You are on page 1of 30

เรื่อง การศึกษาการใช/ภาษาไทย

บนสื่อสังคมออนไลน;ของวัยรุ?นในปAจจุบัน

เสนอ

คุณครูสายฝน โหจันทร3

โดย

๑. นางสาวสุนิศา ไทยคำ ชั้นม.๖/๒ เลขที่ ๔


๒. นางสาวกันติชา สิริวงศ3วรัณ ชั้นม.๖/๒ เลขที่ ๖
๓. นางสาวฐิตินันท3 มณีฉาย ชั้นม.๖/๒ เลขที่ ๑๒
๔. นางสาวธารีรัตน3 โพธิธรรม ชั้นม.๖/๒ เลขที่ ๑๖
๕. นางสาวอภิชญา ธีรประภานนท3 ชั้นม.๖/๒ เลขที่ ๑๘
๖. นางสาวชาลิสา สิริพัฒนกิจกุล ชั้นม.๖/๒ เลขที่ ๒๓

รายงานเลVมนี้เปWนสVวนหนึ่งของรายงานวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ท๓๓๑๐๒
ภาคเรียนที่ ๒ ป\การศึกษา ๒๕๖๔
โรงเรียนมารีย3อุปถัมภ3 อ.สามพราน จ.นครปฐม
เรื่อง การศึกษาการใช_ภาษาไทยบนสื่อสังคมออนไลน3ของวัยรุVนในปaจจุบัน

เสนอ

คุณครูสายฝน โหจันทร3

โดย

๑. นางสาวสุนิศา ไทยคำ ชั้นม.๖/๒ เลขที่ ๔


๒. นางสาวกันติชา สิริวงศ3วรัณ ชั้นม.๖/๒ เลขที่ ๖
๓. นางสาวฐิตินันท3 มณีฉาย ชั้นม.๖/๒ เลขที่ ๑๒
๔. นางสาวธารีรัตน3 โพธิธรรม ชั้นม.๖/๒ เลขที่ ๑๖
๕. นางสาวอภิชญา ธีรประภานนท3 ชั้นม.๖/๒ เลขที่ ๑๘
๖. นางสาวชาลิสา สิริพัฒนกิจกุล ชั้นม.๖/๒ เลขที่ ๒๓

รายงานเลVมนี้เปWนสVวนหนึ่งของรายงานวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ท๓๓๑๐๒
ภาคเรียนที่ ๒ ป\การศึกษา ๒๕๖๔
โรงเรียนมารีย3อุปถัมภ3 อ.สามพราน จ.นครปฐม

คำนำ
รายงานเรื่อง การศึกษาการใช1ภาษาไทยบนสื่อสังคมออนไลน;ของวัยรุ?นในปAจจุบัน รายงานฉบับนี้เปFน
ส? วนหนึ ่ ง ของวิ ชาภาษาไทยพื ้ นฐาน ท๓๓๑๐๒ ภาคเรี ยนที ่ ๒ ปO การศึ กษา ๒๕๖๔ โดยมี วั ตถุ ประสงค;
เพื่อศึกษาการใช1ภาษาไทยบนสื่อสังคมออนไลน;ของวัยรุ?นในปAจจุบัน ซึ่งรายงานเล?มนี้มีขอบข?ายเนื้อหาเกี่ยวกับ
ความหมายของภาษา ประเภทของภาษา ปAญหาการใช1ภาษาไทยของวัยรุ?นในปAจจุบัน ปAญหาการใช1ภาษาไทย
ของวัยรุ?นบนสื่อสังคมออนไลน; ความหมายของสื่อสังคมออนไลน; ประเภทของสื่อออนไลน; การประดิษฐ;คำ
ขึ้นมาใหม? การสะกดคำทับศัพท; การใช1คำแสดงเสียง อารมณ;และอาการ และข1อมูลดังกล?าวที่ใช1ศึกษา สืบค1น
จาก เว็บไซต; เอกสาร และตำราวิชาการ จนสำเร็จเปFนรายงานเล?มนี้
คณะผู1จัดทำได1เลือกหัวข1อนี้ในการทำรายงาน เนื่องจากเปFนเรื่องที่น?าสนใจ และผู1จัดทำหวังว?า
รายงานฉบับนี้จะให1ความรู1 และเปFนประโยชน;แก?ผู1อ?านทุกๆท?าน และผู1จัดทำขอน1อมรับข1อเสนอแนะต?างๆ
เพื่อนำไปเพิ่มเติมหรือแก1ไขต?อไป

คณะผู1จัดทำ
๒๕/๑๑/๖๔

สารบัญ
หัวเรื่อง หน1า
คำนำ ก
สารบัญ ข
บทนำ ๑
๑. ภาษา
๑.๑ ความหมายของภาษา ๓
๑.๒ ประเภทของภาษา ๓
๒. การใช1ภาษาไทยบนสื่อสังคมออนไลน;ของวัยรุ?นในปAจจุบัน
๒.๑ ปAญหาการใช1ภาษาไทยของวัยรุ?นในปAจจุบัน ๔
๒.๒ ปAญหาการใช1ภาษาไทยของวัยรุ?นบนสื่อสังคมออนไลน; ๕
๓. สื่อสังคมออนไลน;
๓.๑ ความหมายของสื่อออนไลน; ๗
๓.๒ ประเภทของสื่อออนไลน; ๘
๔. กรณีศึกษาการใช1ภาษาไทยบนสื่อสังคมออนไลน;
๔.๑ การประดิษฐ;คำขึ้นมาใหม? ๑๐
๔.๒ การสะกดคำทับศัพท; ๑๒
๔.๓ การใช1คำแสดงเสียง อารมณ;และอาการ ๑๔
๕. บทสรุป ๒๕
บรรณานุกรม ๒๗

บทนำ

การสื่อสารเป็นพฤติกรรมขั้นพื้นฐานสาหรับมนุษย์ การสื่อสารคือ การถ่ายทอดข่าวสาร ข้อมูล ความรู้


ประสบการณ์ ความรู้สึก ความคิดเห็น ความต้องการจากบุคคลโดยผ่านสื่อต่างๆ ที่อาจเป็นการพูด การเขียน
สัญลักษณ์อื่นๆ การแสดงหรือการจัดกิจกรรมต่างๆ ไปยังอีกบุคคลหนึ่ง ซึ่งอาจจะใช้กระบวนการสื่อสารที่
แตกต่างกันไปตามความเหมาะสม หรือความจาเป็นของตนเองและผู้อื่น และการสื่อสารมีบทบาทที่สาคัญต่อ
ชีวิตประจาวัน ในหนึ่งวันเราใช้การสื่อสารอยู่ตลอดเวลา ตั้งแต่บุคคลในครอบครัว กลุ่มเพื่อน ผู้ร่วมงาน และ
ทุกกิจกรรมในการดาเนินชีวิตก็ต้อ งใช้การสื่อสารด้วยกันทั้งนั้น การสื่อสารเป็นกระบวนการที่ทาให้สังคมมี
ความเจริญก้าวหน้ามากขึ้น ในปัจจุบันนี้มนุษย์เราจึงได้มีการพัฒนาลักษณะการสื่อสารในรูปแบบที่แตกต่างกัน
ไป เช่น การสื่อสารด้ว ยภาพ การสื่อสารระหว่างบุคคล และยังมีอีกปัจจัยหนึ่งที่สาคัญที่ทาให้เ ทคโนโลยี
เจริญก้าวหน้าและทันสมัยอยู่ทุกวันนี้ คือการสื่อสารที่ใช้สื่อสังคมออนไลน์บนโทรศัพท์ที่กาลังเป็นที่นิยมอยู่
ตอนนี้ในปัจจุบัน โดยวัยรุ่นสมัยนี้นิยมใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อการติดต่อสื่อสารที่รวดเร็ว แต่มีความลาบากใน
การพิมพ์ตัวอักษรเพราะแป้นพิมพ์บนโทรศัพท์อาจจะเล็กเกินไปทาให้การพิมพ์ลาบากและอาจจะทาให้พิมผิด
หรือพิมพ์ตกหล่น ทาให้เสียเวลาในการพิมสนทนากัน ส่งผลให้กลุ่มวัยรุ่นในปัจจุบันนี้ตัดคาให้สั้นลง เขียน
คาผิด หรืออาจจะมีการใช้คาศัพท์ที่แปลกๆ เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการสื่อสารแต่ก็ทาให้ผู้สนทนาด้วย
สามารถเข้าใจได้ ดังนั้นทาให้การสื่อสารในรูปแบบออนไลน์ มีการพัฒนาลักษณะทางภาษา ทาให้เกิดความ
หลากหลายของภาษาที่ผิดไปจากเดิม (ภานุวัฒน์ กองราช, ๒๕๕๔)

ร้อยละของประชำชนอำยุ ๖ ปีขึ้นไปที่ใช้อินเทอร์เน็ต จำแนกตำมกลุ่มอำยุ

กลุ่มอำยุ (ปี)
ปี
๖ - ๑๔ ๑๕ - ๒๔ ๒๕ - ๓๔ ๓๕ - ๔๙ ๕๐ ปีขึ้นไป
๒๕๕๙ ๖๑.๔ ๘๕.๙ ๗๓.๖ ๔๔.๙ ๑๓.๘
๒๕๖๐ ๖๓.๔ ๘๙.๘ ๘๐.๓ ๕๔.๙ ๑๘.๒
๒๕๖๑
๗๔.๖ ๙๓.๕ ๘๘.๓ ๖๙.๒ ๒๔.๓
(ไตรมาส ๔)
๒๕๖๒ ๗๓.๙ ๙๕.๕ ๙๒.๓ ๗๙.๑ ๓๓.๒
๒๕๖๓ ๙๐.๒ ๙๘.๔ ๙๗.๓ ๙๐.๖ ๓๓.๒
ที่มา : สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม, ๒๕๖๓

เมื่อพิจ ารณาการใช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต ตามกลุ่ ม อายุ ต่า งๆในปี ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ พบว่า ทุกกลุ่ ม อายุ มี
แนวโน้มการใช้อินเทอร์เน็ตสูงขึ้น โดยในปี ๒๕๖๓ พบว่า กลุ่มอายุ ๑๕ – ๒๔ ปี มีการใช้อินเทอร์เน็ตสูงที่สุด
ร้อยละ ๙๘.๔ รองลงมาคือ กลุ่มอายุ ๒๕ – ๓๔ ปี ร้อยละ ๙๗.๓ และกลุ่มอายุ ๓๕ – ๔๙ ปี ร้อยละ ๙๐.๖

ส่วนกิจกรรมที่ใช้ส่วนใหญ่ใช้โซเชียลเน็ตเวิร์ก เช่น Facebook, Twitter, LINE, Whatsapp เป็นต้น


ร้อยละ ๙๒.๐ รองลงมาคือ ใช้โทรศัพท์ผ่าน Internet (VoIP) เช่น โทรผ่าน Line, Facebook, Facetime,
Whatsapp เป็นต้น ร้อยละ ๙๐.๙ และใช้ในการดาวน์โหลด หรือสตรีมมิ่ งรูปภาพ/หนัง/วิดีโอ/เพลง/เกมส์
เล่นเกมส์ ดูหนัง ร้อยละ ๗๔.๓ (สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม, ๒๕๖๓)

คณะผู้จัดทาเห็นว่าการใช้ภาษาบนสื่อสังคมออนไลน์เป็นภาษาที่ใช้เฉพาะในกลุ่มคนรุ่นใหม่ หรือกลุ่ม
วัยรุ่น ภาษาเหล่านี้เป็นภาษาเฉพาะที่ต้องใช้ในการสื่อสารในออนไลน์เท่านั้น โดยภาษาเหล่านี้ทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงทางภาษาไทย ดังนั้นพวกเราจึงจะศึกษาการใช้ภาษาบนสื่อสังคมออนไลน์ของวัยรุ่นในปัจจุบัน
และมี จุ ด มุ่ ง หมายเพื่ อ รวบรวมและเผยแพร่ ค าศั พ ท์ ที่ วั ย รุ่ น ใช้ กั น ในปั จ จุ บั น โดยมี ป ระเด็ น หลั ก ๆดั ง นี้
ความหมายของภาษา ประเภทของภาษา ปัญหาการใช้ภาษาไทยของวัยรุ่นในปัจจุบัน ปัญหาการใช้ภาษาไทย
ของวัยรุ่นบนสื่อสังคมออนไลน์ ความหมายของสื่อสังคมออนไลน์ ประเภทของสื่อออนไลน์ การประดิษฐ์คา
ขึ้นมาใหม่ การสะกดคาทับศัพท์ การใช้คาแสดงเสียง อารมณ์และอาการ และรายงานเล่มนี้จะช่วยสร้างความ
เข้าใจแก่สังคมเพื่อให้มองภาษาหรือคาเหล่านี้อย่างเป็นกลาง และช่วยสร้างความตระหนักการใช้ภาษาไทยได้
อย่างถูกต้อง

๑. ภำษำ
๑.๑ ความหมายของภาษา
ชัชวดี ศรลัมพ (๒๕๖๒:งานวิจัย) ถ้าพูดถึงความหมายของภาษาภาษานั้นถูกกาหนดด้วยความนึกคิด
ของมนุษย์เพราะเรามักจะสื่อสารหรือแสดงออกด้วยการใช้ภาษาเป็นสัญลักษณ์และเราต้องรู้ว่าสัญลักษณ์นั้นที่
ผู้ส่งสารต้องการจะสื่อให้ผู้รับสารนั้นมีความหมายว่าอย่างไร ตัวอย่างเช่นสัญลักษณ์ หมายถึง วัตถุ อักษร
รูปร่าง หรือสีสัน ซึ่งใช้ในการสื่อความหมายหรือแนวความคิดให้มนุษย์เข้าใจไปในทางเดียวกัน อาจจะเป็น
รูปธรรมหรือนามธรรมก็ได้ เเละเนื่องจากบางครั้งการสื่อสารก็ไม่สามารถที่จะอธิบายได้อย่างลึกซึ้งและด้วยตัว
มันเองเราจึงจาเป็นต้องศึกษาและเรียนรู้สถานการณ์ต่างๆได้ จันทิมา พงษ์พันธ์ (๒๕๔๘:วิทยานิพนธ์) ภาษาที่
เราใช้กันจนเป็นนิสัยซึ่งมีอิทธิพลต่อบุคคลมุมมองของผู้พูดและผู้ฟังเริ่มมีการศึกษาว่าภาษาเป็นผลมาจาก
ความคิดของมนุษย์ แต่อันที่จริงภาษาไม่ได้กาหนดความคิดของมนุษย์แต่อย่างใดแต่ความคิดของมนุษย์เป็น
ตั ว ก าหนดรู ป แบบของการใช้ ภ าษา และภาษานั้ น ภาษานั้ น เป็ น สมบั ติ ข องมนุ ษ ย์ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ ในการ
ติดต่อสื่อสารกันในสังคมหรือติดต่อกันกับคนบางกลุ่มมีภาษาเฉพาะตัวเฉพาะกลุ่มและภาษายังถูกถ่ายทอดกัน
มาจากรุ่นสู่รุ่นเป็นสิ่งที่ต้องเรียนรู้กันไม่ใช่ได้มาจากสัญชาตญาณภาษาสามารถที่จะเปลี่ยนแปลงได้อยู่เสมอ
เป็นสิ่งทีต่ ้องยอมรับโดยคนในสังคมและสิ่งที่พิเศษนั่นคือมนุษย์มีภาษาไว้สื่อสารกันมีวัฒนธรรมแต่สัตว์นั้นไม่มี
วัฒนธรรมและไม่มีภาษาที่ตายตัวไว้สื่อสารกันซึ่งนี่ก็เป็นข้อเเตกต่างระหว่างการสื่อสารที่มีรูปเเบบกั บการ
สื่อสารโดยสัญชาตญาณ เเละมีอีกส่วนนึงที่เราจะมาทาความเข้าใจกับประเภทของภาษาที่เราใช้ในการสื่อสาร
ระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร

๑.๒ ประเภทของภาษา
(๒๕๕๙:ออนไลน์) ประเภทของภาษาสามารถแบ่งได้ออกเป็น ๒ประเภทคือ ภาษาพูดเเละภาษาเขียน
๑.การสื่อสารเเบบวัจนะภาษา หมายถึงการที่ผู้ส่งสารและผู้รับศาลทาการสื่อสารความหมายกันโดยใช้ ภาษา
เขียนหรือภาษาพูดคือภาษาที่ แสดงออกมาเป็นเสียงหรือถ้อยคาเป็นประโยคที่มีความหมายสามารถเข้าใจได้
ชัดเจนเช่นคาพูดคาสนทนา การติดต่อสื่อสารงาน
๒.การสื่อเเบบอวัจนะภาษา หมายถึงการสื่อสารที่ผู้ส่งสารและผู้รับศาลกันโดยไม่ต้องใช้คาพูดหรือการเปล่ ง
เสียงออกมาหรือภาษาเขียนแต่มีลักษณะเป็นภาษาที่แฝงอยู่ในถ้อยคานั้นซึ่งสามารถให้เกิดความหมายความรู้
และควาการเปล่ งเสี ยงเสียงการเน้นเสี ยงจั งหวะการพูดหรือการหยุดพูดและยังหมายถึงท่าทางกิริย าการ
เคลื่ อ นไหวสี ห น้ า หรื อ สายตาด้ ว ยต่อ มาในการใช้ภ าษาทั้ ง ๒ ประเภทนี้ ก็ ต้ อ งตรวจสอบและสั งเกตให้ ดี
ตัว อย่ างเช่น ๑.๑ การใช้วัจ นะภาษาในการสื่ อสารคนพิจารณาหนึ่งการใช้วัจนะภาษาให้ ชัดเจนถูกต้องมี
ความหมายที่ ๑ เป็ น ภาษาที่ เ ข้ า ใจตรงกั บ ผู้ ส่ ง สารและผู้ รั บ สารไม่ ก ากวมและถู ก ต้ อ งตามหลั ก ภาษา
๑.๒ ลักษณะของคาคานั้นต้องเป็นลักษณะคามูลหรือคาประสมหรือคาที่ยืม จากภาษาต่างประเทศ ๑.๓ หน้าที่
ของคา คาที่ใช้มีหน้าที่เป็นคานามคาคุณศัพท์คากริยาคาบุพบทต้องใช่ให้ตรงกับหน้าที่ ๑.๔ ตาแหน่งของคา
คาแต่ละคาจะมีตาแหน่ งในประโยคเป็นประธานกิริยากรรมผู้ส่ งสารจาเป็นต้องศึกษาเพื่อวางตาแหน่ง ให้
ถูกต้องและไม่สับสน ๑.๕ ความหมายของคาในภาษาไทยมีความหมายที่ตรงและความหมายแฝงผู้ส่งสารต้อง

ศึกษาคาเหล่ านี้ เพื่อขจั ดความกากวม เเละการใช้วัจนะภาษาให้ เหมาะสมในประเด็นผู้ส่งสารจาเป็นต้อง


พิจารณาให้เหมาะสม ๒.๑ ใช้ภาษาให้เหมาะสมกับลักษณะการสื่อสารคือการสื่อสารกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคล
หรือสาธารณะหรือสื่ อมวลชนเพราะขนาดของกลุ่ มมีผลต่อความยากง่ายในการใช้ภาษา ๒.๒ ใช้ภาษาให้
เหมาะสมกับงานแต่ละประเภทการสื่อสารธุรกิจมีแยกออกมามากมายแต่ละงานมีภาษาเฉพาะตัว ๒.๓ การใช้
ภาษาให้เหมาะกับสื่อการสื่อสารทางธุรกิจอาจจะใช้สื่อสารด้วยอิเล็กทรอนิกส์หรือสื่อโฆษณาผู้ส่งสารจะต้อง
รู้ จั กความต่างของสื่ อของภาษาที่ใช้ในสื่ อ ๒.๔ ใช้ภ าษาให้ เหมาะสมกับผู้ รับสารเป้าหมายคาว่าผู้ รับสาร
เป้ าหมายหมายถึงกลุ่ มผู้รั บสารโดยเฉพาะผู้ที่ส่ งสารคาดหวังไว้ผู้ ส่งสารย่อมต้องวิเคราะห์ ผู้รับสารที่เป็น
เป้าหมายของงานนั้นและเลือกใช้ภาษาให้เหมาะสมและถูกต้อง เเละยังมี ประเภทของภาษาในสังคมไทยที่
สามารถจาแนกตามเกณฑ์คุณสมบัติได้ สุภัทร แก้วพัตร (๒๕๖๐: งานวิจัย) ๑. ความเป็นมาตรฐาน หมายถึง
การที่ภ าษาใดภาษาหนึ่ งได้รั บ การจั ดระเบียบโดยการจัดทาพจนานุกรม และตาราไวยากรณ์ ซึ่งกาหนด
ระเบียบของการใช้ภาษานั้นๆ
๒. ความเป็นเอกเทศ หมายถึง การที่ภาษาใดภาษาหนึ่งมีความเป็นตัวของตัวเอง ไม่เป็นสมาชิกย่อยหรือภาษา
ย่อยของภาษาใด
๓. ความมีประวัติอันยาวนาน หมายถึง การที่ภาษาหนึ่งถูกใช้ในสังคมมาเป็นเวลานานหรือจะกล่าวได้ว่าภาษา
สามารถสืบกลับไปหาบรรพบุรุษของตนในอดีตอันยาวนานได้ เเละเป็นภาษาธรรมชาติที่อ ยู่คู่กันมาให้สังคม
เป็นเวลานาน
๔. ความมีชีวิต คุณสมบัติข้อนี้ หมายถึงการที่ภาษาใดภาษาหนึ่งมีผู้รู้พูดภาษายัง มีชีวิตอยู่ผู้พูดในที่นี้หมายถึง
ผู้ที่ใช้ภาษานั้นเป็นภาษาแม่ ภาษาที่ตายแล้ว เช่น บาลีสันสกฤต ไม่มี คุณสมบัติข้อนี้ เพราะไม่มีใครใช้ตั้งแต่
เริ่มหัดพูด ประเด็นต่อมาในการใช่ภาษาไทยบนสื่อสังคมออนไลน์ของวัยรุ่นไทยบนสื่อสังคมออนไลน์นั้นก็เป็น
สิ่งที่สาคัญเช่นกัน
ดังนั้นด้วยหลักของภาษาเเล้วภาษาที่เราใช้สื่อสารกันมีทั้งอักษร เสียง รูป สัญลักษณ์ เเละบางครั้ง
อาจจะมีผู้ ที่ไม่มีป ระสบการณ์กับ การสื่ อสารแบบสั ญลักษณ์ นั้นมักจะยากที่จะทาความเข้าใจภาษาที่เป็น
สัญลักษณ์นั้นๆ กล่าวได้ว่านอกจากสัญลักษณ์แล้วภาษาจึงเป็นสื่อนาความคิดของคนเราไม่ว่าจะเป็นรูปแบบ
ไหนก็ตามเราจึงจาเป็นต้องทาความเข้าใจปัจจัยสาคัญของการสื่อสารโดยใช้ภาษาที่ทาให้มนุษย์มีความเข้าใจ
เเละประเภทของภาษาก็สามารถที่จะเเยกด้วยการที่ใช้การสื่อสารในรูปเเบบการเเสดงท่าทาง อักษร โดยไม่ใช่
การออกเสียงหรือเป็นการใช่การออกเสียง สิ่งเหล่านี้ก็ถือว่าเป็นประเภทของภาษาที่เราใช่กันในปัจจุบัน

๒. กำรใช้ภำษำไทยบนสื่อสังคมออนไลน์ของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
๒.๑ ปัญหาการใช้ภาษาไทยของวัยรุ่นในปัจจุบัน
๒.๑.๑ ภาษาวิบัติ
ชัช ชัย นกดี (๒๕๕๗ : ออนไลน์ ) ได้ให้ ความหมายของภาษาวิบัติไว้ว่าภาษาวิบัติ เป็นคาเรียกของการใช้
ภาษาไทยที่เปลี่ยนแปลงไป และไม่ตรงกับกับหลักภาษาในด้านการสะกดคาคาว่า 'ภาษาวิบัติ' ใช้เรียกรวมถึง
การเขียนที่สะกดผิดบ่อย รวมถึงการใช้ คาศัพท์ใหม่หรือคาศัพท์ที่สะกดแปลกไปจากเดิม คาว่า "วิบัติ" มาจาก

ภาษาบาลี หมายถึง พินาศฉิบหาย หรือความเคลื่อนทาให้เสียหาย วัยรุ่นไทยสมัยนี้นิยมใช้โซเชียลเน็ตเวิร์คเพื่อ


การติดต่อที่รวดเร็วและเนื่องจากความเร็วในการสื่อสารและความยากลาบากในการพิมพ์ตัวอักษรทาให้วั ยรุ่น
ทาให้คาเหล่านั้นสั้นลงจนกลายเป็นภาษาวิบัติ ในขณะเดียวกันได้มีการใช้คาว่าภาษาอุบัติแทนที่ภาษาวิบัติที่มี
ความหมายในเชิงลบ โดยภาษาอุบัติหมายถึงภาษาที่เกิดขึ้นมาใหม่ ตอบสนองวัฒนธรรมย่อย เช่นเดียวกับ
ภาษาเฉพาะวงการที่เป็นศัพท์สแลง
นาย ฉัตรชัย ใจแสน(๒๕๕๗ : ออนไลน์) ได้กล่าวไว้ว่าในปัจจุบันปัญหาที่พบเป็นอย่างมากเกี่ยวกับ
การใช้ภาษาไทยคือการใช้ภาษาในทางวิบัติ และมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ภาษาอยู่หลายประเภท เช่น
๑. รูปแบบการพูด เป็นประเภทของภาษาวิบัติที่ใช้เวลาพูดกัน ซึ่งบางครั้งก็ปรากฏขึ้นในการเขียนด้วย แต่นอ้ ย
กว่ากลุ่มที่ใช้ในเวลาเขียน โดยการพูดมักจะพูดให้มีเสียงสั้นลง หรือยาวขึ้น หรือไม่ออกเสียงควบกล้ าเลย
ประเภทนี้เรียกได้อีกอย่างว่ากลุ่มเพี้ยนเสียง
ตัวอย่าง การใช้ภาษาโดยมีการเปลี่ยนแปลง
แปลงเสียงสั้นเสียงยาว
อะไร แปลงเป็น อาราย
ได้ แปลงเป็น ด้าย
ไม่ใช่ แปลงเป็น ม่ายช่าย
แปลงสระ
คิดถึง แปลงเป็น คิดถุง
กว่า แปลงเป็น กั่ว
ไม่ แปลงเป็น มะ
๒. รูปแบบการเขียน รูปแบบของภาษาวิบัติประเภทนี้ โดยทั้งหมดจะเป็นคาพ้องเสียงที่นามาใช้ผิดหลักของ
ภาษา คนที่ใช้ภาษาวิบัติเวลาเขียนนั้นจะเขียนตามเสียงอ่าน เพราะไม่ต้องการอยู่ในกรอบหรือ ต้องการทา
อะไรที่คิดว่าใหม่ ไม่เลียนแบบของเก่า ได้แก่
๒.๑ การเขียนตามเสียงพูด
๒.๒ การสร้างรูปการเขียนใหม่
๓.รูปแบบของการเปลี่ยนแปลงเสียงอ่าน
๔.กลุ่มที่เปลี่ยนแปลงความหมาย

๒.๒ ปัญหาการใช้ภาษาไทยของวัยรุ่นบนสื่อสังคมออนไลน์
๒.๒.๑ การสื่อสารที่ต้องใช้แป้นพิมพ์
๒.๒.๑.๑ การใช้สัญรูป
กานต์รวี ชมเชย(รายงานการวิจั ย “ภาษาไทยเน็ต ” : ภาษาเฉพาะกลุ่ มของคนไทยรุ่นใหม่ในการ
สื่อสารทางอินเตอร์เน็ต)ได้กว่าว่า ปัจจุบันเมื่อมีการสื่อสารด้วยระบบอินเตอร์เน็ตผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์
สมาร์ ทโฟนและแท็บ เล็ ต ผู้ สื่ อสารต้องใช้แป้นพิมพ์พิ มพ์ข้อความแล้ วกดปุ่ม Send หรือ Enter เพื่อแสดง

ข้อความบน หน้าจอ ผู้ใช้ภาษาได้ใช้ประโยชน์จากการใช้แป้นพิมพ์ฝ่าข้อจากัดที่ไม่สามารถแสดงสีหน้าท่าทาง


และเสียง ผ่านหน้าจอได้ด้วยการพิมพ์ข้อความแบบพิเศษ เช่น สื่ออารมณ์ความรู้สึกด้วยการพิมพ์ซ้าตัวอักษร
ตัวสุดท้ายสื่อความหมายถึงเสียงที่ดัง/เน้น และลากเสียงนาน เช่น พิมพ์ซ้าโดยกดแป้นพิมพ์ตัวอักษรนั้นๆ ค้าง
ไว้ (เป็ น การพิมพ์ที่ร วดเร็ วด้วย) เช่น สุ ดยอดดดดดดดดด ไปด้ว ยยยยยยยยยย แพงมากกกกกกกกก การ
พิมพ์สัญรูป(emoticons) ใช้สัญลักษณ์บนแป้นพิมพ์มาเรียงต่อกัน
จนเป็นภาพใบหน้าและท่าทาง มีการ สร้างสัญลักษณ์เช่นนี้เป็นจานวนมาก เช่น
:-) , ^---^ ยิ้ม
;-(, T^T, TT^TT ร้องไห้
:( :-( หน้าบึ้ง
O.o ประหลาดใจ

๒.๒.๒ พื้นที่ในหน้าจอที่แสดงข้อความมีจากัด
ภาษาไทยเน็ตในยุคแรกๆเกิดขึ้นจากการสนทนาในห้องสนทนาออนไลน์ ข้อความที่แสดงที่หน้าจอจะ
ถูกเลื่อนขึ้นไปเรื่อยๆ โดยมีข้อความใหม่มาแสดงแทนที่ ดังนั้นผู้ใช้ภาษาจึงต้องใช้ข้อความที่สั้นเพื่อให้เนื้อหา
จานวนมากยังคงแสดงผลอยู่ในหน้าจอ เพื่อให้การสื่อสารเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ส่วนการสื่อสารในยุคปัจจุบันที่มี
การสื่อสารผ่านกระดานแสดงความเห็นในเว็บไซต์ต่างๆและในโปรแกรม ประยุกต์ในสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตมี
พื้นที่เล็กๆให้พิมพ์ข้อความ ผู้ใช้ภาษาจึงต้องใช้ภาษาที่กระชับและสั้นที่สุดเพื่อแสดงผลในหน้าจอที่มีขนาดเล็ก
ประกอบกับแป้นพิมพ์มีขนาดเล็กมาก (โดยเฉพาะในสมาร์ทโฟน) การพิมพ์ข้อความได้สั้นและกระชับที่สุดจะ
ช่วยประหยัดเวลาในการพิมพ์ จึงทาให้เกิดการสะกดคาที่ เบี่ยงเบนหรือแปรไปจากภาษาไทยมาตรฐาน เช่น
การพิมพ์ จริง เป็น จิง และ เสร็จ เป็น เส็ด พิมพ์ได้เร็วขึ้นเพราะไม่ต้องพิมพ์ตัวอักษร ร
การพิมพ์ ไม่รู้ เป็น มะรุ้ พิมพ์ได้เร็วขึ้นเพราะไม่ต้องกดปุ่ม Shift ก่อนเพื่อพิมพ์ สระอู
การพิมพ์ เดี๋ยว เป็น เด๋ว พิมพ์ได้เร็วขึ้นเพราะไม่ต้องพิมพ์ตัวอักษร ย
๒.๒.๓ การหลีกเลี่ยงการพิมพ์คาไม่สุภาพ
ในการสนทนาในห้องสนทนาในยุคแรกๆ รวมถึงการสนทนาในเกมออนไลน์ปัจจุบัน จะมี โปรแกรม
ตรวจจับและเซ็นเซอร์คาไม่สุภาพ ในเกมออนไลน์ หากผู้เล่นสนทนากันโดยพิมพ์คาไม่สุภาพ การ แสดงผลจะ
ออกมาเป็นเครื่องหมายดอกจัน
( * ) ทาให้ไม่สามารถสื่อสารกันได้เข้าใจ ดังนั้นผู้ใช้ภาษา จึงหลีกเลี่ยงการพิมพ์คาไม่สุภาพด้วยการสะกดคาที่
แตกต่างจากภาษาไทยมาตรฐาน เช่น
คาว่า สัตว์(ซึ่งใช้เป็นคาด่า แต่ในกรณีที่ไม่ได้ใช้เป็นคาด่า ระบบก็ยังคงเซ็นเซอร์) สะกดเป็น สัส สัด สาด
คาว่า เหี้ย สะกดเป็น เห้ เอี้ย
คาว่า มึง สะกดเป็น เมิง มึง

คาว่า กู เป็น กรู กุ น่าสังเกตว่าในปัจจุบัน แม้จะเป็นการสื่อสารในกระดานแสดงความเห็นต่างๆ ซึ่งไม่ได้มี


ระบบเซ็นเซอร์แต่ผู้ใช้ภาษาส่วนใหญ่ก็ ยังคงเลี่ยงการสะกดคาหยาบตามภาษาไทยมาตรฐานโดยสะกดให้
แตกต่างอาจเป็นเพราะเกิดการยอมรับการสะกดคาในลักษณะใหม่นี้แล้ว

สรุป ภาษาวิบัติเป็นคาเรียกของการใช้ภาษาไทยที่เปลี่ยนแปลงไปและไม่ตรงกับหลักภาใช้เรียกรวมถึง
การเขียนที่สะกดบ่อยรวมถึงการใช้คาศั พท์ที่สะกดแปลกไปจากเดิมสมัยนี้นิยมใช้โซเชียลเน็ตเวิร์คเพื่อการ
ติดต่อที่รวดเร็วและเนื่องจากความเร็วในการสื่อสารและความยากลาบากในการพิมพ์ตัวอักษรทาให้วัยรุ่นทาให้
คาเหล่านั้นสั้นลงจนกลายเป็นภาษาวิบัติปั ญหาที่พบเป็นอย่างมากเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทยคือการใช้ ภาษา
ในทางวิบัติและมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ภาษาอยู่หลายประเภทได้แก่ รูปแบบการเขียน รูปแบบการ
พูด รูปแบบการเปลี่ยนแปลงเสียงอ่านและกลุ่มที่เปลี่ยนแปลงความหมายและในปัจจุบันเมื่อมีการสื่อสารด้วย
ระบบอินเตอร์เน็ตผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตทาให้มีการพบปัญหาการใช้ภาษาไทยของ
วัยรุ่นบนสื่อสารสังคมออนไลน์ได้แก่ การสื่อสารที่ต้องใช้แป้นพิมพ์(การใช้สัญรูป) ปัญหาพื้นที่ในหน้าจอที่แสดง
ข้อความมีจากัดและการหลีกเลี่ยงการพิมพ์คาไม่สุภาพ

๓. สื่อสังคมออนไลน์
๓.๑ ความหมายของสื่อสังคมออนไลน์
พลตรี รั ก เกี ย รติ พั น ธุ์ ช าต(๒๕๕๖:๑)ได้ ใ ห้ ค วามหมายไว้ ว่า สื่ อ สั ง คมออนไลน์ (Social Media)
หมายถึง สื่อดิจิทัลที่เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติการ ทาง สังคม (Social Tool) เพื่อใช้สื่อสารระหว่างกันใน
เครือข่ายทางสังคม (Social Network) ผ่านทางเว็บไซต์และ โปรแกรมประยุกต์บนสื่อใด ๆ ที่มีการเชื่อ มต่อ
กับอินเทอร์เน็ต โดยเน้นให้ผู้ใช้ทั้งที่เป็นผู้ส่งสารและผู้รับสารมี ส่วนร่วม (Collaborative) อย่างสร้างสรรค์ ใน
การผลิตเนื้อหาขึ้นเอง (User-GenerateContent:UGC)
พิชิต วิจิตรบุญยรักษ์(วารสารนักบริหารมหาวิทยาลัยกรุงเทพ,๒๕๕๔:๙๙)ได้ให้ความหมายไว้ว่า สื่อ
สังคมออนไลน์ คือ สื่อที่ผู้ส่งสารแบ่งปันสาร ซึ่งอยู่ในรูปแบบต่างๆ ไปยังผู้รับสารผ่านเครือข่ายออนไลน์ โดย
สามารถโต้ตอบ กันระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร หรือผู้รับสารด้วยกันเอง ซึ่งสามารถแบ่งสื่อสังคมออนไลน์
ออกเป็ น ประเภทต่ า งๆ ที่ ใ ช้ กั น บ่ อ ยๆ คื อ บล็ อ ก (Blogging) ทวิ ต เตอร์ แ ละไมโครบล็ อ ก (Twitter and
Microblogging) เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Networking) และการ แบ่งปันสื่อทางออนไลน์ (Media
Sharing)

ระวิ แก้วสุกใส และชัยรัตน์ จุสปาโล(วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ,๒๕๕๖:๑๙๕)ได้ให้


ความหมายไว้ว่า เครือข่ายสังคมออนไลน์ หมายถึง สังคม หรือการรวมตัวกันเพื่อสร้างความสัมพันธ์ในรูปของ
กลุ่ม คนรูปแบบหนึ่งที่ปรากฏ เกิดขึ้นบนอินเทอร์ที่เรียกว่าชุมชนออนไลน์ ทาให้ผู้คนสามารถทาความรู้จัก
แลกเปลี่ยนความ คิดเห็น แบ่งปันประสบการณ์ร่วมกัน และเชื่อมโยงกันในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง โดยมีการ
ขยายตัว ผ่านการติดต่อสื่อสารอย่างเป็นเครือข่าย เช่น เว็บไซต์ Facebook YouTube Twitter เป็นต้น

จากการศึกษาความหมายของ สื่อสังคมออนไลน์ พบว่าเป็นการสื่อสารระหว่างกัน โดยผ่านเครือข่าย


ออนไลน์เป็นตัวกลางของผู้ส่งสารและผู้รับสาร ทาให้ผู้คนทาความรู้จัก แลกเปลี่ ยนความคิด และแบ่งปัน
เนื้อหารูปภาพ เสียง ข้อความ คลิปวีดีโอ ซึ่งสามารถแบ่งประเภทของสื่อสังคมออนไลน์ได้หลากหลาย เช่น
บล็อก โซเชียลเน็ตเวิร์ค ฯลฯ

๓.๒ ประเภทของสื่อออนไลน์
สุภารัตน์ แพหีต และ ณัฐสุดา กาญจน์เจริญ (๒๕๖๑:ออนไลน์) ได้ให้ความหมายไว้ว่า

๑. Weblog (อ่านว่า เวบ-บล็อก )หรือ เรียกสั้นๆว่า Blog (อ่านว่า บล็อก) คือ Website หนึ่งที่บันทึกเรื่องราว
ต่างๆ ที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารในเรื่องราวต่างๆที่ต้องการ โดยสามารถนาเสนอได้ทั้งในรูปแบบของตัวอักษร
รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว และเสียง และสามารถ update และเพิ่มเติมเนื้อหาเดิมได้ตลอด หรือจะเขียนเป็น
ลักษณะไดอะรี่ส่วนตัวก็ยังได้นะคะ ซึ่ง Blog มีความแตกต่างจาก Webboard คือ Blog มีความเป็นเนื้อหาที่
กว้างขวาง มีเนื้อหาที่น่าสนใจ หลากหลาย และส่วนหนึ่งเป็นเนื้อหาที่มีความน่าเชื่อถือ ให้ความรู้ได้ต่อเนื่อง
และเราสามารถเป็นผู้เขียนและเป็นเจ้าของเรื่องราวที่จะนาเสนอเองได้ โดยบางwebsite เปิดโอกาสให้เราได้
สมัครสมาชิกเป็นเจ้าของ Blog ของเราเองได้ ด้วย

๒. Social Networkingโซเชี ย ลเน็ ต เวิ ร์ ค หรื อ Social Network คื อ เครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ หรื อ การที่
ผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ตคนหนึ่ง เชื่อมโยงกับเพื่อนอีกนับสิบ รวมไปถึงเพื่อนของเพื่อนอีกนับร้อย ผ่านผู้ให้บริการ
ด้ า นโซเชี ย ลเน็ ต เวิ ร์ ค (Social Network) บนอิ น เตอร์ เ น็ ต เช่ น Facebook, Blogger, Hi5, Twitter หรื อ
Tagged เป็นต้น (บางเว็บไซต์ที่กล่าวถึงในตัวอย่าง ปัจจุบันนี้ได้เสื่อมความนิยมแล้ว) การเชื่ อมโยงดังกล่าว
ทาให้เกิดเครือข่ายขึ้น เช่น เราสามารถรู้จักเพื่อนของเพื่อนเราได้ เป็นทอดๆ ต่อไปเรื่อย ทาให้เกิดสังคม
เสมือนจริงขึ้นมา สามารถสร้างคอนเน็คชั่นใหม่ๆ ได้ง่าย และเมื่อเราแชร์ (Share) ข้อความหรืออะไรก็ตามลง
ไปในเครือข่าย ทุกคนในเครือข่ายก็สามารถรับรู้ได้พร้อมกัน และสามารถตอบสนองต่อสิ่งที่เราแชร์ได้ เช่น
แสดงความคิดเห็น (Comment) กดไลค์ (Like) ซึ่งอาจจะแตกต่างกันออกไปตามแต่ละผู้ให้บริการ ความโดด
เด่นในเรื่องความง่ายของโซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network) ทาให้ธุรกิจ และนักการตลาดสนใจที่จะใช้เป็ น
เครื่องมือในการประชาสัมพันธ์สินค้า และบริการ

๓. Micro blogging คือการที่เราโพสข้อความสั้นๆ สู่เว็บไซต์และเมื่อเราพูดสั้นๆ เราก็หมายถึงแบบนั้นจริงๆ


การโพสบน micro blogging เรามักจะเรี ยกว่าอัพเดท (หรือในเว็บที่ได้รับความนิยมมากจะนิยมเรียกว่า
tweet) มีการจากัดตัวอักษรที่ ๑๔๐ ตัวอักษร รวมไปถึงการเว้นวรรค ได้แรงบันดาลใจมากจากการส่งข้อความ
text message ธรรมดาที่ใช้ส่งจากมือถือไปยังมือถือ

๔. Online video เป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการวิดีโอออนไลน์โดยไม่เสียค่าใช้จ่า ซึ่งปัจจุบันได้รับความนิยมกันอย่าว


แพร่หลายและขยายตัวอย่างรวดเร็ว เนื่องจากเนื้อหาที่นาเสนอในวิดีโอออนไลน์ไม่ถูกจากัดโดยผังรายการที่
แน่นอน ทาให้ผู้ใช้บริการสามารถติดตามชมได้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งผู้ใช้สามารถชมเนื้อหาได้ตามต้องการ
โดยเฉพาะการดูแลโทรทัศน์ย้อนหลัง และยังสามารถจัดทาวิดีโอนาเสนอผลงานนหรือเนื้อหาที่สนใจเพื่อให้ผู้
อื้นเข้ามาดูได้อีกด้วย

๕. Photo sharing สาหรับบริการ Photo-sharing นั้น จะทางานร่วมกับ Photo Stream ครับ โดยผู้ใช้งาน
สามารถแชร์รูปภาพ หรืออัลบั้มภาพให้ผู้อื่นดูได้ อีกทั้งยังสามารถคอมเมนต์ได้อีกด้วย ต่างจากในปัจจุบันที่เป็น
การแชร์ไฟล์ให้เฉพาะอุปกรณ์ของผู้ใช้งานเท่านั้น นอกจากบริการแชร์รูปภาพ หรือ Photo-sharing แล้ว ยังมี
บริการ Video syncing หรือการซิงค์วิดีโอส่วนตัวขึ้นไปเก็บไว้บน iCloud อีกด้วย

๖. Wikis เป็นเว็บไซต์ที่มีลักษณะเป็นแหล่งข้อมูลหรือความรู้ (Data/Knowledge) ซึ่งผู้เขียนส่วนใหญ่อาจจะ


เป็นนักวิชาการ นักวิชาชีพหรือผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านต่างๆ ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและ
การศึกษา ซึ่งผู้ใช้สามารถเขียนหรือก้ไขข้อมูลได้อย่างอิสระ เช่น Wikipedia,Google,Earth

๗. Virual worlds โลกเสมือนจริง (Virtual World) คือ โลกเสมือน ๓ มิตทิ ี่ถูกสร้างขึ้นใน Cyber Space โดย
ใช้โปรแกรมสาเร็จรูปผ่านการเชื่อมโยงทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ทต่างๆ โดยเน้นให้ผู้เล่นหรือผู้ใช้ทั่วโลก ต่างมี
ความสั มพัน ธ์ซึ่งกัน และกัน ในรู ป แบบต่ างๆ ที่ห ลากหลาย อิทธิพลของ Virtual World ส่ งผลให้ เด็กและ
เยาวชน และผู้ใหญ่เอง เกิดความหลงใหล มีจานวนผู้เข้าไปในโลกแห่งนี้ทวีจานวนมากขึ้นเรื่อยๆ โลกเสมือน ๓
มิติหรือโลกเสมือนจริง ในปัจจุบัน มีตัวอย่างให้พวกเราได้เห็นกันหลายรูปแบบ

๘. Crowd Sourcing คือการร่วมสร้างสรรค์ของกลุ่มคน (Crowd) เพื่อร่วมกันทา หรือสร้างสิ่งต่างๆ รวมถึง


แก้ไขปัญหาร่วมกัน จนกลายเป็นเทรนด์ฮิต ของการทากิจกรรมในการตลาดออนไลน์ผ่าน Digital Campaign
และการโฆษณาออนไลน์ Crowdsourcing เป็นเรื่องที่กาลังถูกพูดถึงมากในธุรกิจออนไลน์ และเป็นแนวโน้ม
ของเทคโนโลยีและผู้ให้บริการ Web-service, Hosting และ Application ต่างๆ กาลังให้ความสาคัญ เพราะ
กลุ่มเมฆนี้มีมูลค่าสูงและทรงพลัง Crowdsourcing ถอดออกมาเป็นคาว่า Crowd และ Outsourcing เป็น
การกระจายปัญหาหรือวัตถุประสงค์บางอย่างเพื่อให้กลุ่มคนหรือชุมชนออนไลน์ มาร่วมกันแก้ปัญหาหรือทา
อะไรตามวัตถุประสงค์นั้นๆ ยกตัวอย่างใกล้ตัวอย่าง Wikipedia สารานุกรม ออนไลน์ ที่ประชากร อาสาสมัคร
Cyber ทุกคนสามารถเข้ามาร่วมกันสร้างสรรค์และแก้เนื้อหาได้

๙. Podcasting หรือ podcast คือขั้นตอนของการเผยแพร่เสียง รวมไปถึงการพูดคุย เล่าเรื่อง สนทนาเรื่อง


ต่างๆ ผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต เริ่มได้รับความนิยมในช่วงปลายปี พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยผู้รับฟังสามารถสมัครที่
จะเลือกรับฟังเสียงหรือเพลง (โดยปกติจะเป็นในลักษณะ MP๓) ผ่านทางระบบฟีด (feed) โดยตัวฟีดนี้จะ
๑๐

ทางานอัตโนมัติ เพื่อทาการดาวน์โหลดไฟล์มัลติมีเดียต่าง ๆ เข้าสู่ คอมพิวเตอร์ หรือเครื่องเล่นเพลงแบบพกพา


(หรือที่เรียกว่า MP๓ เพลเยอร์)

๑๐. Discuss/Review/Opinion เป็ น เว็บ บอร์ดที่ผู้ ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถแสดงความคิดเห็ น โดยอาจจะ


เกี่ยวกับสินค้าหรืบริการ ประเด็นสาธารณะทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เช่น Epinions,Moutshut, Yahoo!

จากการศึกษาประเภทของสื่อสังคมออนไลน์ สามารถสรุปได้ว่ามีด้วยกันหลากหลายชนิด ขึ้นอยู่กับ


ลักษณะของการนามาใช้ โดยสามารถแบ่งเป็นกลุ่มตามการใช้งาน ทาให้เกิดความหลากหลายมากขึ้น ในการใช้
ภาษาไทยบนสื่อสังคมออนไลน์เกิดการเปลี่ยนแปลงมากมาย เช่น การประดิษฐ์คา และ คาทับศัพท์

๔. กรณีศึกษำกำรใช้ภำษำไทยบนสื่อสังคมออนไลน์
ภาษาไทยเป็นภาษาที่สนุกและมีสีสัน เพราะคนไทยชอบที่จะสร้างสรรค์คาศัพท์ใหม่ๆ อยู่เสมอ บวก
กับความตลกเฮฮาที่ฝังแน่นอยู่ในสายเลือด และโลกออนไลน์ที่ทุกอย่างไปไว ทาให้คาศัพท์ที่เกิดขึ้นใหม่มักจะมี
ความหมายที่ตลกขบขันและสามารถสร้างเสียงหัวเราะได้เสมอ โดยเฉพาะ คาศัพท์วัยรุ่น ที่ใช้กันในโลกโซเชียล
สังเกตเห็นว่ามีคาศัพท์แปลกๆ ใหม่ๆ เกิดขึ้นมามากมาย รวมไปถึงการสะกดคาที่วัยรุ่นไทยมักใช้กันผิดจนลืม
ตัวและการใช้คา ใช้สติ๊กเกอร์ โดยที่หลายครั้งก็ไม่ได้ทันคิดว่าคาที่เราเขียนหรือใช้ไปนั้นไม่ถูกต้องตามหลั ก
ภาษาเท่าไหร่ ดังนั้นกรณีศึกษานี้จะกล่าวถึง การประดิษฐ์คาขึ้นมาใหม่ การสะกดคาทับศัพท์ และ การใช้คา
แสดงเสียง อารมณ์ และอาการ โดยศึกษาหาข้อมูลจาก Twitter Facebook Line ในระยะเวลาที่ ๑ ตุลาคม
๒๕๖๔ – ๓๑ ตุลาคม 2564

๔.๑ การประดิษฐ์คาขึ้นมาใหม่

กัญญนัช ชะนะจิตร (๒๕๖๐:ออนไลน์) ได้ให้ความหมายของการประดิษฐ์คาขึ้นมาใหม่ไว้ว่า เป็นการ


สร้างคาเพื่อใช้ในการสื่อความหมายตามที่ผู้ใช้ต้องการสร้างคา ขึ้นมาจากการประสมเสียง อาศัยเสียงของคาใน
การถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึก กิริยาอาการ รวมถึง ทัศนคติที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อต้องการให้ผู้รับสาร เกิด
จินตนาการเห็นภาพและเข้าใจความหมายของคานั้นได้ด้วยเสียง จึงได้ศึกษาและนาตัวอย่างประโยคจาก
Twitter Facebook Line ในระยะเวลาที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๔ – ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๔ ให้ได้เข้าใจมากขึ้น ตาม
ตารางนี้
๑๑

ตัวอย่างการประดิษฐ์คาขึ้นมาใหม่จาก twitter
รูปประโยค คาที่เกิดขึ้นใหม่ คาเดิม
เราโดนเพื่อนเทนัด เท ทิ้ง ล้มเลิก
รู้สึกมิเครกับคอนเสิร์ตนี้เลย มิเคร ไม่โอเค
เพื่อนนกเก่งมาก นก พลาด
เพลงใหม่ของเขาปังมาก ปัง โดดเด่น
ฉันลาไยคนนั้นที่สุดแล้ว ลาไย ราคาญ
คนนั้นตัลลัคมากกกกก ตัลลัค น่ารัก
เขาแต่งตัวต๊าชมาก ฉันชอบสุดๆ ต๊าช เท่
รูปที่พึ่งปล่อยดือมากแก ดือ ดี
เฮ้อ โดนแกงอีกแล้ว แกง แกล้ง
อย่าหาทาเลยเพื่อน อย่าหาทา อย่าไปทา

ตัวอย่างการประดิษฐ์คาขึ้นมาใหม่จาก facebook
รูปประโยค คาที่เกิดขึ้นใหม่ คาเดิม
บรรยากาศยามเย็นดีย์มาก ดีย์มาก ดีสุดๆ
วงวารนะ แต่ขาก่อน วงวาร สงสาร
ไอ้ต้าวความรักของเค้า ไอ้ต้าว ไอ้เจ้า
แก น้อนแมวน่ารักมากเลย น้อน น้อง
สาวๆอย่าลืมไปตากันนะคะ ตา ตาม
หล่อเกินต้าน หล่อจนแม่เป็นลม เกินต้าน เกินที่หัวใจจะรับไหว
ยืนหนึ่งเรื่องความสวย ยืนหนึ่ง โดดเด่น ตัวเต็ง อันดับหนึ่ง
๑๒

ตัวอย่างการประดิษฐ์คาขึ้นมาใหม่จาก Line
รูปประโยค คาที่เกิดขึ้นใหม่ คาเดิม
เพลงใหม่ของลิซ่าปังปุริเย่มาก ปังปุริเย่ ดีเลิศ
อย่าดองแชทได้ไหม ดอง ไม่ตอบ
เตงไม่สนใจเราเลย เตง ตัวเอง
อยากมองบนกับแชทนั้นมาก มองบน ราคาญ ไม่อยากเห็น
งองมาก เขาพูดไรของเขา งอง งง
ดาราคนนั้นบ้งมาก ฉันดูออกเลย บ้ง หน้าแตก
ความคิดเธอเฉียบมาก เฉียบ โดนใจ
วันนี้เรือฉันไปสุดมาก เรือ คู่จิ้น

จากตารางสรุปได้ว่า มีการสร้างความหมายในรูปแบบใหม่ที่ผิดออกไปจากรูปเดิมหรือรูปมาตรฐาน
เช่น งง แปลงเป็น งอง, น้อง แปลงเป็น น้อน และ แกล้ง แปลงเป็น แกง เป็นต้น คาเหล่านี้ได้มีการแปรทั้งสระ
พยัญชนะ และวรรณยุกต์ ทาให้สร้างความแปลกใหม่ ส่ว นหนึ่งที่ทาให้เกิดการสร้างคาใหม่มาจากการสะกด
ตามการออกเสียงในภาษาพูดและกระแสของโลกโซเชียลในแต่ละยุคที่ นามาใช้สื่อสารบนสังคมออนไลน์ทาให้
เกิดการสร้างสรรค์ทางภาษาการเปลี่ยนแปลงของรูปประโยค แต่ ความหมายยังคงเดิม

๔.๒ การสะกดคาทับศัพท์
http://www.digitalschool.club 2561 (๒๕๖๑ : ออนไลน์) ได้ให้ความหมายของการสะกดคาทับ
ศัพท์ไว้ว่า "คาทับศัพท์" หมายถึง "คาที่รับจากภาษาหนึ่งมาใช้ในอีกภาษาหนึ่ง โดยวิธีถ่ายเสียงและถอดอักษร
เช่น เขียนทับศัพท์และแปลทับศัพท์" ประเทศไทยได้รับภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทยมากมาย หลาย
ภาษา แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะการเขียนทับศัพท์คาที่มาจากภาษาอังกฤษเท่านั้น เพราะคาเหล่านี้มีใช้กัน
อย่างแพร่หลายทุกวงการ โดยราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติศัพท์ขึ้นใช้แล้ว เราคนไทยทุกคนควรศึกษาและเพิ่ม
ความระมัดระวังเพื่อจะเขียนได้อย่างถูกต้องต่อไป ดังนั้นจึงได้ศึกษาและนาตัวอย่างประโยคจาก Twitter
Facebook Line ในระยะเวลาที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๔ – ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๔ ให้ได้เข้าใจมากขึ้น ตามตารางนี้
๑๓

ตัวอย่างการสะกดคาทับศัพท์จาก twitter
รูปประโยค คาที่ผิด คาที่ถูกต้อง
ทางเราได้ทักเฟสบุ๊กไปหาเขาแล้วค่ะ ทวิตเต้อ ทวิตเตอร์
สั่งสอบนายตารวจที่ยังไม่กด ไลค์ เพจตารวจ ไร้เตอ ไรท์เตอร์
กรุณาคอมเม้นแบบสุภาพนะครับ เว่อ เว่อร์
ถ้าเธอเห็นโพสนี้โปรดตอบกลับด้วย อีเมล อีเมล์
ขออนุญาตบล้อกนะคะ แทก แท็ก
อัพเดทสถานการณ์ตอนนี้ เกม เกมส์
สินค้าแบรนชื่อดังๆจะขายดี แบรน แบรนด์
ในงานแสดงสินค้า มีผู้มาออกบู้ทเป็นจานวนมาก บู้ท บู๊ธ

ตัวอย่างการสะกดคาทับศัพท์จาก facebook
รูปประโยค คาที่ผิด คาที่ถูกต้อง

ทางเราได้ทักเฟสบุ๊กไปหาเขาแล้วค่ะ เฟสบุ๊ก เฟซบุ๊ก


สั่งสอบนายตารวจที่ยังไม่กด ไลค์ เพจตารวจ ไลค์ ไลก์

กรุณาคอมเม้นแบบสุภาพนะครับ คอมเม้น คอมเมนต์


ถ้าเธอเห็นโพสนี้โปรดตอบกลับด้วย โพส โพสต์

ขออนุญาตบล้อกนะคะ บล้อก บล็อก

อัพเดทสถานการณ์ตอนนี้ อัพเดท อัปเดต


๑๔

ตัวอย่างการสะกดคาทับศัพท์จาก Line
รูปประโยค คาที่ผิด คาที่ถูกต้อง
คาบต่อไปเรียนคอมพิวเต้อ คอมพิวเต้อ คอมพิวเตอร์
แก๊งค์นั้นเท่มาก แก๊งค์,แก๊งก์ แก๊ง

รู้สึกดาวตลอดที่คะแนนไม่ดี ดาว์น,ดาว ดาวน์

อยากกินไอติมรสสายไหม ไอติม ไอศกรีม

ส่งลิ้งค์งานมาด้วย ลิ้งค์ ลิงก์

คนนั้นชอบก้อปปี้งานเราตลอด ก้อปปี้ ก๊อปปี้

จากตารางพบว่า Twitter Facebook Line มีการสะกดคาผิดเป็นจานวนมากเป็นการสะกดคาทับ


ศัพท์ที่คงรูปสะกดให้ใกล้เคียงที่สุดหรือออกเสียงให้ คล้ายที่สุดและส่วนมากเป็นการใช้คาทับศัพท์เพื่อความ
สะดวกต่อการสื่อสารถึงแม้จะมีการสะกดคาผิดอยู่มากแต่ก็ไม่ได้ทาให้ความหมายนั้นเปลี่ยนไปจากเดิม

๔.๓ กำรใช้คำแสดงเสียง อำรมณ์ และอำกำร


ซารีณา นอรอเอ , นุรอัซวีตา จารง , ณฐพร มุสิกเจริญ และ วรเวทย์พิสิษ ยศศิริ (๒๕๖๑ : ๙๔๘) ได้
ให้ความหมายการใช้คาแสดงเสียง อารมณ์ และอาการไว้ว่า การใช้คาแสดงเสียง อารมณ์ และอาการเป็น
ลักษณะภาษาการใช้คาเพื่อแสดงเสียงอารมณ์และกริยาท่าทางพบว่ามีการใช้คาที่เลียนเสียงกริยาของมนุษย์
การใช้การเลียนเสียงต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันเป็นลักษณะการใช้ ภาษาอีกอย่างหนึ่งที่พบมาก เช่น เลียนเสียง
ร้องไห้ เป็น ฮื่อออ การใช้คาเพื่อแสดงอารมณ์ และกริยาอาการเช่น แสดงอาการตื่นเต้น เป็น หุ้ยยย และแสดง
อารมณ์ด้วยคาอุทาน เช่น โอโห้ คาเหล่านี้สามารถสื่อให้ผู้ร่วมสนทนาเข้าใจได้ถึงอารมณ์ จะพบโครงสร้าง
ภาษาเป็นระดับคาทั้งหมด ไม่พบในระดับวลีและประโยค จึงได้ศึกษาหาข้อมูลจากทวิตเตอร์ เฟซบุ๊ก และไลน์
ในระยะเวลาวันที่ ๑ ตุล าคม ๒๕๖๔ – ๓๑ ตุล าคม ๒๕๖๔ ที่มีการใช้คาแสดงเสียง อารมณ์ และอาการ
ดังตารางนี้
๑๕

ตัวอย่างการใช้คาแสดงเสียง อารมณ์ และอาการจาก twitter


วัจนภาษา
รูปประโยค คาที่ใช้แสดงถึงอารมณ์ สื่อถึงอารมณ์

ดูวิดีโอนั้นแล้วขามาก ฮ่าฮ่า ฮ่าฮ่า เลียนเสียงหัวเราะ

ล้อเล่นเฉยๆ คิคิ คิคิ เลียนเสียงหัวเราะ


หู้ววว เขาดูดีมากกว่าที่ฉันคิดอีก หู้ว แสดงอาการตื่นเต้น

เฮ้อ ไม่น่าชอบเขาแบบที่เธอบอก เฮ้อ แสดงอาการเสียใจ ผิดหวัง

เชอะ ไม่ต้องมาสนใจ เชอะ แสดงอาการไม่ถูกใจ

แหม คู่ชิปเธอดังกว่าฉันนี่ แหม แสดงอาการโกรธเคือง

เมื่อเช้าเธอ ฝนตกลมแรงจนต้นไม้ล้มดัง ตึง ตึง เลียนเสียงของหนัก ๆ ตก

เลียนเสียงสุนัขร้อง
แมวข่วนหมาจนร้อง เอ๋งๆ แล้วก็หนีไป เอ๋ง
อย่างเจ็บปวด

โอ๋ อย่าร้องไห้ไปเลยลูกสาวแม่ โอ๋ แสดงอาการปลอบใจ


แสดงอาการไม่พอใจ
อุบ๊ะ ! ข้าบอกเอ็งแล้วว่าอย่าทา แต่ก็ไม่เชื่อ อุบ๊ะ
หรือประหลาดใจ

ฮึ เก่งนักก็ทาเองไปเลยสิ ฮึ แสดงอาการผิดหวัง หรือไม่พอใจ


๑๖

อวัจนภาษา
รูปประโยค สื่อถึงอารมณ์

เด็กผู้ชายที่นั่งตาโตมีอาการสงสัย สื่อถึงอารมณ์สงสัย

ตุ๊กตากบที่น้าตาไหลและกาลังเช็ดน้าตาจากการร้องไห้ สื่อถึงอารมณ์ เสียใจ

สุนัขที่กาลังกระชากผมของผู้หญิงคนหนึ่งด้วยความเกรี้ยวกราด
สื่อถึงอารมณ์โกรธ โมโห
๑๗

รูปประโยค สื่อถึงอารมณ์

เด็กผู้หญิงที่มีอาการกลอกตามองบน สื่อถึงอารมณ์ไม่ชอบใจ

เด็กผู้ชายที่ร้องไห้อย่างโศกเศร้าพร้อมกับกุมศีรษะ สื่อถึงอารมณ์เศร้า

ผู้ชายที่มีอาการเบิกตากว้าง ตัวเกร็ง สื่อถึงอารมณ์ตกใจ ประหลาดใจ


๑๘

ตัวอย่างการใช้คาแสดงเสียง อารมณ์ และอาการจาก facebook


วัจนภาษา

รูปประโยค คาที่ใช้แสดงถึงอารมณ์ สื่อถึงอารมณ์

หนังร่างทรงน่ากลัวมาก ฮื่ออ ฮื่อ เลียนเสียงร้องไห้

โอ้โห้ ต้องว่ากันแรงขนาดนี้เลยหรอ โอ้โห้ แสดงอาการตกใจ

หุ้ย ตื่นเต้นจะได้เจอเพื่อนแล้ว หุ้ย แสดงอาการตื่นเต้น

อืม รู้แล้วเดี๋ยวทาให้ อืม แสดงการตอบรับหรือรับรู้

เสื้อตัวนี้สวยมากเธอ กรี๊ดด กรี๊ด แสดงอาการถูกใจอย่างยิ่ง

เธอทาหน่าตลกอะ อิอิ อิอิ เลียนเสียงหัวเราะ

เอ๊ย ! ไม่ใช่อย่างนั้นฉันพูดผิดไป เอ๊ย แสดงอาการว่าทาผิดพลาด

อ๋อ ! เรื่องนี้ฉนั นึกออกแล้ว อ๋อ แสดงอาการว่ารู้แล้ว เข้าใจแล้ว

ขอให้ลูกช้างถูกหวยด้วยเถอะ เพี้ยง เพี้ยง แสดงอาการอธิษฐาน

ซี้ด ส้มตาเผ็ดมากครับ ซีด้ เลียนเสียงสูดปาก


แม่คะ น้องร้องไห้ แงๆ แล้วค่ะ แง เลียนเสียงเด็กร้องไห้

ฝนตกฟ้าผ่า เปรี้ยง สงสัยฝนตกหนักน่าดู เปรี้ยง เลียนเสียงฟ้าผ่า


๑๙

อวัจนภาษา
รูปประโยค สื่อถึงอารมณ์

ชอบ

รัก

ขา

ทึ่ง

เศร้า

โกรธ

ครุ่นคิด หรือ สงสัย

หวาดกลัว

ราคาญ

เขินอาย
๒๐

ตัวอย่างการใช้คาแสดงเสียง อารมณ์ และอาการจาก Line


วัจนภาษา
รูปประโยค คาที่ใช้แสดงถึงอารมณ์ สื่อถึงอารมณ์

ว้ายย ฉันสอบตกเหรอเนี่ย ว้าย แสดงอาการตกใจ

ชิชะ ไม่ชอบกินอาหารกับเขาเลย ชิชะ แสดงอาการไม่ชอบใจ


นี่ ชอบไปทะเลไหม นี่ แสดงอาการร้องเรียก

เอ๊ะ เขาอีกแล้วเหรอที่ดองแชท เอ๊ะ แสดงอาการสงสัย ประหลาดใจ

อุ๊ย ไม่คิดเลยว่าจะเป็นแบบนี้ อุ๊ย แสดงอาการเจ็บปวด

เออ เข้าใจงานที่สั่งแล้ว เออ แสดงการตอบรับหรือรับรู้

หน็อยแน่ ! ทาผิดแล้วยังจะอวดดีอีก หน็อยแน่ แสดงอาการไม่พอใจ

ฮึ่ม อย่าให้เป็นทีเราบ้างก็แล้วกัน ฮึ่ม แสดงอาการขู่


ตายแล้ว ฉันลืมเอากระเป๋าสตางค์มา ตายแล้ว แสดงอาการตกใจหรือประหลาดใจ

เจอกันพรุ่งนี้นะ บายจ้า บาย แสดงอาการลา

เค ตกลงกันได้แล้ว ก็เริ่มทางานกันเลย เค แสดงอาการเห็นด้วยหรือตกลง

ปั๊ดโธ่ ! อย่ามายุ่งตอนทางานได้ไหม ปั๊ดโธ่ แสดงอาการสงสารหรือราคาญใจ


๒๑

อวัจนภาษา
รูปประโยค สื่อถึงอารมณ์

ขา

เป็นห่วง

เตือนให้เงียบ

โมโห

หัวเราะ
๒๒

รูปประโยค สื่อถึงอารมณ์

ขอบคุณ

เสียใจ

ทักทาย

รัก

จากตารางสรุปได้ว่า การใช้คาแสดงเสียง อารมณ์ และอาการ มีทั้งแบบวัจนภาษาและอวัจนภาษา


ในวัจนภาษาจะพบว่าในทวิ ตเตอร์ เฟซบุ๊ก และไลน์ จะมีการใช้คาที่ใช้เลียนเสียงกริยาของมนุษย์ และการ
เคลื่ อนไหว เช่น ฮื่อ เป็ น การเลี ย นเสี ย งร้ องไห้ ตึง เป็นการเลี ยนเสี ยงการล้ มของคนหรือสิ่ งของ และใน
อวัจนภาษา มีหลากหลายแบบ ในทวิตเตอร์ ส่วนใหญ่จะเป็นมีม ที่นาเสนอความคิด สัญลักษณ์ หรือการ
กระทาผ่านรูปภาพ ส่วนมากมักจะเป็นมุกตลกที่คนทั่วไปสามารถเข้าใจตรงกันได้แทบจะทันที ในเฟซบุ๊กจะ
เห็นได้บ่อยคือ อีโมติคอนต่างๆที่แสดงถึง สัญลักษณ์หรือการกระทา ในไลน์ส่วนใหญ่จะเป็นสติ๊กเกอร์ ที่แสดง
อารมณ์ คาพูด หรือการกระทา
๒๓

บทสรุป

หลักของภาษาไทยที่เราใช้สื่อสารกันมีทั้งอักษร เสียง รูป สัญลักษณ์ และบางครั้งอาจจะมีผู้ที่ไม่มี


ประสบการณ์กับการสื่อสารแบบสัญลักษณ์นั้นมักจะยากที่จะทาความเข้าใจภาษาที่เป็นสัญลักษณ์นั้นๆ กล่าว
ได้ว่านอกจากสั ญลั กษณ์แล้ ว ภาษาจึ งเป็ น สื่ อนาความคิดของคนเราไม่ว่าจะเป็นรูปแบบไหนก็ตามเราจึ ง
จาเป็นต้องทาความเข้าใจปัจจัยสาคัญของการสื่อสารโดยใช้ภาษาที่ทาให้มนุษย์มีความเข้าใจและประเภทของ
ภาษาก็สามารถที่จะแยกด้วยการที่ใช้การสื่อสารในรูปแบบการแสดงท่าทาง อักษร โดยไม่ใช่การออกเสียงหรือ
เป็นการใช่การออกเสียง สิ่งเหล่านี้ก็ถือว่าเป็นประเภทของภาษาที่เราใช้กันในปัจจุบันจากหลักการใช้ภาษาไทย
ในปัจจุบันทาให้พบปัญหาการใช้ภาษาไทยคือภาษาวิบัติและได้ให้ความหมายของภาษาวิบัติไว้ว่าเป็นคาเรียก
ของการใช้ภาษาไทยที่เปลี่ยนแปลงไปและไม่ตรงกับหลักภาษาใช้เรียกรวมถึงการเขียนที่สะกดบ่อยรวมถึงการ
ใช้คาศัพท์ที่ส ะกดแปลกไปจากเดิม สมัย นี้ นิยมใช้โ ซเชียลเน็ตเวิร์คเพื่อการติดต่อที่รวดเร็ว และเนื่องจาก
ความเร็ ว ในการสื่ อสารและความยากล าบากในการพิม พ์ ตัว อัก ษรท าให้ วั ยรุ่น ทาให้ ค าเหล่ านั้น สั้ น ลงจน
กลายเป็นภาษาวิบัติปัญหาที่พบเป็นอย่างมากเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทยคือการใช้ภาษาในทางวิบัติและมี การ
เปลี่ ย นแปลงรู ป แบบการใช้ภ าษาอยู่ ห ลายประเภทได้แก่ รูปแบบการเขียน รูปแบบการพูด รูปแบบการ
เปลี่ ย นแปลงเสี ย งอ่ า นและกลุ่ ม ที่ เ ปลี่ ย นแปลงความหมายและในปั จ จุ บั น เมื่ อ มี ก ารสื่ อ สารด้ ว ยระบบ
อินเตอร์เน็ตผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตทาให้มีการพบปัญหาการใช้ภาษาไทยของวัยรุ่น
บนสื่อสารสังคมออนไลน์ได้แก่ การสื่อสารที่ต้องใช้แป้นพิมพ์ (การใช้สัญรูป ) ปัญหาพื้นที่ในหน้าจอที่แสดง
ข้อความมีจากัดและการหลีกเลี่ยงการพิมพ์คาไม่สุภาพจากการศึกษาความหมายของ สื่อสังคมออนไลน์ พบว่า
เป็นการสื่อสารระหว่างกัน โดยผ่านเครือข่ายออนไลน์เป็ นตัวกลางของผู้ส่งสารและผู้รับสาร ทาให้ผู้คนทา
ความรู้จัก แลกเปลี่ยนความคิด และแบ่งปัน เนื้อหารูปภาพ เสียง ข้อความ คลิปวีดีโอ ซึ่งสามารถแบ่งประเภท
ของสื่อสังคมออนไลน์ได้หลากหลาย เช่น บล็อก โซเชียลเน็ตเวิร์ค ฯลฯ ประเภทของสื่อสังคมออนไลน์มีด้วยกัน
หลากหลายชนิด ขึ้นอยู่กับลักษณะของการนามาใช้ โดยสามารถแบ่งเป็นกลุ่มตามการใช้งาน ทาให้เกิดความ
หลากหลายมากขึ้น ในการใช้ภาษาไทยบนสื่อสังคมออนไลน์เกิดการเปลี่ยนแปลงมากมาย เช่น การประดิษฐ์
ค า และ ค าทั บ ศั พ ท์ ในปั จ จุ บั น ยั ง มีก ารสร้ างความหมายในรู ปแบบใหม่ ที่ ผิ ด ออกไปจากรู ป เดิ ม หรือรู ป
มาตรฐาน เช่น งง แปลงเป็น งอง, น้อง แปลงเป็น น้อน และ แกล้ง แปลงเป็น แกง เป็นต้น คาเหล่านี้ได้มีการ
แปรทั้งสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์ ทาให้สร้างความแปลกใหม่ ส่วนหนึ่งที่ทาให้เกิดการสร้างคาใหม่มาจาก
การสะกดตามการออกเสียงในภาษาพูดและกระแสของโลกโซเชียลในแต่ละยุคที่ นามาใช้สื่อสารบนสั ง คม
ออนไลน์ทาให้เกิดการสร้างสรรค์ทางภาษาการเปลี่ยนแปลงของรูปประโยค แต่ ความหมายยังคงเดิม จาก
การศึกษาจะเห็นทั้ง Twitter Facebook Line มีการสะกดคาผิดเป็นจานวนมากเป็นการสะกดคาทับศัพท์ที่
คงรูปสะกดให้ใกล้เคียงที่สุดหรือออกเสียงให้คล้ายที่สุดและส่วนมากเป็นการใช้คาทับศัพท์เพื่อความสะดวกต่อ
การสื่อสารถึงแม้จะมีการสะกดคาผิดอยู่มากแต่ก็ไม่ได้ทาให้ความหมายนั้นเปลี่ยนไปจากเดิม การใช้คาแสดง
เสียง อารมณ์ และอาการ มีทั้งแบบวัจนภาษาและอวัจนภาษา ในวัจนภาษาจะพบว่าในทวิตเตอร์ เฟซบุ๊ก
และไลน์ จะมีการใช้คาที่ใช้เลียนเสียงกริยาของมนุษย์ และการเคลื่อนไหว เช่น ฮื่อ เป็นการเลียนเสียงร้องไห้
๒๔

และในอวัจนภาษา มีหลากหลายแบบ ในทวิตเตอร์ ส่วนใหญ่จะเป็นมีม ที่นาเสนอความคิด สัญลักษณ์ หรือ


การกระทาผ่านรูปภาพ ส่วนมากมักจะเป็นมุกตลกที่คนทั่วไปสามารถเข้าใจตรงกันได้แทบจะทันที ในเฟซบุ๊ก
จะเห็นได้บ่อยคือ อีโมติคอนต่างๆที่แสดงถึง สัญลักษณ์หรือการกระทา ในไลน์ส่วนใหญ่จะเป็นสติ๊กเกอร์
ที่แสดงอารมณ์ คาพูด หรือการกระทา
๒๕

บรรณำนุกรม

กานต์รวี ชมเชย. (๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). ปัญหาการใช้ภาษาของวัยรุ่น. เข้าถึงได้จาก


http://ica.swu.ac.th/upload/research/download/109-9335-0.pdf
ฉัตรชัย ใจแสน. (๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). ภาษาวิบัติ. เข้าถึงได้จาก
https://sites.google.com/site/krunan094/article/bthkhwam-1
กิติมา สุรสนธิ. (๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). ประเภทของภาษา. เข้าถึงได้จาก
http://libdoc.dpu.ac.th/thesis/112939.pdf: http://libdoc.dpu.ac.th/thesis/112939.pdf
จันทิมา พงษ์พันธ์. (๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). ความหมายของภาษา. เข้าถึงได้จาก
http://libdoc.dpu.ac.th/thesis/112939.pdf: http://libdoc.dpu.ac.th/thesis/112939.pdf
ชัชวดี ศรลัม. (๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). ความหมายของภาษา. เข้าถึงได้จาก
https://so0๖.tci-thaijo.org/index.php/wiwitwannasan/article/download/243840/165588
ชัตชัย นกดี. (ม.ป.ป.). ปัญหาการใช้ภาษา. เข้าถึงได้จาก https://www.thaihealth.or.th
ตัวอย่างจาก Facebook. (๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). เข้าถึงได้จาก
https://www.sanook.com/campus/๑๓๙๖๖๙๓/
นุรอัซวีตา จารง , ณฐพร มุสิกเจริญ และ วนเวทย์พิสิษ ยศศิริ ซารีณา นอรอเอ. (๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๔).
ความหมายของการประดิษฐ์คาขึ้นมาใหม่. เข้าถึงได้จาก
http://www.hu.ac.th/conference/proceedings/data pdf
นุรอัซวีตา จารง ,ณฐพร มุสิกเจริญ และ วรเวทย์พิสิษ ยศสิริ ซารีณา นอรอเอ. (๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๔).
ตัวอย่าง. เข้าถึงได้จาก http://www.hu.ac.th/conference/proceedings/data pdf
นุรอัซวีตา จารง , ณฐพร มุสิกเจริญ และ วรเวทย์พิสิษ ยศสิริ ซารีณา นอรอเอ. (๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๔).
ความหมายการใช้คาแสดงเสียง อารมณ์ อาการ. เข้าถึงได้จาก
http://www.hu.ac.th/conference/proceedings/data/pdf
พลตรี รักเกียรติ พันธุ์ชาต. (๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). ความหมายของสื่อสังคมออนไลน์. เข้าถึงได้จาก
http://www.dsdw2016.dsdw.go.th/doc_pr/ndc_2560-2561/PDF/8496st/8496พลตรี%20
รักเกียรติ%20พันธุ์ชาติ.pdf
พิชิต วิจิตรบุญยรักษ์. (๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). ความหมายของสื่อสังคมออนไลน์. เข้าถึงได้จาก
https://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/oct_dec_11/pdf/aw016.pdf
พี่เเพรว ปี ๒๕๖๓. (๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). ตัวอย่างจาก Facebook. เข้าถึงได้จาก
https://www.admissionpremium.com/libra/news/5531
ระวิ แก้มสุกใส และ ชัยรัตน์ จุสปาโล. (๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). ความหมายของสื่อสังคมออนไลน์.
เข้าถึงได้จาก https://li01.tci-thaijo.org/index.php/pnujr/article/view/53802
๒๖

วิทยาลัยเทคโนโลยีอีสานเหนือ ๒๕๕๘. (๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). ตัวอย่าง. เข้าถึงได้จาก


http://www.esarntech.ac.th/system/images/working/zStartUpd/about7.html
สุภัทร แก้วพัตร. (๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). ความหมายของภาษา. เข้าถึงได้จาก
http://portal5.udru.ac.th/ebook/pdf/upload/18095OC51eLP5056EMb5.pdf
สุภัทร แก้วพัตร. (๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). ประเภทของภาษา. เข้าถึงได้จาก
http://portal5.udru.ac.th/ebook/pdf/upload/18095OC51eLP5056EMb5.pdf
สุภารัตน์ แพหีต และ ณัฐสุดา กาญจน์เจริญ. (๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). ประเภทของสื่อสังคมออนไลน์.
เข้าถึงได้ จาก https://sites.google.com/site/technologysvc/prapheth-khxng-sangkhm
Natchaphon B. ปี๒๕๖๓. (๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). ตัวอย่างคาจาก twitter. เข้าถึงได้จาก
https://www.sanook.com/campus/1402931/
Spiceee.net ปี๒๕๖๒. (๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). ตัวอย่างจาก Line. เข้าถึงได้จาก
https://today.line.me/th/v2/article/yg91Lv
vareeza haha. (๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). ประเภทของภาษา. เข้าถึงได้จาก
https://sites.google.com/site/vareezahaha/bth-thi2phasa-thi-chi-ni-kar-suxsar
voathai. (๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). ตัวอย่าง. เข้าถึงได้จาก
https://www.voathai.com/a/facebook-new-emojis/2998130.html
Wanasanrak Blog. (๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). ความหมายการสะกดคาทับศัพท์. เข้าถึงได้จาก
http://www.digitalschool.club/digitalschool/thai2_4_1/thai1_3/page5.php
Wanasanrak Blog. (๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). ตัวอย่างจาก Twitter. เข้าถึงได้จาก
http://nangfasblog.blogspot.com/2013/05/transliterated-words.html
Yuwadee ปี ๒๕๕๙. (๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). ตัวอย่างจาก Facebook. เข้าถึงได้จาก
https://teen.mthai.com/variety/112836.html

You might also like