You are on page 1of 5

สำนวน สุภาษิต คำพังเพย

หมวด ผ-ย

โดย
เด็กหญิง อัจฉรา บัวแดง เลขที่ ๓๙
เด็กหญิงแก้วเจ้าจอม รอดไพสม เลขที่๑๕
เด็กหญิง ญาณิน กีรติสิทธิกุล เลขที่๒๐
เด็กหญิงเตชินี กองตา เลขที่๒๓
เด็กหญิงสุภจิรา ผลาอุบัติ เลขที่ ๓๗
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ห้อง ๔

เสนอ
นางจันทรา ศรีบุรินทร์

รายงานฉบับนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๒


ภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๖๔
โรงเรียนหล่มสักวิทยาคม
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเพชรบูรณ์

คำนำ
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๒
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ โดยมีจุดประสงค์ เพื่อศึกษาค้นคว้า เรื่อง สำนวน สุภาษิต คำพังเพย ซึ้งรายงานนี้มี
เนื้อหาเกี่ยวกับ สำนวน สุภาษิต คำพังเพย หมวด ผ-ย
คณะผู้ศึกษาได้เลือกหัวเลือกหัวข้อนี้ในการทำรายงาน เนื่องจากเป็นเรื่องที่น่าสนใจ เป็นส่วนหนึ่งในการ
อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย อันแสดงถึงความฉลาดของบรรพบุรุษไทย ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการดำเนินชีวิต
คณะผู้ศึกษาขอขอบคุณ
คุณครูจันทรา ศรีบุรินทร์ ผู้ให้คำแนะนำ และช่วยเหลือในการทำรายงานมาโดยตลอดคณะผู้ศึกษาหวังว่า
รายงานฉบับนี้จะให้ความรู้ และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกๆท่าน
คณะผู้ศึกษา
กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔


สารบัญ
เรื่อง หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
บทนำ ๑
ความหมายของสำนวนไทย

ที่มาของสำนวนไทย ๓
สำนวน สุภาษิต คำพังเพย ๔
-หมวด ผ ๕
-หมวด ฝ ๖

-หมวด พ ๗
-หมวด ฟ ๘
-หมวด ภ ๙
-หมวด ม ๑๐
-หมวด ย ๑๑
สำนวนไทยที่ปรากฏตามสื่อต่างๆ ๑๒
สรุป ๑๓
บรรณานุกรม ๑๔
ภาคผนวก ๑๕


บทนำ
ความสำคัญของสำนวน สุภาษิต คำพังเพย
-เพื่อแสวงวัฒนธรรมไทย ความเชื่อ ค่านิยมของคนไทย
และใช้ในการสื่อสาร เพื่อเปรียบเทียบให้เห็นภาพพจน์ที่ชัดเจนยิ่งขึ้น
แสดงให้เห็นรากเหง้าของคนไทย เช่นคนไทยชอบใช้คำคล้องจอง
และชอบเปรียบเปรยความน่าสนใจ ความสำคัญ ของสำนวน สุภาษิต
ใช้เพื่อความบันเทิง เล่นเกมในกิจกรรมค่ายต่างๆ เช่นต่อสุภาษิตสำนวน
และเพื่อการศึกษา


สำนวน สุภาษิต คำพังเพย
ความหมายของสำนวน สุภาษิต คำพังเพย
สำนวน หมายถึง ถ้อยคำที่กะทัดรัด ไพเราะสละสลวยและมีความหมายลึกซึ้ง
สุภาษิต หมายถึง คำกล่าวที่มีคติประจำใจมีจุดมุ่งหมายเพื่อการสั่งสอน
เตือนสติให้คิด ไม่มีการเสียดสีหรือติชม
คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำ เปรียบเทียบเหตุการณ์ โดยมากไม่เน้นสั่งสอน
แต่ใช้ในทำนองเสียดสีประชดประชัน
ที่มาของสำนวน สุภาษิต คำพังเพย
๑ มาจากธรรมชาติ
๒ มาจากวัฒนธรรมการดำรงชีวิต
๓ มาจากวัฒนธรรมทางสังคม
๔ มาจากวัฒนธรรมทางจิตใจ

You might also like