเกียรติ และคุณค่า
ต่างๆ ของการเป็ นมนุษย์ ซึ่งการปฏิบตั ิงานของเธอนันไม่ ้ น้อยกว่า
การหารายได้ ของผู้ชายเลย
ดังนัน้ คากล่าวอ้ างของบรรดาผู้ปฏิเสธที่โง่เขลาและพวก
พ้ อ งว่า แท้ จ ริ ง สตรี นัน้ มี สิ ท ธิ์ ใ นการท างานนอกบ้ า นเหมื อ นกับ
ผู้ชาย ทังที
้ ่ในเวลาตังครรภ์้ ให้ นมลูกและอยู่ไฟ เธอไม่สามารถที่จะ
ทางานใดซึ่งมีความยากลาบากได้ ซึ่งเป็ นสิ่งที่ประจักษ์ ชดั เมื่อเธอ
และสามี ได้ ออกทางานนอกบ้ าน งานบ้ านทังหมดก็ ้ บกพร่องไม่ว่า
จะเป็ นการดูแลลูกๆ ที่ยงั เล็ก การให้ นมแก่ลกู ที่อยู่ในวัยให้ นม และ
การจัดเตรี ยมอาหารและเครื่ องดื่มแก่สามีเมื่อกลับมาจากทางาน
ถ้ าหากว่าเขาได้ ว่าจ้ างคนหนึ่งคนใดมาทาหน้ าที่แทนเธอ คนนันก็ ้
ย่อมอยู่เฉยๆ ภายในบ้ านร้ าง ซึ่งสตรี ไม่ยอมอยู่กับบ้ าน สุดท้ ายก็
ลงรอยเดิมคือการออกนอกบ้ าน และการปล่อยปละละเลยของสตรี
ทาให้ เกิดการสูญเสียเกียรติและศาสนา”
 129 

โอ้ สตรี ผ้ ศู รัทธา เธอจงยาเกรงอัลลอฮฺเถิดและอย่าหลงการ


โฆษณาชวนเชื่อนี ้ เพราะสภาพของบรรดาสตรี ที่โดนหลอกนัน้ คือ
หลักฐานที่ บ่งบอกถึงความเสื่อมเสีย และความล้ มเหลวได้ ดีที่สุด
ในขณะที่ประสบการณ์เป็ นหลักฐานที่ดียิ่ง
ดังนัน้ จงรี บแต่งงานเถิดโอ้ พี่น้องผู้ศรัทธา ตราบใดที่เธอยัง
เป็ นหญิงสาว เป็ นที่ปรารถนาของผู้คน อย่าได้ ประวิงเวลาเนื่องจาก
การศึกษาต่อหรื อทางาน เพราะแท้ จริ ง การแต่งงานที่ ลงตัว จะมี
ความผาสุกและสบาย ซึง่ ทดแทนการเรี ยนและการงานได้ การเรี ยน
และตาแหน่งหน้ าที่ไม่สามารถทดแทนการแต่งงานได้ แม้ จะสูงสัก
ปานใดก็ตาม
จงปฏิ บัติ ห น้ าที่ ภ ายในบ้ านของเธอ และจงดูแ ลลู ก ๆ
เพราะนี่คืองานหลักของเธอ ซึ่งส่งผลในการใช้ ชีวิตของเธอ อย่าได้
แสวงหาสิ่ งอื่ น มาแลกเปลี่ ย น เพราะไม่มี สิ่ ง ใดเที ย บได้ เธออย่า
ปล่อยให้ โอกาสการแต่งงานกับคนดีๆ หลุดลอยไป เพราะท่านเราะ
สูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
َ ْ َ ْ َ َّ ْ َ َ َ َ ْ َ ْ َ ْ َ ْ َ ‫«إ َذا‬
،‫ ِإل تف َعلوا تك ْن فِتنَة ِيف األ ْر ِض‬،‫كحوه‬
ِ ‫جاءكم من ترضون ِدينه َوخلقه فان‬ ِ
َ ََ
»‫وفساد‬
ความว่า “เมื่อมีคนที่พวกท่านพอใจในศาสนาของเขา และมารยาท
ของเขาได้ เข้ า มาสู่ขอยังพวกท่าน ก็ จ งจัด การแต่งงานให้ กับเขา
หากพวกท่านไม่กระทาแล้ ว ก็จะมีความยุ่งเหยิงและความเสียหาย
 130 

บนแผ่นดิน ” (บันทึกโดย อัต -ติรมิ ซีย์ : 1085 โดยมี หะดีษอื่นๆ มา


สนับสนุนในความถูกต้ อง)

สภำพของสตรี ท่ ีจะแต่ งงำนด้ วย


มี 3 สภาพด้ ว ยกัน บางครั ง้ เป็ นสาวพรหมจรรย์ ที่ ยัง ไม่
บรรลุศาสนภาวะ หรื อสาวพรหมจรรย์ที่บรรลุศาสนภาวะแล้ ว หรื อ
เป็ นสตรี ที่ เคยผ่ านการแต่ง งานมาแล้ ว และแต่ล ะประเภทจะมี
บทบัญญัตเิ ฉพาะ
1. สำวพรหมจรรย์ ซ่ งึ ยังไม่ บรรลุศำสนภำวะ
ผู้ร้ ู ไม่มีการขัดแย้ งกันว่า พ่อของเธอมี สิทธิ์ ที่จัดการสมรส
โดยไม่ต้องขออนุญาตจากเธอ เนื่องจากสถานะของเธอยังให้ การ
อนุญาตไม่ได้ (เพราะเป็ นผู้เยาว์) เพราะอบูบกั รฺ ได้ จดั การแต่งงาน
ท่านหญิ งอาอิชะฮฺให้ แก่ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
ในขณะที่เธอมีอายุ 6 ขวบ และให้ เธอได้ อยู่ร่วมห้ องหอกับท่านใน
ขณะที่เธอมีอายุ 9 ขวบ” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 3896 และมุสลิม
: 3464)
อิม าม อัช-เชากานี ย์ กล่าวไว้ ในหนังสือ (นัยลุลเอาฏอรฺ :
6/128-129) ในหะดี ษ ข้ างต้ นเป็ นหลั ก ฐานว่ า อนุ ญ าตให้ พ่ อ
แต่งงานลูกสาวก่อนที่จะบรรลุศาสนภาวะได้ และอัช-เชากานีย์ยงั
กล่ า วอี ก ว่ า ในหะดี ษ ข้ างต้ น บ่ ง บอกชี ว้ ่ า อนุ ญ าตให้ แต่ ง งาน
เด็ ก ผู้ หญิ ง ที่ ยัง เยาว์ วัย ให้ แ ก่ ช ายที่ มี อ ายุม ากได้ ซึ่ ง อิ ม ามอัล -
บุคอรี ย์ ได้ ตงชื ั ้ ่อบทในตาราหะดีษเช่นนัน้ และได้ นาเอาหะดีษของ
 131 

ท่านหญิ ง อาอิชะอฺมาอ้ างอิง และอิบนุ หะญัรฺ ได้ อ้างมติเอกฉันท์


ของปวงปราชญ์ ไว้ ในหนังสือฟั ตหุลบารี ย์ของท่าน
อิบนุ กุดามะฮฺ ได้ กล่าวไว้ ในอัล-มุฆนีย์ (6/487) “บรรดาผู้ร้ ู
ทุกคนที่เราได้ จดจามาจากพวกเขา มีมติเป็ นเอกฉันท์ว่า อนุญาต
ให้ พ่อแต่งงานลูกสาวที่ยงั เยาว์วยั โดยมิต้องขออนุญาตได้ เมื่อแต่ง
ให้ กบั บุคคลที่มีคณุ สมบัตเิ หมาะสมกัน”
ฉัน (ชัยค์เฟาซาน) กล่าวว่า “และในการที่อบูบกั รฺ จดั สมรส
ท่านหญิ งอาอิชะฮฺให้ แก่ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
ในขณะที่ เธออายุได้ 6 ขวบ เป็ นการโต้ ตอบที่ ล า้ ลึก ยิ่ง ต่อ พวกที่
ต าหนิ ก ารแต่ง งานผู้เยาว์ ให้ แ ก่ ช ายที่ อ ายุม าก และสร้ างความ
เสียหายในประเด็นนี ้ และพวกเขาถื อว่าเป็ นสิ่งที่น่าเกลียด และนี่
มิใช่อื่นใดเลยนอกจากความโง่เขลาของพวกเขาเท่านัน้ หรื อพวก
เขาต้ องการที่จะสร้ างความปั่ นป่ วน”

2. สำวพรหมจรรย์ ซ่ งึ บรรลุศำสนภำวะแล้ ว
เธอจะไม่ถูกแต่งงานนอกจากต้ องได้ รับอนุญ าตจากเธอ
เสี ย ก่ อ น และการอนุญ าตของเธอคื อ การนิ่ ง เฉย เนื่ อ งจากท่า น
เราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวว่า
ْ َ ْ َ َ َّ َ َ َ َ َ َ ْ َ ْ َّ َ ْ ْ َ ْ َ َ
َ ‫ «أَ ْن ت َ ْسك‬:‫إذن َها؟ قَال‬
»‫ت‬ ‫ فكيف‬، ‫اَّلل‬
ِ ‫اْلكر حَت تستأذن» قالوا يا رسول‬
ِ ‫«ول تنكح‬
ความว่า “และสาวพรหมจรรย์จะไม่ถกู แต่งงานจนกว่า จะมีการขอ
อนุ ญ าตจากเธอ” พวกเขาถามว่ า โอ้ ท่ า นเราะสู ลุ ล ลอฮฺ การ
 132 

อนุญาตของเธอเป็ นอย่างไรเล่า? ท่านกล่าวว่า “คือการนิ่งเฉยของ


เธอ” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 5136 และมุสลิม : 3458)
ดังนัน้ จึงต้ องได้ รับการยินยอมจากเธอ แม้ ว่าพ่อของเธอ
จะเป็ นผู้แต่งงานให้ ก็ตาม ตามทัศนะที่ถูกต้ องจากสองทัศนะของ
บรรดาผู้ร้ ู
อิบ นุล ก็ อยยิม ปราชญ์ อาวุโสกล่าวว่า “และนี่ คือทัศนะ
ของบรรพชนส่วนมาก และทัศนะของอบู หะนีฟะฮฺ และอะห์มดั ใน
รายงานหนึ่ง จากหลายๆ รายงานของท่า น และเป็ นทัศ นะที่ เรา
น ามาปฏิ บัติ ซึ่ ง เราไม่ ยึด ถื อ อื่ น ใดนอกเหนื อ จากนี ้ ซึ่ง เป็ นสิ่ ง ที่
สอดคล้ องกับการตัดสินชี ้ขาดของท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ
วะสัลลัม และสอดคล้ องกับ การสัง่ ใช้ และการห้ ามของท่าน” (อัล-
ฮัดย์ อัน-นะบะวีย์ : 5/96)

3. สตรีท่ ผี ่ ำนกำรแต่ งงำนแล้ ว


เธอจะไม่ ถูก แต่ง งานนอกจากด้ ว ยการอนุญ าตของเธอ
เท่ า นั น้ และการอนุ ญ าตของเธอนัน้ ด้ วยวาจา ซึ่ ง ต่ า งกั บ สาว
พรหมจรรย์เพราะการอนุญาตของเธอนันคื ้ อการนิ่งเฉย
อิบนุ กุดามะฮฺกล่าวว่า “สาหรับสตรี ที่เคยผ่านการแต่งงาน
แล้ วนัน้ เราไม่ท ราบว่าปวงปราชญ์ มี ความเห็นขัดแย้ งกันเลยว่า
การยินยอมของเธอคือการเปล่งวาจา ดังหะดีษของท่านเราะสูล
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และการพูดนันเป็ ้ นการสื่อถึงสิ่งที่อยู่
 133 

ในใจ ซึ่งการเปล่งวาจาคือมาตรฐานในทุกเรื่ องที่ต้องขออนุญาต”


(อัล-มุฆนีย์ : 6/493)
ชั ย คุ ล อิ ส ลาม อิ บ นุ ตั ย มี ย ะฮฺ ได้ กล่ า วไว้ ในมั จ ญ์ มู อฺ
ฟะตาวา (32/39-40) “ไม่บังควรแก่คนใดที่ จ ะแต่ง งานให้ กับ สตรี
นอกจากด้ วยการยิ น ยอมของเธอเท่ า นั น้ ดั ง ที่ ท่ า นเราะสู ล
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมได้ สงั่ ใช้ ถ้ าหากเธอไม่ยินยอมก็ไม่มี
คนใดบังคับเธอได้ นอกจากสาวพรหมจรรย์ที่ยงั เยาว์วยั พ่อของเธอ
สามารถแต่งงานให้ กับเธอได้ และไม่มี การอนุญ าตใดๆ จากเธอ
(เพราะยังเป็ นผู้เยาว์) ส่วนสตรี ที่เคยแต่งงาน ซึ่งบรรลุศาสนภาวะ
แล้ ว ต้ องได้ รับการยินยอมจากเธอ ไม่ว่าจะเป็ นพ่อหรื อคนอื่น โดย
มติเอกฉัน ท์ ของปวงปราชญ์ และเช่นเดี ยวกันสาวพรหมจรรย์ ที่
บรรลุศาสนภาวะแล้ ว คนอื่นจากพ่อและปู่ ไม่มีสิทธิ์บงั คับเธอ (หรื อ
แต่ง แบบคลุม ถุงชนหรื อขื นใจ) โดยมติเอกฉันท์ ของปวงปราชญ์
ส่วนพ่อและปู่ ควรที่จะได้ รับความยินยอมเสียก่อน และบรรดาผู้ร้ ู มี
ความเห็นแตกต่างกันไปในเรื่ องของการอนุญ าต เป็ นสิ่ง ที่ บังคับ
หรื อควรกระทา (วาญิ บหรื อมุสตะหับ) และทัศนะที่ถูกต้ องนัน้ คือ
มัน เป็ นสิ่ งที่ บังคับ และจ าเป็ นต่อผู้ปกครองของสตรี ต้องมี ความ
ยาเกรงต่ออัลลอฮฺในเรื่ องของผู้ที่เขาจะจัดการแต่งงานแก่เธอ และ
ต้ อ งพิ จ ารณาถึ งคนที่ จ ะเป็ นคู่ค รองของเธอว่า เหมาะสมหรื อไม่
เพราะว่าเขาแต่งงานให้ เธอเพื่ อผลดีแก่เธอไม่ใช่ผลดีแก่เขาอย่าง
เดียว”
 134 

วะลีย์ในกำรแต่ งงำน
จ าเป็ นต้ อ งมี ว ะลี ย์ ห รื อ ผู้ป กครองของฝ่ ายหญิ ง ในการ
แต่งงานและเหตุผลที่ต้องมีผ้ ปู กครอง
การให้ สิทธิ์ แก่สตรี ในการเลือกคู่ครองที่เหมาะสมกับเธอ
นัน้ ไม่ได้ ห มายความว่าปล่อ ยให้ เธอกระทาได้ ตามอาเภอใจ จะ
แต่งงานกับใครตามที่เธอประสงค์ และหากเป็ นเช่นนัน้ ย่อมจะเป็ น
พิ ษ ภัย ต่อ ญาติ แ ละครอบครั ว ของเธอ แต่แ ท้ ที่ จ ริ ง แล้ ว เธอต้ อ ง
อาศัยผู้ปกครอง ซึ่งคอยดูแลการเลือกของเธอ ให้ คาปรึ กษา และ
จัดการแต่งงานแก่เธอ เธอไม่สามารถจะแต่งงานให้ กับตัวเองได้
หากเธอแต่งงานให้ กบั ตัวเอง การแต่งงานนันก็ ้ เป็ นโมฆะ เนื่องจาก
หะดีษจากท่านหญิงอาอิชะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา
َ َ َ َ َ ْ َْ ْ َ َ ْ َ َُ
ِ ‫ري إِذ ِن َو ِيلِّها ف ِنَكحها ب‬
»‫اطل‬ ِ ‫«أيما ام َرأة ن‬
ِ ‫كحت بِغ‬
ความว่า “สตรี คนใดแต่งงานให้ กับตัวเองโดยไม่ได้ รับอนุญาตจาก
ผู้ ปกครองของเธอ การแต่ ง งานของเธอก็ เ ป็ นโมฆะ (3 ครั ง้ )”
(บันทึกโดยอัต-ติรมิซีย์ : 1102 , อบู ดาวูด : 2083 , อิบนุ มาญะฮฺ
: 1879 และอัต-ติรมิซีย์ : 1190 และกล่าวว่าเป็ นหะดีษหะสัน)

และท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า


‫اح إِ َّل ب َو ي‬
»‫ل‬ َ ‫ك‬َ َ
ِ‫«ل ن‬
ِ ِ
ความว่า “ไม่มี การแต่งงานใดๆ นอกจากจะต้ องมี ผ้ ูปกครองของ
ฝ่ ายหญิ ง ” (บั น ทึ ก โดยอัต -ติ ร มิ ซี ย์ : 1101, อบู ดาวูด : 2085,
อิบนุ มาญะฮฺ : 1881 และท่านอื่นๆ)
 135 

ทั ง้ สองหะดี ษ นี แ้ ละหะดี ษ ที่ มี ค วามหมายในท านอง


เดี ย วกั น บ่ ง ชี ว้ ่ า การแต่ ง งานจะเป็ นโมฆะ นอกจากจะต้ องมี
ผู้ปกครองของฝ่ ายหญิงเท่านัน้ เพราะว่าหลักพื ้นฐานของคาว่า "ไม่"
คือไม่ถูกต้ อง และอัต-ติรมิซีย์ กล่าวว่า “นี่คือแนวปฏิบตั ิของปวง
ปราชญ์ เช่น อุมรั ฺ , อะลีย์, อิบนุ อับบาส, อบู ฮูร็อยเราะฮฺ และท่าน
อื่ น ๆ และในท านองเดีย วกัน นี ้ มี รายงานจากบรรดานัก วิ ช าการ
สาขานิติศาสตร์ อิสลามของบรรดาตาบีอีนว่า แท้ จริ งพวกเขากล่าว
ว่า ไม่มีการแต่งงานนอกจากจะต้ องมีผ้ ปู กครองของฝ่ ายหญิ ง ซึ่ง
เป็ นทัศนะของอิมามอัช-ชาฟิ อีย์, อะห์มดั และอิสหาก” (โปรดดูอลั -
มุฆนีย์ : 6/449)

กำรตีกลองเพื่อประกำศกำรแต่ งงำน
ส่ง เสริ ม ให้ มี ก ารตี ก ลองของเหล่ า สตรี เพื่ อ ให้ ร้ ู ว่า มี ก าร
แต่งงาน และนัน่ จะปฏิบตั ิกนั ในหมู่ของสตรี เป็ นการเฉพาะโดยไม่มี
ดนตรี อุปกรณ์บนั เทิงต่างๆ และไม่มีการขับร้ องของนักร้ อง และไม่
เป็ นไรในการที่สตรี จะเอาบทกวีมาขับร้ องในโอกาสนี ้ โดยที่ไม่ให้
บรรดาบุรุษได้ ยินท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าว
ว่า
َ َّ ‫ادل ُف َو‬ ْ َ َ َْ َ ْ َ َ ْ َ
»‫الص ْوت ِيف انلَِّك ِح‬ ُ ِ‫احل َ َرام‬‫«فصل ما بني احلال ِل و‬
ความว่า “การประกาศให้ ร้ ูว่า ระหว่างชายหญิงคูไ่ หนที่ฮาลาล(ร่วม
ชีวิตเป็ นสามีภรรยากันแล้ ว)หรื อหะรอม(ยังไม่ได้ เป็ นสามีภรรยา) ก็
 136 

คือกลองและการขับร้ องในการแต่งงานนัน่ เอง” (บันทึกโดยอะห์มดั


:15451, อัต-ติรมิซีย์ : 1088, อัน-นะสาอีย์ : 3369 , อิบนุ มาญะฮฺ
: 1896 และอัต-ติรมีซีย์ กล่าวว่าเป็ นหะดีษหะสัน)

อิมาม อัช-เชากานีย์ กล่าวว่า “ในสิ่งดังกล่าวนันเป็ ้ นสิ่งที่ชี ้


ชัดว่าในงานแต่งนันอนุ ้ ญาตให้ มีการตีกลองและใช้ เสียงดัง โดยนา
ถ้ อยคาต่างๆ มากล่าวขาน เช่น เราได้ มายังท่านทัง้ หลายแล้ ว เรา
ได้ มายังท่านทังหลายแล้
้ ว และอื่นๆ ที่ไม่ใช่เพลงยัว่ ยุเพื่อสิ่งเลวร้ าย
พรรณนาความงามของสตรี ลามก และการดื่ ม เหล้ า เพราะสิ่ ง
เหล่านี ้เป็ นที่ต้องห้ ามในงานแต่งและในโอกาสอื่นๆ และในทานอง
เดียวกันกับการละเล่นต่างๆ ที่ต้องห้ าม”
โอ้ ส ตรี ผ้ ูศรัทธา อย่าได้ ฟุ่ มเฟื อยในการซื อ้ เครื่ องประดับ
และเสื อ้ ผ้ า เนื่ องในโอกาสงานแต่งเพราะอยู่ในความสุรุ่ยสุร่า ย
ที่อัล ลอฮฺ ทรงห้ ามไว้ และพระองค์ ไม่รักคนที่ สุรุ่ยสุร่า ย จงใช้ จ่าย
โดยพอประมาณและอย่าโอ้ อวด
َ ‫﴿ َو َل ت ُ أۡسفُ ٓوا إن ُهۥ َل َُيِب ٱل أ ُم أۡسف‬
]٣١ :‫ ﴾ [األعراف‬٣١ ‫ِي‬ ِ ِ ِ
“และพวกเจ้ า อย่ า ได้ ฟุ่ มเฟื อย แท้ จ ริ ง พระองค์ ไ ม่ รั ก ผู้ บรรดาที่
ฟุ่ มเฟื อย” (อัล-อันอาม : 141)

ภรรยำต้ องเชื่อฟั งสำมีและไม่ อนุญำตให้ ฝ่ำฝื น


 137 

โอ้ สตรี ผ้ ศู รัทธาเอ๋ย จาเป็ นที่ เธอจะต้ องเชื่อฟั งสามีด้วยดี มี


รายงานจากอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ กล่าวว่า ท่านเราะ
สูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
َ ‫ َوأَ َط‬، ‫ت فَ ْر َج َها‬
ْ ‫اع‬
‫ت َز ْو َج َها‬ ْ ‫ َو َحف َظ‬، ‫ت َش ْه َر َها‬ َ ‫ َو َص‬، ‫ت ال ْ َم ْرأَة َِخْ َس َها‬
ْ ‫ام‬ ْ َّ‫«إ َذا َصل‬
ِ
َّ ْ
»‫اب اْلَن ِة شاءت‬ َ ْ َ ِّ َ ْ َ َّ َ ْ ْ َ َ َ
ِ ‫دخلت اْلنة ِمن أي أبو‬
ความว่า “เมื่อสตรี ได้ ละหมาดห้ าเวลา ถือศีลอด รักษาอวัยวะเพศ
ของเธอ และเชื่ อฟั งสามี เธอก็ จ ะได้ เข้ าสวรรค์ จ ากประตูใดก็ ไ ด้
ตามที่เธอประสงค์” (บันทึกโดย อิบนุ หิบบาน : 4252)

มี รายงานจากอบู ฮุร็ อ ยเราะฮฺ เราะฎิ ยัล ลอฮุอัน ฮุ ท่า น


เราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวว่า
ْ َّ َ َ ‫« َل َحي ُل للْ َم ْرأَة أَ ْن تَص‬
»‫وم َو َز ْوج َها شا ِهد ِإل بِ ِإذنِ ِه‬ ِ ِ ِ
ความว่า “ไม่อนุญาตให้ ภรรยาถือศีลอด (ภาคสมัครใจ) ขณะที่สามี
ไม่ได้ เดินทาง นอกจากจะได้ รับ อนุญ าตจากสามี และเธอจะไม่
อนุ ญ าตให้ คนใดเข้ า บ้ านของสามี นอกจากสามี จ ะอนุ ญ าต ”
(บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 5192 และมุสลิม : 2367)

َ َ َ ََْ َ َ ََْ َ َ َ ْ َ َ َ َ ْ َََ َ ََ ْ َّ ‫«إ َذا َد َاع‬


‫المالئِكة َح ََّت‬ ِ ‫الرجل ام َرأته إَِل فِ َر‬
‫اش ِه فأبت فبات غضبان عليها لعنتها‬ ِ
ْ
»‫تص ِبح‬
ความว่า “เมื่ อ สามี ไ ด้ เรี ย กภรรยาของเขาไปยัง ที่ น อน แล้ ว เธอ
ปฏิ เสธ แล้ ว ได้ เขานอนในสภาพที่ โกรธเธอ บรรดามะลาอิ ก ะฮฺ
 138 

สาปแช่งเธอจนถึงยามเช้ า” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 5193, 3237,


มุสลิม : 3526 และท่านอื่นๆ) และในอีกรายงานของมุสลิม

َّ َ َ َّ ْ َ َ َ ْ َ َ َ َ َ َ َ َ ْ َْ َ ْ َ َ ْ َ َّ َ
‫اَّلي‬
ِ ‫اشها فتأب علي ِه إِل َكن‬ ِ ‫ ما ِمن رجل يدعو امرأته إَِل فِر‬،ِ‫اَّلي نف ِس بِي ِده‬
ِ ‫«و‬
َ ْ َ َ ْ َ َّ َ َ ْ َ َ ً َ َ َّ
»‫اخطا عليها حَت يرض عنها‬ ِ ‫ِيف السما ِء س‬
ความว่า “ฉั น ขอสาบานต่ อ ผู้ ที่ ชี วิ ต ของฉั น อยู่ ในพระหัต ถ์ ข อง
พระองค์ ไม่มีสามีคนใดที่เรี ยกภรรยาของเขาไปยังที่นอน แล้ วเธอ
ปฏิ เสธ นอกจากผู้ที่อยู่บนฟากฟ้ าได้ โกรธกริ ว้ เธอ จนกว่าเขาจะ
พอใจต่อเธออีกครัง้ ” (บันทึกโดยมุสลิม : 3525)
และส่วนหนึ่งจากสิทธิ ของสามีที่มีตอ่ ภรรยา คือเธอจะต้ อง
ทาหน้ าที่ดแู ลรักษาบ้ านเรื อนของสามี และจะไม่ออกไปจากบ้ าน
นอกจากจะได้ รับอนุญาตจากเขาเท่านัน้ ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุ
อะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
َ َ ْ‫« َوال ْ َم ْرأَة يف َبي‬
»‫يه َم ْسئولة ع ْن َر ِعيَّ ِت َها‬
َ ِ ‫ت َز ْوج َها َرا ِعيَة َو‬
ِ ِ ِ
ความว่า “และภรรยานัน้ เป็ นผู้ดแู ลอยู่ในบ้ านของสามี และเธอจะ
ถูก สอบสวนจากหน้ า ที่ ข องเธอ” (บัน ทึ ก โดยอัล -บุค อรี ย์ : 5200,
มุสลิม: 4701, อบู ดาวูด: 2928 และอัตติรมิซีย์: 1705)

และส่วนหนึ่งจากสิทธิของสามีที่มีตอ่ ภรรยาคือเธอจะต้ อง
ทางานบ้ าน และไม่ทาให้ สามีต้องหาคนใช้ ที่เป็ นสตรี ซึ่งทาให้ สามี
ต้ องลาบากใจ เขาและลูกๆ อาจจะได้ รับอันตรายเพราะคนใช้
 139 

ชัยคุลอิสลาม อิบนุตยั มียะฮฺ ได้ กล่าวว่า “อัลลอฮฺตรัสว่า


ُ ‫حىف َِظىت ّل أِل َغ أيب ب َما َحف َِظ‬
]٣٤ : ‫ٱّلل﴾ [النساء‬ ُ ‫﴿فَٱلصىل َِحى‬
َ ‫ت َقىن َِتىت‬
ِ ِ
ความว่า “บรรดาสตรี ที่ดีนัน้ คือผู้ที่เชื่อฟั งภักดี (อัลลอฮฺและสามี )
รักษาทุกสิ่งเมื่อสามีไม่อยู่ด้วยสิ่งที่อลั ลอฮฺให้ เธอรักษา” (อัน-นิสาอ์
: 34)
โองการนี ้บ่งชี ้ว่าภรรยาต้ องเชื่อฟั งต่อสามีในทุกกรณี (โดย
ไม่มีข้อแม้ ) อันได้ แก่การปรนนิบตั ิ ร่วมเดินทาง ร่วมหลับนอน และ
อื่ น ๆ ดัง ที่ ท่ า นเราะสูล ศ็อ ลลัล ลอฮุอ ะลัย ฮิ ว ะสัล ลัม ได้ ท าเป็ น
แบบอย่างไว้ ” (มัจญ์มอู ฺฟะตาวา : 32/ 60-61)
อิบนุล ก็อยยิม เราะหิมะฮุลลอฮฺ กล่าวว่า “ผู้ที่เห็นว่าการ
ปรนนิบตั ติ อ่ สามีเป็ นหน้ าที่ของภรรยา โดยนับว่าเป็ นสิ่งที่ชอบธรรม
ได้ อ้างหลักฐานจากอัลกุรอาน ส่วนการให้ ภรรยาอยู่อย่างฟุ้งเฟ้ อ
ปล่อยให้ สามีคอยบริ การเธอ กวาดบ้ าน โม่แป้ง นวดแป้ง ซักเสื ้อผ้ า
ปูที่ นอน และการบริ การภายในบ้ านนัน้ ย่อ มเป็ นสิ่ง ที่ น่าเกลี ย ด
ในขณะที่อลั ลอฮฺได้ ตรัสว่า
‫أ أ‬ ‫َ َأ‬ ُ‫َُ أ‬
‫﴿ َولهن مِثل ٱَّلِي علي ِهن بِٱل َمع ُر ِ ن‬
]٢٢٨ :‫وف ﴾ [اْلقرة‬
ความว่า “และสาหรับพวกเธอต้ องได้ รับการปฏิบตั ิด้วยดี ดังที่พวก
เธอต้ องปฏิบตั ”ิ (อัล-บะเกาะเราะฮ : 228)

ٓ ّ ََ َ َ ُ ّ
]٣٤ : ‫ٱلر َجال قو ى ُمون َع ٱلن َِساءِ﴾ [النساء‬
ِ ﴿
ความว่า “และบรรดาสามีเป็ นผู้ดแู ลรักษาภรรยา” (อัน-นิสาอ์ : 34)
 140 

หากภรรยาไม่ได้ ปรนนิบตั ติ อ่ เขา แต่เขาทาหน้ าที่ดแู ลรับใช้


เธอ เธอก็จะกลายเป็ นผู้ปกครองเหนือสามีแทน (ซึ่งตรงกันข้ ามกับ
ที่อัลกุรอานบัญ ญัติไว้ ) ...แท้ จริ งอัลลอฮฺ ได้ กาหนดให้ สามีจ่ายค่า
ครองชี พ เครื่ อ งนุ่ ง ห่ ม ที่ อ ยู่ อ าศัย ของเธอ เพื่ อ แลกกั บ การหา
ความสุขจากตัวเธอ และการปรนนิบตั ิของเธอ ตามจารี ตประเพณี
ของคูค่ รอง
และเช่นเดียวกัน นี ้ แท้ จริ ง ข้ อตกลงต่างๆ ที่ ศาสนาไม่ได้
กาหนดกรอบไว้ ก็ให้ เป็ นไปตามจารี ต ซึ่งโดยจารี ตแล้ วนัน้ ภรรยา
ต้ อ งปรนนิ บัติ ส ามี แ ละรั ก ษาผลประโยชน์ ภ ายในบ้ า น และไม่
ถูกต้ องที่ แยกระหว่างสตรี ที่มี ศกั ดิ์และที่ไม่มีเกียรติ ที่ยากจนและ
ร่ ารวย ดัง ตัวอย่างของสตรี ผ้ ูมี ต ระกูล ที่ สุด –หมายถึ ง ฟาฏิ ม ะฮฺ
บุตรี ของท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม –เธอได้ รับใช้
สามี ของเธอ และเธอได้ ร้องทุกข์ ต่อท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะ
ลัยฮิวะสัลลัม ในเรื่ องของการรับใช้ ท่านก็ไม่ได้ ตอบสนองของการ
ร้ องทุกข์ของเธอ” (อัล-ฮัดย์ อัน-นะบะวีย์ : 5/188-189)

คำถำม เมื่อภรรยารู้ สามีไม่ปรารถนาในตัวของเธอ โดยที่


เธอประสงค์จะอยูก่ บั เขาต่อไป เธอจะทาอย่างไร?
คำตอบ อัลลอฮฺตรัสว่า
َٓ َ َ َ ُ ََ ‫َأ َ ُُ ً َ أ‬ َ َ ََ ‫أ‬
‫اح َعل أي ِه َما أ ن ُي أصل َِحا‬‫وزا أ أو إِ ع َراضا فل جن‬ ‫ت مِن بعل ِها نش‬ ‫اف أ‬‫ِإَون ٱمرأ ة خ‬
ِ ﴿
‫أ‬ َ ُ ‫َأَُ َ ُ أ َ أ‬
]١٢٨ : ‫بينهما صلحا وٱلصلح خّي ﴾ [النساء‬
 141 

ความว่า “และหากภรรยากลัวว่าสามีของเธอจะปล่อยวางหรื อผิน


ห ลั ง ให้ ก็ ไม่ เป็ น บ าป ใด ๆ แก่ ทั ง้ สอง ใน การที่ ทั ง้ สองจะ
ประนีประนอมกัน และการประนี ประนอมนัน้ เป็ นสิ่งที่ดียิ่ง" (อัน -
สาอ์ : 128)

อิบนุกะษี รฺ ได้ กล่าวว่า หากภรรยากลัวว่าสามีจะหนีจาก


หรื อทอดทิ ้ง เธอมีสิทธิ์ ที่จะตัดสิทธิ์ ของเธอที่มีต่อสามีทงหมดหรื
ั้ อ
บางส่วน เช่น ค่าครองชีพ เสื ้อผ้ า การร่ วมหลับนอน หรื ออื่นๆ และ
ให้ สามีรับข้ อเสนอของเธอ และไม่เป็ นบาปอัน ใดแก่เธอที่จะสละ
ให้ แก่ เขา และไม่ เป็ นบาปอัน ใดที่ เขาจะตอบรั บ และด้ ว ยเหตุ
นี ้อัลลอฮฺได้ ตรัสว่า
َ ‫أ‬ ‫أ‬ َ ٓ َ َ َُ ََ
]١٢٨ : ‫اح َعل أي ِه َما أن يُ أصل َِحا بَ أي َن ُه َما ُصلحا َوٱلصل ُح خ أّي ﴾ [النساء‬‫﴿فل جن‬
ความว่า “ก็ไม่เป็ นบาปอันใดแก่ทงสองที
ั้ ่จะประนีประนอมระหว่าง
ทังสอง
้ และการประนีประนอมนันเป็ ้ นสิ่งที่ดียิ่ง” (อัน-นิสาอ์ : 128)
กล่ า วคื อ ดี ก ว่ า การแยกทาง...แท้ จริ ง ท่ า นหญิ ง เสาดะฮฺ บิ น ติ
ซัมอะฮฺ เมื่อเธอมีอายุมากขึ ้น และท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ
วะสัลลัม ตังใจจะแยกทางกั
้ บเธอ และเธอก็ได้ เจรจากับท่าน โดยให้
คงสภาพการเป็ นภรรยาไว้ และสละเวรของเธอแก่ ท่ า นหญิ ง
อาอิชะฮฺ ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ก็ตกลง และคง
เธอไว้ เหมือนเดิม (ตัฟซีรฺ อิบนุกะษีรฺ : 2/406)
 142 

คำถำม เมื่อภรรยาเกลียดชังสามี และไม่ต้องการที่จะเป็ น


ภรรยาอีกต่อไป เธอจะทาอย่างไร?
ตอบ อัลลอฮฺตรัสว่า
‫َ أ أ‬
:‫ِيما ٱف َت َدت ب ِهِۦ ﴾ [اْلقرة‬
َ َ َُ ََ
‫اح َعل أي ِه َما ف‬
َ َ ‫﴿ َفإ أن خ أِف ُت أم َأل يُق‬
‫ِيما ُح ُدود ٱّللِ فل جن‬ ِ
]٢٢٩
ความว่า “หากพวกเจ้ ากลัวว่าเขาทัง้ สองจะไม่สามารถดารงไว้ ซึ่ง
ขอบเขตของอัลลอฮฺ ก็ไม่เป็ นบาปอันใดแก่ทงสองในสิ ั้ ่งที่เธอนามา
ไถ่ตวั ” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ : 229)
อิบนุ กะษี รฺ กล่าวว่า “เมื่อสามีภรรยาเกิดความขัดแย้ งกัน
และภรรยาไม่ได้ ปฏิบตั ิหน้ าที่ตอ่ สามี และเธอมีความเกลียดชังสามี
และเธอไม่ ส ามารถที่ จ ะอยู่ร่ว มกัน ได้ แ ล้ ว เธอสามารถที่ จ ะเอา
สินสอดที่สามีเคยมอบให้ แก่เธอมาไถ่ตวั ได้ และไม่เป็ นบาปอันใด
แก่ เธอที่ จ ะจ่ าย และไม่ เป็ นบาปที่ เขาจะตอบรั บ ” (ตัฟ ซี รฺ อิ บ นุ
กะษีรฺ : 1/483) นี่คือการซื ้อหย่า

ค ำถำม เมื่ อเธอขอแยกทางกับ สามี โดยไม่มี อุป สรรคที่


ได้ รับการอนุโลม เธอจะได้ รับโทษอย่างไร?
คำตอบ มีรายงานจาก เษาบาน ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุ
อะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
َّ ْ
»‫اِئَة اْلَنة‬ ََْ َ َ َ ْ َ ْ ‫ت َز ْو َج َها َطالقًا يف َغ‬
ْ َ‫ام َرأَة َسأَل‬
ْ َ َُ
ِ ‫ري ما بَأس فح َرام عليها َر‬
ِ ِ ‫«أيما‬
 143 

ความว่า “ภรรยาคนใดก็ตามที่ขอให้ สามีหย่าเธอ โดยที่ไม่มีมลู เหตุ


แห่งปั ญหาใดๆ ดังนัน้ กลิ่นของสวรรค์ย่อมเป็ นที่ต้องห้ ามสาหรับ
เธอ” (บันทึกโดยอบู ดาวูด : 2226 และอัตติรมิซีย์ : 1187)

นัน่ ก็เพราะว่าการหย่าร้ าง เป็ นสิ่งอนุมตั ิที่อลั ลอฮฺเกลียดชัง


ยิ่ง และแท้ จริ งจะกระทาเช่นนันได้
้ ก็ตอ่ เมื่อมีความจาเป็ น หากไม่มี
ความจาเป็ นแล้ ว ก็ ย่อมเป็ นสิ่ งที่ น่ารังเกี ยจ เนื่ องจากสิ่ง เลวร้ าย
ต่างๆ ที่จะติดตามมา ซึ่งเป็ นที่ประจักษ์ ชดั และความจาเป็ นที่ทา
ให้ ภรรยาหันไปพึ่งพาการหย่าร้ างนัน้ คือการที่สามีไม่ปฏิบตั ิหน้ าที่
ของเขาที่ พึ ง มี ต่อ เธอ โดยเธอได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อน หากยัง อยู่
ร่วมกันอีกต่อไป อัลลอฮฺตรัสว่า
ُ ‫اك ب َم أع ُروف أ َ أو ت َ أۡس‬
‫يح بِإ ِ أح َ ى‬
]٢٢٩ :‫سن ﴾ [اْلقرة‬ ُ َ ‫َ أ‬
ِ ِ ‫﴿فإِمس‬
ความว่า “จากนัน้ จงยับยัง้ เธอไว้ โดยชอบธรรม หรื อปล่อยเธอไป
ด้ วยดี” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ : 229)

และอัลลอฮฺตรัสว่า
َُ َ َ َٓ َ ‫َأ‬ َ َ ٓ ّ َ ُ‫ّ َ أ‬
٢٢٦ ‫ٱّلل غفور رحِيم‬ ‫ِين يُؤلون مِن ن َِسائ ِ ِه أم ت َرب ُص أ أر َب َعةِ أش ُهر فإِن فا ُءو فإِن‬ ‫﴿ ل ِذل‬
َ َ َ َ
َ ‫ِإَون ع َز ُموا ٱلطل ى َق فإن‬ ‫أ‬
]٢٢٧ ،٢٢٦ :‫ ﴾ [اْلقرة‬٢٢٧ ‫ٱّلل َس ِميع عل ِيم‬ ِ
ความว่า “ส าหรั บ ผู้ที่ ส าบานว่า พวกเขาจะไม่ มี เพศสัม พัน ธ์ กับ
ภรรยานัน้ ให้ มีการรอคอยสี่เดือน ถ้ าหากพวกเขากลับมาคืนดี (ใน
เวลาดังกล่าว) แน่นอนอัลลอฮฺเป็ นผู้ทรงอภัยโทษ ทรงเมตตาเสมอ
 144 

และถ้ าหากพวกเขาตัดสินใจหย่า แท้ จริ งอัลลอฮฺทรงได้ ยิน ทรงรอบ


รู้” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ : 226-227)

สิ่งที่สตรีต้องปฏิบัตเิ มื่อสิน้ สภำพจำกกำรเป็ นภรรยำ


การแยกทางระหว่ า งสามี กั บ ภรรยานั น้ มี 2 ประเภท
ด้ วยกัน
หนึ่ง การแยกทางกันในขณะที่ยงั มีชีวิตอยู่
สอง การแยกทางกัน ด้ ว ยการตาย ในทัง้ สองประเภทนี ้
จาเป็ นที่ภรรยาจะต้ องอยูใ่ นอิดดะฮฺ
อิดดะฮฺ คือ ระยะเวลาการรอคอยตามศาสนบัญญัติโดยมี
วัตถุประสงค์ คือ เพื่อให้ เธอเป็ นที่ต้องห้ ามมิให้ แต่งงาน จนกว่าการ
แต่งงานเดิม จะจบสิน้ อย่างสมบูรณ์ และทาให้ มดลูกสะอาดจาก
การตัง้ ครรภ์ เพื่ อ มิ ให้ ช ายอื่ น ซึ่ง มิ ใช่ส ามี ที่ แ ยกทางกับ เธอมามี
เพศสัม พันธ์ เพราะเป็ นเหตุให้ เกิดความคลุมเครื อ และสับสนใน
การสืบตระกูล และในการกระทาดังกล่าวนันเป็ ้ นการรักษาสิทธิ์ของ
การแต่งงานที่ผ่านมา และรั กษาสิทธิ์ ของสามี ที่แยกทาง (เพื่อให้
สิทธิ์ ในการคืนดี ) และเพื่ อให้ ประจักษ์ ถึงผลกระทบจากการแยก
ทางกับสามี

อิดดะฮฺมี 4 ประเภท
 145 

ประเภทที่ ห นึ่ ง สตรี ที่ ตงั ้ ครรภ์ อิ ด ดะฮฺ ข องนางคื อ การ


คลอด ไม่ว่าในกรณีใดๆ จะเป็ นการหย่าที่มีสิทธิ์คืนดีหรื อไม่มีสิทธิ์
คืนดีก็ตาม หรื อแยกทางกันโดยการเสียชีวิตของสามี อัลลอฮฺตรัส
ว่า
َ ‫َ َأ‬ َ ‫َأ‬ َ َ ُ َ َ‫َُ َ ُ أَ أ‬
‫ّلل َي َعل َُلۥ م أِن أ أم ِره ِۦ‬ ‫ال أ َجل ُهن أ ن َيض أع َن ۡحل ُهن َو َمن َيت ِق ٱ‬
ِ ‫﴿ وأ و ىلت ٱۡل ۡح‬
]٤ : ‫ ﴾ [الطالق‬٤ ‫ي ُ أۡسا‬
ความว่า “และบรรดาสตรี ที่ตงครรภ์
ั้ นนั ้ กาหนดเวลาของพวกเธอ
คือการคลอด” (อัฏ-เฏาะลาก : 4)

ป ระเภ ท ที่ ส อ ง ส ตรี ที่ ถู ก ห ย่ า ซึ่ ง ยั ง เป็ น ผู้ ที่ ยั ง มี


ประจาเดือน อิดดะฮฺของนางคือ ต้ องให้ ผา่ นประจาเดือน 3 ครัง้ ดัง
ที่อลั ลอฮฺตรัสว่า
ُ ََ ََ ُ َ ُ ‫﴿ َوٱل أ ُم َطل َقى‬
َ َ ‫ت َي‬
]٢٢٨ :‫ُّتب أص َن بِأنفسِ ِهن ثلىثة ق ُر ٓوء ن ﴾ [اْلقرة‬
ความว่า “และบรรดาสตรี ที่ถกู หย่านัน้ พวกเธอจะรอคอยสามกุรูอ์
สาหรับตัวของพวกเธอ” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ : 228) คาว่า “3 กุรูอ์”
หมายถึง ประจาเดือนมา 3 ครัง้

ประเภทที่สำม สตรี ที่ไม่มีประจาเดือน ซึง่ มีอยู่ 2 ประเภท


ได้ แก่ ผู้เยาว์ ที่ ยังไม่มี ป ระจ าเดือน และสตรี ที่ มี อายุม ากซึ่งหมด
ประจาเดือนแล้ ว
อัล ลอฮฺ ไ ด้ แ จกแจงอิ ด ดะฮฺ ข องทัง้ สองประเภทนี ้ ด้ ว ย
โองการที่วา่
 146 

‫َََُ َ أ‬ ُ َ َ ُ ٓ ّ ‫أ‬
‫يض مِ ن ن َِسا ِئك أم ِإ ِن ٱ أر ت أب ُت أم فعِد ت ُهن ثل ىثة أش ُهر‬ِ ‫ح‬
‫أ‬
ِ ‫﴿ َوٱ َٰٓلـِي َيئِس َن مِ َن ٱل َم‬
‫َ َٰٓ َ َ أ‬
]٤ : ‫ٱل ِـي ل أم َيِض َن ﴾ [الطالق‬ ‫و‬
ความว่ า “และบรรดาภรรยาของพวกเจ้ าที่ ห มดหวัง ในการมี
ประจาเดือนแล้ ว และบรรดาผู้ที่ยังไม่มีประจาเดือน หากพวกเจ้ า
สงสัยอิดดะฮฺของพวกเธอ อิดดะฮฺของพวกนางคือสามเดือน” (อัฏ-
เฏาะลาก : 4)

ประเภทที่ ส่ ี สตรี ที่ ส ามี เสี ย ชี วิ ต อัล ลอฮฺ ได้ แจกแจงถึ ง


อิดดะฮฺของพวกเธอ ด้ วยโองการที่วา่
‫أ‬ ‫َ َ َأ‬ ُ َ َ َ ‫ون أ َ أز َوىجا َي‬
َ ُ َََ ‫ُ أ‬ َ
‫ُّتب أص َن بِأنفسِ ِهن أ أر َب َعة أش ُهر َو َعشا‬ ‫ِين ُي َت َوف أون مِنكم ويذر‬
َ ‫﴿ َوٱَّل‬

]٢٣٤ :‫﴾ [اْلقرة‬


ความว่า “และบรรดาผู้ที่ตายไปจากพวกเจ้ า และได้ ทิ ้งเหล่าภรรยา
ไว้ พวกเธอจะรอคอยด้ วยตัวของพวกเธอเป็ นเวลาสี่เดือนกับสิบ
วัน” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ : 234)

อิ ด ดะฮฺ ส าหรั บ ภรรยาที่ ส ามี เ สี ย ชี วิ ต (สี่ เดื อ นสิ บ วัน )


ครอบคลุมถึงสตรี ที่ได้ มีเพศสัมพันธ์ กับเธอแล้ วหรื อไม่ก็ตาม เป็ น
ผู้เยาว์หรื อมี อายุมาก แต่ไม่ครอบคลุมถึงสตรี ที่ตงครรภ์ ั้ เนื่ องจาก
อิด ดะฮฺ ของเธอคือการคลอด (อัล -ฮัดย์ อัน -นะบะวี ย์ ของอิบนุล
ก็อยยิม : 5/594-595)

ข้ อห้ ำมสำหรับสตรี ท่ ีอยู่ในอิดดะฮฺ


 147 

1. กำรสู่ขอเพื่อแต่ งงำน
1.1 สตรี ท่ ีอยู่ในอิดดะฮซึ่งมี สิทธิ์คืนดีได้ (คือการหย่า
หนึ่งหรื อสองครัง้ สาหรับภรรยาที่ได้ มีเพศสัมพันธ์กนั แล้ ว) ห้ ามมิให้
สู่ ข อเพื่ อ แต่ ง งานโดยส านวนชั ด ถ้ อยชั ด ค าหรื อ ค าที่ เป็ นนั ย
เนื่องจากเธอยังคงเป็ นภรรยา ดังนัน้ จึงไม่อนุญาตแก่คนใดที่จะสู่
ขอเธอเพื่อแต่งงาน เพราะเธอยังอยูใ่ นการครอบครองของสามี
1.2 สตรี ท่ ีอยู่ในอิดดะฮฺซ่ ึงไม่ มีสิทธิ์คืนดี (เช่ นหย่ ำ 3
ครัง้ หรือเสียชีวิต)
ห้ ามมิให้ ส่ขู อโดยสานวนที่ชดั เจน แต่อนุญาตให้ ใช้ สานวน
ที่เป็ นนัย เนื่องจากอัลลอฮฺตรัสว่า
ٓ ّ ‫أ‬ ُ ‫ََ ُ َ َ َ َأ‬
]٢٣٥ :‫ِيما َعرض ُتم بِهِۦ م أِن خ أِط َبةِ ٱلن َِساءِ﴾ [اْلقرة‬
َ ‫ك أم ف‬ ‫﴿ ول جناح علي‬
ความว่ า “และไม่ มี บ าปใดอัน แก่ พ วกเจ้ า ในการสู่ข อหญิ ง ด้ ว ย
ถ้ อยคาที่เป็ นนัย(สาหรับหญิงที่อยู่ในอิดดะฮฺที่สามีเสียชีวิต หรื ออิด
ดะฮฺที่สามีหย่า 3 ครัง้ )” (อัล-บะเกาะเราะฮฺ : 235)
และสานวนที่ชดั เจน คือการแสดงเจตจานงในการแต่งงาน
กับเธอ เช่นคาว่า “ฉันต้ องการจะแต่งงานกับเธอ” เพราะบางทีเธอ
อาจจะบอกว่าหมดอิด ดะฮฺแล้ ว ทัง้ ที่ ในความเป็ นจริ งยังไม่หมด
เพราะเธอต้ องการแต่งงาน ซึ่งต่างกับสานวนที่เป็ นนัย เนื่องจาก
ไม่ได้ บอกอย่างชัดเจนว่าจะแต่งงานกับเธอ ดังนัน้ สิ่งที่เป็ นข้ อห้ าม
ก็จ ะไม่ตามมา และเนื่ องจากตามความเข้ า ใจจากโองการนี ้ (ใน
โองการนี อ้ นุญ าตให้ ใช้ ส านวนที่ เป็ นนัย ดัง นัน้ เข้ าใจได้ ว่าห้ า ม
สานวนที่ชดั เจน)
 148 

ตั ว อย่ า งของส านวนที่ เ ป็ นนั ย เช่ น ค าว่ า “แท้ จริ ง ฉั น


ปรารถนาผู้ที่ มี ลักษณะเหมื อนเธอ” และอนุญ าตให้ สตรี ที่ อยู่ใน
อิดดะฮฺซึ่งไม่มีสิทธิ์คืนดีตอบรับการสู่ขอที่เป็ นนัยด้ วยสานวนที่เป็ น
นัย และไม่อนุญาตให้ เธอตอบรับ การขอที่ชดั เจน และสตรี ที่อยู่ใน
อิดดะฮฺ ซึ่งคืนดีได้ นัน้ ไม่อนุญ าตให้ ตอบรับการสู่ขอ ไม่ว่าจะเป็ น
สานวนที่ชดั เจนหรื อสานวนที่เป็ นนัยก็ตามที

2. ไม่ อนุ ญ ำตแต่ งงำนสตรี ท่ ี อ ยู่ในอิดดะฮฺให้ แก่ ช ำย


อื่นที่ไม่ ใช่ สำมีคนเดิม
อัลลอฮฺตรัสว่า
َ َ ُ َ ‫َ َأَُ أ‬ َ
]٢٣٥ :‫ب أ َجل ُهۥ﴾ [اْلقرة‬ ‫﴿ َول َت أع ِز ُموا ُع أق َدةَ ٱنلّ ََِك ِح ح ى‬
‫ّت يبلغ ٱلكِتى‬
ความว่า “และพวกเจ้ าอย่าได้ ตดั สินใจจัดการแต่งงาน จนกว่าจะ
บรรลุเวลาที่ถกู กาหนดไว้ (คือหมดเวลาของอิดดะฮฺ) ” (อัล-บะเกาะ
เราะฮฺ : 235)
อิบนุ กะษี รฺ เราะหิม ะฮุล ลอฮฺ กล่าวในตัฟ ซี รฺ (1/509) ว่า
“หมายถึงพวกเจ้ าอย่าได้ จัดการแต่งงาน จนกว่าอิดดะฮฺจ ะหมด
เสี ยก่อน แท้ จริ งปวงปราชญ์ มี ม ติเป็ นเอกฉันท์ ว่า การแต่งงานใน
ช่วงเวลาของอิดดะฮฺนนใช้ ั ้ ไม่ได้ ”

เกร็ดควำมรู้ 2 ประกำร
 149 

หนึ่ง สตรี ที่ถูกหย่าก่อนที่จะมี เพศสัมพันธ์ จะไม่มีอิดดะฮฺ


ใดๆ สาหรับเธอ
อัลลอฮฺตรัสว่า
َ َ ُ ‫أ‬ ُ ‫َ َ َ ُ ٓ َ َ َ أ ُ ُ أ ُ أ َى‬ َ َ
‫ت ثم َطلق ُت ُموهن مِ ن ق أب ِل أن‬
ِ ‫﴿ َٰٓيأ ي َها ٱ َِّل ين ء ا منوا ِإ ذ ا نكحتم ٱلمؤ مِ ن‬
َ َ َ ُ َ َ ُ َ
]٤٩ : ‫ت َمسوهن ف َما لك أم َعل أي ِهن م أِن عِدة ت أع َتدون َها ﴾ [األحزاب‬
ความว่า “โอ้ บ รรดาผู้ศ รั ท ธาทัง้ หลาย เมื่ อ พวกเจ้ า ได้ สมรสกับ
บรรดาหญิ ง ผู้ ศรั ท ธา ต่อ มาพวกเจ้ า ได้ ห ย่า พวกเธอก่ อ นที่ จ ะมี
เพศสัมพันธ์กับพวกเธอ ดังนันจะไม่ ้ มีสิทธิ์สาหรับพวกเจ้ าที่จะนับ
อิดดะฮฺใดๆ ต่อพวกเธอ” (อัล-อะห์ซาบ : 49)
อิบนุ กะษี รฺ เราะหิม ะฮุล ลอฮฺ กล่าวในตัฟ ซี รฺ (5/479) ว่า
“นี่เป็ นสิ่งที่ปวงปราชญ์ มีความเห็นพ้ องกันว่า แท้ จริ งสตรี ที่ถกู หย่า
ก่ อ นที่ จ ะมี เ พศสัม พั น ธ์ นัน้ ก็ ไ ม่ มี อิ ด ดะฮฺ ใ ดๆ ต่อ เธอ เธอจะไป
แต่งงานได้ ทนั ทีกบั ใครก็ได้ ตามที่เธอประสงค์"

สอง สตรี ที่ ถูก หย่า ก่ อ นที่ จ ะมี เพศสัม พัน ธ์ แต่ ไ ด้ มี ก าร
กาหนดสินสมรสหรื อมะฮัรฺแก่เธอแล้ วเธอมีสิทธิ์ได้ รับครึ่งหนึ่ง และ
สตรี ใดที่ไม่ได้ มีการกาหนดสินสมรสให้ แก่เธอ เธอมีสิทธิ์ ได้ รับของ
ปลอบใจ ด้ วยสิ่ งที่ ส ามี หาได้ อย่างสะดวก เช่น เครื่ องนุ่งห่ม และ
อื่นๆ
และสตรี ที่ถูกหย่าหลังจากมี เพศสัม พัน ธ์ แล้ ว เธอมี สิ ท ธิ์
ได้ รับสินสมรสทังหมด
้ อัลลอฮฺตรัสว่า
 150 

َ َ َ ُ ‫ُ َ َأ‬ َ َ ٓ ّ ‫أ‬ ُ َ َ َ ُ
‫اح َعل أيك أم إِ ن َطلق ُت ُم ٱلن َِسا َء َما ل أم ت َمسوهن أ أو تف ِرضوا ل ُهن ف ِر يضة‬ ‫﴿ ل جن‬
َ َ ًّ َ ‫أ‬ َ َ ‫ُأ‬ ‫أ‬ َ َ َ ُُ َ َ ‫أ‬ َ َ ُ ُّ َ َ
‫ُّت ق َد ُر ُه ۥ َمتى َعا بِٱل َم أع ُر و ِف حقا َع‬ ُ
ِ ِ ‫ومت ِعوهن َع ٱلموسِعِ قد ره ۥ و َع ٱلمق‬
َ َ َ ‫َ َ أ‬ ُ َ َ َ ُ ‫أ‬ َ ‫ٱلأ ُم أحسِ ن‬
‫ ِإَون َطلق ُت ُموهن مِن ق أب ِل أ ن ت َمسوهن َوق أد ف َرض ُت أم ل ُهن فرِ يضة‬٢٣٦ ‫ِي‬
‫َ أ‬ ُ َ
]٢٣٧-٢٣٦ :‫فن أِصف َما ف َرض ُت أم﴾ [اْلقرة‬
ความว่า “ไม่มีบาปอันใดสาหรับพวกเจ้ า หากพวกเจ้ าได้ หย่าสตรี
ตราบใดที่ ยัง ไม่ มี เ พศสัม พั น ธ์ กั บ พวกเธอ หรื อ ยัง มิ ไ ด้ ก าหนด
สินสมรสให้ แก่พวกเธอ และพวกเจ้ าจงมอบสิ่งปลอบใจให้ แก่พวก
เธอ ใครที่ มั่งมี ก็ให้ ตามความสามารถของเขา และผู้ยากจนก็ ให้
ตามความสามารถของเขา เป็ นการมอบให้ โดยชอบธรรม เป็ น
หน้ าที่ของคนมีคณ ุ ธรรมทังหลาย
้ และหากพวกเจ้ าได้ หย่าก่อนที่จะ
มีเพศสัมพันธ์กับพวกเธอ ในขณะที่พวกเจ้ าได้ กาหนดสินสมรสแก่
พวกเธอแล้ ว ดังนัน้ จงจ่ายครึ่ ง หนึ่ง ของสิ่ ง ที่ พ วกเจ้ าได้ กาหนด”
(อัล-บะเกาะเราะฮฺ : 236-237)
หมายความว่าไม่มีบาปอันใดสาหรับพวกเจ้ าในการหย่า
ภรรยาก่อนที่จะมี เพศสัมพันธ์ และก่อนกาหนดสินสมรส ถึงแม้ ใน
การกระทาดังกล่าวเป็ นการสร้ างความเจ็บปวดแก่เธอก็ตาม แท้ จริ ง
แล้ ว ควรจะทดแทนด้ วยสิ่ งปลอบใจ และนั่น ก็ คือตามสภาพของ
สามี ขัดสนหรื อมัง่ มี ก็ให้ ปฏิบตั ิกันตามจารี ต หลังจากนัน้ อัลลอฮฺ
ได้ กล่ า วถึ ง ภรรยาที่ มี ก ารก าหนดสิ น สมรสแก่ เธอแล้ ว โดยที่
พระองค์ทรงสัง่ ใช้ ให้ สามีมอบครึ่งหนึง่ ของสินสมรสให้ แก่เธอ
 151 

อิบนุ กะษี รฺ เราะหิมะฮุลลอฮฺ กล่าวในตัฟ ซีรฺ (1/512 ) ว่า


“การแบ่งสินสมรสออกเป็ นสองส่วน -ในกรณีเช่นนี ้- เป็ นเรื่ องที่ปวง
ปราชญ์เห็นพ้ องกันโดยไม่มีการขัดแย้ งอันใด”

3. ห้ ำสิ่งต้ องห้ ำมสำหรั บสตรี ซ่ ึงอยู่ในอิดดะฮฺจำกกำร


ตำยของสำมีซ่ งึ เรียกว่ ำ “อัล-หิดำด” (กำรไว้ ทุกข์ )
หนึ่ง เครื่ องหอมทุกชนิด (สาหรับการแต่งตัว ไม่ใช่เครื่ อง
หอมเพื่ อ ท าความสะอาด) ดัง นัน้ เธอจะไม่ ใ ช้ เครื่ อ งหอมตาม
ร่างกาย เสื ้อผ้ า และเธอจะไม่ใช้ สิ่งที่ ถูกทาให้ หอม เนื่องจากท่าน
เราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
َ َ
»‫« َول ت َم ُس ِطيبًا‬
ความว่า “และเธอจะไม่แตะต้ องนา้ หอม” (บันทึกโดยอบู ดาวูด :
2299)
สอง กำรประดับ ประดำตำมเรื อนร่ ำงของเธอ ดังนัน้
ห้ ามมิให้ เธอย้ อมด้ วยใบเทียน และการตกแต่งทุกประเภท เช่น การ
ทาขอบตา การย้ อมสี ของผิ วหนัง นอกจากภาวะความจ าเป็ นที่
จะต้ องทาขอบตาเพื่อการรักษาเยียวยาเท่านัน้ มิใช่เพื่อการตกแต่ง
เธอสามารถที่ จ ะทาขอบตาได้ ในเวลาค่าคืนและลบออกในเวลา
กลางวัน และไม่เป็ นไรที่เธอจะรักษาตาของเธอด้ วยสิ่งอื่ น ซึ่งไม่ใช่
ยาทาขอบตาจากสิ่งที่ไม่ใช่เครื่ องประดับ
สำม กำรประดับประดำด้ วยเสือ้ ผ้ ำชนิดต่ ำงๆ จากสิ่ง
ที่ถกู ทาขึ ้นมาเพื่อการตกแต่ง และเธอจะใส่เสื ้อผ้ าตามที่สวมใส่กัน
 152 

ตามปกติ ไม่ มี ก ารตกแต่ง ใดๆ และไม่ ก ารเจาะจงสี ใดเป็ นการ


เฉพาะ
สี่ กำรสวมใส่ เครื่องประดับทุกชนิด แม้ กระทัง่ แหวน
ห้ ำ อำศั ยบ้ ำ นหลั งอื่ น จำกบ้ ำ นที่ เธออำศั ย อยู่ ข ณะ
สำมีเสียชีวิต และเธอจะไม่ย้ายไปอยู่ที่อื่น นอกจากจะมีข้อผ่อน
ปรนตามศาสนบัญญัติเท่านัน้ ไม่ออกไปเยี่ยมคนป่ วย เยี่ยมเยียน
เพื่อน หรื อญาติใกล้ ชิด และอนุญาตให้ เธอออกไปในเวลากลางวัน
เพื่อทาธุระต่างๆ ที่จาเป็ นได้ และสิ่งอื่นๆ ที่ศาสนาอนุมตั ิก็สามารถ
ทาได้
อิบ นุล ก็ อ ยยิ ม เราะหิ ม ะฮุล ลอฮฺ กล่าวว่า “เธอจะไม่ ถูก
ห้ ามจากการตัดเล็บ ขจัดขนรักแร้ โกนขนที่ ศาสนาส่งเสริ มให้ โกน
และไม่ถกู ห้ ามจากการอาบน ้าด้ วยน ้าใบพุทราและหวีผมด้ วยน ้าใบ
พุทรา" (อัล-ฮัดย์ อัน-นะบะวีย์ : 5/507)
ชัยคุล อิส ลาม อิบนุ ตัยมี ยะฮฺ เราะหิม ะฮุลลอฮฺ กล่าวว่า
“และอนุญาตให้ เธอรับประทานทุกสิ่งทุกอย่างที่อลั ลอฮฺอนุมตั ิ เช่น
ผลไม้ เนื ้อ และเช่นเดียวกันอนุญาตให้ ดื่ม ทุกสิ่งที่อนุมตั ิ... และไม่
เป็ นที่ต้องห้ ามแก่เธอในการกระทางานหนึ่งงานใดจากการงานที่
อนุมัติ เช่น การปั กถักร้ อย การตัดเย็บ การทอ และอื่น ๆ จากงาน
ทั่วไปของสตรี และอนุญ าตให้ เธอกระทาสิ่ ง อื่ นๆ ที่ อนุมัติแก่เธอ
ในช่ ว งที่ ไ ม่ มี อิ ด ดะฮฺ เช่น การพูด กับ ผู้ช ายที่ เธอมี ค วามจ าเป็ น
จะต้ อ งพู ด กับ เขา โดยเธออยู่ ในสภาพที่ ป กปิ ดมิ ด ชิ ด และการ
 153 

กระทาอื่นๆ และสิ่งที่ฉันได้ กล่าวถึง นี ้ คือแนวทางของท่านเราะสูล


ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ซึ่งเหล่าภริ ยาของบรรดาเศาะหาบะฮฺ
ได้ ป ฏิ บัติ กั น เมื่ อ เหล่ า สามี ข องพวกเธอได้ เสี ย ชี วิ ต ” (มัจ ญ์ มู อฺ
ฟะตาวา : 34/27-28)
ส่วนสิ่งที่ชาวบ้ านทัว่ ๆ ไปกล่าวว่า แท้ จริงเธอจะต้ องปกปิ ด
ใบหน้ าไม่ให้ ดวงจันทร์ ได้ เห็น โดยการไม่ขึ ้นไปบนดาดฟ้า ไม่ให้ พดู
กับผู้ชาย ปิ ดหน้ าไม่ให้ มะห์ร็อมของเธอได้ เห็น และอื่น ๆ ทัง้ หมด
นันไม่
้ มีหลักฐานรับรองแต่ประการใด วัลลอฮุอะอฺลมั
 154 

บทที่ 10
ว่ ำด้ วยกำรรักษำเกียรติและควำม
บริสุทธิ์ของสตรี

1. สตรี ต้องลดสำยตำและรั กษำอวัยวะเพศเช่ นเดียวกับผู้ชำย


อัลลอฮฺ ตรัสว่า
َ َ ‫ِي َي ُغضوا م أِن َأ أب َصىره أِم َو َي أح َف ُظوا ُف ُر‬
‫وج ُه أم َذىل َِك أ أز َ ى‬
َ ‫ك ل َ ُه أم إ ن‬
‫ٱّلل‬ ِ
َ ‫﴿ ُقل ّل أِل ُم أؤ ِمن‬
ِ
‫َأ‬ َ َ ‫أ ُ أ‬ َ ‫ُ ّ أ أ‬ َ َ ‫أ‬ ُ ‫َخب‬
‫ت َيغضض َن ِم أن أ أبصىرِ هِ ن َو َي أحفظ َن‬ ِ ‫ َو قل لِل ُمؤ مِ نى‬٣٠ ‫ّي ِب َما َيصن ُعو ن‬ ِ
]٣١-٣٠ : ‫وج ُهن﴾ [انلور‬ َ ‫فُ ُر‬

ความว่า “จงกล่าวแก่บ รรดาผู้ศรัท ธาชายเถิ ด ให้ ลดสายตาของ


พวกเขาและรักษาอวัยวะเพศของพวกเขา นัน่ เป็ นความบริ สุทธิ์ ยิ่ง
สาหรับพวกเขา แท้ จริงอัลลอฮฺทรงรอบรู้ในสิ่งที่พวกเขากระทา และ
จงกล่าวแก่บรรดาผู้ศรัทธาหญิง เถิด ให้ พวกเธอลดสายตาของพวก
เธอ และรักษาอวัยวะเพศของพวกเธอ” (อัน-นูรฺ : 30-31)
ชัยค์ มุหัม มัด อัล -อะมี น อัช -ชัน กี ฏี ย์ ได้ กล่าวไว้ ในตัฟ ซี รฺ
ของท่าน (อัฎ วาอ์ อัล -บะยาน : 6/186-187) ว่า “อัลลอฮฺ ได้ สั่ง ใช้
บรรดาผู้ศรัทธาทังชายและหญิ
้ ง ให้ ลดสายตาและรักษาอวัยวะเพศ
สิ่งที่จดั อยูใ่ นการรักษาอวัยวะเพศด้ วยก็คือการรักษาให้ พ้นจากการ
 155 

ผิดประเวณี การมีเพศสัมพันธ์ ระหว่างผู้ชายกับผู้ชายด้ วยกัน หรื อ


ผู้หญิงกับผู้หญิ ง และรักษาให้ พ้นจากการนามาแสดงและเปิ ดเผย
แก่ผ้ ูคน...และอัลลอฮฺ ได้ สญ
ั ญาแก่ผ้ ูชายและผู้หญิ งที่ ปฏิบตั ิตาม
บัญชาของพระองค์ในโองการนี ้ ว่าจะได้ รับการอภัยโทษ และการ
ตอบแทนรางวัล อัน ใหญ่ ห ลวง เมื่ อ เขาได้ ล ดสายตาและรั ก ษา
อวัยวะเพศพร้ อมกับกระทาสิ่งต่างๆ ที่ได้ กล่าวไว้ ในโองการนี ้
َ َ ‫َ َ أ ُ أ َ ى َ أ ُ أ مِ َ َ أ ُ أ مِ َ ى َ أ َ ى َ أ‬ ‫أ‬
‫ت‬ ِ ‫ِي َوٱ لقىن ِتى‬ ‫ت وٱ لقنِت‬ ِ ‫ت وٱلمؤ ن ِي وٱلمؤ ن‬ ِ ‫﴿ ِإ ن ٱل ُم أسل ِ ِمي وٱلمسل ِم‬
َ َ ‫َ أ‬ َ ‫أ‬ َ َ ِ‫َوٱ لص ى ِد ق‬
‫ت‬ ِ ‫ي َوٱ لخىشِ عى‬ ِ‫ين َوٱ لصىب ِ َر ى ِت َوٱ لخىشِ ع‬ َ ‫ت َوٱ لصىِب‬
ِِ ِ ‫ي َوٱ لص ى ِد ىق‬
ُ َ ‫َٰٓ َ ى َ أ َ ى‬ َ ّ َ ‫َ أَُ َ ّ َ أ‬
‫ي ف ُر و َج ُه أم‬ ِ‫ت وٱ لحفِظ‬ ِ ‫ي َوٱ لصئِم‬ َ ‫لصئم‬
ِ ِ َٰٓ ‫ت َوٱ‬ ِ ‫ي َوٱل ُمت َص ِد ىق‬ ِ‫وٱلمتص ِد ق‬
َ ‫أ‬ َ َ َ َ َ ‫أ‬
‫ٱّلل ل ُهم مغف َِرة َوأ أج ًرا َعظِيما‬ ُ ‫ٱّلل كث ِّيا َوٱلذ ىك َِر ى ِت أ َعد‬َ ‫ين‬ َ ‫ت َوٱلذ ىكِر‬
ِ ِ ‫َوٱلحىفِظى‬
]٣٥ : ‫ ﴾ [األحزاب‬٣٥
ความว่ า “แท้ จริ ง บรรดาชายและหญิ ง มุ ส ลิ ม ที่ ส วามิ ภั ก ดิ์ ต่ อ
อัลลอฮฺ บรรดามุอ์มินผู้ศรัทธาชายและหญิง บรรดาผู้เชื่อฟั งอัลลอฮฺ
ชายและหญิง บรรดาผู้สจั จะชายและหญิง บรรดาผู้อดทนชายและ
หญิง บรรดาผู้ยาเกรงทังชายและหญิ
้ ง บรรดาผู้ทาทานทังชายและ

หญิง บรรดาผู้ถือศีลอดชายและหญิง บรรดาชายและหญิงที่รักษา
อวัย วะเพศของพวกเขา และบรรดาชายและหญิ งที่ ราลึก ถึ ง อัล
ลอฮฺอย่างมากมาย อัลลอฮฺนนได้ ั ้ ทรงจัดเตรี ยมไว้ ให้ แก่พวกเขา ซึ่ง
การอภัยโทษ และผลตอบแทนอันยิ่งใหญ่” (อัล-อะห์ซาบ : 35)
คากล่าวของชัยค์ที่ว่า “ผู้หญิ งกับผู้หญิ ง” หมายถึง การมี
เพศสัม พัน ธ์ ข องผู้ห ญิ ง กับ ผู้ห ญิ ง ด้ ว ยการถูไถ และนั่น เป็ นการ
 156 

กระท าที่ เป็ นบาปใหญ่ สมควรที่ ผ้ ูก ระท าทัง้ สองต้ อ งได้ รั บ การ
ลงโทษเพื่อเป็ นการอบรมสัง่ สอน
อิบนุ กุดามะฮฺ เราะหิมะฮุลลอฮฺ กล่าวว่า “เมื่อผู้หญิงสอง
คนท าการถู ไ ถกั น เธอทั ง้ สองก็ ผิ ด ประเวณี ซึ่ ง จะถู ก สาปแช่ ง
เนื่ อ งจากมี ก ารรายงานจากท่ า นเราะสู ล ศ็ อ ลลัล ลอฮุอ ะลัย ฮิ
วะสัลลัม กล่าวว่า
»‫ان‬ََ َ َ َ ََْ َْ َْ َْ ْ ََ َ
ِ ‫ فهما زانِيت‬، ‫«إذا أتت المرأة المرأة‬
ความว่า “เมื่อผู้หญิ งสมสู่กับผู้หญิ งด้ วยกัน เธอทัง้ สองก็เป็ นผู้ผิด
ประเวณี ” ทัง้ สองจะต้ องถูก ตะอฺ ซี รฺ(โทษตามการพิ จ ารณาของผู้
พิพ ากษา) เนื่องจากเป็ นการผิ ดประเวณี ที่ไม่ มี โทษถูกกาหนดไว้
เป็ นการเฉพาะ” (อิบนุ กุดามะฮฺ : 8/198)
จงหลี ก เลี่ ย งการกระท าที่ น่ ารั ง เกี ย จเช่น นี เ้ ถิ ด โอ้ สตรี ผ้ ู
ศรัทธา โดยเฉพาะอย่างยิ่งบรรดาหญิงสาว
ส่วนการลดสายตานัน้ อิบ นุล ก็ อยยิม เราะหิ ม ะฮุล ลอฮฺ
กล่าวว่า “การจ้ องมองนัน้ จะเป็ นปั จจัยนาไปสู่ความใคร่ การยับยัง้
สายตาจากการมองเป็ นแก่นของการรักษาอวัยวะเพศ ดังนัน้ ผู้ใด
ปล่อยสายตาของเขา เขาย่อมนาตัวของเขาเองสู่ความหายนะ และ
แท้ จริ ง ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวว่า “โอ้
อะลีย์ เอ๋ย ท่านอย่าได้ มองซ ้า เพราะแท้ จริ งแล้ ว สิทธิของท่านคือ
การมองครัง้ ที่หนึ่งเท่านัน”
้ ซึง่ หมายถึง การมองอย่างกะทันหันโดย
ไม่ตงใจ
ั ้ และในอัล -มุสนัดของอะห์ มัด ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุ
 157 

อะลัย ฮิ วะสัล ลัม กล่าวว่า “การมองเป็ นลูก ศรหนึ่งซึ่ง อาบยาพิ ษ


จากบรรดาลูกศรของอิบลี ส...” และการมองนันเป็ ้ นที่มาของความ
วิ บัติ ต่ า งๆ ที่ ป ระสบกั บ ผู้ คน เพราะการมองจะท าให้ เกิ ด การ
จินตนาการ การจินตนาการจะทาให้ เกิดความคิด จากนันความคิ ้ ด
ทาให้ เกิดความใคร่ ความใคร่ จะทาให้ เกิดความต้ องการ หลังจาก
นันมั
้ นจะกลายเป็ นความตังใจที ้ ่ ม่งุ มัน่ แล้ วจะเกิดการกระทาอย่าง
แน่นอน ตราบใดที่ไม่มีสิ่งหักห้ าม และด้ วยเหตุนี ้ จึงมีสุภาษิ ตว่า
การอดทนในการลดสายตานัน้ ง่ายกว่าการอดทนในความเจ็บปวด
ของสิ่งที่จะตามมา” (อัล-ญะวาบ อัล-กาฟี ย์ : 129-130)
ดังนัน้ โอ้ สตรี ผ้ ศู รัทธาเอ๋ย จาเป็ นที่เธอจะต้ องลดสายตาไม่
ไปมองผู้ชาย ไม่มองรู ป ภาพต่างๆ ที่นาพาสู่ความวิบัติซึ่งมีอยู่ ใน
วารสารบางฉบับ ตามจอโทรทัศน์ หรื อวีดีโอ -แล้ วเธอจะปลอดภัย
จากบัน้ ปลายที่ ชั่วช้ า มากต่อมากแล้ วที่ ก ารมองได้ น าพาความ
โศกเศร้ ามาให้ ผ้ มู อง และไฟกองใหญ่นนมั ั ้ กเริ่มมาจากสะเก็ดไฟ

2. กำรออกห่ ำงจำกกำรฟั งเพลงและดนตรี


อิบนุลก็ อยยิม เราะหิม ะฮุลลอฮฺ กล่าวว่า “และส่วนหนึ่ง
จากเล่ห์กลของชัยฏอนมารร้ ายที่นามาหลอกผู้ที่มีความรู้ น้ อย คน
เบาปั ญญา และผู้ไม่เคร่ งครัดศาสนา และที่นามาใช้ จบั หัวใจของ
พวกผู้ที่โง่เขลา และผู้ก่อความเสื่อมเสีย คือการฟั ง เสียงโห่ร้อง การ
ตบมือ การร้ องเพลงที่ประกอบด้ วยอุปกรณ์ตา่ งๆ ที่ต้องห้ าม ซึ่งกีด
 158 

กันเป็
้ นอุปสรรคไม่ให้ อลั กุรอานทะลุเข้ าไปในหัวใจ และทาให้ หวั ใจ
จมปลักอยู่กบั การฝ่ าฝื น และอบายมุขต่างๆ ดนตรี เป็ นบทสวดของ
ชัยฏอนมารร้ าย เป็ นกาแพงกัน้ ระหว่างมนุษย์กับอัลลอฮฺ เป็ นเวท
มนต์ กล่อมเป่ านาไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ ร ะหว่างชายกับชายและ
การผิดประเวณี กบั ต่างเพศ ด้ วยเสียงเพลงนี ้ ผู้มีความใคร่อนั ชัว่ ช้ า
จะได้ สมหวังกับคนที่เขาหลงใหล ... ส่วนการฟั งเพลงจากสตรี หรื อ
ชายหนุ่มรู ปหล่อนัน้ เป็ นบาปที่ใหญ่ ยิ่ง และทาให้ เกิ ดความเสื่อม
เสียในศาสนาเป็ นอย่างมาก... และไม่มีข้อกังขาเลยว่า แท้ จริ ง ทุก
คนที่มีความหึงหวงนัน้ เขาจะให้ ครอบครัวของเขาห่างไกลจากการ
ฟั งเพลงเหมือนกับที่ต้องการให้ พวกเธอออกห่างสาเหตุตา่ งๆ ที่น่า
ระแวง ... และเป็ นที่ทราบกันดีว่า แท้ จริ งเมื่อผู้ชายเข้ าหาสตรี ด้วย
ความยากลาบาก เขาก็จะพยายามให้ เธอได้ รับฟั งเสียงเพลง เพื่อ
ว่าเธอนัน้ จะได้ ใจอ่อน ทัง้ นี เ้ นื่องจากสตรี จ ะมี ความรู้ สึกต่อเสี ยง
ต่างๆ อย่างรวดเร็ ว ดังนัน้ เมื่ อเสียงนัน้ เป็ นเสี ยงเพลง ความรู้ สึก
ของเธอก็จะเกิดขึ ้นด้ วยสองทางด้ วยกัน กล่าวคือทางด้ านเสียงและ
ด้ านความหมายของมัน ... เมื่ อเสียงเพลงถูกประกอบด้ วยกลอง
ความเป็ นสาว และการเต้ นราอย่างอ่อนช้ อย แล้ วหากสตรี นัน้ ได้
ตังครรภ์
้ เพราะเพลง แน่นอน เธอย่อมตังครรภ์ ้ ด้วยเสียงเพลงเช่นนี ้
ขอสาบานต่ออัลลอฮฺ มากต่อมากแล้ วที่สตรี ต้องเป็ นโสเภณี เพราะ
เสียงเพลง”
 159 

โอ้ สตรี ผ้ ูศรัทธาเอ๋ย จงยาเกรงต่ออัลลอฮฺเถิด และจงระวัง


โรคร้ ายเยี่ยงนี ้ นั่นคือการฟั งเพลงต่างๆ ซึ่งเป็ นที่ นิยมในกลุ่มของ
บรรดามุส ลิม ด้ วยความหลากหลายของสื่ อและรู ปแบบ ซึ่งทาให้
หญิ งสาวจานวนมากที่ร้ ู ไม่เท่าทัน ได้ สั่งซื ้อจากแหล่งผลิตและส่ง
มอบให้ เป็ นของขวัญในกลุม่ พวกเธอซึง่ กันและกัน

3. กำรไม่ อนุญำตให้ เดินทำงโดยไม่ มีมะห์ ร็อม


ช่ อ งทางหนึ่ ง ที่ จ ะรั ก ษาอวั ย วะเพศ คื อ ห้ ามมิ ใ ห้ สตรี
เดินทางโดยไม่มีมะห์ร็อม ซึ่งคอยปกป้องคุ้มกันเธอจากพวกเกะกะ
เกเรและคนชั่ว ทัง้ หลาย ดัง มี ห ะดี ษ ที่ เ ชื่ อ ถื อ ได้ ร ายงานว่ า ไม่
อนุญ าตให้ สตรี เดินทางโดยปราศจากมะห์ ร็อม เช่น รายงานจาก
ท่านอิบนุ อุมรั ฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ
วะสัลลัม กล่าวว่า
َْ َّ ً َ َ َ ْ َ
»‫«ل ت َسافِر ال َم ْرأة ثالثا إِل َو َم َع َها ذو ُم َرم‬
ความว่า “สตรี จะไม่เดินทางเป็ นเวลาสามวัน นอกจากจะต้ องพร้ อม
กับมะห์ ร็อมเท่านัน้ ” (บันทึกโดยอัล -บุคอรี ย์ : 1862 และมุสลิม :
1338)
จากอบู สะอีด อัล-คุดรี ย์ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮุ “ท่านเราะสูล
ศ็อลลัล ลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ห้ ามมิ ให้ สตรี เดินทางในระยะเวลา
สองวัน....” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 1864 และมุสลิม : 3249)
 160 

จากอบู ฮุ ร็ อ ยเราะฮฺ เราะฎิ ยั ล ลอฮุ อั น ฮุ ท่ า นเราะสู ล


ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
َّ َ َ ََ َ َ َ ْ َ ْ ْ َّ َ ْ ََْ ُ َ َ
‫رية يَ ْوم َويلْلة إل َو َم َع َها‬ ‫َّلل َوايلَ ْومِ اْل ِخ ِر أن تسا ِفر م ِس‬
ِ ‫حيل ِلمرأة تؤ ِمن بِا‬
ِ ‫«ل‬
»‫ح ْر َمة‬
ความว่า “ไม่ อ นุญ าตให้ ส ตรี ที่ ศ รั ท ธาต่อ อัล ลอฮฺ แ ละวัน ปรโลก
เดินทางในระยะทางวันกับคืน นอกจากต้ องพร้ อมกับมะห์ร็อมของ
เธอเท่านัน”
้ (บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 1088 และมุสลิม : 3249)
การกาหนดระยะเวลาในหะดีษต่างๆ สามวัน สองวัน และ
หนึ่งวัน กับ หนึ่ง คืน นัน้ เป้ าหมายคือ ตามสภาพของพาหนะการ
เดินทางในสมัยนัน้ เดินทางด้ วยเท้ าและยานพาหนะต่างๆ และ
ความแตกต่างของหะดีษในการกาหนดเวลา สามวัน สองวัน หรื อ
วันกับคืน หรื อที่น้อยกว่านัน้ -บรรดาผู้ร้ ูได้ ตอบชี ้แจงว่า สานวนของ
หะดีษไม่ใช่เป้ าหมาย แต่เป้าหมายคือ ทุกสภาพที่ถูกเรี ยกว่าเป็ น
การเดินทาง ดังนัน้ สตรี จงึ ถูกห้ ามเดินทางโดยปราศจากมะห์ร็อม
อิม าม อัน -นะวะวีย์ เราะหิ ม ะฮุล ลอฮฺ ได้ ก ล่าวไว้ ในการ
อธิ บายหะดีษของอิมามมุสลิมว่า “บทสรุ ป คือทุกสิ่งที่ถูกเรี ยกว่า
การเดินทางนัน้ สตรี ถูกห้ ามไม่ให้ เดินทางโดยไม่มี สามี หรื อ ไม่มี
มะห์ร็อมเดินทางไปด้ วย ไม่ว่าการเดินทางสามวัน สองวัน หนึ่งวัน
สิบสองไมล์ หรื ออื่นๆ เนื่องจากในรายงานของอิบนุ อับบาส ไม่ได้
กาหนดเวลา ซึ่ง เป็ นรายงานสุดท้ ายของอิม ามมุสลิม (สตรี จะไม่
 161 

เดินทางโดยไม่มีมะห์ร็อม) และรายงานนี ้ครอบคลุมทุกสิ่งที่เรี ยกว่า


เดินทาง” วัลลอฮุอะอฺลมั (ชัรห์ เศาะฮีหฺ มุสลิม : 9/103)
ส่วนผู้ที่ชี ้ขาดว่า อนุญาตให้ สตรี เดินทางไปกับหมูค่ ณะของ
สตรี เพื่ อประกอบพิธี หัจญ์ ภ าคบังคับ นัน้ ขัดแย้ งกับคาสอนของ
ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม อิมามอัล-ค็อฏฏอบียฺ ได้
กล่ า วไว้ ในหนัง สื อ (มะอาลิ มุส สุ นัน : 2/276-277) คู่กับ ตะฮฺ ซี บ
ของอิ บ นุล ก็ อ ยยิ ม ว่า “แท้ จ ริ ง ท่ านเราะสูล ศ็ อ ลลัล ลอฮุอ ะลัย ฮิ
วะสัล ลัม ได้ ห้ามเธอไม่ให้ เดินทางนอกจากจะต้ องมี ผ้ ูชายที่ เป็ น
มะห์ ร็อมพร้ อมกับ เธอด้ วย ดังนัน้ การอนุญ าตให้ เธอเดิน ทางไป
ประกอบพิธี หัจ ญ์ โดยไม่มี เงื่ อนไขตามที่ ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอ
ฮุอะลัยฮิวะสัล ลัม วางไว้ นนั ้ เป็ นสิ่งที่ค้านกับ แบบอย่างของท่าน
ต่อมาเมื่อการออกไปของเธอโดยที่ไม่มี มะห์ร็อมเป็ นการฝ่ าฝื น ก็
ย่อมไม่อนุญาตให้ บงั คับเธอเพื่อการทาหัจญ์ นัน่ คือการเชื่อฟั งภักดี
ซึง่ นาไปสูก่ ารฝ่ าฝื น”
ฉัน (ผู้เขี ย น)ขอกล่าวว่า พวกเขาเหล่ านัน้ ไม่ ได้ ชี ข้ าดว่า
อนุญาตให้ สตรี เดินทางโดยไม่มีมะห์ร็อมในทุกกรณีไม่ และแท้ จริ ง
แล้ วพวกเขาอนุญ าตให้ เธอกระทาเช่นนัน้ ได้ เฉพาะกรณี ประกอบ
พิธีหจั ญ์ภาคบังคับเท่านัน้
อิมาม อัน-นะวะวีย์ เราะหิมะฮุลลอฮฺ กล่าวว่า “ไม่อนุญาต
ให้ เธอเดินทางไปประกอบพิธีหจั ญ์ ภาคสมัครใจ ไปทาการค้ า การ
 162 

เยี่ ย มเยี ย น และอื่ น ๆ นอกจากจะต้ อ งมี ม ะห์ ร็อ มเท่ า นัน้ ” (อัล -
มัจญ์มอู ฺ : 8/249)
ดั ง นั น้ ผู้ ที่ ป ล่ อ ยให้ สตรี ใ นสมั ย นี เ้ ดิ น ทางโดยที่ ไ ม่ มี
มะห์ร็อมเดินทางไปด้ วยนัน้ ไม่มีผ้ ูร้ ู คนใดที่ ได้ รับการยอมรับและ
เชื่อถือ มีความเห็นสอดคล้ องกับคนเหล่านัน้
ส่วนคาพูดของพวกเขาที่ว่า “แท้ จริงมะห์ร็อมของเธอจะให้
เธอโดยสารเครื่ องบินไป หลังจากนันจะมี ้ มะห์ร็อมอีกคนมาต้ อนรับ
เมื่อถึงปลายทาง เพราะว่าเครื่ องบิน นันมี ้ ความปลอดภัย ตามการ
อ้ างของพวกเขาอันเนื่องจากมี ผ้ โู ดยสารชายและหญิ งเป็ นจานวน
มาก” เราก็ จ ะตอบแก่พ วกเขาว่า “มิ ได้ เป็ นเช่น นัน้ เครื่ องบิน นัน้
อันตรายที่สดุ เพราะว่าผู้โดยสารจะปะปนกัน เธออาจจะนัง่ อยู่ใกล้
กับผู้ชาย และบางทีอาจจะมีเหตุการณ์ ทาให้ เครื่ องบินต้ องเปลี่ยน
ทิศทางบินไปทางสนามบินอื่น ดังนัน้ ก็จะไม่มีคนที่มาต้ อนรับเธอ
ท้ ายสุดเธอก็จะต้ องตกอยูใ่ นภาวะอันตราย และจะเป็ นอย่างไร เมื่อ
สตรี อยูใ่ นประเทศที่เธอไม่ร้ ูจกั และไม่มีมะห์ร็อม”

4. ห้ ำมชำยหญิงอยู่กันตำมลำพัง
และแนวทางหนึ่งที่จะรักษาอวัยวะเพศคือห้ ามมิให้ สตรี อยู่
ตามลาพังกับชายที่ไม่ใช่มะห์ร็อมของเธอ ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุ
อะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวไว้ วา่
َّ َ ْ َْ ْ َ َ ْ َّ ْ َ َ ْ َّ ْ َ َ ْ َ
‫اْلخ ِر فال َيلون بِام َرأة لي َس َم َع َها ذو ُم َرم ِمن َها ف ِإن‬
ِ ِ‫اَّلل َوايلَ ْوم‬
ِ ِ‫«من َكن يؤ ِمن ب‬
َّ َ
»‫ث ِاثلْه َما الشيْ َطان‬
 163 

“ผู้ใดที่ศรัทธาต่ออัลลอฮฺและวันปรโลก เขาก็อย่าได้ อยูก่ บั สตรี โดยที่


ไม่มีมะห์ร็อมของเธออยู่ด้วย เพราะคนที่สามก็คือชัยฏอน” (บันทึก
โดยอะห์มดั : 3/339)

มีรายงานจากอามิ รฺ อิบนุ เราะบี อะฮฺ เราะฎิ ยัลลอฮุอันฮุ


ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า “จงรู้ ไว้ เถิดว่า
ชายคนหนึ่ง จะไม่ อยู่ต ามล าพัง กับ หญิ งที่ ไม่เป็ นที่ อนุมัติแ ก่เขา
เพราะตนที่สามคือ ชัยฏอน นอกจากจะมีมะห์ร็อมอยู่ด้วยเท่านัน” ้
(บันทึกโดยอะห์มดั : 1/18)
อัล -มั จ ญดุด ดี น (ปู่ ของอิ บ นุ ตัย มี ย ะฮฺ ) ได้ ก ล่ า วไว้ ใน
หนั ง สื อ มุ น ตะกอ อั ล -อั ค บารฺ ว่ า “ทั ง้ สองหะดี ษ นี บ้ ั น ทึ ก โดย
อิ ม ามอะห์ มัด และความหมายดัง หะดี ษ ที่ ก ล่ า วมาปรากฏใน
รายงานของอิบนุอบั บาสซึ่งเป็ นหะดีษที่บนั ทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ และ
มุสลิม
อิ ม าม อั ช -เชากานี ย์ เราะหิ ม ะฮุ ล ลอฮฺ ได้ กล่ า วไว้ ใน
หนัง สื อ นัย ลุล เอาฏอรฺ (6/120) “และการอยู่ ต ามล าพัง กับ สตรี ที่
แต่งงานได้ นนเป็ั ้ นสิ่งต้ องห้ าม โดยมติเอกฉันท์ของปวงปราชญ์ ดัง
ที่อิบนุ หะญัรฺ ได้ กล่าวไว้ ในฟั ตหุลบารี และสาเหตุของการห้ ามตาม
หะดีษคือการที่มีชยั ฏอนมาเป็ นตนที่สามและมาอยู่ด้วยนัน้ จะทา
ให้ ทงสองกระท
ั้ าในสิ่งที่ฝ่าฝื น ส่วนการอยู่กับสตรี ที่แต่งงานได้ โดย
 164 

มีมะห์ร็อมอยู่ด้วยก็เป็ นสิ่งที่อนุญาต เนื่องจากจะไม่เกิดการฝ่ าฝื น


ขณะที่มะห์ร็อมอยู”่
สตรี บางคนและผู้ปกครองของเธออาจจะไม่สนใจ ปล่อย
ปะละเลยในเรื่ องการอยู่ด้วยกัน ตามลาพังในหลากหลายรู ปแบบ
อาทิ
หนึ่ง สตรี อยู่ตามลาพังกับญาติใกล้ ชิดของสามี และเปิ ด
ใบหน้ า และนี่ เป็ นการอยู่ตามลาพังที่อันตรายที่ สุด ท่านเราะสูล
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
َ ْ‫فرأَي‬
‫ت‬ َ َ‫ أ‬، ‫اَّلل‬
َّ َ َ َ َ َْْ ْ َ َ ََ َ ِّ َ َ َ ُ َ ْ َّ
ِ ‫ يا رسول‬: ‫ار‬
ِ ‫ فقال رجل ِمن األنص‬. »‫«إياكم وادلخول لَع النسا ِء‬
ْ ْ َ َ ْ
.»‫ «احل َ ْمو ال َم ْوت‬:‫احل َ ْم َو ؟ قال‬
ความว่า “ท่านทังหลายจงระวั
้ งการเข้ าไปหาบรรดาสตรี ” แล้ วชาย
คนหนึ่งจากชาวอันศอรฺ ได้ กล่าวว่า โอ้ ท่านเราะสูลุลลอฮฺ แล้ วท่าน
เห็นอย่างไรกับน้ องชายของสามี ? ท่านตอบว่า “นัน่ คือความตาย”
(บันทึกโดยอัล-บุคอรี ย์ : 5232 และอัต-ติรมีซีย์ : 1171)

อิบนุ หะญัรฺ เราะหิมะฮุลลอฮฺ ได้ กล่าวไว้ ในฟั ตหุลบารี ว่า


“อิ ม ามอั น -นะวะวี ย์ ก ล่ า วว่ า นั ก วิ ช าการด้ านภาษาศาสตร์ มี
ความเห็นเป็ นเอกฉันท์ ว่า “อัล -หัม วุ” ในส านวนหะดีษ คือ ญาติ
ใกล้ ชิดของสามี เช่น พ่อ ลุง พี่น้อง หลาน ลูกพี่ลกู น้ องของเขา และ
คนอื่นๆ....จุดประสงค์ของหะดีษคือบรรดาญาติใกล้ ชิดของสามี แต่
ไม่รวมถึงพ่อ และลูกๆ ของสามี เนื่องจากพวกเขาเป็ นมะห์ร็อมของ
 165 

เธอ อนุญ าตให้ อยู่กับตามลาพังกับเธอได้ และพวกเขาไม่ถูกระบุ


ลักษณะว่าเป็ นความตาย... การปฏิบตั ิโดยทัว่ ไปมักจะมีการปล่อย
ปะละเลย โดยที่ น้ องชายจะอยู่ต ามล าพัง กับ ภรรยาของพี่ ช าย
ดังนัน้ เขาจึงถูกเปรี ยบเหมือนกับความตาย ซึ่งสมควรเป็ นอย่างยิ่ง
ที่จะต้ องมีการห้ าม” (ฟั ตหุลบารี : 9/331)
และอิ ม ามอั ช -เชากานี ย์ ได้ กล่ า วไว้ ในหนั ง สื อ นั ย ลุ ล
เอาฏอรฺ (6/122) “คาว่าญาติของสามีคือความตาย หมายความว่า
ญาติของสามีน่ากลัวยิ่งกว่าคนอื่น ดังที่ความตายเป็ นสิ่งที่น่ากลัว
มากกว่าสิ่งอื่นๆ”
โอ้ สตรี ผ้ ู ศรั ท ธาเอ๋ ย เธอจงย ากรงต่ อ อัล ลอฮฺ เถิ ด และ
อย่ า ได้ ป ล่ อ ยปะละเลยในเรื่ อ งนี ้ เพราะว่ า บรรทัด ฐานนัน้ อยู่ที่
บัญญัตขิ องศาสนา ไม่ใช่วิถีปฏิบตั ขิ องมนุษย์ทวั่ ไป
สอง สตรี บางคนและผู้ปกครองของเธอ ปล่อยปะละเลย
ในเรื่ องการโดยสารรถยนต์ไปกับ คนขับตามลาพัง ซึ่งคนขับรถนัน้
ไม่ ใช่ม ะห์ ร็อ มของเธอ ทัง้ ที่ แ ท้ จ ริ ง แล้ ว การกระท าเช่น นัน้ เป็ นที่
ต้ องห้ าม
ชัยค์มุหัม มัด บิน อิบรอฮี ม อาล อัช -ชัยค์ ผู้ชี ข้ าดปั ญ หา
ศาสนาของประเทศซาอุดิอาระเบีย กล่าวไว้ ใน มัจ ญ์ มูอฺฟ ะตาวา
เล่มที่ 10 หน้ าที่ 52 ว่า “ในปั จจุบนั นีไ้ ม่มีความสงสัย อันใดเลยว่า
การโดยสารของสตรี ซึ่งไปกับคนขับหรื อเจ้ าของรถตามลาพัง โดย
ไม่มี มะห์ ร็อมติดตามเธอไปด้ วยนัน้ เป็ นสิ่งที่ชั่วร้ าย และมี ผลเสี ย
 166 

มากมาย ไม่อาจมองข้ ามได้ ไม่ว่าสตรี นนจะเป็ ั้ นเด็กที่สงบเสงี่ยม


หรื อ เด็ก เรี ย บร้ อยที่ พูด คุย กับ ผู้ช ายก็ ต าม ผู้ช ายที่ พ อใจกับ การ
กระทาเช่นนี ้ เขาเป็ นผู้ที่ไม่เคร่งครัด ขาดความเป็ นบุรุษ มีความหึง
หวงน้ อย” ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า “ไม่มี
ชายคนใดที่ อยู่ตามล าพัง กับผู้หญิ งนอกจากชัย ฏอนจะเป็ นตนที่
สาม” (หะดีษบทนี ้ได้ อ้างอิงก่อนนี ้แล้ ว)
และการอยู่ตามลาพังในรถกับคนขับนัน้ ยิ่งกว่าการอยู่กับ
เธอภายในบ้ านและที่อื่นๆ เพราะเขาสามารถที่จะพาเธอไปไหนก็ได้
ตามที่เขาประสงค์ ในประเทศ นอกประเทศ ด้ วยความสมัครใจหรื อ
บังคับ และจะมีผลเสียที่ร้ายแรงติดตามมา ซึ่งมากกว่าผลเสียจาก
การอยู่ตามลาพังทัว่ ๆ ไป และจาเป็ นที่มะห์ร็อมจะต้ องเป็ นผู้ใหญ่
จึงไม่เพียงพอหากมะห์ร็อมนันเป็ ้ นเด็ก และสตรี บางคนเข้ าใจผิดว่า
เมื่อเธอได้ พาเด็กมากับเธอด้ วยนัน่ หมายความว่าไม่อยู่ในข่ายการ
อยู่ด้วยกันโดยล าพัง กับผู้ช ายแล้ ว นี่ เป็ นความเข้ าใจที่ ผิดพลาด
มาก
อิมาม อัน-นะวะวีย์ เราะหิมะฮุลลอฮฺ กล่าวว่า “เมื่อชาย
และหญิงที่แต่งงานกันได้ อยู่ตามลาพัง โดยไม่มีคนที่สามอยู่ด้วยก็
เป็ นสิ่งต้ องห้ ามโดยมติเอกฉันท์ และเช่นเดียวกันหากมี เด็กเล็กอยู่
พร้ อมกับเขาทัง้ สอง การอยู่ด้วยกันโดยลาพังที่ต้องห้ ามก็ ยังคงมี
อยู”่ (อัล-มัจญ์มอู ฺ : 9/109)
 167 

สำม สตรี บางคนและผู้ปกครองของเธอปล่อยปะละเลยให้


สตรี เข้ าไปหาหมอ โดยอ้ างว่ามีความจาเป็ นที่เธอจะต้ องรักษา และ
นี่เป็ นสิ่งที่ชวั่ ร้ ายมาก อันตรายยิ่ง และไม่อนุญาตให้ ยอมรับและนิ่ง
เฉยต่อข้ ออ้ างเช่นนี ้
ชัยค์ มุหัม มัด บิน อิบ รอฮีม กล่าวไว้ ในมัจ ญ์ มูอฺฟ ะตาวา
(10/13) ว่า “และอย่างไรก็ตาม การอยู่ตามลาพังกับสตรี ที่แต่งงาน
กันได้ เป็ นสิ่งต้ องห้ ามตามบทบัญ ญัติ แม้ กระทั่งหมอที่จะมาทา
การเยียวยาเธอก็ตาม เนื่องจากหะดีษที่ว่า “ไม่มีชายคนใดที่จะอยู่
กับสตรี โดยลาพังนอกจากชัยฏอนจะเป็ นตนที่สาม” ดังนันจ ้ าเป็ นที่
จะต้ องมีคนหนึ่งคนใดอยู่กับเธอด้ วย จะเป็ นสามีหรื อ มะห์ร็อมคน
อื่นๆ ถ้ าหากมะห์ร็อมไม่พร้ อมก็ให้ มีญาติของเธอที่เป็ นผู้หญิ ง แล้ ว
หากไม่มีคนหนึ่งคนใดจากที่กล่าวมาแล้ ว ในขณะความเจ็บป่ วยถึง
ขันอั
้ นตรายไม่สามารถรอช้ าได้ อย่างน้ อยก็ต้องให้ พยาบาลหรื อคน
อื่ น อยู่ ด้ วย ทั ง้ นี ก้ ็ เ พื่ อ ให้ รอดพ้ นจากการอยู่ กั น ตามล าพั ง ที่
ต้ องห้ าม”
และเช่นเดียวกันไม่อนุญาตให้ หมออยูก่ บั สตรี โดยลาพัง ไม่
ว่าเธอจะเป็ นหมอ เป็ นเพื่อน หรื อเป็ นพยาบาลก็ตาม ไม่อนุญาตให้
ครู ชายซึ่งตาบอดหรื ออื่นๆ อยู่ตามลาพังกับนักเรี ยนหญิ ง และไม่
อนุญาตให้ พนักงานต้ อนรับบนเครื่ องบินไปอยูต่ ามลาพังกับผู้ชาย
สาหรับเรื่ องนี ้ ผู้คนทัง้ หลายได้ ปล่อยปะละเลย โดยอ้ าง
ความทัน สมัย เลี ย นแบบต่ างศาสนิ ก อย่า งเงยหัวไม่ขึน้ และไม่
 168 

สนใจใยดีตอ่ บทบัญญัติศาสนา ดังนัน้ ไม่มีอานาจและไม่มีพลังอัน


ใดนอกจากต้ องพึ่ ง พาอั ล ลอฮฺ ผู้ ทรงสู ง ส่ ง และทรงไพศาล –
ลาเหาละ วะลา กูว์วะตะ อิลลา บิลลาฮิล อะลียิลอะซีม
และไม่ อ นุญ าตให้ ผู้ช ายอยู่ ต ามล าพัง กั บ คนใช้ ห ญิ ง ที่
บริ การอยู่ในบ้ านของเขา และไม่อนุญาตให้ สตรี เจ้ าของบ้ านอยู่กับ
คนใช้ ผ้ ชู ายโดยลาพัง
สาหรับปั ญหาคนรับใช้ นนเป็
ั ้ นปั ญหาที่ร้ายแรง ซึ่งผู้คนใน
สมัยนี ป้ ระสบกันมาก เพราะผู้หญิ ง ยุ่ง อยู่กับการศึกษาและการ
ท างานนอกบ้ า น และนั่น เป็ นสิ่ ง ที่ ผ้ ูศ รั ท ธาจ าเป็ นต้ อ งระวังเป็ น
อย่างยิ่งและหลีกเลี่ยงให้ มาก และอย่ายอมที่จะแลกกับประเพณีที่
ไม่ดีทงหลายแหล่
ั้

เพิ่มเติม : ห้ ำมสตรี จับมือกับผู้ชำยที่ไม่ ใช่ มะห์ ร็อม


ชัยค์ อับดุล อะซี ซ บิน บาซ ประธานองค์การค้ น คว้ าด้ าน
วิชาการ การชี ้ขาดปั ญหาศาสนา และการเรี ยกร้ องเชิญชวน กล่าว
ไว้ ในอัล-ฟะตาวา ซึ่งสถาบันการเผยแพร่ และการเรี ยกร้ องเชิญชวน
จัด พิ ม พ์ (1/85) ว่ า “ไม่ อ นุ ญ าตให้ สตรี จั บ มื อ ผู้ ชายที่ ไ ม่ ใ ช่ ไ ด้
มะห์ร็อมในทุกกรณี ไม่ว่าพวกเธอจะเป็ นสาวหรื อชราก็ตาม ไม่ว่า
ผู้ช ายที่ จับมื อนัน้ จะเป็ นเด็กหนุ่ม หรื อ คนแก่ ก็ตาม เนื่ องจากการ
กระทาเช่นนันเป็ ้ นอันตรายแก่ทกุ คน มี รายงานที่เชื่อถือได้ จากท่าน
เราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
 169 

َ ‫«إ ِِّّن َل أ َصافِح النِّ َس‬


»‫اء‬ ِ
ความว่า “แท้ จริ ง ฉันจะไม่จับมือกับ บรรดาสตรี ” (บันทึกโดยอัน -
นะสาอีย์ : 4181)

และท่านหญิงอาอิชะฮฺ เราะฎิยลั ลอฮุอนั ฮา กล่าวว่า


َّ َ َ ْ َ ُ َ َ َ ْ َ َ َ َّ َ َ ْ َ َ َّ َّ َ َّ َ َ ْ َّ َ َ َّ ‫َو‬
‫ري أنه يبَايِعه َّن‬ ‫اَّلل صَل اَّلل علي ِه وسلم يد امرأة قط غ‬
ِ ‫ول‬
ِ ‫اَّلل ما مست يد رس‬
ِ
ََ ْ
. ِ‫بِاللَكم‬
ความว่า “ขอสาบานต่ออัลลอฮฺ มือของท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุ
อะลัยฮิวะสัลลัม ไม่เคยสัมผัสกับมือของหญิ งคนใดเลย เพียงแต่
ท่านทาสัตยาบันกับพวกเธอด้ วยคาพูดเท่านัน” ้ (บันทึกโดยมุสลิม :
1866)
และไม่มีความแตกต่างกันระหว่างการจับมือโดยมีสิ่งขวาง
กันหรื
้ อไม่มีสิ่งขวางกันก็ ้ ตาม เนื่องจากหลักฐานต่างๆ ที่ครอบคลุม
และเพื่อปิ ดช่องทางที่จะนาไปสูค่ วามวุน่ วาย
ชัย ค์ มุ หั ม มัด อัล -อะมี น อั ช -ชัน กี ฏี ย์ กล่ า วไว้ ใ นตัฟ ซี รฺ
อัฎ วาอ์ อัล -บะยาน (6/602-603) ว่า “พึ ง ทราบเถิ ด ว่า ไม่ เป็ นที่
อนุญาตสาหรับผู้ชายและผู้หญิ งที่แต่งงานกันได้ จะจับมือกัน และ
ไม่อนุญ าตให้ สัมผัสร่ างกายกับร่ างกาย และหลักฐานในเรื่ องราว
ดังกล่าวนันมี
้ มากมาย
หนึ่ง ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า
“แท้ จริงฉันจะไม่จบั มือกับบรรดาสตรี ...” และอัลลอฮฺตรัสว่า
 170 

‫َ أ‬ َ َ ّ ُ ‫َ أ َ َ َ ُ أ‬
‫ٱّلل َوٱ َّل أو َم ٱٓأۡلخِ َر‬ ‫ٱّلل أ أس َوة َح َس َنة ل َِمن َك ن َي أر ُجوا‬
ِ ‫ول‬ ُ َ
ِ ‫﴿ لقد َك ن لكم ِف رس‬
َ َ ََ َ َ
]٢١ : ‫ ﴾ [األحزاب‬٢١ ‫ٱّلل كث ِّيا‬ ‫وذكر‬
ความว่า “โดยแน่นอนในเราะสูลของอัลลอฮฺมีแบบอย่างอันดีงาม
สาหรับพวกเจ้ าแล้ ว” (อัล-อะห์ซาบ : 21)
ดังนัน้ เราจะต้ องไม่จบั มือกับสตรี เพื่อเป็ นการดาเนินตาม
ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และหะดีษดังกล่าวเราได้
นาเสนอมาแล้ วในการอธิบายอัลกุรอาน ซูเราะฮฺ อัล-หัจญ์ ในเรื่ อง
ที่ว่าด้ วยการห้ ามไม่ให้ ผ้ ชู ายสวมใส่เสื ้อผ้ าที่ย้อมสีเหลือง ทุกกรณี
ในพิ ธี ก รรมหัจ ญ์ หรื อ อุ ม เราะฮฺ และอื่ น ๆ และในซู เราะฮฺ อัล -
อะห์ซาบเกี่ยวกับเรื่ องหิญาบ
และการที่ทา่ นเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ไม่จบั
มือกับบรรดาสตรี ในขณะที่ทาสัตยาบันนัน้ เป็ นหลักฐานที่ชดั แจ้ ง
ว่าผู้ช ายนัน้ จะไม่จับ มื อ กับ ผู้ห ญิ ง และร่ างกายของเขาจะไม่ไ ป
สัมผัสกับร่ างกายของเธอ เพราะว่า การจับมือเป็ นการสัมผัสที่เบา
ที่สุดจากประเภทของการสัมผัส ดังนัน้ เมื่อท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุ
อะลัยฮิวะสัลลัม ไม่จบั มือในเวลาที่มีความจาเป็ น นัน่ ก็คือเวลาการ
ทาสัตยาบัน ก็บ่งบอกการจับมือไม่เป็ นที่อนุญาต และไม่ อนุญาต
ให้ คนหนึ่งคนใดขัดแย้ งกับท่าน เพราะท่านเป็ นผู้วางบทบัญ ญั ติ
ให้ แก่ป ระชาชาติของท่าน โดยคาพูด การกระทาต่างๆ และการ
ยอมรับของท่าน
 171 

สอง เราเคยนาเสนอแล้ วว่า บรรดาสตรี เป็ นเอาเราะฮฺ (สิ่ง


พึง สงวน) ดัง นัน้ เธอต้ อ งสวมใส่ หิ ญ าบ และการที่ มี ค าสั่ง ให้ ล ด
สายตาเนื่องจากเกรงว่าจะเกิดอันตราย และไม่เป็ นที่สงสัยเลยว่า
การสัม ผัส ร่ างกายกับ ร่ า งกายนัน้ เป็ นสิ่ ง ที่ ท าให้ เกิ ด และชัก น า
ความรู้ สึ ก ได้ ดี ที่ สุ ด มากกว่ า มองด้ วยสายตา และบุ ค คลที่ มี
หลักธรรมย่อมรู้วา่ นี่คือความจริง
สำม การจับมื อจะเป็ นตัวนาสู่การเสพสุขกับสตรี ที่ไม่ใช่
ภรรยา เนื่องจากสมัยนี ้ความยาเกรงลดน้ อยลง ขาดความซื่อสัตย์
และไม่มี การออกห่างจากสิ่ งที่ ท าให้ เกิดความระแวง ซึ่งเราก็ ได้
บอกหลายต่ อ หลายครั ง้ แล้ ว ว่า สามี บ างคนจูบ พี่ น้ อ งสาวของ
ภรรยา ด้ วยการจูบปากต่อปาก และเรี ยกการจูบดังกล่าวว่า -ซึ่ง
เป็ นที่ต้องห้ ามโดยมติเอกฉันท์ - ว่าเป็ นการทักทายให้ เกี ยรติ พวก
เขาจะกล่าวกันว่า ท่านจงทักทายแก่เธอ พวกเขาหมายถึงว่าท่าน
จงจูบเธอ ดังนันความจริ
้ งที่ไม่ ต้องสงสัยใดๆ คือการออกห่างจาก
ฟิ ตนะฮฺ และสาเหตุที่ทาให้ เกิดความระแวง และที่ใหญ่ หลวงที่สุด
คือการสัมผัสเรื อนร่ างของสตรี ที่แต่งงานกันได้ และทุกช่องทางที่
นาสูส่ ิ่งต้ องห้ ามนัน้ จาเป็ นจะต้ องปิ ดให้ สนิท

บทส่ งท้ ำย
โอ้ บรรดาผู้ศรัทธาทัง้ หลาย ฉันขอเตือนพวกท่านให้ ราลึก
ถึงคาสัง่ ของอัลลอฮฺ ในคาตรัสของพระองค์ที่วา่
 172 

َ َ ‫ِي َي ُغضوا م أِن َأ أب َصىره أِم َو َي أح َف ُظوا ُف ُر‬


َ ‫ك ل َ ُه أم إ ن‬
‫ٱّلل‬ ِ ‫وج ُه أم َذىل َِك أ أز َ ى‬ َ ‫﴿ ُقل ّل أِل ُم أؤ ِمن‬
ِ
َ ‫ت َي أغ ُض أض َن ِم أن َأبأ َصىرهِن َو َي أح َف أظ َن فُ ُر‬ َ ‫ُ ّأ أ‬ َ َ ‫أ‬ ُ ‫َخب‬
‫وج ُهن‬ ِ ِ ‫ َوقل ل ِل ُمؤمِنى‬٣٠ ‫ّي ب ِ َما يَصن ُعون‬ ِ
‫أ‬ ُ
َ ‫َع جيوبهن و ل يبد‬ َ َ ُ ُ َ َ ُ ُ ‫أ‬ ‫أ‬ ‫أ‬ َ َ
‫ِين زينتهن إِل ما ظه َر مِنها و َّلۡضب َن ِِبمرهِن ى‬ ‫أ‬ َ َ َ ُ َ َ َ ‫أ‬ ُ ََ
‫ِين‬ ِِ ِ ِ ِ ‫و ل يبد‬
َ َ ٓ َ َ ٓ َ َ َ ٓ َ ٓ َ َ َ
‫زِين َت ُهن إِل ِِلُ ُعوتل ِ ِهن أ أو َءابَائ ِ ِهن أ أو َءابَاءِ ُب ُعوتل ِ ِهن أ أو أ أب َنائ ِ ِهن أ أو أ أب َناءِ ُب ُعوتل ِ ِهن أ أو‬
َ ُُ َ‫َأ َ َ َ َ أ َأ‬ ٓ َ ‫َأ‬ َ َ َ ٓ ‫ن إ أخ َو ىنِهن َأ أو َب‬ َ ‫َأ‬ َ ‫أ‬
ِ‫ن أ خو ىتِ ِهن أ و ن ِسا ئِ ِهن أ و ما ملكت أ يمىنهن أو‬ ِ ِ ِ ٓ ِ ‫ِإ خو ىنِ ِهن أ و ب‬
َ ‫ٱَّل ي َن ل َ أم َي أظ َه ُر وا َ َ ى‬ َ َ ُ
‫ت‬ ِ ‫َع ع أو َ ىر‬ ِ ‫ٱلطف ِل‬
‫ّ أ‬
ِ ‫ال أ ِو‬ ّ َ َ ‫ِي َغ أّي أ و ل أ أ‬ َ ‫ٱلتىبع‬
ِ ‫ٱلرج‬ ِ ‫ٱۡل ر بةِ مِن‬ ِ ِ ِ ِ
ً‫جيعا‬ َ َ ُٓ َُ َ َ ‫ُ أ َ َ َ ُأ‬ ُ ‫أ‬ َ َ ‫ّ َ ٓ ََ َ أ أ‬
ِ ‫ٱّلل‬ ِ ‫ۡضبن بِأ رجل ِ ِهن ِّلعلم ما ُيفِي مِن ِزينت ِ ِهن وتوبوا إِ ل‬ ِ ‫ٱلن ِسا ِء و ل ي‬
َ ُ ‫َ َ أُ أ ُ َ ََ ُ أ ُأ‬
]٣١-٣٠ : ‫ ﴾ [انلور‬٣١ ‫أيه ٱلمؤمِنون لعلكم تفل ِحون‬
ความว่า “จงกล่าวแก่บรรดาผู้ศรัทธาชายเถิด ให้ พวกเขาลดสายตา
ของพวกเขา และรักษาอวัยวะเพศของพวกเขา แท้ จริงอัลลอฮฺ เป็ นผู้
รอบรู้ ในสิ่งที่พวกเขากระทา และจงกล่าวแก่บรรดาผู้ศรัทธาหญิ ง
เถิด ให้ พวกเธอลดสายตาของพวกเธอ และรักษาอวัยวะเพศของ
พวกเธอ ไม่นาเอาเครื่ องประดับของพวกเธอมาแสดง นอกจากสิ่งที่
อยู่ภายนอกเท่านัน้ และพวกเธอจงเอาผ้ าคลุมศีรษะของพวกเธอ
มาคลุมคอเสื ้อของพวกเธอ และไม่นาเครื่ องประดับของพวกเธอมา
แสดง นอกจากแก่สามีของพวกเธอ พ่อของพวกเธอ พ่อของสามี
ของพวกเธอ ลูกของพวกเธอ ลูกของสามีของพวกเธอ พี่น้องชาย
ของพวกเธอ ลูกของพี่น้องชายของพวกเธอ ลูกชายของพี่น้องหญิง
ของพวกเธอ พวกผู้หญิ งของพวกเธอ พวกทาสของพวกเธอ พวก
ติดตามที่ไม่มีความต้ องการทางเพศจากพวกผู้ชาย หรื อเด็กที่พวก
เขาไม่ร้ ูจกั สิ่งที่พึงสงวนต่างๆ ของสตรี และพวกเธออย่าได้ เอาเท้ า
ของพวกเธอกระแทกพื น้ เพื่ อ ให้ รู้ ถึ ง สิ่ ง ที่ พ วกเธอซ่ อ นไว้ จาก
 173 

เครื่ องประดับของพวกเธอ และพวกเจ้ าจงกลับเนือ้ กลับตัว ต่ออัล


ลอฮฺ อย่างพร้ อมเพรี ยงกัน โอ้ บ รรดาผู้ศรั ทธา หวัง ว่าพวกเจ้ าจะ
ประสบความสาเร็จ” (อัน-นูรฺ : 30-31)
มวลการสรรเสริ ญ นัน้ เป็ นสิท ธิ์ ข องอัล ลอฮฺ ความจาเริ ญ
และสันติจงมีแด่ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม วงศ์วาน
ของท่าน และบรรดาสาวกทังมวล ้

.‫وصَل اهلل لَع ُممد وآَل وصحبه وسلم‬


 174 

หนังสือที่ประมวลบทบัญญัติต่ำงๆ ในอิสลำมที่เกี่ยวข้ องกับ


สตรี เ ป็ นกำรเฉพำะ รวบรวมประเด็ น ต่ ำงๆ โดยสั ง เขป
ประกอบด้ วยบทบั ญญั ติท่ ัวไป บั ญ ญั ติเกี่ยวกับ กำรตกแต่ ง
เรื อนร่ ำงของสตรี บัญญั ติเกี่ยวกับ เลือดประจำเดือน เลือด
เสี ย และเลื อดหลั งคลอด เสื อ้ ผ้ ำ และหิญ ำบ กำรละหมำด
กำรจั ด กำรศพ กำรถื อ ศี ล อด กำรประกอบพิ ธี หั จ ญ์ และ
อุ ม เรำะฮฺ กำรเป็ นสำมี ภ รรยำและกำรสิ น้ สุ ด ระหว่ ำ งกั น
บั ญ ญั ติต่ ำงๆ ที่ จ ะปกป้ องรั ก ษำเกี ยรติ ศั ก ดิ์ศ รี และควำม
บริสุทธิ์ของสตรี
 175 

You might also like