You are on page 1of 108

1

แผนการจัดการเรียนรู้

เรื่อง รู้จักดิน รายวิชาวิทยาศาสตร์


หน่วยการเรียนรู้เรื่อง ดินในท้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
ถิ่นของเรา เทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 1 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
ว 3.2 ป.2/1 ระบุส่วนประกอบ ของดิน และจำแนก ชนิดของ
ดิน โดยใช้ ลักษณะเนื้อดินและ การ จับตัวเป็ นเกณฑ์
ป.2/2 อธิบายการใช้ประโยชน์ จากดิน จากข้อมูลที่ รวบรวมได้

2. จุดประสงค์การเรียนรู้ (ความรู้, ทักษะ, เจตคติ)


1. ระบุส่วนประกอบของดิน
2. จำแนกชนิดของดินโดยใช้ลักษณะเนื้อดิน สมบัติการ จับตัว และ
การอุ้มน้ำของดินเป็ นเกณฑ์
3. อธิบายการใช้ประโยชน์จากดิน

3. สาระสำคัญ
ดินเป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่พบได้ทั่วไป ดินตามที่ ต่าง ๆ จะมีส่วน
ประกอบเหมือนกัน แต่อาจมีลักษณะและ สมบัติแตกต่างกัน เมื่อใช้ลักษณะ
2

เนื้อดิน สมบัติการจับตัว และการอุ้มน้ำของดินเป็ นเกณฑ์สามารถจำแนกดิน


ได้เป็ น 3 ชนิด ได้แก่ ดินเหนียว ดินร่วน และดินทราย ซึ่งดิน แต่ละชนิด
สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน ตาม ลักษณะ สมบัติและชนิดของ
ดิน

4. สาระการเรียนรู้
ความรู้
1. ดินในท้องถิ่น
2. ประโยชน์ของดิน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1. การสังเกต
2. การจำแนกประเภท
3. ลงความเห็นข้อมูล
4. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
1. การสื่อสาร
2. ความร่วมมือ
3. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่ เรียนรู้
2. อยู่อย่างพอเพียง
3

3. มุ่งมั่นในการทำงาน

5. ชิ้นงานหรือภาระงาน
วาดแผนภูมิส่วนประกอบของดิน

6. กิจกรรมการเรียนรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : Active Learning
ดำเนินการเรียนการสอนดังต่อไปนี้
- แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
- นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน โดยใช้ข้อทดสอบแบบปรนัย
จำนวน 10 ข้อ
1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับดิน โดยนำรูป
หิน ดิน ทราย และฝุ่น มาให้นักเรียนสังเกตและใช้คำถามดังต่อไปนี้
1.1 วัสดุใดคือดิน เพราะเหตุใด (นักเรียนตอบตามความ
เข้าใจของ ตนเอง)
1.2 ดินมีลักษณะอย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ
ตนเอง เช่น ดินมีลักษณะเป็ นเม็ดเล็ก ๆ แข็ง ๆ มีเศษหินเล็ก ๆ มีสีดำ
น้ำตาล แดง และมีเศษหญ้า ซากมดปนอยู่)
1.3 ดินมีประโยชน์หรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบตามความ
เข้าใจ ของตนเอง เช่น ดินมีประโยชน์มาก ซึ่งเราใช้ประโยชน์จากดินทั้ง ใน
การเกษตรกรรม การก่อสร้าง และอื่น ๆ)
2. ขั้นสอน
4

1. ครูชักชวนให้นักเรียนสังเกตดินที่นักเรียนได้นำมาจากบ้าน
(ครูสั่งไว้ล่วงหน้า)
1.1 จากรูป นักเรียนคิดว่าจะพบดินบริเวณใดบ้าง (นักเรียน
อาจชี้ไป ที่ภาพบริเวณที่มีเม็ดดินขนาดเล็กกระจัดกระจายอยู่เท่านั้น แต่
จริง ๆ แล้ว ดินจะพบได้ตั้งแต่บริเวณที่มีการผุพังของภูเขาหิน ไปจนถึง
บริเวณทางน้ำ
2. ครูชักชวนนักเรียนตอบคำถามเกี่ยวกับดิน ในสำรวจความรู้
ก่อนเรียน
4. ขั้นขยายความรู้ (elaboration)
นักเรียนทำสำรวจความรู้ก่อนเรียน ในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า
60-61 โดยนักเรียนอ่านคำถามแต่ละข้อ ครูตรวจสอบความเข้าใจของ
นักเรียน จนแน่ใจว่านักเรียนสามารถทำได้ด้วยตนเอง จึงให้ นักเรียนตอบ
คำถาม โดยคำตอบของแต่ละคนอาจแตกต่างกันและ อาจตอบถูกหรือผิด
ก็ได้
5. ขั้นประเมิน(evaluation)
ครูสังเกตการตอบคำถามของนักเรียนเพื่อตรวจสอบว่านักเรียนมี
แนวคิดเกี่ยวกับดินอย่างไร โดยอาจสุ่มให้นักเรียน 2-3 คน นำเสนอ คำตอบ
ของตนเอง ครูยังไม่ต้องเฉลยคำตอบ แต่จะให้นักเรียน ย้อนกลับมาตรวจ
สอบอีกครั้งหลังจากเรียนจบบทนี้แล้ว ทั้งนี้ครูควร บันทึกแนวคิดคลาด
เคลื่อนหรือแนวคิดที่น่าสนใจของนักเรียน แล้ว นำมาใช้ในการออกแบบการ
จัดการเรียนรู้เพื่อแก้ไขแนวคิด คลาดเคลื่อนให้ถูกต้อง และต่อยอดแนวคิดที่
น่าสนใจของนักเรียน
5

7. กระบวนการวัดและประเมินผล
การประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนทำได้ ดังนี้
1. ประเมินความรู้เดิมจากการอภิปรายในชั้นเรียน
2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียน
รู้และจากแบบบันทึกกิจกรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรมของนักเรียน
การประเมินจากการทำกิจกรรม
ระดับคะแนน
3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 1 คะแนน
หมายถึง ควรปรับปรุง
รหัส สิ่งที่ประเมิน ระดับคะแนน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
S1 การสังเกต
S8 การลงความเห็นจากข้อมูล
S13 การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
C4 การสื่อสาร
C5 ความร่วมมือ

เกณฑ์การประเมินผลแบบทดสอบ
ประเด็นการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน ร้อยละ 80 ร้อยละ 60 ร้อยละ 40 ร้อยละ 10
6

- 100 - 79 - 59 - 39
แบบ ทำถูกต้อง ทำถูกต้อง ทำถูกต้อง ทำถูกต้อง
ทดสอบ 8 - 10 ข้อ 6 - 7 ข้อ 4 - 5 ข้อ 1 - 3 ข้อ
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ระดับคะแนน 8 - 10 ระดับคุณภาพ ร้อยละ 80 – 100
ระดับคะแนน 6-7 ระดับคุณภาพ ร้อยละ 60 - 79
ระดับคะแนน 4 - 5 ระดับคุณภาพ ร้อยละ 40 - 59
ระดับคะแนน 1-3 ระดับคุณภาพ ร้อยละ 10 - 39
เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับคุณภาพร้อยละ 80 ขึ้นไป
สรุป ผ่าน ไม่ผ่าน

8. สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียน ป.2 เล่ม 1 หน้า 1-15
2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เล่ม 1 หน้า 1-20

9. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารโรงเรียนหรือผู้ที่ได้รับมอบ
หมาย
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….…
7

…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…

ลงชื่อ...........................................................
( ……………………………………..
……………….. )
ผู้อำนวย
การ…………….…………….………

10. บันทึกหลังสอน วันที่……………….….


เดือน……………………………………….……พ.ศ …………..
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
8

…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ปั ญหา/อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
.
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………….………
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
9

…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ลงชื่อ………………………..…………………… ผู้สอน
( ……………………..……..
………………… )

แผนการจัดการเรียนรู้

เรื่อง ดินในท้องถิ่น รายวิชาวิทยาศาสตร์


หน่วยการเรียนรู้เรื่อง ดินรอบตัว กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เรา เทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง
10

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
ว 3.2 ป.2/1 ระบุส่วนประกอบ ของดิน และจำแนก ชนิดของ
ดิน โดยใช้ ลักษณะเนื้อดินและ การ จับตัวเป็ นเกณฑ์
ป.2/2 อธิบายการใช้ประโยชน์ จากดิน จากข้อมูลที่ รวบรวมได้

2. จุดประสงค์การเรียนรู้ (ความรู้, ทักษะ, เจตคติ)


1. สังเกตและระบุส่วนประกอบของดินจากแหล่งต่าง ๆ
2. สังเกตและเปรียบเทียบลักษณะเนื้อดินของดินเหนียว ดินร่วน ดิน
ทราย และดินในท้องถิ่น
3. สังเกตและเปรียบเทียบการจับตัวและการอุ้มน้ำของ ดินเหนียว ดิน
ร่วน ดินทรายและดินในท้องถิ่น 4. ระบุชนิดของดินในท้องถิ่น โดยเปรียบ
เทียบกับ ลักษณะเนื้อดิน สมบัติการจับตัว และการอุ้มน้ำของ ดินเหนียว
ดินร่วน และดินทราย

3. สาระสำคัญ
ดินเป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่พบได้ทั่วไป ดินตามที่ ต่าง ๆ จะมีส่วน
ประกอบเหมือนกัน แต่อาจมีลักษณะและ สมบัติแตกต่างกัน เมื่อใช้ลักษณะ
เนื้อดิน สมบัติการจับตัว และการอุ้มน้ำของดินเป็ นเกณฑ์สามารถจำแนกดิน
ได้เป็ น 3 ชนิด ได้แก่ ดินเหนียว ดินร่วน และดินทราย ซึ่งดิน แต่ละชนิด
สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน ตาม ลักษณะ สมบัติและชนิดของ
ดิน
11

4. สาระการเรียนรู้
ความรู้
1. ดินในท้องถิ่น
2. ประโยชน์ของดิน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1. การสังเกต
2. การจำแนกประเภท
3. ลงความเห็นข้อมูล
4. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
1. การสื่อสาร
2. ความร่วมมือ
3. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่ เรียนรู้
2. อยู่อย่างพอเพียง
3. มุ่งมั่นในการทำงาน

5. ชิ้นงานหรือภาระงาน
การอุ้มน้ำของดิน

6. กิจกรรมการเรียนรู้
12

แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้
(5Es Instructional Model) โดยเน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ ดำเนินการเรียน
การสอนดังต่อไปนี้
- แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
1. ขั้นสร้างความสนใจ (engagement)
1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับดิน โดยใช้
คำถามว่า เคยสังเกตดินตามที่ต่าง ๆ หรือไม่ ดินตามที่ต่าง ๆ ที่เคยสังเกตมี
ลักษณะเหมือนหรือแตกต่างกัน (นักเรียนตอบได้ตามความเข้าใจของ ตนเอง
แต่ควรมีเหตุผลประกอบ) จากนั้นครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนสู่การ
เรียนเรื่อง ดินใน ท้องถิ่น โดยใช้คำถามว่า รู้หรือไม่ว่าดินตามที่ต่าง ๆ มี
ลักษณะอย่างไรบ้าง เราจะไปเรียนรู้กัน
2. ขั้นสำรวจและค้นหา(exploration)
1. นักเรียนอ่านชื่อเรื่อง และคำถามในคิดก่อนอ่าน ในหนังสือ
เรียนหน้า 44 แล้วร่วมกันอภิปรายในกลุ่มเพื่อหาแนวคำตอบตามความ
เข้าใจ ของกลุ่ม ครูบันทึกคำตอบของนักเรียนบนกระดานเพื่อใช้เปรียบ
เทียบ กับคำตอบภายหลังการอ่านเนื้อเรื่อง
2. นักเรียนอ่านคำสำคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หาก
นักเรียน อ่านไม่ได้ ครูควรสอนอ่านให้ถูกต้อง) จากนั้นครูชักชวนให้นักเรียน
อธิบายความหมายของคำสำคัญจากเนื้อเรื่องที่จะอ่าน
3. นักเรียนอ่านเนื้อเรื่องในหนังสือเรียนหน้า 44-45 โดยครูฝึ ก
ทักษะ การอ่านตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (explanation)
13

1. ครูใช้คำถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่าน โดยใช้
คำถามดังนี้
ย่อหน้าที่ 1
1.1 ดินคืออะไร (วัตถุที่ปกคลุมผิวโลก)
1.2 หินต้นกำเนิดคืออะไร (หินที่จะผุพังแล้วทำให้เกิดตะกอนดิน
ลักษณะต่าง ๆ)
1.3 นักวิทยาศาสตร์จำแนกดินออกเป็ นกี่ชนิด อะไรบ้าง (3 ชนิด
คือ ดินเหนียว ดินร่วน และดินทราย)
ย่อหน้าที่ 2
1.4 บริเวณป่ าชายเลนมีลักษณะเป็ นอย่างไร และมักพบดินชนิด
ใด (บริเวณป่ าชายเลนมีลักษณะเป็ นพื้นที่ที่น้ำทะเลท่วมถึง มักพบ ดินที่มี
ความเค็มสูง ส่วนใหญ่เป็ นดินเหนียว)
ย่อหน้าที่ 3
1.5 บริเวณพื้นที่ลาดเชิงเขามีลักษณะเป็ นอย่างไร และมักพบดิน
ชนิดใด (บริเวณพื้นที่ลาดเชิงเขามีลักษณะเป็ นพื้นที่ลาดที่มี การชะล้างพัง
ทลายได้ง่าย ดินมักขาดความอุดมสมบูรณ์ ถ้า หินต้นกำเนิดเป็ นหินทรายดิน
บริเวณนี้มักจะเป็ นดินทราย)
1.6 นักเรียนคิดว่า เพราะเหตุใดดินบริเวณที่ลาดเชิงเขาส่วน
ใหญ่ถึง มักขาดความอุดมสมบูรณ์ (เพราะดินบริเวณนี้มีการชะล้าง พังทลาย
ได้ง่าย)
ย่อหน้าที่ 4
1.7 ดินที่พบบริเวณที่ราบมีลักษณะเป็ นอย่างไร และมักพบดิน
ชนิดใด (ดินที่พบบริเวณที่ราบส่วนใหญ่เป็ นแอ่งสะสมตะกอนซากพืช ซาก
14

สัตว์ เป็ นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ โดยจะจัดเป็ นดินชนิดใดขึ้นอยู่ กับหินต้น


กำเนิด โดยส่วนใหญ่มักพบเป็ นดินร่วน)
1.8 นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดดินบริเวณที่ราบหรือแอ่งสะสม
ตะกอนดินส่วนใหญ่จึงมีความอุดมสมบูรณ์ (เพราะเป็ นบริเวณที่ มีการสะสม
ตัวของซากพืช ซากสัตว์)
4. ขั้นขยายความรู้ (elaboration)
1. เราสามารถพบดินเหนียว ดินทราย หรือดินร่วนที่บริเวณอื่น
นอกจากที่กล่าวมาแล้วได้หรือไม่ อย่างไร (เราสามารถพบดิน เหนียวใน
บริเวณอื่นได้ เนื่องจากการจะบอกว่าเป็ นดินชนิดใดแต่ ละชนิดขึ้นอยู่กับหิน
ต้นกำเนิดและสภาพแวดล้อมในอดีตและ ปั จจุบัน)
2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า นัก
วิทยาศาสตร์ จำแนกดินออกเป็ นดินเหนียว ดินร่วน และดินทราย ซึ่งแต่ละ
บริเวณ อาจพบดินที่เหมือนหรือแตกต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะของหินต้น
กำเนิดและสภาพแวดล้อมทั้งในอดีตและปั จจุบัน
5. ขั้นประเมิน(evaluation)
1. นักเรียนตอบคำถามจากเรื่องที่อ่านในรู้หรือยัง ในแบบ
บันทึก กิจกรรม หน้า 62
2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อเปรียบเทียบคำตอบของ
นักเรียน ในรู้หรือยัง กับคำตอบที่เคยตอบและบันทึกไว้ในคิดก่อนอ่าน จาก
นั้นให้นักเรียนฝึ กเขียนคำว่า ดิน ในเขียนเป็ น ในแบบบันทึก กิจกรรม หน้า
62
3. ครูชักชวนนักเรียนตอบคำถามท้ายเรื่องที่อ่าน คือ ดินแต่ละ
ชนิดที่ นักวิทยาศาสตร์จำแนกไว้มีส่วนประกอบ ลักษณะ และสมบัติเหมือน
15

หรือแตกต่างกัน จะจำแนกชนิดดินที่พบในท้องถิ่นแบบ นักวิทยาศาสตร์ได้


อย่างไร ครูบันทึกคำตอบของนักเรียนบนกระดาน โดยยังไม่เฉลยคำตอบ แต่
ชักชวนให้นักเรียนหาคำตอบจากการทำ กิจกรรม

7. กระบวนการวัดและประเมินผล
การประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนทำได้ ดังนี้
1. ประเมินความรู้เดิมจากการอภิปรายในชั้นเรียน
2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียน
รู้และจากแบบบันทึกกิจกรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรมของนักเรียน
การประเมินจากการทำกิจกรรม
ระดับคะแนน
3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 1 คะแนน
หมายถึง ควรปรับปรุง
รหัส สิ่งที่ประเมิน ระดับคะแนน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
S1 การสังเกต
S8 การลงความเห็นจากข้อมูล
S13 การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
C4 การสื่อสาร
16

C5 ความร่วมมือ

8. สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียน ป.2 เล่ม 2 หน้า 44-54
2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เล่ม 2 หน้า 62-77

9. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารโรงเรียนหรือผู้ที่ได้รับมอบ
หมาย
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
17

…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…

ลงชื่อ...........................................................
( ……………………………………..
……………….. )
ผู้อำนวย
การ…………….…………….………

10. บันทึกหลังสอน วันที่……………….….


เดือน……………………………………….……พ.ศ …………..
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
18

…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ปั ญหา/อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
.
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………….………
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
19

…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ลงชื่อ………………………..…………………… ผู้สอน
( ……………………..……..
………………… )

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 72

เรื่อง ดินในท้องถิ่น รายวิชาวิทยาศาสตร์


หน่วยการเรียนรู้เรื่อง ดินรอบตัว กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เรา เทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
20

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
ว 3.2 ป.2/1 ระบุส่วนประกอบ ของดิน และจำแนก ชนิดของ
ดิน โดยใช้ ลักษณะเนื้อดินและ การ จับตัวเป็ นเกณฑ์
ป.2/2 อธิบายการใช้ประโยชน์ จากดิน จากข้อมูลที่ รวบรวมได้

2. จุดประสงค์การเรียนรู้ (ความรู้, ทักษะ, เจตคติ)


1. ระบุส่วนประกอบของดินในท้องถิ่นได้
2. มีความสนใจใฝ่ รู้หรืออยากรู้อยากเห็น
3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
4. ทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์
5. สื่อสารและนำความรู้เรื่องส่วนประกอบของดินไปใช้ในชีวิตประจำ
วันได้

3. สาระสำคัญ
ดินเป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่พบได้ทั่วไป ดินตามที่ ต่าง ๆ จะมีส่วน
ประกอบเหมือนกัน แต่อาจมีลักษณะและ สมบัติแตกต่างกัน เมื่อใช้ลักษณะ
เนื้อดิน สมบัติการจับตัว และการอุ้มน้ำของดินเป็ นเกณฑ์สามารถจำแนกดิน
ได้เป็ น 3 ชนิด ได้แก่ ดินเหนียว ดินร่วน และดินทราย ซึ่งดิน แต่ละชนิด
สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน ตาม ลักษณะ สมบัติและชนิดของ
ดิน

4. สาระการเรียนรู้
ความรู้
21

ส่วนประกอบของดิน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1. การสังเกต
2. การจำแนกประเภท
3. ลงความเห็นข้อมูล
4. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
1. การสื่อสาร
2. ความร่วมมือ
3. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่ เรียนรู้
2. อยู่อย่างพอเพียง
3. มุ่งมั่นในการทำงาน

5. ชิ้นงานหรือภาระงาน
วาดแผนภูมิส่วนประกอบของดิน

6. กิจกรรมการเรียนรู้
22

แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้
(5Es Instructional Model) โดยเน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ ดำเนินการเรียน
การสอนดังต่อไปนี้
- แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
1. ขั้นสร้างความสนใจ (engagement)
1. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยใช้คำถาม เช่น
– นักเรียนเคยช่วยพ่อแม่ปลูกต้นไม้หรือไม่ (แนวคำตอบ
เคย)
– การปลูกต้นไม้ต้องใช้อะไรบ้าง (แนวคำตอบ กระถาง
ดิน และน้ำ)
2. นักเรียนร่วมกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
คำตอบ เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้เรื่อง ส่วนประกอบของดิน
2. ขั้นสำรวจและค้นหา(exploration)
1. ครูให้นักเรียนศึกษาเรื่องส่วนประกอบของดินจากใบความรู้
หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า ดินประกอบด้วย
ส่วนประกอบพื้นฐาน 4 ส่วน คือ ซากพืช ซากสัตว์ 5 ส่วน หินที่ผุพัง 45
ส่วน น้ำ 25 ส่วน และอากาศ 25 ส่วน
2. ครูให้นักเรียนแต่ละคนวาดแผนภูมิส่วนประกอบพื้นฐานของ
ดินตามจินตนาการ
3. ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดย
ครูเดินดูรอบ ๆ ห้องเรียนและเปิ ดโอกาสให้นักเรียนทุกคนซักถามเมื่อมี
ปั ญหา
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (explanation)
23

1. ให้นักเรียนนำเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน
2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม
โดยใช้แนวคำถาม เช่น
– ส่วนประกอบหลักของดินคืออะไร (แนวคำตอบ หินที่ผุพัง)
– ดินประกอบด้วยน้ำและอากาศอย่างละกี่ส่วน (แนวคำตอบ
อย่างละ 25 ส่วน)
– ส่วนประกอบพื้นฐานของดินที่มีสัดส่วนน้อยที่สุดคืออะไร
(แนวคำตอบ ซากพืช ซาก สัตว์)
3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดย
ครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า ดินประกอบด้วยส่วนประกอบพื้นฐาน 4 ส่วน
คือ ซากพืช ซากสัตว์ 5 ส่วน หินที่ผุพัง 45 ส่วน น้ำ 25 ส่วน และอากาศ 25
ส่วน
4. ขั้นขยายความรู้ (elaboration)
1. นักเรียนค้นคว้าคำศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับส่วน
ประกอบของดิน จากหนังสือเรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และ
นำเสนอให้เพื่อนในห้องฟั ง คัดคำศัพท์พร้อมทั้งคำแปลลงสมุดส่งครู
2. ครูอธิบายเรื่องน่ารู้ เรื่อง ส่วนประกอบของดิน ให้นักเรียน
เข้าใจว่า ดินที่มีฮิวมัสมากจะมีสีดำ เป็ นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์มาก ทำให้
พืชเจริญเติบโตได้ดี ดังนั้นในป่ าที่มีซากพืช ซากสัตว์จำนวนมาก ดินจึงมี
ฮิวมัสมาก ทำให้พืชในป่ าเจริญเติบโตได้ดี
5. ขั้นประเมิน(evaluation)
24

1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและ
การปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วย
อธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ
2. นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปั ญหา
หรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไรบ้าง
3. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์
ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์
4. ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบคำถาม
เช่น
– ส่วนประกอบพื้นฐานของดินมีกี่ส่วน อะไรบ้าง (แนวคำตอบ
มี 4 ส่วน คือ ซากพืช ซากสัตว์ หินที่ผุพัง น้ำ และอากาศ)
– ซากพืช ซากสัตว์ที่ทับถมกันในดินจะถูกย่อยสลายกลาย
เป็ นอะไร (แนวคำตอบ ฮิวมัส)

7. กระบวนการวัดและประเมินผล
การประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนทำได้ ดังนี้
1. ประเมินความรู้เดิมจากการอภิปรายในชั้นเรียน
2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียน
รู้และจากแบบบันทึกกิจกรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรมของนักเรียน
25

การประเมินจากการทำกิจกรรม
ระดับคะแนน
3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 1 คะแนน
หมายถึง ควรปรับปรุง
รหัส สิ่งที่ประเมิน ระดับคะแนน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
S1 การสังเกต
S8 การลงความเห็นจากข้อมูล
S13 การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
C4 การสื่อสาร
C5 ความร่วมมือ

8. สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียน ป.2 เล่ม 2 หน้า 44-54
2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เล่ม 2 หน้า 62-77
26

9. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารโรงเรียนหรือผู้ที่ได้รับมอบ
หมาย
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
27

ลงชื่อ...........................................................
( ……………………………………..
……………….. )
ผู้อำนวย
การ…………….…………….………

10. บันทึกหลังสอน วันที่……………….….


เดือน……………………………………….……พ.ศ …………..
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….
28

…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ปั ญหา/อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
.
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………….………
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
29

…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ลงชื่อ………………………..…………………… ผู้สอน
( ……………………..……..
………………… )

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 73

เรื่อง กิจกรรมที่ 1.1 ดินมีส่วน รายวิชาวิทยาศาสตร์


ประกอบอะไรบ้าง(1)
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง ดินรอบตัว กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เรา เทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
ว 3.2 ป.2/1 ระบุส่วนประกอบ ของดิน และจำแนก ชนิดของ
ดิน โดยใช้ ลักษณะเนื้อดินและ การ จับตัวเป็ นเกณฑ์
ป.2/2 อธิบายการใช้ประโยชน์ จากดิน จากข้อมูลที่ รวบรวมได้

2. จุดประสงค์การเรียนรู้ (ความรู้, ทักษะ, เจตคติ)


30

1. ระบุส่วนประกอบของดินในท้องถิ่นได้
2. มีความสนใจใฝ่ รู้หรืออยากรู้อยากเห็น
3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
4. ทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์
5. สื่อสารและนำความรู้เรื่องส่วนประกอบของดินไปใช้ในชีวิตประจำ
วันได้

3. สาระสำคัญ
ดินเป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่พบได้ทั่วไป ดินตามที่ ต่าง ๆ จะมีส่วน
ประกอบเหมือนกัน แต่อาจมีลักษณะและ สมบัติแตกต่างกัน เมื่อใช้ลักษณะ
เนื้อดิน สมบัติการจับตัว และการอุ้มน้ำของดินเป็ นเกณฑ์สามารถจำแนกดิน
ได้เป็ น 3 ชนิด ได้แก่ ดินเหนียว ดินร่วน และดินทราย ซึ่งดิน แต่ละชนิด
สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน ตาม ลักษณะ สมบัติและชนิดของ
ดิน

4. สาระการเรียนรู้
ความรู้
ส่วนประกอบของดิน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1. การสังเกต
2. ลงความเห็นข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
31

1. การสื่อสาร
2. ความร่วมมือ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่ เรียนรู้
2. อยู่อย่างพอเพียง
3. มุ่งมั่นในการทำงาน

5. ชิ้นงานหรือภาระงาน
กิจกรรมที่ 1.1 ดินมีส่วนประกอบอะไรบ้าง

6. กิจกรรมการเรียนรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้
(5Es Instructional Model) โดยเน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ ดำเนินการเรียน
การสอนดังต่อไปนี้
- แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
1. ขั้นสร้างความสนใจ (engagement)
1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับส่วนประกอบของดิน โดยใช้
คำถามว่า ดินแต่ละชนิดมีส่วนประกอบเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร
(นักเรียน ตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น ดินทุกชนิดมีส่วนประกอบ
เหมือนกัน ประกอบด้วย เศษหิน ซากพืช ซากสัตว์ น้ำและอากาศ แต่จะมี
ปริมาณ เศษหิน ซากพืช ซากสัตว์ น้ำและอากาศแตกต่างกันไปในดินแต่ละ
บริเวณ)
32

2. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมที่ 1.1 โดย


ใช้คำถามว่า อยากรู้หรือไม่ว่า ดินตามที่ต่าง ๆ ในท้องถิ่นมีส่วนประกอบ
อะไรบ้าง ไป ทำกิจกรรมกัน
2. ขั้นสำรวจและค้นหา(exploration)
1. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และทำเป็ นคิดเป็ น ในหนังสือเรียน
หน้า 46 จากนั้นร่วมกันอภิปรายเพื่อตรวจสอบความเข้าใจจุดประสงค์ใน
การทำ กิจกรรม โดยครูใช้คำถามดังนี้
1.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องอะไร (ส่วน
ประกอบของดินจากแหล่งต่างๆ)
1.2 นักเรียนจะได้เรียนรู้เรื่องนี้ด้วยวิธีใด (การสังเกต)
1.3 เมื่อเรียนรู้แล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (ระบุส่วนประกอบ
ของดินได้)
4. นักเรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 63
และอ่าน สิ่งที่ต้องใช้ในการทำกิจกรรม ซึ่งครูอาจนำวัสดุอุปกรณ์ที่นักเรียน
ไม่รู้จักมา แสดงให้นักเรียนดู
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (explanation)
1. นักเรียนอ่านทำอย่างไรทีละข้อ และครูถามนักเรียนว่ามีคำ
ศัพท์ ใดบ้างที่ไม่เข้าใจเพื่อครูจะได้ช่วยอธิบาย จากนั้นร่วมกันอภิปราย เพื่อ
ตรวจสอบความเข้าใจว่าจะทำกิจกรรมอย่างไร จนนักเรียน เข้าใจลำดับการ
ทำกิจกรรม โดยอาจใช้คำถามดังนี้ ทำอย่างไร ข้อที่ 1
1.1 นักเรียนเก็บตัวอย่างดินมาจากที่ใดบ้าง (คำตอบขึ้นอยู่
กับ แหล่งดินที่เก็บตัวอย่างดินมาทำกิจกรรม เช่น สวนหลังบ้าน สวน
สาธารณะ แปลงผักในโรงเรียน)
33

1.2 นักเรียนเก็บตัวอย่างดินมาอย่างไร (คำตอบขึ้นอยู่กับวิธี


การที่ นักเรียนใช้ในการเก็บตัวอย่างดิน ซึ่งนักเรียนควรตอบ คล้ายคลึงกับ
วิธีเก็บตัวอย่างดินที่แนะนำไว้ในการเตรียมตัว ล่วงหน้าสำหรับครูในเรื่องที่ 1
เช่น ขุดดินจากสวนหลังบ้านโดยขุดดินลึกลงไปประมาณ 10 – 15
เซนติเมตร แล้วเก็บดิน มาประมาณ 25 กำมือ)
1.3 ในขั้นตอนแรกนักเรียนต้องทำอะไร (ตักดินใส่ภาชนะ และ
สังเกตลักษณะของดินอย่างละเอียด)
1.4 วิธีการสังเกตดินอย่างละเอียดทำอย่างไร (ใช้ตาเปล่า
สังเกต ก่อน จากนั้นใช้มือบี้ดิน)
4. ขั้นขยายความรู้ (elaboration)
ครูแนะนำวิธีการใช้แว่นขยายที่ถูกต้องให้กับนักเรียน และบอก
กับนักเรียนว่าจะให้แว่นขยายกับนักเรียน หลังจากที่นักเรียนบันทึกผล การ
สังเกตดินด้วยตาเปล่าแล้วก่อนอภิปรายข้อต่อไป
5. ขั้นประเมิน(evaluation)
1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและ
การปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วย
อธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ
2. นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปั ญหา
หรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไรบ้าง
3. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์
ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์
4. ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบคำถาม
เช่น
34

– นักเรียนต้องแบ่งดินในภาชนะออกเป็ นกี่ส่วน (สองส่วน)


– ดินส่วนที่หนึ่งต้องนำไปทำอะไร (นำไปใส่ในถุงพลาสติกและ
รัดปากถุงให้แน่น)
– ก่อนจะนำถุงพลาสติกที่ใส่ดินไปวางกลางแดดนักเรียน
ต้องทำ อะไร (บันทึกผลการสังเกตว่าพบอะไรบ้างภายในถุงพลาสติก ที่ใส่
ดิน)

7. กระบวนการวัดและประเมินผล
การประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนทำได้ ดังนี้
1. ประเมินความรู้เดิมจากการอภิปรายในชั้นเรียน
2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียน
รู้และจากแบบบันทึกกิจกรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรมของนักเรียน

การประเมินจากการทำกิจกรรม
ระดับคะแนน
35

3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 1 คะแนน


หมายถึง ควรปรับปรุง
รหัส สิ่งที่ประเมิน ระดับคะแนน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
S1 การสังเกต
S8 การลงความเห็นจากข้อมูล
S13 การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
C4 การสื่อสาร
C5 ความร่วมมือ

8. สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียน ป.2 เล่ม 2 หน้า 46-48
2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เล่ม 2 หน้า 63-67
3. วีดิทัศน์ตัวอย่างการปฏิบัติการวิทยาศาสตร์สำหรับครู เรื่อง ดินมี
อะไรเป็ นส่วนประกอบบ้าง http://ipst.me/9446
36

9. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารโรงเรียนหรือผู้ที่ได้รับมอบ
หมาย
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…

ลงชื่อ...........................................................
( ……………………………………..
……………….. )
37

ผู้อำนวย
การ…………….…………….………

10. บันทึกหลังสอน วันที่……………….….


เดือน……………………………………….……พ.ศ …………..
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ปั ญหา/อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
38

…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
.
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………….………
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ลงชื่อ………………………..…………………… ผู้สอน
39

( ……………………..……..
………………… )

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 74

เรื่อง กิจกรรมที่ 1.1 ดินมีส่วน รายวิชาวิทยาศาสตร์


ประกอบอะไรบ้าง(2)
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง ดินรอบตัว กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เรา และเทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
ว 3.2 ป.2/1 ระบุส่วนประกอบ ของดิน และจำแนก ชนิดของ
ดิน โดยใช้ ลักษณะเนื้อดินและ การ จับตัวเป็ นเกณฑ์
ป.2/2 อธิบายการใช้ประโยชน์ จากดิน จากข้อมูลที่ รวบรวมได้

2. จุดประสงค์การเรียนรู้ (ความรู้, ทักษะ, เจตคติ)


1. ระบุส่วนประกอบของดินในท้องถิ่นได้
2. มีความสนใจใฝ่ รู้หรืออยากรู้อยากเห็น
3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
4. ทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์
40

5. สื่อสารและนำความรู้เรื่องส่วนประกอบของดินไปใช้ในชีวิตประจำ
วันได้

3. สาระสำคัญ
ดินเป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่พบได้ทั่วไป ดินตามที่ ต่าง ๆ จะมีส่วน
ประกอบเหมือนกัน แต่อาจมีลักษณะและ สมบัติแตกต่างกัน เมื่อใช้ลักษณะ
เนื้อดิน สมบัติการจับตัว และการอุ้มน้ำของดินเป็ นเกณฑ์สามารถจำแนกดิน
ได้เป็ น 3 ชนิด ได้แก่ ดินเหนียว ดินร่วน และดินทราย ซึ่งดิน แต่ละชนิด
สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน ตาม ลักษณะ สมบัติและชนิดของ
ดิน

4. สาระการเรียนรู้
ความรู้
ส่วนประกอบของดิน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1. การสังเกต
2. ลงความเห็นข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
1. การสื่อสาร
2. ความร่วมมือ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่ เรียนรู้
41

2. อยู่อย่างพอเพียง
3. มุ่งมั่นในการทำงาน

5. ชิ้นงานหรือภาระงาน
กิจกรรมที่ 1.1 ดินมีส่วนประกอบอะไรบ้าง

6. กิจกรรมการเรียนรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้
(5Es Instructional Model) โดยเน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ ดำเนินการเรียน
การสอนดังต่อไปนี้
- แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
1. ขั้นสร้างความสนใจ (engagement)
1. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไรแล้ว ครู
แจกวัสดุ อุปกรณ์ และให้นักเรียนเริ่มปฏิบัติตามขั้นตอนที่กล่าวมา โดนการ
แจก อุปกรณ์จะยกเว้นแว่นขยายที่ครูจะแจกให้เมื่อนักเรียนสังเกตเนื้อดิน
ด้วย ตาเปล่าและบี้ดิน พร้อมบันทึกผลเรียบร้อยแล้ว
2. ขั้นสำรวจและค้นหา(exploration)
1. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว ครูนำอภิปรายผลการทำกิจกรรม
โดยใช้คำถาม ดังนี้
1.1 เมื่อสังเกตดินของตนเองในจานกระดาษโดยใช้ไม้เขี่ยดิน
พบ อะไรบ้าง (คำตอบขึ้นอยู่กับผลการทำกิจกรรม เช่น การสังเกตดิน โดย
การใช้ไม้เขี่ยดินในจานกระดาษ จะพบเศษหิน ซากพืช ซาก สัตว์ นักเรียน
42

บางกลุ่มอาจพบสิ่งมีชีวิต เศษกระดาษ และเศษ พลาสติก หรืออื่น ๆ การบี้


ดินทำให้พบว่า ดินหยาบหรือละเอียด และเนื้อดินชื้นหรือแห้ง)
1.2 เมื่อนำดินที่ใส่ถุงพลาสติกแล้วไปวางไว้กลางแดดแล้ว
สังเกตภายใน ถุง นอกจากดินแล้วยังพบอะไรอีกบ้าง (จะเห็นละอองน้ำจับ
อยู่ ภายในถุงพลาสติกเป็ นฝ้ าขาว ๆ )
1.3 เมื่อใส่ก้อนดินลงในน้ำ สังเกตทันที นักเรียนจะพบอะไร
บ้าง (มีฟองแก๊สลอยขึ้นสู่ผิวน้ำและบางส่วนเกาะอยู่ที่ก้อนดิน)
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (explanation)
จากสิ่งที่สังเกตได้ เมื่อใส่ก้อนดินลงในน้ำ นักเรียนคิดว่าเป็ น
ส่วนประกอบใดของดิน เพราะเหตุใด (นักเรียนอาจตอบว่า สิ่งที่ สังเกตได้
เป็ นฟองแก๊ส คิดว่าเป็ นอากาศ เพราะเมื่อผ่านไปสักพัก ฟองแก๊สบางส่วน
จะจะแตกและลอยหายไปในอากาศ) ถ้านักเรียนไม่สามารถตอบได้ ครูอาจ
ให้นักเรียนลองแตะที่ฟองแก๊ส นั้นแล้วสังเกตการเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะเห็นว่า
ฟองแก๊สนั้น ๆ จะแตกและ ลอยหายไป ซึ่งเมื่อแก๊สหายไปแล้วครูอาจเว้น
ช่วงให้นักเรียนลองคิดว่า ทำไมแก๊สที่เคยกองอยู่กับก้อนดินจึงหายไป ทำไม
เราถึงมองไม่เห็น ซึ่ง เด็กอาจตอบได้ว่าแก๊สที่ลอยไปในอากาศก็คืออากาศ
เราจึงมองไม่เห็น
4. ขั้นขยายความรู้ (elaboration)
ครูเปิ ดโอกาสให้นักเรียนตอบหรือซักถามในสิ่งที่อยากรู้เพิ่มเติม
เกี่ยวกับ ส่วนประกอบของดิน จากนั้นร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่าดิน
แต่ละ แหล่งประกอบด้วยเศษหิน ซากพืช ซากสัตว์ น้ำและอากาศ ซึ่งดิน
แต่ละ แหล่งอาจมีส่วนประกอบของดินแต่ละอย่างในปริมาณที่แตกต่างกัน
(S13) ครูอาจให้ความรู้เพิ่มเติมกับนักเรียนว่า ดินเกิดจากเศษหิน ซากพืช
43

ซาก สัตว์ มีการผุพังและย่อยสลายปะปนกันจนเป็ นเนื้อเดียว มีน้ำและ


อากาศ แทรกอยู่ตามช่องว่างของเม็ดดิน สำหรับสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในดิน เช่น พืช
ที่ปลูก บนดินและไส้เดือนดิน ใช้ดินเป็ นที่อยู่อาศัยจึงไม่ได้จัดเป็ นส่วน
ประกอบของ ดิน แต่เมื่อตายและถูกย่อยสลายแล้วจะถือว่าเป็ นซากพืช ซาก
สัตว์ในดิน ส่วนเศษวัสดุ เช่น ขยะต่าง ๆ พลาสติกที่อาจพบได้ในดินบางแห่ง
ไม่จัดเป็ น ส่วนประกอบของดินเพราะเศษวัสดุเป็ นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
5. ขั้นประเมิน(evaluation)
1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและ
การปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วย
อธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ
2. นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปั ญหา
หรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไรบ้าง
3. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์
ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์
4. นักเรียนตอบคำถาม ฉันรู้อะไร ในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า
65 – 67
5. นักเรียนร่วมกันอภิปรายคำตอบในฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้
คำถามเพิ่มเติม ในการอภิปรายเพื่อให้ได้แนวคำตอบที่ถูกต้อง
6. นักเรียนอ่านสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับส่วนประกอบของดิน และ
เปรียบเทียบ กับข้อสรุปที่ได้จากการอภิปราย

7. กระบวนการวัดและประเมินผล
การประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนทำได้ ดังนี้
44

1. ประเมินความรู้เดิมจากการอภิปรายในชั้นเรียน
2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียน
รู้และจากแบบบันทึกกิจกรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรมของนักเรียน

การประเมินจากการทำกิจกรรม
ระดับคะแนน
3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 1 คะแนน
หมายถึง ควรปรับปรุง
รหัส สิ่งที่ประเมิน ระดับคะแนน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
S1 การสังเกต
S8 การลงความเห็นจากข้อมูล
S13 การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
45

C4 การสื่อสาร
C5 ความร่วมมือ

8. สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียน ป.2 เล่ม 2 หน้า 46-48
2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เล่ม 2 หน้า 63-67
3. วีดิทัศน์ตัวอย่างการปฏิบัติการวิทยาศาสตร์สำหรับครู เรื่อง ดินมี
อะไรเป็ นส่วนประกอบบ้าง http://ipst.me/9446

9. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารโรงเรียนหรือผู้ที่ได้รับมอบ
หมาย
46

…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…

ลงชื่อ...........................................................
( ……………………………………..
……………….. )
ผู้อำนวย
การ…………….…………….………

10. บันทึกหลังสอน วันที่……………….….


เดือน……………………………………….……พ.ศ …………..
ผลการสอน
47

…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ปั ญหา/อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
.
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………….………
48

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ลงชื่อ………………………..…………………… ผู้สอน
( ……………………..……..
………………… )

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 75

เรื่อง ชนิดของดิน รายวิชาวิทยาศาสตร์


หน่วยการเรียนรู้เรื่อง ดินรอบตัว กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เรา เทคโนโลยี
49

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
ว 3.2 ป.2/1 ระบุส่วนประกอบ ของดิน และจำแนก ชนิดของ
ดิน โดยใช้ ลักษณะเนื้อดินและ การ จับตัวเป็ นเกณฑ์
ป.2/2 อธิบายการใช้ประโยชน์ จากดิน จากข้อมูลที่ รวบรวมได้

2. จุดประสงค์การเรียนรู้ (ความรู้, ทักษะ, เจตคติ)


1. บอกชนิดของดินได้
2. มีความสนใจใฝ่ รู้หรืออยากรู้อยากเห็น
3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
4. ทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์
5. สื่อสารและนำความรู้เรื่องส่วนประกอบของดินไปใช้ในชีวิตประจำ
วันได้

3. สาระสำคัญ
ดินเป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่พบได้ทั่วไป ดินตามที่ ต่าง ๆ จะมีส่วน
ประกอบเหมือนกัน แต่อาจมีลักษณะและ สมบัติแตกต่างกัน เมื่อใช้ลักษณะ
เนื้อดิน สมบัติการจับตัว และการอุ้มน้ำของดินเป็ นเกณฑ์สามารถจำแนกดิน
ได้เป็ น 3 ชนิด ได้แก่ ดินเหนียว ดินร่วน และดินทราย ซึ่งดิน แต่ละชนิด
สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน ตาม ลักษณะ สมบัติและชนิดของ
ดิน
50

4. สาระการเรียนรู้
ความรู้
1. ชนิดของดินได้
2. สมบัติของดิน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1. การสังเกต
2. ลงความเห็นข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
1. การสื่อสาร
2. ความร่วมมือ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่ เรียนรู้
2. อยู่อย่างพอเพียง
3. มุ่งมั่นในการทำงาน

5. ชิ้นงานหรือภาระงาน
สืบค้นชนิดของดิน

6. กิจกรรมการเรียนรู้
51

แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้
(5Es Instructional Model) โดยเน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ ดำเนินการเรียน
การสอนดังต่อไปนี้
- แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
1. ขั้นสร้างความสนใจ (engagement)
1. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยใช้คำถาม เช่น
– ถ้านักเรียนต้องการปลูกพืชให้สามารถเจริญเติบโตได้ดี
นักเรียนควรปลูกพืชในดินลักษณะอย่างไร (แนวคำตอบ ดินร่วนซุย มีอากาศ
มีน้ำ และมีธาตุอาหารสำหรับพืช)
– ถ้านักเรียนจะปั้นดินเป็ นรูปสัตว์ ต้องใช้ดินที่มีลักษณะ
อย่างไร (แนวคำตอบ ดินที่สามารถจับตัวเป็ นก้อนได้)
2. นักเรียนร่วมกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำ
ตอบ เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้เรื่อง ชนิดของดิน
2. ขั้นสำรวจและค้นหา(exploration)
1. ครูแบ่งนักเรียนกลุ่มละ 3–4 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับชนิด
ของดิน ตามขั้นตอนดังนี้
– แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อย่อยให้
เพื่อนสมาชิกช่วยกันสืบค้นตามที่สมาชิกกลุ่มช่วยกันกำหนดหัวข้อย่อย เช่น
ดินเหนียว ดินร่วน และดินทราย
– สมาชิกกลุ่มแต่ละคนหรือกลุ่มย่อยช่วยกันสืบค้นข้อมูลตาม
หัวข้อย่อยที่ตนเองรับผิดชอบ โดยการสืบค้นจากหนังสือ วารสาร
สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน หรืออินเทอร์เน็ต
52

– สมาชิกกลุ่มนำข้อมูลที่สืบค้นได้มารายงานให้เพื่อน ๆ
สมาชิกในกลุ่มฟั ง รวมทั้งร่วมกันอภิปรายซักถามจนคาดว่าสมาชิกทุกคนมี
ความรู้ความเข้าใจที่ตรงกัน
– สมาชิกกลุ่มช่วยกันสรุปความรู้ที่ได้ทั้งหมดเป็ นผลงานของ
กลุ่ม และช่วยกันจัดทำรายงานการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับชนิดของดิน
2. ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครู
เดินดูรอบ ๆ ห้องเรียนและเปิ ดโอกาสให้นักเรียนทุกคนซักถามเมื่อมีปั ญหา
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (explanation)
1. ให้นักเรียนนำเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน
2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม
โดยใช้แนวคำถาม เช่น
– ดินเหนียวมีลักษณะอย่างไร (แนวคำตอบ เนื้อดินละเอียด
การจับตัวของดินดีมาก)
– ดินร่วนมีลักษณะอย่างไร (แนวคำตอบ เนื้อดินละเอียด
น้อยกว่าดินเหนียว การจับตัวของดินน้อยกว่าดินเหนียว)
– ดินทรายมีลักษณะอย่างไร (แนวคำตอบ เนื้อดินหยาบ การ
จับตัวของดินไม่ดี)
3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยครู
เน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า ดินมี 3 ชนิด แบ่งตามลักษณะของเนื้อดินและการ
จับตัวของดิน คือ ดินเหนียว ดินร่วน และดินทราย
4. ขั้นขยายความรู้ (elaboration)
ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างกิจกรรมที่ต้องใช้ดินเป็ นส่วน
ประกอบ เช่น การปลูกต้นไม้และการปั้นดินเหนียว
53

5. ขั้นประเมิน(evaluation)
1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและ
การปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วย
อธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ
2. นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปั ญหา
หรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไรบ้าง
3. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่
ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์
4. ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบคำถาม
เช่น
– ดินแบ่งเป็ นกี่ชนิด อะไรบ้าง (แนวคำตอบ 3 ชนิด คือ ดิน
เหนียว ดินร่วน และดินทราย)
– เราใช้เกณฑ์อะไรในการแบ่งดิน (แนวคำตอบ ลักษณะเนื้อ
ดินและการจับตัวของดิน)

7. กระบวนการวัดและประเมินผล
การประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนทำได้ ดังนี้
1. ประเมินความรู้เดิมจากการอภิปรายในชั้นเรียน
2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียน
รู้และจากแบบบันทึกกิจกรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรมของนักเรียน
54

การประเมินจากการทำกิจกรรม
ระดับคะแนน
3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 1 คะแนน
หมายถึง ควรปรับปรุง
รหัส สิ่งที่ประเมิน ระดับคะแนน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
S1 การสังเกต
S8 การลงความเห็นจากข้อมูล
S13 การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
C4 การสื่อสาร
C5 ความร่วมมือ

8. สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียน ป.2 เล่ม 2 หน้า 46-48
2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เล่ม 2 หน้า 63-67
3. วีดิทัศน์ตัวอย่างการปฏิบัติการวิทยาศาสตร์สำหรับครู เรื่อง ดินมี
อะไรเป็ นส่วนประกอบบ้าง http://ipst.me/9446
55

9. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารโรงเรียนหรือผู้ที่ได้รับมอบ
หมาย
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
56

ลงชื่อ...........................................................
( ……………………………………..
……………….. )
ผู้อำนวย
การ…………….…………….………

10. บันทึกหลังสอน วันที่……………….….


เดือน……………………………………….……พ.ศ …………..
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….
57

…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ปั ญหา/อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
.
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………….………
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
58

…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ลงชื่อ………………………..…………………… ผู้สอน
( ……………………..……..
………………… )

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 76

เรื่อง กิจกรรมที่ 1.2 ดินในท้องถิ่นมี รายวิชาวิทยาศาสตร์


ลักษณะและสมบัติอย่างไร(1)
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง ดินรอบตัว กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เรา เทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
ว 3.2 ป.2/1 ระบุส่วนประกอบ ของดิน และจำแนก ชนิดของ
ดิน โดยใช้ ลักษณะเนื้อดินและ การ จับตัวเป็ นเกณฑ์
ป.2/2 อธิบายการใช้ประโยชน์ จากดิน จากข้อมูลที่ รวบรวมได้

2. จุดประสงค์การเรียนรู้ (ความรู้, ทักษะ, เจตคติ)


1. บอกชนิดของดินได้
59

2. มีความสนใจใฝ่ รู้หรืออยากรู้อยากเห็น
3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
4. ทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์
5. สื่อสารและนำความรู้เรื่องส่วนประกอบของดินไปใช้ในชีวิตประจำ
วันได้

3. สาระสำคัญ
ดินเป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่พบได้ทั่วไป ดินตามที่ ต่าง ๆ จะมีส่วน
ประกอบเหมือนกัน แต่อาจมีลักษณะและ สมบัติแตกต่างกัน เมื่อใช้ลักษณะ
เนื้อดิน สมบัติการจับตัว และการอุ้มน้ำของดินเป็ นเกณฑ์สามารถจำแนกดิน
ได้เป็ น 3 ชนิด ได้แก่ ดินเหนียว ดินร่วน และดินทราย ซึ่งดิน แต่ละชนิด
สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน ตาม ลักษณะ สมบัติและชนิดของ
ดิน

4. สาระการเรียนรู้
ความรู้
1. ชนิดของดินได้
2. สมบัติของดิน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1. การสังเกต
2. ลงความเห็นข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
60

1. การสื่อสาร
2. ความร่วมมือ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่ เรียนรู้
2. อยู่อย่างพอเพียง
3. มุ่งมั่นในการทำงาน

5. ชิ้นงานหรือภาระงาน
สืบค้นชนิดของดิน

6. กิจกรรมการเรียนรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้
(5Es Instructional Model) โดยเน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ ดำเนินการเรียน
การสอนดังต่อไปนี้
- แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
1. ขั้นสร้างความสนใจ (engagement)
1. ครูทบทวนความรู้พื้นฐานที่ได้เรียนผ่านมาในกิจกรรมที่ 1.1
เกี่ยวกับ ส่วนประกอบของดิน โดยใช้คำถามดังต่อไปนี้
1.1 ดินมีส่วนประกอบอะไรบ้าง (ดิน ประกอบด้วย เศษหิน
ซากพืช ซากสัตว์ น้ำ และอากาศ)
1.2 นักวิทยาศาสตร์จำแนกดินออกเป็ นกี่ชนิด อะไรบ้าง (นัก
วิทยาศาสตร์จำแนกดินออกเป็ น 3 ชนิด ได้แก่ ดินเหนียว ดิน ร่วน และดิน
ทราย)
61

2. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับลักษณะและสมบัติของดิน
โดยใช้ แนวคำถามดังนี้
2.1 นักเรียนเข้าใจคำว่า สมบัติของดิน ว่าอย่างไร (นักเรียน
ตอบตาม ความเข้าใจของตนเอง เช่น สมบัติของดิน คือ ลักษณะเฉพาะ ของ
ดินแต่ละชนิด) หากนักเรียนยังไม่สามารถตอบได้ ครูอาจยกตัวอย่างให้
นักเรียน สังเกตลักษณะเฉพาะของดินทราย ว่ามีเนื้อหยาบ เพื่อเชื่อมโยงไป
สู่ คำว่า “สมบัติของดิน”
2.2 นักเรียนคิดว่าดินมีสมบัติอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตาม
ความเข้าใจ ของตนเอง เช่น การจับตัวและการอุ้มน้ำของดิน)
2. ขั้นสำรวจและค้นหา(exploration)
1. ครูนำเข้าสู่กิจกรรมที่ 1.2 โดยกล่าวว่าจากกิจกรรมที่ผ่านมา
นักเรียนได้ ทราบส่วนประกอบของดินและการจำแนกดินเป็ นดินเหนียว ดิน
ร่วน และ ดินทราย อยากรู้หรือไม่ว่า ดินทั้ง 3 ชนิด จะมีลักษณะและสมบัติ
เหมือน และแตกต่างกันอย่างไรบ้าง ไปเรียนรู้จากการทำกิจกรรม 1.2 เพื่อ
หา คำตอบกัน ใช้คำถามว่าดินในท้องถิ่นมีลักษณะเนื้อดิน สมบัติการจับตัว
และการอุ้ม น้ำคล้ายกับดินชนิดใด
2. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และทำเป็ นคิดเป็ น ในหนังสือเรียน
หน้า 49 จากนั้นร่วมกันอภิปรายเพื่อตรวจสอบความเข้าใจจุดประสงค์ใน
การทำ กิจกรรม โดยครูใช้คำถามดังนี้
2.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องอะไร (ชนิด
ของดินใน ท้องถิ่นตามลักษณะเนื้อดิน สมบัติการจับตัวและการอุ้มน้ำของ
ดิน ว่าใกล้เคียงกับดินเหนียว ดินร่วนหรือดินทราย)
62

2.2 นักเรียนจะได้เรียนรู้เรื่องนี้ด้วยวิธีใด (สังเกตและเปรียบ


เทียบ)
2.3 เมื่อเรียนรู้แล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (ระบุชนิดดินในท้อง
ถิ่น)
3. นักเรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 68
และอ่าน สิ่งที่ต้องใช้ในการทำกิจกรรม ซึ่งครูอาจนำวัสดุอุปกรณ์ที่นักเรียน
ไม่รู้จัก มาแสดงให้นักเรียนดู แต่ยังไม่แจกอุปกรณ์แก่นักเรียน
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (explanation)
1. ให้นักเรียนนำเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน
2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม
โดยใช้แนวคำถาม เช่น
- นักเรียนคิดว่าดินมีสมบัติอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามความ
เข้าใจ ของตนเอง เช่น การจับตัวและการอุ้มน้ำของดิน
- นักเรียนคิดว่าดินในท้องถิ่นมีลักษณะอย่างไร (นักเรียน
ตอบตามความเข้าใจ)
3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยครู
เน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า ดินมี 3 ชนิด แบ่งตามลักษณะของเนื้อดินและการ
จับตัวของดิน คือ ดินเหนียว ดินร่วน และดินทราย
4. ขั้นขยายความรู้ (elaboration)
ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างกิจกรรมที่ต้องใช้ดินเป็ นส่วน
ประกอบ เช่น การปลูกต้นไม้และการปั้นดินเหนียว
5. ขั้นประเมิน(evaluation)
63

1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและ
การปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วย
อธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ
2. นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปั ญหา
หรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไรบ้าง
3. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่
ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์

7. กระบวนการวัดและประเมินผล
การประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนทำได้ ดังนี้
1. ประเมินความรู้เดิมจากการอภิปรายในชั้นเรียน
2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียน
รู้และจากแบบบันทึกกิจกรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรมของนักเรียน

การประเมินจากการทำกิจกรรม
ระดับคะแนน
3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 1 คะแนน
หมายถึง ควรปรับปรุง
64

รหัส สิ่งที่ประเมิน ระดับคะแนน


ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
S1 การสังเกต
S8 การลงความเห็นจากข้อมูล
S13 การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
C4 การสื่อสาร
C5 ความร่วมมือ

8. สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียน ป.2 เล่ม 2 หน้า 46-48
2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เล่ม 2 หน้า 63-67
3. วีดิทัศน์ตัวอย่างการปฏิบัติการวิทยาศาสตร์สำหรับครู เรื่อง ดินมี
อะไรเป็ นส่วนประกอบบ้าง http://ipst.me/9446
65

9. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารโรงเรียนหรือผู้ที่ได้รับมอบ
หมาย
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…

ลงชื่อ...........................................................
( ……………………………………..
……………….. )
ผู้อำนวย
การ…………….…………….………
66

10. บันทึกหลังสอน วันที่……………….….


เดือน……………………………………….……พ.ศ …………..
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ปั ญหา/อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
67

.
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………….………
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ลงชื่อ………………………..…………………… ผู้สอน
( ……………………..……..
………………… )
68

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 77

เรื่อง กิจกรรมที่ 1.2 ดินในท้องถิ่นมี รายวิชาวิทยาศาสตร์


ลักษณะและสมบัติอย่างไร(2)
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง ดินรอบตัว กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เรา เทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
ว 3.2 ป.2/1 ระบุส่วนประกอบ ของดิน และจำแนก ชนิดของ
ดิน โดยใช้ ลักษณะเนื้อดินและ การ จับตัวเป็ นเกณฑ์
ป.2/2 อธิบายการใช้ประโยชน์ จากดิน จากข้อมูลที่ รวบรวมได้

2. จุดประสงค์การเรียนรู้ (ความรู้, ทักษะ, เจตคติ)


1. บอกชนิดของดินได้
2. มีความสนใจใฝ่ รู้หรืออยากรู้อยากเห็น
3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
4. ทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์
5. สื่อสารและนำความรู้เรื่องส่วนประกอบของดินไปใช้ในชีวิตประจำ
วันได้

3. สาระสำคัญ
69

ดินเป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่พบได้ทั่วไป ดินตามที่ ต่าง ๆ จะมีส่วน


ประกอบเหมือนกัน แต่อาจมีลักษณะและ สมบัติแตกต่างกัน เมื่อใช้ลักษณะ
เนื้อดิน สมบัติการจับตัว และการอุ้มน้ำของดินเป็ นเกณฑ์สามารถจำแนกดิน
ได้เป็ น 3 ชนิด ได้แก่ ดินเหนียว ดินร่วน และดินทราย ซึ่งดิน แต่ละชนิด
สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน ตาม ลักษณะ สมบัติและชนิดของ
ดิน

4. สาระการเรียนรู้
ความรู้
1. ชนิดของดินได้
2. สมบัติของดิน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1. การสังเกต
2. ลงความเห็นข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
1. การสื่อสาร
2. ความร่วมมือ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่ เรียนรู้
2. อยู่อย่างพอเพียง
3. มุ่งมั่นในการทำงาน
70

5. ชิ้นงานหรือภาระงาน
สืบค้นชนิดของดิน

6. กิจกรรมการเรียนรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้
(5Es Instructional Model) โดยเน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ ดำเนินการเรียน
การสอนดังต่อไปนี้
- แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
1. ขั้นสร้างความสนใจ (engagement)
1. นักเรียนอ่านทำอย่างไร ตอนที่ 1 ทีละข้อ และครูถาม
นักเรียนว่ามี คำศัพท์ใดบ้างที่ไม่เข้าใจเพื่อครูจะได้ช่วยอธิบาย จากนั้นร่วม
กันอภิปราย เพื่อตรวจสอบความเข้าใจว่าจะทำกิจกรรมอย่างไร จนนักเรียน
เข้าใจ ลำดับการทำกิจกรรม โดยอาจใช้คำถามดังนี้
1.2 ในขั้นตอนแรกนักเรียนต้องสังเกตอะไร (สังเกต
ลักษณะเนื้อดินของ ดินเหนียว ดินร่วน ดินทรายและดินในท้องถิ่น)
1.3 ขั้นตอนต่อไปนักเรียนต้องตักดินและน้ำใส่ภาชนะใน
ปริมาณเท่าใด (ตักดิน 2 ช้อนโต๊ะ ตักน้ำ 1 ช้อนโต๊ะ)
2. ขั้นสำรวจและค้นหา(exploration)
1. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไร ตอนที่ 1
แล้ว ครูแจก วัสดุอุปกรณ์ และให้นักเรียนเริ่มปฏิบัติตามขั้นตอน
2. หลังจากทำกิจกรรม ตอนที่ 1 แล้ว ครูนำอภิปรายผลการทำ
กิจกรรม โดย ใช้คำถามดังนี้ 2.1 ลักษณะเนื้อดินของดินเหนียว
ดินร่วน ดินทรายและดินใน ท้องถิ่น ที่สังเกตพบมีลักษณะอย่างไร (คำตอบ
71

ขึ้นอยู่กับผลการ ทำกิจกรรม เช่น ดินเหนียวเป็ นเม็ดเล็กละเอียดจับแล้วรู้สึก


นุ่ม มือ ดินร่วนเป็ นเม็ดค่อนข้างเล็กละเอียดจับแล้วรู้สึกนุ่มมือ บางครั้งสาก
มือเล็กน้อย ดินทรายเป็ นเม็ดค่อนข้างหยาบจับแล้ว สากมือ และดินที่กลุ่ม
ของนักเรียนนำมา เมื่อจับแล้วรู้สึกนุ่มมือ)
2.2 ดินเหนียว ดินร่วน ดินทรายและดินในท้องถิ่นที่นักเรียน
นำมา สามารถปั้นให้เป็ นก้อนได้หรือไม่ เมื่อปั้นแล้วมีลักษณะอย่างไร (คำ
ตอบขึ้นอยู่กับผลการทำกิจกรรม เช่น ดินเหนียวจะปั้นเป็ น ก้อนได้แล้วไม่
แตกออก ดินร่วนจะปั้นเป็ นก้อนแล้วแตกออก บางส่วน ส่วนดินทรายปั้น
เป็ นก้อนไม่ได้ ส่วนดินในท้องถิ่น อาจจะปั้นเป็ นก้อนได้หรือปั้นเป็ นก้อนไม่
ได้)
3. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมที่ 1.2 ตอน
ที่ 2 โดย ใช้คำถามว่าเรารู้มาแล้วว่าดินในท้องถิ่นมีลักษณะเนื้อดินและ
สมบัติ การจับตัวคล้ายกับดินชนิดใด นักเรียนคิดว่าดินในท้องถิ่นจะมีสมบัติ
การอุ้มน้ำคล้ายกับดินชนิดใด
4. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไร ตอนที่ 2
แล้ว ครูแจกวัสดุอุปกรณ์ และให้นักเรียนเริ่มปฏิบัติตามขั้นตอน
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (explanation)
ครูเปิ ดโอกาสให้นักเรียนตอบหรือซักถามในสิ่งที่อยากรู้เพิ่มเติม
เกี่ยวกับ ลักษณะเนื้อดินและสมบัติการจับตัวของดิน จากนั้นร่วมกัน
อภิปราย และลงข้อสรุปว่า ดินในท้องถิ่นมีลักษณะเนื้อดินและสมบัติการจับ
ตัว ของดินคล้ายกับดินเหนียว หรือ ดินร่วน หรือดินทราย มากที่สุด พร้อม
บอกเหตุผล เช่น อาจสรุปว่า ดินในท้องถิ่นคล้ายดินทรายมากที่สุด เพราะ
72

ขนาดของเม็ดดินใหญ่ เนื้อดินหยาบ แข็งและเนื้อดินไม่จับตัวกัน ซึ่งปั้นเป็ น


ก้อนไม่ได้ (S13)
4. ขั้นขยายความรู้ (elaboration)
ครูเปิ ดโอกาสให้นักเรียนตอบหรือซักถามในสิ่งที่อยากรู้เพิ่มเติม
เกี่ยวกับสมบัติการอุ้มน้ำของดิน จากนั้นร่วมกันอภิปรายและลง ข้อสรุปว่า
ดินในท้องถิ่นมีสมบัติการอุ้มน้ำคล้ายดินเหนียวหรือดิน ร่วนหรือดินทราย
มากที่สุด พร้อมบอกเหตุผล เช่น อาจสรุปได้ว่า ดิน ในท้องถิ่นมีสมบัติการ
อุ้มน้ำคล้ายกับดินเหนียวมากที่สุด คืออุ้มน้ำได้ มากเพราะมีขนาดเม็ดดิน
ละเอียดจับตัวกันได้ดี ซึ่งสามารถเก็บน้ำไว้ ในดินได้มาก (S13)
5. ขั้นประเมิน(evaluation)
1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและ
การปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วย
อธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ
2. นักเรียนอ่านสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะและสมบัติของดิน
ใน ท้องถิ่น และเปรียบเทียบกับข้อสรุปที่ได้จากการอภิปราย
3. นักเรียนตอบคำถาม ฉันรู้อะไร ตอนที่ 2 ในแบบบันทึก
กิจกรรม หน้า 75-76
4. นักเรียนตอบคำถาม ฉันรู้อะไร ตอนที่ 1 ในแบบบันทึก
กิจกรรม หน้า 73 – 74

7. กระบวนการวัดและประเมินผล
การประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนทำได้ ดังนี้
1. ประเมินความรู้เดิมจากการอภิปรายในชั้นเรียน
73

2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียน
รู้และจากแบบบันทึกกิจกรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรมของนักเรียน

การประเมินจากการทำกิจกรรม
ระดับคะแนน
3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 1 คะแนน
หมายถึง ควรปรับปรุง
รหัส สิ่งที่ประเมิน ระดับคะแนน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
S1 การสังเกต
S8 การลงความเห็นจากข้อมูล
S13 การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
C4 การสื่อสาร
C5 ความร่วมมือ

8. สื่อ / แหล่งเรียนรู้
74

1. หนังสือเรียน ป.2 เล่ม 2 หน้า 46-48


2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เล่ม 2 หน้า 63-67
3. วีดิทัศน์ตัวอย่างการปฏิบัติการวิทยาศาสตร์สำหรับครู เรื่อง ดินมี
อะไรเป็ นส่วนประกอบบ้าง http://ipst.me/9446

9. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารโรงเรียนหรือผู้ที่ได้รับมอบ
หมาย
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
75

…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…

ลงชื่อ...........................................................
( ……………………………………..
……………….. )
ผู้อำนวย
การ…………….…………….………

10. บันทึกหลังสอน วันที่……………….….


เดือน……………………………………….……พ.ศ …………..
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
76

…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ปั ญหา/อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
.
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………….………
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
77

…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ลงชื่อ………………………..…………………… ผู้สอน
( ……………………..……..
………………… )

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 78

เรื่อง ประโยชน์ของดิน รายวิชาวิทยาศาสตร์


หน่วยการเรียนรู้เรื่อง ดินรอบตัว กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เรา เทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
78

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
ว 3.2 ป.2/1 ระบุส่วนประกอบ ของดิน และจำแนก ชนิดของ
ดิน โดยใช้ ลักษณะเนื้อดินและ การ จับตัวเป็ นเกณฑ์
ป.2/2 อธิบายการใช้ประโยชน์ จากดิน จากข้อมูลที่ รวบรวมได้

2. จุดประสงค์การเรียนรู้ (ความรู้, ทักษะ, เจตคติ)


1. บอกประโยชน์ของดินได้
2. มีความสนใจใฝ่ รู้หรืออยากรู้อยากเห็น
3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
4. ทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์
5. สื่อสารและนำความรู้เรื่องส่วนประกอบของดินไปใช้ในชีวิตประจำ
วันได้

3. สาระสำคัญ
ดินเป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่พบได้ทั่วไป ดินตามที่ ต่าง ๆ จะมีส่วน
ประกอบเหมือนกัน แต่อาจมีลักษณะและ สมบัติแตกต่างกัน เมื่อใช้ลักษณะ
เนื้อดิน สมบัติการจับตัว และการอุ้มน้ำของดินเป็ นเกณฑ์สามารถจำแนกดิน
ได้เป็ น 3 ชนิด ได้แก่ ดินเหนียว ดินร่วน และดินทราย ซึ่งดิน แต่ละชนิด
สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน ตาม ลักษณะ สมบัติและชนิดของ
ดิน

4. สาระการเรียนรู้
ความรู้
79

ประโยชน์ของดิน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1. การสังเกต
2. ลงความเห็นข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
1. การสื่อสาร
2. ความร่วมมือ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่ เรียนรู้
2. อยู่อย่างพอเพียง
3. มุ่งมั่นในการทำงาน

5. ชิ้นงานหรือภาระงาน
ประโยชน์ของดิน

6. กิจกรรมการเรียนรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้
(5Es Instructional Model) โดยเน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ ดำเนินการเรียน
การสอนดังต่อไปนี้
- แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
1. ขั้นสร้างความสนใจ (engagement)
80

1. ครูทบทวนความรู้พื้นฐานที่เรียนผ่านมาในเรื่อง 1 เกี่ยวกับดิน
โดย ใช้คำถามดังต่อไปนี้ 1.1 ดินแต่ละชนิดมีลักษณะเนื้อดิน
สมบัติการจับตัวและการอุ้มน้ำ อย่างไรบ้าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ
ของตนเอง)
1.2 เราจะรู้ว่าดินในท้องถิ่นเป็ นดินชนิดใดได้อย่างไร
(นักเรียนตอบ ตามความเข้าใจของตนเอง เช่น เราอาจนำดินมาตรวจสอบ
ลักษณะเนื้อดิน สมบัติการจับตัวและการอุ้มน้ำของดิน เปรียบเทียบกับดิน
เหนียว ดินร่วน และดินทราย)
2. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับประโยชน์ของดิน โดยครูอาจ
เตรียม รูปภาพการใช้ประโยชน์จากดินให้นักเรียนสังเกต เช่น ปลูกพืช ย้อม
ผ้า กักเก็บน้ำ บ้านดิน เครื่องปั้นดินเผา เป็ นต้น
2. ขั้นสำรวจและค้นหา(exploration)
1. นักเรียนอ่านชื่อเรื่อง และคำถามในคิดก่อนอ่าน ในหนังสือ
เรียน หน้า 55 แล้วร่วมกันอภิปรายในกลุ่มเพื่อหาคำตอบตามความเข้าใจ
ของกลุ่มแล้วนำเสนอ ครูบันทึกคำตอบของนักเรียนบนกระดานเพื่อ ใช้
เปรียบเทียบกับคำตอบหลังการอ่านเนื้อเรื่อง
2. นักเรียนอ่านเนื้อเรื่องในหนังสือเรียนหน้า 55 โดยครูฝึ ก
ทักษะการ อ่านตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน ครู
ตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่าน
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (explanation)
1. ครูตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่าน โดยใช้คำถามดังนี้
ย่อหน้าที่ 1
1.1 มนุษย์ถ้ำคือใคร (คือคนที่อาศัยอยู่ในถ้ำ)
81

1.2 ในยุคก่อนประวัติศาสตร์มนุษย์ถ้ำนำดินมาใช้ประโยชน์
อย่างไร บ้าง (ปั้นหม้อไหหยาบ ๆ เพื่อใช้เป็ นภาชนะ)
ย่อหน้าที่ 2
1.3 มนุษย์ถ้ำนำดินมาใช้ประโยชน์ในงานศิลปะอะไร (ใช้ดิน
สีต่าง ๆ เขียนภาพบนที่ผนังถ้ำ)
. 1.4 มนุษย์ถ้ำนำดินมาสร้างงานศิลปะได้อย่างไร (ทำได้โดย
นำดินสี ต่าง ๆ ผสมกับยางไม้ ไขสัตว์หรือน้ำผึ้ง แล้วนำไปขีดเขียนหรือ พ่น
บนผนังถ้ำ)
1.5 ภาพเขียนผนังถ้ำที่นำดินมาเป็ นสีในการสร้างพบที่ใดบ้าง
(เขา ปลาร้า จ.อุทัยธานี และถ้ำอัลตามิรา ประเทศสเปน)
4. ขั้นขยายความรู้ (elaboration)
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่าดินมี
ประโยชน์ มากมายและมนุษย์ได้มีการนำดินมาใช้ประโยชน์ตั้งแต่ยุคก่อน
ประวัติศาสตร์จนถึงปั จจุบัน)
2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อเปรียบเทียบคำตอบของ
นักเรียน ในรู้หรือยัง กับคำตอบที่เคยตอบและบันทึกไว้ในคิดก่อนอ่าน ซึ่งครู
บันทึกไว้บนกระดาน
3. ครูชักชวนนักเรียนตอบคำถามท้ายเรื่องที่อ่าน คือ ในปั จจุบัน
มีการนำ ดินมาใช้ประโยชน์อะไรอีกบ้าง ครูบันทึกคำตอบของนักเรียนบน
กระดานโดยยังไม่เฉลยคำตอบ แต่ชักชวนให้นักเรียนหาคำตอบจาก การทำ
กิจกรรม
5. ขั้นประเมิน(evaluation)
82

1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและ
การปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วย
อธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ
2. นักเรียนอ่านสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะและสมบัติของดิน
ใน ท้องถิ่น และเปรียบเทียบกับข้อสรุปที่ได้จากการอภิปราย
3. นักเรียนตอบคำถามจากเรื่องที่อ่านในรู้หรือยัง ในแบบบันทึก
กิจกรรมหน้า 78

7. กระบวนการวัดและประเมินผล
การประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนทำได้ ดังนี้
1. ประเมินความรู้เดิมจากการอภิปรายในชั้นเรียน
2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียน
รู้และจากแบบบันทึกกิจกรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรมของนักเรียน
83

การประเมินจากการทำกิจกรรม
ระดับคะแนน
3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 1 คะแนน
หมายถึง ควรปรับปรุง
รหัส สิ่งที่ประเมิน ระดับคะแนน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
S1 การสังเกต
S8 การลงความเห็นจากข้อมูล
S13 การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
C4 การสื่อสาร
C5 ความร่วมมือ

8. สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียน ป.2 เล่ม 2 หน้า 46-48
2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เล่ม 2 หน้า 63-67
3. วีดิทัศน์ตัวอย่างการปฏิบัติการวิทยาศาสตร์สำหรับครู เรื่อง ดินมี
อะไรเป็ นส่วนประกอบบ้าง http://ipst.me/9446
84

9. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารโรงเรียนหรือผู้ที่ได้รับมอบ
หมาย
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…

ลงชื่อ...........................................................
85

( ……………………………………..
……………….. )
ผู้อำนวย
การ…………….…………….………

10. บันทึกหลังสอน วันที่……………….….


เดือน……………………………………….……พ.ศ …………..
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ปั ญหา/อุปสรรค
86

…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
.
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………….………
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………
87

ลงชื่อ………………………..…………………… ผู้สอน
( ……………………..……..
………………… )

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 79

เรื่อง กิจกรรมที่ 2 ดินมีประโยชน์ รายวิชาวิทยาศาสตร์


อย่างไร
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง ดินรอบตัว กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เรา เทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
ว 3.2 ป.2/1 ระบุส่วนประกอบ ของดิน และจำแนก ชนิดของ
ดิน โดยใช้ ลักษณะเนื้อดินและ การ จับตัวเป็ นเกณฑ์
ป.2/2 อธิบายการใช้ประโยชน์ จากดิน จากข้อมูลที่ รวบรวมได้

2. จุดประสงค์การเรียนรู้ (ความรู้, ทักษะ, เจตคติ)


1. บอกประโยชน์ของดินได้
2. มีความสนใจใฝ่ รู้หรืออยากรู้อยากเห็น
3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
4. ทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์
88

5. สื่อสารและนำความรู้เรื่องส่วนประกอบของดินไปใช้ในชีวิตประจำ
วันได้

3. สาระสำคัญ
ดินเป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่พบได้ทั่วไป ดินตามที่ ต่าง ๆ จะมีส่วน
ประกอบเหมือนกัน แต่อาจมีลักษณะและ สมบัติแตกต่างกัน เมื่อใช้ลักษณะ
เนื้อดิน สมบัติการจับตัว และการอุ้มน้ำของดินเป็ นเกณฑ์สามารถจำแนกดิน
ได้เป็ น 3 ชนิด ได้แก่ ดินเหนียว ดินร่วน และดินทราย ซึ่งดิน แต่ละชนิด
สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน ตาม ลักษณะ สมบัติและชนิดของ
ดิน

4. สาระการเรียนรู้
ความรู้
ประโยชน์ของดิน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1. การสังเกต
2. ลงความเห็นข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
1. การสื่อสาร
2. ความร่วมมือ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่ เรียนรู้
89

2. อยู่อย่างพอเพียง
3. มุ่งมั่นในการทำงาน

5. ชิ้นงานหรือภาระงาน
ประโยชน์ของดิน

6. กิจกรรมการเรียนรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้
(5Es Instructional Model) โดยเน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ ดำเนินการเรียน
การสอนดังต่อไปนี้
- แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
1. ขั้นสร้างความสนใจ (engagement)
1. ครูทบทวนความรู้พื้นฐานที่เรียนผ่านมาแล้วในเรื่องที่ 1 และ
เนื้อ เรื่องที่ 2 โดยใช้แนวคำถามดังต่อไปนี้
1.1 ดินจำแนกได้เป็ นกี่ชนิด อะไรบ้าง (นักเรียนตอบตาม
ความเข้าใจ เช่น ดินจำแนกออกเป็ น 3 ชนิด ได้แก่ ดินเหนียว ดินร่วน และ
ดิน ทราย)
1.2 ดินแต่ละชนิดมีสมบัติใดแตกต่างกันบ้าง (ลักษณะเนื้อดิน
การจับตัว และการอุ้มน้ำ) 1.3 ดินแต่ละชนิดนำไปใช้ประโยชน์
ได้เหมือนหรือแตกต่างกัน เพราะ เหตุใด (ดินแต่ละชนิดจะนำไปใช้
ประโยชน์ได้แตกต่างกันเพราะมี ลักษณะและสมบัติไม่เหมือนกัน)
90

2. ครูเชื่อมโยงความรู้พื้นฐานของนักเรียนไปสู่กิจกรรมที่ 2 โดย
ใช้ คำถามว่า นอกจากการใช้ประโยชน์จากดินที่เรารู้มาแล้ว นักเรียน คิดว่า
ดินยังมีประโยชน์อย่างไรอีกบ้าง
2. ขั้นสำรวจและค้นหา(exploration)
1. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และ ทำเป็ นคิดเป็ น โดยร่วมกัน
อภิปราย เพื่อตรวจสอบความเข้าใจจุดประสงค์ในการทำกิจกรรม โดยใช้
คำถาม ดังนี้
1.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องอะไร
(ประโยชน์ ของดิน)
1.2 นักเรียนจะได้เรียนรู้เรื่องนี้ด้วยวิธีใด (การรวบรวม
ข้อมูล)
1.3 เมื่อเรียนรู้แล้วนักเรียนสามารถทำอะไรได้ (นำเสนอ
ประโยชน์ ของดิน)
2. นักเรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 79
3. นักเรียนอ่านทำอย่างไรทีละข้อ และครูถามนักเรียนว่ามีคำ
ศัพท์ ใดบ้างที่ไม่เข้าใจเพื่อครูจะได้ช่วยอธิบาย
4. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไรแล้ว ครูให้
นักเรียน เริ่มปฏิบัติตามขั้นตอน
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (explanation)
หลังจากทำกิจกรรมแล้ว ครูนำอภิปรายผลการทำกิจกรรม โดย
ใช้ คำถามดังนี้
1.1 จากการสืบค้นข้อมูล ในท้องถิ่นของกลุ่มตนเอง นำดินมา
ใช้ ประโยชน์อย่างไรบ้าง (นักเรียนตอบตามข้อมูลที่สืบค้นได้)
91

1.2 จากใบความรู้ ดินทั้ง 3 ชนิดนำไปใช้ประโยชน์เหมือน


หรือ แตกต่างกันได้อย่างไร (ดินเหนียว ใช้ปลูกข้าว ทำ เครื่องปั้นดินเผา ดิน
ร่วน ใช้ปลูกพืชทั่ว ๆ ไป และดินทราย ใช้ ปลูกมันสำปะหลัง การก่อสร้าง)
1.3 จากใบความรู้ นอกจากประโยชน์ของดินทั้ง 3 ชนิดที่
กล่าว มาแล้ว ดินยังมีประโยชน์อะไรอีกบ้าง (เป็ นแหล่งที่อยู่อาศัยของ สิ่งมี
ชีวิต เป็ นแหล่งวัตถุดิบในการผลิตสี เป็ นที่ยึดเกาะของราก พืช เป็ นแหล่ง
ธาตุอาหารและน้ำของพืช แหล่งอาหารของสัตว์)
4. ขั้นขยายความรู้ (elaboration)
1. ครูเปิ ดโอกาสให้นักเรียนตอบหรือซักถามในสิ่งที่อยากรู้เพิ่ม
เติม เกี่ยวกับประโยชน์ของดิน จากนั้นร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่า ดิน
มีประโยชน์มากมาย เช่น เพาะปลูก ก่อสร้าง แหล่งกักเก็บ อาหาร เป็ นต้น
2. นักเรียนร่วมกันอภิปรายคำตอบในฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้
คำถาม เพิ่มเติมในการอภิปรายเพื่อให้ได้แนวคำตอบที่ถูกต้อง
3. นักเรียนอ่านสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับส่วนประกอบของดิน และ
เปรียบเทียบกับข้อสรุปที่ได้จากการอภิปราย
5. ขั้นประเมิน(evaluation)
1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและ
การปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วย
อธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ
2. นักเรียนอ่านสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะและสมบัติของดิน
ใน ท้องถิ่น และเปรียบเทียบกับข้อสรุปที่ได้จากการอภิปราย
3. นักเรียนตอบคำถาม ฉันรู้อะไร ในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า
81
92

4. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อตอบคำถามในฉันรู้อะไร
5. นักเรียนร่วมกันอ่านรู้อะไรในเรื่องนี้ ในหนังสือเรียนหน้า 60
ครูนำ อภิปรายเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในเรื่องนี้ จากนั้น
ครูกระตุ้นให้นักเรียนตอบคำถามในช่วงท้ายของเนื้อเรื่อง ซึ่งเป็ น คำถามเพื่อ
กระตุ้นการคิด ดังนี้ “เราสามารถนำดินมาทำเป็ นสิ่งของ เครื่องใช้ใดได้บ้าง
เพื่อลดการใช้พลาสติกหรือวัสดุย่อยสลายยาก” นักเรียนสามารถตอบ
คำถามตามความเข้าใจของตนเอง

7. กระบวนการวัดและประเมินผล
การประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนทำได้ ดังนี้
1. ประเมินความรู้เดิมจากการอภิปรายในชั้นเรียน
2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียน
รู้และจากแบบบันทึกกิจกรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรมของนักเรียน

การประเมินจากการทำกิจกรรม
ระดับคะแนน
3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 1 คะแนน
หมายถึง ควรปรับปรุง
รหัส สิ่งที่ประเมิน ระดับคะแนน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
S1 การสังเกต
93

S8 การลงความเห็นจากข้อมูล
S13 การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
C4 การสื่อสาร
C5 ความร่วมมือ

8. สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียน ป.2 เล่ม 2 หน้า 46-48
2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.2 เล่ม 2 หน้า 63-67
3. วีดิทัศน์ตัวอย่างการปฏิบัติการวิทยาศาสตร์สำหรับครู เรื่อง ดินมี
อะไรเป็ นส่วนประกอบบ้าง http://ipst.me/9446
94

9. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารโรงเรียนหรือผู้ที่ได้รับมอบ
หมาย
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…

ลงชื่อ...........................................................
( ……………………………………..
……………….. )
95

ผู้อำนวย
การ…………….…………….………

10. บันทึกหลังสอน วันที่……………….….


เดือน……………………………………….……พ.ศ …………..
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ปั ญหา/อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
96

…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
.
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………….………
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………….…
…….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ลงชื่อ………………………..…………………… ผู้สอน
97

( ……………………..……..
………………… )

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 80

เรื่อง ทดสอบปลายปี รายวิชาวิทยาศาสตร์


หน่วยการเรียนรู้เรื่อง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง

ทดสอบปลายปี
98

แบบทดสอบปลายปี
รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 2
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564
เวลา 1 ชั่วโมง

คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุด  ลงใน


กระดาษคำตอบ

1. ถ้าไม่มีแสงเลย เราจะมองเห็นวัตถุต่างๆ เป็ นอย่างไร


ก. ไม่เห็นอะไรเลย
99

ข. เห็นเลือนราง หรือเห็นไม่ชัดเจน
ค. เห็นวัตถุสีขาว เพราะตาปรับแสงได้
2. ถ้าเรามองวัตถุในห้องที่มืดสนิท เราจะเห็นวัตถุในห้องได้
หรือไม่
ก. เห็น เพราะตาจะปรับให้เห็นวัตถุได้
ข. ไม่เห็น เพราะจะมองเห็นได้ วัตถุนั้นต้องมีแสงใน
ตัวเองเท่านั้น
ค. ไม่เห็น เพราะไม่มีแสงที่ตกกระทบวัตถุแล้ว
สะท้อนเข้าตาของเรา
3. ข้อใดเป็ นแหล่งกำเนิดแสงทั้งหมด
ก. ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์
ข. กระจกเงา เปลวเทียนไข
ค. หิ่งห้อย หลอดไฟฟ้ าที่สว่าง
4. ข้อใดเป็ นการป้ องกันอันตรายที่อาจเกิดกับตา
ก. ใช้ไม้พันสำลีเขี่ยเมื่อฝุ่นเข้าตา
ข. สวมแว่นตากันแดดเมื่อออกไปกลางแจ้ง
ค. ดูโทรทัศน์ในห้องมืดเพื่อให้เห็นชัดเจน
5. การกระทำข้อใดจำเป็ นต้องใช้แสงสว่างมากที่สุด
100

ก. การผ่าตัด ข. ถูพื้น ค. วาดภาพ


6. ถ้าเด็ดดอกไม้จนหมดต้น จะมีผลอย่างไรต่อพืช
ก. พืชจะไม่มีผล
ข. พืชจะเหี่ยวและตาย
ค. พืชจะไม่เจริญเติบโต
7. ข้อใดเป็ นวิธีการดูแลพืชให้เจริญเติบโตได้อย่างปกติ
ก. ใส่ปุ๋ยทุกวัน
ข. รดน้ำอย่างสม่ำเสมอ
ค. นำไปไว้ในที่มืดสลับกับสว่างที่ละ 1 วัน
8. แสงมีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตของพืชอย่างไร
ก. ช่วยละลายธาตุอาหารในดิน
ข. ช่วยในการสร้างอาหารของพืช
ค. ช่วยลำเลียงอาหารไปยังส่วนต่างๆ
9. ปุ๋ยมีประโยชน์ต่อพืชในเรื่องใด
ก. เป็ นอาหารของพืช
ข. เป็ นสิ่งที่ใช้แทนดิน
ค. เป็ นแหล่งธาตุอาหาร
101

10. ถ้าต้องการกำจัดต้นหญ้าด้วยวิธีปลอดภัย ควรทำ


อย่างไร
ก. ใช้สารชีวภาพฆ่าหญ้า
ข. ถอนทิ้งก่อนที่จะออกดอก
ค. ใช้กรรไกรตัดหญ้าอย่างสม่ำเสมอ
11. แหล่งกำเนิดแสงในข้อใดที่สำคัญที่สุดสำหรับโลก
ก.ดวงจันทร์
ข.ดวงอาทิตย์
ค.โรงไฟฟ้ า
12. แหล่งกำเนิดแสงในข้อใดเป็ นแหล่งกำเนิดแสงที่มนุษย์
สร้างขึ้น
ก. ดวงอาทิตย์ ข. โรงไฟฟ้ า ค. ดวงจันทร์

13. เราสามารถมองเห็นวัตถุต่าง ๆ ได้เพราะเหตุใด (ว 2.3


ป.2/2)
ก.2. แสงจากดวงอาทิตย์ส่องไปยังวัตถุ
ข.3. แสงจากวัตถุสะท้อนมาเข้าตาเรา
ค.ถูกทั้งข้อ 1 และ 2
102

14. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นสมบัติของแสง (ว 2.3 ป.2/1)


ก.แสงเดินทางเป็ นเส้นตรงได้
ข.แสงเดินทาง 1,080 ล้านกิโลเมตรต่อชั่วโมง
ค.ถูกทุกข้อ
15. ดินชนิดใดที่มีเนื้อดินละเอียดเกาะกันแน่นและอุ้มน้ำได้ดี
ก.ดินร่วน
ข.ดินเหนียว
ค.ดินปนทราย
16. ข้อใดอธิบายเกี่ยวกับอินทรียวัตถุได้ถูกต้อง
ก.เชื้อโรคที่ระบาดเป็ นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต
ข.เศษหินที่ผุพังปะปนอยู่ในดินชนิดต่าง ๆ
ค.ซากพืชซากสัตว์ที่เน่าเปื่ อยผุพังปะปนอยู่ในดิน
17. องค์ประกอบข้อใดพบมากที่สุดในดิน
ก.อินทรียวัตถุ
ข.อากาศ
ค.อนินทรียวัตถุ
18. ดินชนิดใดที่มีฮิวมัสปนอยู่น้อยที่สุด (ว 3.2 ป.2/1)
ก.ดินเหนียว
103

ข.ดินตะกอน
ค.ดินทราย
19. การใส่ดินลงในน้ำทีละช้อนมีจุดมุ่งหมายเพื่อสังเกตองค์
ประกอบใดของดิน
ก. น้ำ
ข. อากาศ
ค. ธาตุอาหาร

20. ดินที่ปั้นเป็ นรูปต่าง ๆ ได้โดยไม่แตกออกมีสมบัติใด


ก. จับตัวได้ดี
ข. มีความชื้นในดินสูง
ค. อุ้มน้ำได้น้อย
21. ข้อใดไม่จัดเป็ นองค์ประกอบของดิน
ก. น้ำและอากาศ
ข. สิ่งมีชีวิตในดิน
ค. ซากพืช ซากสัตว์
104

22. เมื่อนำแก้วพลาสติกไปครอบบนดินกลางแจ้ง อาจพบ


ส่วนประกอบใดของดิน
ก. อากาศ
ข. ซากพืช ซากสัตว์
ค. น้ำ
23. ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับการนำมาใช้ประโยชน์
ก. พืชส่วนใหญ่เจริญเติบโตได้ดีในดินร่วน
ข. ข้างเจริญเติบโตได้ดีในดินทุกชนิด เพราะปลูกได้ทุก
ภาค
ค. มันสำปะหลังต้องปลูกในดินเหนียว เพราะธาตุ
อาหารมาก
24. ลักษณะเนื้อดินทราย และการซึมผ่านของน้ำ ข้อใด
กล่าวถูกต้อง
ก. เนื้อละเอียด น้ำซึมผ่านได้ง่าย
ข. เนื้อหยาบ น้ำซึมผ่านได้ยาก
ค. เนื้อหยาบ น้ำซึมผ่านได้ง่าย
25. ดินเหนียวนำใช้ประโยชน์ได้ดีที่สุดคือข้อใด
ก. เครื่องปั้นดินเผา
105

ข. ผสมปูนซีเมนต์
ค. ก่อเจดีย์ทราย
26. ดินใดที่มีความเหมาะสมในการเพาะปลูกพืช
ก. ดินเหนียว ข. ดินร่วน ค. ดิน
ทราย
27. พืชประเภทให้หัว นิยมเพาะปลูกในดินชนิดใด
ก. ดินเหนียว ข. ดินร่วน ค. ดิน
ทราย
28. ดินที่พืชเจริญเติบโตได้ดีมักมีสมบัติข้อใด
ก. ถ่ายเทน้ำได้ดี
ข. มีธาตุอาหารมาก
ค. มีการอุ้มน้ำได้ดี
29. พืชชนิดใดที่เหมาะแก่การปลูกเป็ นพืชหมุนเวียน
ก.มันสำปะหลัง
ข.โหระพา
ค.ขิง ข่า
30. สิ่งใดต่อไปนี้ที่ไม่เน่าเปื่ อยและทำให้ดินเสื่อมสภาพ
ก.ซากสัตว์
106

ข.เศษอาหาร
ค.แผ่นโฟม
107

เฉลยแบบทดสอบปลายปี
1. ก 2. ค 3. ค 4. ข
5. ก
6. ก 7. ข 8. ข 9. ค
10. ข
11. ข 12. ข 13. ค 14. ค
15. ข
16. ค 17. ค 18. ค 19. ข
20. ก
21. ข 22. ค 23. ก 24. ค
25. ก
26. ข 27. ค 28. ข 29. ค
30. ค
108

You might also like