You are on page 1of 11

เอกสารนี้จัดทาขึ้นโดยทีมงาน Geniuslawtu

ใช้เพื่อการเตรียมตัว สอบตรงคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


www.geniuslawtu.com

เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา เรียงความ-ย่อความ

การเขียนเรียงความ

ลักษณะของหัวข้อ ข้อสอบเรียงความในการสอบส่วนใหญ่จะมีลักษณะของหัวข้อแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ


ดังนี้

1. การเขียนอธิบาย
ตัวอย่างหัวข้อ เช่น
- การอนุญาตใช้กัญชาในประเทศไทย (สอบตรง 2562)
- มาตรการกฎหมายในการแก้ไขปัญหาฝุ่นพิษของประเทศไทย (สอบตรง 2562)
- การใช้อานาจรัฐในการเฝ้าสังเกตการใช้อินเทอร์เน็ตของประชาชน (ภาคบัณฑิต2562)
(เทคนิค : ให้อธิบายสิ่งนั้น , ** หากเราไม่ทราบข้อมูลนั้นตรงๆ ให้ ใช้การตอบความคิดเห็น ตามด้วย
การอธิบาย)
2. การเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็น
ตัวอย่างหัวข้อ เช่น
- ท่านเห็นด้วยหรือไม่ที่ห้างสรรพสินค้าและร้านค้าปลีกควรเก็บเงินค่าถุงพลาสติก (LLB 2562)
- ท่านเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับข้อความที่ว่า “กฎหมายเอื้อประโยชน์ให้คนรวยมากกว่าคนจน”
(สอบตรง 2561)
- ท่านเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยอย่างไรกับข้อความที่ว่า “ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทาให้การจ้างงาน
ลดลงรวมไปถึงงานทางด้านกฏหมายด้วย”(สอบตรง 2561)

(เทคนิค : ให้ตอบความคิดเห็น ตามด้วยการอธิบาย)

ทั้งนี้ไม่ว่าหัวข้อในการสอบจะเป็นหัวข้อในลั กษณะใด การเขียนเรียงความนั้น จะต้องตรงประเด็นไม่ออก


นอกเรื่องและมีเหตุผลสนับสนุนพร้อมตัวอย่างประกอบเสมอจึงจะทาให้ได้คะแนนดี

1
เอกสารนี้จัดทาขึ้นโดยทีมงาน Geniuslawtu
ใช้เพื่อการเตรียมตัว สอบตรงคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
www.geniuslawtu.com

องค์ประกอบในการเขียนเรียงความ

1) คานา (เกริ่นนาเรื่อง : กฎหมาย* ,สังคม ,นักกฎหมาย ,ความยุติธรรม + โยงมาสู่หัวข้อเรียงความ)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2) เนื้อเรื่อง (ย่อหน้าแรกของเนื้อเรื่อง)
แบบ 1 (หัวข้อ…………มีความหมายดังต่อไปนี้ /อธิบายดังนี้ /มีลักษณะดังต่อไปนี้,
แบบ 2 (ข้าพเจ้าเห็นด้วย /ไม่เห็นด้วย กับคากล่าวที่ว่า………………ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้

ประการแรก………(ใจความสาคัญ)……-อธิบาย-……ตัวอย่าง……(ข่าว,เหตุการณ์,หลักกฎหมาย)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ประการที่สอง……(ใจความสาคัญ)…...-อธิบาย-……ตัวอย่าง……(ข่าว,เหตุการณ์,หลักกฎหมาย)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ประการที่สาม……(ใจความสาคัญ)…..-อธิบาย-……ตัวอย่าง……(ข่าว,เหตุการณ์,หลักกฎหมาย)

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3) สรุป (นาใจความสาคัญมากล่าวเน้นย้าอีกครั้ง +ประโยชน์สุขของสังคมและประเทศชาติเสมอ)

จากที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น…………………………………………………………………………………………………………………………

2
เอกสารนี้จัดทาขึ้นโดยทีมงาน Geniuslawtu
ใช้เพื่อการเตรียมตัว สอบตรงคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
www.geniuslawtu.com

3
เอกสารนี้จัดทาขึ้นโดยทีมงาน Geniuslawtu
ใช้เพื่อการเตรียมตัว สอบตรงคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
www.geniuslawtu.com

4
เอกสารนี้จัดทาขึ้นโดยทีมงาน Geniuslawtu
ใช้เพื่อการเตรียมตัว สอบตรงคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
www.geniuslawtu.com

5
เอกสารนี้จัดทาขึ้นโดยทีมงาน Geniuslawtu
ใช้เพื่อการเตรียมตัว สอบตรงคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
www.geniuslawtu.com

6
เอกสารนี้จัดทาขึ้นโดยทีมงาน Geniuslawtu
ใช้เพื่อการเตรียมตัว สอบตรงคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
www.geniuslawtu.com

1.หัวข้อ : การอนุญาตใช้กัญชาในประเทศไทย (ข้อสอบสอบตรง 2562)

ตัวอย่างแบบที่ 1 โครงการเขียนเรียงความ
(คานา) เกริ่น…………………………………………….

(เนื้อเรื่อง) …………………………………………………..…..จะได้อธิบาย ดังต่อไปนี้


ประการแรก ………………………………………………………………. ตัวอย่าง
ประการที่สอง ………………………………………………………………. ตัวอย่าง
ประการที่สาม ....................................................................... ตัวอย่าง

(สรุป)จากที่กล่าวมาข้างต้น……………………………………………………………………………………………
เน้นย้า +ฝากข้อคิด, สั่งให้ทาอะไรบางอย่าง……เน้นประโยชน์สุขของสังคมและประเทศชาติ (คาคม)

ตัวอย่างแบบที่ 2
(คานา) เกริ่น…………………………………………….
(เนื้อเรื่อง) ข้าพเจ้าไม่เห็นด้วย/ข้าพเจ้าเห็นด้วย กับ………………………………………..ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้
ประการแรก ………………………………………………………………. ตัวอย่าง
ประการที่สอง ………………………………………………………………. ตัวอย่าง
ประการที่สาม ........................................................................ ตัวอย่าง

(สรุป)จากที่กล่าวมาข้างต้น……………………………………………………………………………………………
เน้นย้า +ฝากข้อคิด, สั่งให้ทาอะไรบางอย่าง……เน้นประโยชน์สุขของสังคมและประเทศชาติ (คาคม)

7
เอกสารนี้จัดทาขึ้นโดยทีมงาน Geniuslawtu
ใช้เพื่อการเตรียมตัว สอบตรงคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
www.geniuslawtu.com

การเขียนย่อความ

การย่อความนั้นคือการจับใจความสาคัญของเรื่องและมาเรียบเรียงใหม่ด้วยสานวนภาษาของผู้ย่อเอง โดย
คงไว้ซึ่งใจความสาคัญอย่างครบถ้วน ลักษณะของข้อสอบย่อความในการสอบ จะให้บทความมาและให้น้องๆย่อให้
เหลือ 15 บรรทัด ในแต่ละปีจะมีความสั้นยาวแตกต่างกัน บางปีมีจานวนมากถึง 10-20 หน้า

องค์ประกอบในการเขียนย่อความ

ย่อความนั้นจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน

1. รูปแบบของย่อความ (ย่อหน้าแรก)

ย่อ(ประเภทของสิ่งที่เราย่อ บทความ เรื่องสั้น นิยาย นิทาน ข่าว)เรื่อง(เรื่องอะไร)ของ (ผู้แต่ง) จาก


(แหล่งที่มา เช่นจากหนังสือ , www. )หน้า (หน้าไหน-หน้าไหน) ความว่า

(ย่อ-เรื่อง-ของ-จาก-หน้า-ความว่า ) : จา ***

2. เนื้อเรื่องที่ย่อ (ย่อหน้าที่สอง โดยหลักจะขึ้นย่อหน้าใหม่หลังความว่า น้องๆจะต้องจับใจความสาคัญ


ของเรื่องออกมา โดยปกติจะมีเพียง 1 ย่อหน้าแต่หากมีหลายประเด็นสามารถมีหลายย่อหน้าได้)

**ปกติแล้วในการสอบตรงจะเป็นการย่อบทความ รูปแบบย่อความที่ใช้จะเป็นไปตามรูปแบบข้ างต้น แต่


ในการสอบตรง 2557 เป็นการย่อสุนทรพจน์ ( ที่ใช้รูปแบบเดียวกัน คือ สุนทรพจน์ ,พระราชดารัส ,พระบรม
ราโชวาท ,โอวาท และคากล่าวอื่นๆ) พิเศษกว่าทุกปี รูปแบบการย่อจะไม่เหมือนเดิม ขอให้น้องๆดูเผื่อไว้นะคะ
หากออกวนมาอีกจะได้ทาได้ แต่ส่วนใหญ่จะเป็นบทความ ธรรมดา

ย่อ (เป็นคาปราศรัย, สุนทรพจน์ ,พระราชดารัส ,พระบรมราโชวาท ,โอวาท และคากล่าวอื่นๆ) ของ (ชื่อ


ผู้กล่าว) แก่ (กล่าว, แสดงให้ ,พระราชทานให้ ,แก่ใคร) เรื่อง(เรื่องอะไร) เนื่องใน (ในโอกาสใด,งานอะไร) ณ (ที่
ไหน) วันที่ (เมื่อไหร่) ความว่า

8
เอกสารนี้จัดทาขึ้นโดยทีมงาน Geniuslawtu
ใช้เพื่อการเตรียมตัว สอบตรงคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
www.geniuslawtu.com

หลักจา

(ย่อ-ของ-แก่-เรื่อง-เนื่อง-ณ- วัน-ความว่า) : จา***

ข้อสังเกต

แนะนาน้องๆในการทาข้อสอบวิชาย่อความ

1. เมื่อเปิดข้อสอบดูแล้วให้น้องๆอ่านชื่อเรื่อง ว่าเรากาลังย่อเรื่องอะไรอยู่ (มีความสาคัญมากเพราะชื่อ


เรื่องจะเป็นสิ่งที่ไกด์เราว่า สิ่งที่เราจะต้องจับใจความสาคัญออกมานั้นจะต้องสัมพันธ์กับชื่อเรื่อง หรือขยายชื่อเรื่อง
นั่นเอง)

2. เริ่มเขียนรูปแบบของย่อความไว้ก่อนเลยเป็นอันดับแรก

3. ดูในแต่ละย่อหน้า และขีดเส้นใต้เฉพาะใจความสาคัญในแต่ละย่อหน้าไว้

4. เมื่อขีดเส้นในแต่ละย่อหน้าเฉพาะใจความสาคัญแล้ว มานับใจความสาคัญที่ขีดว่าเกิน 15 บรรทัด


หรือไม่ถ้าพอดีก็สามารถลงมือเขียนได้เลย แต่ถ้าเกิน 15 บรรทัด ให้เราดูว่าส่วนไหนสามารถตัดออกไปได้บ้างก็ให้
ตัดส่วนที่ไม่สาคัญออกไป

5. ลงมือเขียน โดยนาใจความสาคัญที่เราขีดเส้นใต้ไว้มาเขียนต่อกันโดยใช้คาเชื่อมช่วย เพื่อให้งานลื่นไหล


และเป็นเนื้อเดียวกัน เช่น และ, หรือ, ดังนั้น, ก็ต่อเมื่อ, อีกทั้ง, ยัง, มี, นอกจากนี้ , เพราะ,เพราะว่า,ฉะนั้น,เหตุว่า,
เพราะฉะนั้น,จึง,หรือไม่,ไม่ก็,ไม่เช่นนั้น, มิฉะนั้น..ก็ , กว่า , แต่ว่า, กว่าจะ..ก็,ถึง..ก็ , ครั้น..ก็,ครั้น…จึง เป็นต้น

6. การใช้อักษรย่อ ไม่ควรย่อเองพร่าเพรื่อ ยกเว้นอักษรย่อที่คนทั่วไปรู้จักกันดี เช่น พ.ศ. ค.ศ. กทม.


ส.ค.ส. ส.ส. ส.ว.เป็นต้น ในกรณีที่ชื่อเต็มยาวมาก ก็ให้เขียนชื่อเต็มไว้ในการเขียนครั้งแรกพร้อมระบุตัวอักษรย่อไว้
ด้วย เมื่อใช้ครั้งต่อไปก็ใช้เพียงอักษรย่อเท่านั้น เช่น มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง (ม.ธ.ก.) เป็นต้น

7. ข้อความที่เป็นพลความส่วนขยายรายละเอียดต่างๆ ตัวอย่างที่อ้างอิง ถ้อยคาที่ฟุ่มเฟือยเยิ่นเย้อ ให้


ตัดทิ้งไป

9
เอกสารนี้จัดทาขึ้นโดยทีมงาน Geniuslawtu
ใช้เพื่อการเตรียมตัว สอบตรงคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
www.geniuslawtu.com

8. ข้อความที่ได้จากการย่อ จะเป็นข้อความที่เขี ยนอธิบายหรือแสดงความคิดเห็น ห้ามมีข้อความอยู่ใน


เครื่องหมายอัญประกาศ ไม่ใช้สรรพบุรุษที่ 1 (ใช้แทนชื่อผู้พูด เช่น หนู ฉัน ดิฉัน ผม ข้าพเจ้า ข้า เรา) และที่ 2
( ใช้แทนชื่อผู้ที่พูดด้วย เช่น คุณ เธอ เจ้า เอ็ง มึง แก ) ปะปนอยู่ในข้อความที่ย่อแล้ว ให้ใช้ได้เฉพาะสรรพนาม
บุรุษที่ 3 (ใช้แทนชื่อผู้ที่พูดถึง เช่น เขา มัน ท่าน หล่อน พระองค์ พระองค์ท่าน ฯลฯ) ในกรณีที่มีความจาเป็นต้อง
เอ่ยถึงตัวผู้เกี่ยวข้องในเรื่องนั้นให้ใช้ชื่อโดยตรง

9. ถ้าเป็นคาราชาศัพท์ให้คงใช้คาราชาศัพท์นั้นไว้

10
เอกสารนี้จัดทาขึ้นโดยทีมงาน Geniuslawtu
ใช้เพื่อการเตรียมตัว สอบตรงคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
www.geniuslawtu.com

**ตัวอย่างการย่อความที่ถกู ต้อง

11

You might also like