You are on page 1of 1

ระบบตรวจสอบโรคใบไหมในบอนสีภายในโรงเรือนสาธิตดวยระบบปญญาประดิษฐ

จัดทำโดย : นางสาวสุธิมา สมอแข็ง และ นางสาวสุพิชญา ลิมวัฒนาสมุทร ครูที่ปรึกษา : นายพงศกร จำปาโพธิ์ ที่ปรึกษาพิเศษ : นายนิรวิทธ กุนันตา และ อ.ดร.อิทธิพล ฟองแกว

บทคัดยอ : จากขอมูลของกระทรวงเกษตรและสหกรณกลาววาปจจุบันบอนสีเปนที่ตองการของตลาดโลกเปนอยางมาก ดังนั้นการผลิตบอนสีเพื่อสงออกจึงสามารถกระตุนเศรษฐกิจภายในประเทศได อยางไรก็ตามการดูแลบอนสีในพื้นที่เพาะปลูกขนาดใหญอาจดูแล


ไดไมทั่วถึงสงผลใหบอนสีเกิดโรคใบไหมและสงผลกระทบตอการสงออกบอนสี โครงงานนี้จึงมีจุดมุงหมายเพื่อออกแบบและพัฒนาระบบตรวจสอบโรคใบไหมในบอนสีภายในโรงเรือนสาธิตดวยระบบปญญาประดิษฐ และสรางระบบแจงเตือนทางแอปพลิเคชัน LINE
เมือ่ ตรวจสอบพบโรคใบไหมในบอนสี โดยในงานวิจยั นีไ้ ดทำการทดสอบตัวแปรในการสรางโมเดล (Hyperparameter) เพือ่ ใหไดความแมนยำในการตรวจสอบโรคใบไหมทเ่ี หมาะสมทีจ่ ะนำมาใชกบั ระบบดังกลาว ไดแก คาความคมชัด (Contrast) คาการรบกวน (Noise)
คาระดับความไมชัดเจน (Blur) และคามุมในการสรางขอมูลรูปภาพในการสรางโมเดล รวมไปถึงคาขีดจำกัดที่ยอมรับไดในการทำนายผล (Threshold) ของโมเดลปญญาประดิษฐโดยใชแพลตฟอรม CiRA CORE ในการสรางโมเดลปญญาประดิษฐ โดยทำการทดสอบ
ดวยชุดขอมูลภาพบอนสีภายในโรงเรือนสาธิตขนาด 1.50 × 2.00 × 1.50 เมตร และหาคาความแมนยำของระบบที่พัฒนาขึ้นโดยการคำนวณคา AUC จาก ROC Curve เพื่อวัดประสิทธิภาพของระบบพบวาระบบสามารถตรวจจับไดเปนอยางดี โดยมีคา AUC อยูที่คา
ประมาณ 0.86 และมีคา F1 Score มีคาประมาณ 0.85 และสามารถแจงเตือนทางแอปพลิเคชัน LINE เมื่อพบโรคใบไหมในโรงเรือนสาธิตไดเปนอยางดี

ที่มาและความสำคัญ ผลการดำเนินงาน
ปจจุบันตนบอนสีเปนพืชชนิดหนึ่งที่เปนที่ตองการในตลาดโลกมากยิ่งขึ้น เนื่องจากเปนพืชที่มีสีสันของใบที่มีเอกลักษณ 1 ผลการพัฒนาระบบตรวจสอบโรคใบไหมในบอนสีภายในโรงเรือนสาธิตดวยระบบปญญาประดิษฐ
เฉพาะตัว ซึ่งเกษตรกรไทยจึงไดมีการขยายการปลูกเปนแปลงผลิตหัวพันธุ เพื่อสงออกในชวงหลายปที่ผานมา โดยที่ความ เมื่อทดสอบระบบดังกลาวกับชุดขอมูลภายในโรงเรือนสาธิตจำนวน 152 ภาพ และคำนวณคา F1 Score เฉลี่ย
ตองการของตลาดโลกมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น แตการปลูกบอนสีเพื่อสงออกยังอยูในวงจำกัด ทำใหไมสามารถผลิตบอนสีตาม จากผลการทดสอบ จะไดผลการคำนวณดังตารางที่ 1 ซึง่ จากตารางดังกลาวแสดงใหเห็นวาระบบตรวจสอบโรคใบไหม
ปริมาณทีต่ ลาดโลกตองการได (กระทรวงเกษตรและสหกรณ, 2559) อีกทัง้ การดูแลบอนสีเพือ่ ใหไดตน บอนสีทม่ี คี ณ ุ ภาพนัน้ ในบอนสีภายในโรงเรือนสาธิตดวยระบบปญญาประดิษฐมคี า F1 Score เฉลีย่ อยูท ป่ี ระมาณ 0.85 และระบบดังกลาว
ตองใชตนทุนและแรงงานจำนวนมาก และอาจดูแลไดอยางไมทั่วถึงมากนัก ซึ่งสงผลใหตนบอนสีเกิดโรคใบไหมในบอนสีที่ มีคา Sensitivity และคา 1-Specificity เปนไปดังตารางที่ 2 และเมือ่ นำขอมูลในตารางดังกลาวมาสราง ROC Curve
สามารถพบไดมากในบอนสีที่ไมไดรับแสงและน้ำอยางเหมาะสม สงผลใหการสงออกทำไดชาลงและได บอนสีในปริมาณที่ จากกราฟดังกลาวสามารถคำนวณคา AUC ของระบบจากพื้นที่ใตกราฟได โดยมีคาประมาณ 0.86 ซึ่งอยูในเกณฑดี
นอยลง โดยโรคใบไหมในบอนสีทำใหใบมีลักษณะหยาบกราน มีรอยไหมเกิดขึ้น โดยเกษตรกรสามารถปองกันการเกิดโรค
ผังการทำงานของระบบตรวจสอบ
ใบไหมในบอนสีไดโดยการจัดสภาพแวดลอมในการปลูกใหเหมาะสม ซึ่งตนบอนสีจะเจริญเติบโตไดดีในสภาพอากาศรอนชื้น
ที่มีปริมาณแสง 50 – 70 เปอรเซ็นต อุณหภูมิ 21 - 35 องศาเซลเซียส และความชื้นสัมพัทธ 70 - 95 เปอรเซ็นต (อรวรรณ จับภาพจากแอปพลิเคชันของ
IP camera ผาน Emulator ตรวจสอบโรคใบไหม
วิชยั ลักษณ, 2548) จากปญหาดังกลาวทางคณะผูจ ดั ทำจึงไดออกแบบและพัฒนาระบบตรวจสอบโรคใบไหมในบอนสีภายใน เริ่มตนการทำงาน

โรงเรือนสาธิตดวยระบบปญญาประดิษฐ โดยมีคุณลักษณะเดนที่ใชในการแยกแยะ คือ ลักษณะสีของใบที่มีรอยไหมเกิดขึ้น


และสรางระบบแจงเตือนทางแอปพลิเคชัน LINE เมื่อพบโรคใบไหม ซึ่งจะชวยใหเกษตรกรสามารถดูแลตนบอนสีไดงายและ กำหนดคาตัวแปรเริ่มตน
สะดวกยิ่งขึ้น อีกทั้งยังสามารถชวยลดการใชแรงงานไดอีกดวย ของสัดสวนที่เกิดโรคใบไหม = 0 กำหนดรูปแบบขอความแจงเตือน
และแจงเตือนผาน LINE
หนวงเวลาในการตรวจสอบ
เปนเวลา 2 วินาที

วัตถุประสงค
เปรียบเทียบสัดสวนการเกิดโรคใบไหม สงคาตัวแปรสัดสวนการเกิดโรคที่เพิ่มขึ้น
หากมีคาเพิ่มขึ้น กลองถัดไปจะทำงาน เพื่อใหเปนคาเริ่มตนในการตรวจสอบครั้งถัดไป

1 เพื่อออกแบบและพัฒนาระบบตรวจสอบโรคใบไหมในบอนสีภายในโรงเรือนสาธิตดวย CiRA CORE


ตารางที่ 1 ตารางแสดงคา Threshold และ F1 Score ตารางที่ 2 ตารางแสดงคา Threshold 1-specificity และ sensitivity
2 เพือ่ ออกแบบและพัฒนาระบบแจงเตือนผลการตรวจสอบผานแอปพลิเคชัน LINE

วิธีดำเนินการ
ตอนที่ 1 การพัฒนาระบบตรวจสอบโรคใบไหมดวย CiRA CORE

การพัฒนาระบบตรวจสอบโรคใบไหมในบอนสี การพัฒนาระบบแจงเตือนผานแอปพลิเคชัน LINE

ศึกษาการทำงานของ CiRA CORE ศึกษาการทำงานของ LINE Notify

ออกแบบและพัฒนาระบบตรวจสอบโรคใบไหมในบอนสี ออกแบบและพัฒนาระบบแจงเตือนผานแอปพลิเคชัน LINE

ตัวอยางการเก็บขอมูลใน Confusion Matrix

ใชชุดขอมูลในการพัฒนาจำนวน 505 ภาพ โดยแบงเปนขอมูลที่ไมพบโรคและ ระบบจะแจงเตือนเมื่อพบสัดสวนการเกิดโรคใบไหมที่เพิ่มขึ้น ในรูปแบบ


พบโรคเทา ๆ กัน อยางละ 720 ใบ และมีคุณลักษณะเดนที่สามารถใชแยกแยะ ขอความแสดงจำนวนใบที่พบโรค และภาพแสดงตำแหนงใบที่เกิดโรค
คือ ลักษณะของใบที่มีรอยไหม

ทดสอบตัวแปรที่ใชในการสรางโมเดล (Hyperparameter) ตอนที่ 2 การสรางโรงเรือนสาธิต

ออกแบบและวางแผนการสรางโรงเรือนสาธิต 2 ผลการพัฒนาระบบแจงเตือนผานแอปพลิเคชัน LINE


ระบบแจงเตือนผานแอปพลิเคชัน LINE เมือ่ พบโรคใบไหมในบอนสีภายในโรงเรือนสาธิต สามารถแจงเตือนขอความ
โดยระบุวนั และเวลาทีต่ รวจพบโรคใบไหม จำนวนใบบอนสีทต่ี รวจพบโรคใบไหม พรอมทัง้ สามารถแสดงภาพระบุตำแหนง
ของใบที่ตรวจพบโรคใบไหมใหผูใชไดอยางถูกตอง
คำนวณหาขนาดของพื้นที่ที่กลองครอบคลุมได โดยใชกฎของไซนในการ
คำนวณและออกแบบโรงเรือนสาธิตใหมขี นาด 1.50 × 2.00 × 1.50 เมตร
ทดสอบตัวแปรที่ใชในการสรางโมเดล เพื่อใหไดคาตัวแปรที่เหมาะสมที่จะนำมา โดยมีลักษณะของหลังคาโรงเรือนสาธิตเปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว และ
ใชกับระบบตรวจสอบ ติดตั้ง IP Camera บริเวณคานของโรงเรือน

ประเมินประสิทธิภาพการทำงานของระบบตรวจสอบ ติดตั้งอุปกรณภายในโรงเรือน
ตัวอยางการทำงานของระบบ
ทดสอบระบบกับชุดขอมูลภาพบอนสีภายในโรงเรือนสาธิตขนาด 1.50 × 2.00
× 1.50 เมตร จำนวน 152 ภาพ จากนั้นเก็บผลการทดสอบลงใน Confusion Matrix
และคำนวณหาคา F1 Score เฉลี่ยทั้งหมด คา Sensitivity และคา 1-Specificity
จากนั้นนำคาที่คำนวณไดมาสราง ROC Curve เพื่อคำนวณหาคา AUC ที่แสดงถึง
ความสามารถในการตรวจจับของระบบ
สรุปผลการทดลอง
งานวิจยั นีส้ ามารถออกแบบและพัฒนาระบบตรวจสอบโรคใบไหมในบอนสีภายในโรงเรือนสาธิตดวยระบบปญญา
ติดตัง้ IP camera และวางตนบอนสีภายในโรงเรือนสาธิต โดยจะใชตน บอนสี ประดิษฐ และระบบแจงเตือนผานแอปพลิเคชัน LINE ไดสำเร็จตามวัตถุประสงค โดยเมือ่ ทำการทดสอบประสิทธิภาพ
พันธุฮ กหลงจำนวน 3 กระถาง ทีม่ จี ำนวนใบทัง้ หมด 21 ใบ โดยแบงเปนใบที่
ไมพบโรคใบไหม 10 ใบ และใบที่พบโรคใบไหม 11 ใบ ของระบบ พบวาระบบตรวจสอบดังกลาวมีความสามารถในการตรวจจับโรคใบไหมภายในโรงเรือนสาธิตไดเปนอยาง
ดี โดยมีคา AUC อยูที่ประมาณ 0.86 ซึ่งอยูในเกณฑดี และมีคา F1 Score อยูที่ประมาณ 0.85 และระบบดังกลาว
สามารถแจงเตือนทางแอปพลิเคชัน LINE เมื่อตรวจพบโรคใบไหมภายในโรงเรือนสาธิตไดเปนอยางดี

You might also like