You are on page 1of 33

หน่ วยที่ 2 ธรณีพบิ ัติ(Geohazard)

1. ภูเขาไฟ
2. แผ่นดินไหว
3. สึนามิ
1. ภูเขาไฟ (Volcanic)

ภูเขาที่เกิดขึน้ โดยการปะทุของหินหนืด
ร้ อนแรงที่อยู่ใต้ เปลือกโลกดันตัวขึน้ สู งสู่ พื้นผิวโลก
การปะทุของภูเขาไฟ (Volcanic Eruption)
แก๊ สต่ าง ๆ ได้ แก่ คาร์ บอนไดออกไซต์ ไนโตรเจนออกไซด์
ซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ และไอนา้

ปากปล่ องภูเขาไฟ

หินหนืดแทรกตัวขึน้ มา
ตามรอยแยกของหิน

กรวยปะทุย่อย หินละลาย หรือลาวา (lava)


คือหินหนืดที่ดันตัวออกมาสู่
ผิวโลก มีอุณหภูมิประมาณ
การไหลเวียนของหินหนืด 900-1,300 ◦C ซึ่งการไหลของ
ในชัน้ เนือ้ โลก ลาวาขึน้ อยู่กับองค์ ประกอบ
ของลาวา
สาเหตุการเกิด
• เกิดจากหินหนืดใต้ เปลือก(magma)โลกดันตัวปะทุผ่านรอยแตก
ของเปลือกโลกขึน้ มา (lava)
ลาวา มีกปี่ ระเภทอะไรบ้ าง
ลาวาสามารถแบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1. ลาวาที่มีความเป็ นกรด ซึ่งจะมี 2. ลาวาที่มีความเป็ นเบส ซึ่งจะมี
องค์ประกอบส่ วนใหญ่ เป็ น ธาตุ องค์ประกอบนใหญ่ เป็ น ธาตุ เหล็ก
ซิลกิ อน มีความหนืดมาก เคลื่อนที่ และแมกนีเซียม มีความหนืดน้ อย
อย่างช้ าๆ และแข็งตัวเร็ว เคลื่อนที่ได้เร็ว และแข็งตัวช้ า
ลาวากรด และลาวา เบส มีลักษณะการระเบิดต่ างกันอย่ างไร

ลาวากรด ลาวาเบส
หนืดมาก จึงทาให้ รวมกันเป็ นก้อน หนืดน้ อย ไหลง่าย ไม่ มีการอุด
อุดปล่อง ความดันจึงสะสมมาก ปล่อง ความดันจึงสะสมไม่ มาก
ระเบิดรุนแรง ระเบิดเงียบ
แนวเขตภูเขาไฟ

Mediterranean belt
Pacific belt
ภูเขาไฟระเบิดครัง้ ร้ ายแรง

ภูเขาไฟธีรา เกาะซานโตรินี
ประเทศกรีซ ค.ศ. 1610 ภูเขาไฟฉางไป๋ซาน
ภูเขาไฟซานตามาเรีย พรมแดนจีน-เกาหลีเหนือ
ประเทศกัวเตมาลา ประเทศจีน ค.ศ. 1702
ค.ศ. 1902
ภูเขาไฟคาปาร์ ราวติเก
ประเทศเอลซัลวาดอร์
ค.ศ. 2013
ภูเขาไฟปิ นาตู โบ เกาะลูซอน
ภูเขาไฟฮวนนา ปูดิน่า ประเทศฟิ ลลิปปิ นส์ ค.ศ. 1991
ประเทศเปรู ค.ศ. 1600 ภูเขาไฟแทมโบรา เกาะซัมบาวา
อินโดนีเซีย ผู้เสียชีวติ 34,000 คน
ค.ศ. 1815
แนวทางการเฝ้ าระวังและการปฏิบัตติ นให้ ปลอดภัยจากการเกิดภูเขาไฟระเบิด
การเตรียมตัวป้ องกันภัยจากภูเขาไฟระเบิด วิธีการป้ องกันตัวจากภูเขาไฟระเบิด

คอยรับฟั งข่ าวเตือนภัยเกี่ยวกับ ใส่ หน้ ากากอนามัย แว่ นตาทุก


ภูเขาไฟ ชนิดเพื่อป้ องกันเถ้ าภูเขาไฟ

เตรียมเสบียง ยารักษาโรค
เครื่องใช้ ท่ จี าเป็ น
เมื่อมีประกาศให้ อพยพหลับภัย รวมทัง้ เครื่องมือสื่อสาร
ควรรี บอพยพโดยด่ วน ติดตามข่ าวสารจากทางราชการ
อย่ างเคร่ งครัด
ควรขับรถด้ วยความระมัดระวังเมื่อมี
เถ้ าภูเขาไฟอยู่บนถนน ไม่ ควรหลบอยู่ในอาคารสิ่งก่ อสร้ าง
เป็ นจานวนมาก เพราะอาจถล่ มลงมาจากแผ่ นดินไหว
หรือเถ้ าภูเขาไฟได้
ชนิดของลาวาหลาก
ปาฮอยฮอย
(Pahoehoe flow)

อาอา (Aa)
ชนิดของภูเขาไฟแบ่ งตามการสะสมและสั ณฐาน
1. ภูเขาไฟรูปโล่ (Shield volcano)

รูปร่ างคล้ายโล่ มีความลาด


ชันด้านข้ างน้ อยประมาณ
4 – 10 องศา แต่ ไม่ เกิน 15
องศา ภูเขาไฟชนิดนีม้ ีฐาน
กว้างจัดเป็ นภูเขาไฟที่มีขนาด
ใหญ่ ที่สุด

ภูเขาไฟบนเกาะฮาวาย
2. ภูเขาไฟกรวยกรวด (Cinder cone)
- มีความลาดชั้นประมาณ 33 - 37
องศา
- ภูเขาไฟชนิดนีจ้ ะสู งชันมาก
- ลาวาจะมีความหนืดสู ง การไหล
ไม่ ต่อเนื่อง
-ลาวาลูกกลมๆ ที่พ่งุ ออกมาจาก
ปล่องเดีย่ ว และทับถมกันบริเวณ
รอบปล่อง
- ไม่ ค่อยก่อให้ เกิดความสู ญเสีย
ชีวติ
3. ภูเขาไฟกรวยสลับชั้ น
(Composite cone or Composite volcano)
• เป็ นภูเขาไฟที่มีการสลับชั้นของ
หินลาวา ของเศษหินและหิน
ตะกอนภูเขาไฟ
• เกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟที่
พ่นลาวาออกมาแล้วไหลลาม
ออกไปรอบๆ ปล่องเป็ นวงกว้าง
สลับกัน
4. ภูเขาไฟแคลดีรา (Caldera volcano)
มีปล่ องภูเขาไฟกว้ างใหญ่ เรียกว่ าแคลดีรา ที่เกิดจากการ
ยุบตัวในช่ องว่ างที่เก็บหินหนืด เช่ น ภูเขาไฟมาซามา ใน USA

5. โดมภูเขาไฟ (dome volcano)


มีความลาดชันสูง เกิดจากหินหนืด
มาประทุออกมาแล้ วแข็งตัว ทาให้ มี
ลักษณะคล้ ายลูกโป่ งหรือโดม
เช่ น ภูเขาไฟเซนต์ เฮเลนส์ ในสหรัฐและ
ภูเขาไฟเกอลุด ในอินโดนีเซีย
สิ่ งทีไ่ ด้ จากการปะทุของภูเขาไฟ
สิ่ งที่ได้
ลาวา บอมบ์
(Lava bomb)
ลาวาหลาก
(Lava flow)
ก๊ าซ
(Gas)
เถ้ าถ่ าน และ
ฝุ่ นละออง
ปรากฏการณ์ ธรรมชาติบริเวณภูเขาไฟ
การประทุของภูเขาไฟทาให้ เกิดปรากฎการณ์ ทางธรรมชาติ
เช่ น
1. พุนา้ ร้ อนไกเซอร์ (geyser) พุนา้ ร้ อนโอลด์ เฟธฟลู
2. พุนา้ ร้ อนหรือบ่ อนา้ ร้ อน เช่ นนา้ พุร้อนฝาง โป่ งนา้
ร้ อนท่ าปาย
3. บ่ อไอเดือดหรือพุแก๊ ส
4. บ่ อโคลนเดือดหรือพุโคลน
ภูเขาไฟในประเทศไทย

•ภูเขาไฟหินพนมรุ้ง
•ภูเขาไฟอังคาร
• ภูเขาไฟดอยผาดอกจาปาแดด
•ภูเขาไฟหินหลุบ
• ภูเขาไฟดอยหินคอกผาฟู
• ภูเขาไฟกระโดง
• ภูเขาไฟไบรบัด
•ภูเขาไฟคอก
ประโยชน์ ของการเกิดภูเขาไฟ
• แผ่นดินขยายกว้างขึน้ หรื อสู งขึน้
• เกิดเกาะใหม่ ภายหลังที่เกิดการปะทุใต้ ทะเล
• ดินที่เกิดจากภูเขาไฟระเบิดจะอุดมสมบูรณ์ด้วยแร่ ธาตุต่างๆ
• เป็ นแหล่งเกิดนา้ พุร้อน
• แหล่งท่ องเที่ยวที่สาคัญ
• เป็ นแหล่งเหมืองเพชร
รูปเสาหินบะซอลต์ น้าตกซับพลู จังหวัดเพชรบูรณ์
รูปปากปล่ องภูเขาไฟเขากระโดง จังหวัดบุรีรัมย์
โทษของการเกิดภูเขาไฟ
• เป็ นอันตรายต่ อสิ่ งมีชีวติ ได้
• การปะทุของภูเขาไฟอาจทาให้ เกิดแผ่นดินไหวขึน้ ได้
• ชีวติ และทรัพย์สินที่อยู่ใกล้เคียงเป็ นอันตราย
• สภาพภูมิอากาศเกิดการเปลีย่ นอย่างเห็นได้ชัด
ภูเขาไฟทีส่ าคัญของโลก
ภูเขาไฟใหญ่ ทสี่ ุ ดในโลก
ภูเขาไฟเมานาโลอา (Mauna Loa) เป็ นภาษาฮาวาย แปลว่ า
Long Mountain เป็ นภูเขาไฟที่ใหญ่ ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ใน ฮาวาย

มีเนื้อที่ประมาณ 5,180 ตารางกิโลเมตร


ภูเขาไฟสูงทีส่ ุ ดในโลก

Cotopaxi เป็ นภูเขาไฟบนเทือกเขาแอนดีส ในประเทศ


เอกวาดอร์ ถือว่าเป็ นภูเขาไฟที่ยงั ไม่ ดบั ที่สูงที่สุดในโลก
ปอมเปอีเมืองทีส่ ู ญหาย
ฟูจิยามาราชินีแห่ งภูเขาไฟ
กรากะตัวผู้ทไี่ ม่ เคยหลับไหล
เซนต์ เฮเลนผู้ทคี่ ร่ าชีวติ มากทีส่ ุ ด

60,000 คน
กาลาปากอสผู้ทใี่ ห้ ทฤษฎีววิ ฒ
ั นาการ
ตัวป่ วนทาให้ การจราจรทางอากาศของโลกเป็ นอัมพาต

ภูเขาไฟไอย์ยาฟยัลลาโยกูล (Eyjafjallajokull) ตอนใต้ ของ


เกาะไอซ์ แลนด์ระเบิดประทุขนึ้ ฟ้าสู งถึง 8 กิโลเมตร ฝุ่ นขีเ้ ถ้ าลอย
กว่า 6,000 เมตร และฟุ้งกระจายไปทั่วประเทศตั้งแต่ ช่วงเช้ ามืด
01.00 น. วันที่ 14 เม.ย.ตามเวลาท้ องถิ่น หรื อช่ วงเช้ า 8.00 น.ตาม
เวลาไทย
ผลกระทบข้ ามทวีป

• ภูเขาไฟปูเยฮิวในชิลี
เที่ยวบินระหว่างประเทศภายในอเมริกาใต้ ต้องถูกยกเลิก ขณะที่
กระแสลมแรงได้พดั เอาเถ้ าควันลอยข้ ามไปไกลถึงมหาสมุทรแอ
ตแลนติคตอนใต้ มหาสมุทรอินเดียตอนใต้ ออสเตรเลีย และ
นิวซีแลนด์
สรุ ปบทเรียน

ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว และสึ นามิ เป็ นธรณีพบิ ัติภยั ที่เกิดจาก


กระบวนการเปลีย่ นแปลงทางธรณีวทิ ยาซึ่งผลต่ อสิ่งมีชีวติ และสิ่งแวดล้อม
แบบฉับพลันและรุนแรง
ภูเขาไฟเกิดจากการแทรกดันของแมกมาขึน้ มาบนผิวโลกตาม
ช่ องว่างหรื อรอยแตกของเปลือกโลก โดยส่ วนใหญ่ จะมีตาแหน่ ง สั มพันธ์
กับรอยต่ อของแผ่นธรณีเคลื่อนที่เข้ าหากันหรื อแนวมุดตัวของแผ่นธรณี
โดยเฉพาะบริเวณรอบๆ มหาสมุทรแปซิฟิกและยังมีภูเขาไฟที่เกิดขึน้ ใน
บริเวณแผ่นธรณีเคลื่อนที่ออกจากกัน ภูเขาไฟในบางบริเวณอาจเกิดจากการ
แทรกดันของแมกมาจากจุดร้ อนที่บริเวณกลางแผ่นธรณี
ภูเขาไฟมีรูปร่ างและความรุนแรงในการระเบิดแตกต่ างกัน ซึ่งขึน้ อยู่
กับองค์ประกอบของแมกมาเป็ นสาคัญ แมกมาที่มีองค์ประกอบของซิลกิ า
สู งจะมีความหนืดมากจะทาให้ ภูเขาไฟมีรูปร่ างสู งชันและระเบิดรุนแรง
ส่ วนแมกมาที่มีองค์ประกอบของซิลกิ าต่าจะมีความหนืดน้ อยและลาวาไหว
ไปรอบปากปล่องภูเขาไฟจึงมีฐานกว้างไม่ สูงมากและระเบิดไม่ รุนแรง

ภูเขาไฟระเบิดส่ งผลต่ อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ในบางครั้งส่ งผล


กระทบอย่างรุนแรงและเป็ นบริเวณกว้าง ดังนั้นการสร้ างระบบเตือนภัย
และแนวการเฝ้าระวังและปฏิบัติตนให้ ปลอดภัยจากภูเขาไฟระเบิด จึงมี
ความจาเป็ นอย่างยิง่

You might also like