You are on page 1of 9

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ : ปี ที่ 16 ฉบับที่ 1 มกราคม 2558 – มิถนุ ายน 2558 59

ประสบการณ์ การอ่ านแบบเสริมต่ อการเรี ยนรู้


กับการพัฒนาความสามารถในการอ่ านเพื่อความเข้ าใจ
SCAFFOLDED READING EXPERIENCE ON DEVELOPMENT OF READING
COMPREHENSION ABILITY

สุชนินธ์ บัณฑุนันทกุล 1, ผศ. ดร.วรวรรณ เหมชะญาติ 2, รศ. ดร.วรรณี แกมเกตุ 3


Suchanin Bunthununthakul1, Asst. Prof. Dr. Worawan Hemchayart2, Assoc. Prof. Dr. Wannee Kaemkate3

บทคัดย่ อ

การอ่านเพื่อความเข้ าใจนับว่าเป็ นหัวใจของการอ่าน การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพช่วยให้ ผ้ อู า่ นรู้และเข้ าใจเรื่ องราว


ต่างๆ ที่อา่ นได้ ผู้เรี ยนจึงสามารถนาความรู้ไปพัฒนาตนเองได้ แนวประสบการณ์การอ่านแบบเสริ มต่อการเรี ยนรู้ เป็ นการจัด
กระบวนการเรี ยนรู้ ของที่ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนอ่านอย่างประสบความสาเร็ จ เกิดความเข้ าใจจากการอ่าน เรี ยนรู้ ที่จะอ่านได้ อย่าง
ถูกต้ อง และเพลิดเพลินกับการอ่าน เน้ นการเสริ มต่อการเรี ยนรู้ ที่เหมาะสมกับพื ้นที่รอยต่อพัฒนาการ ของผู้เรี ยนมีการ
ทบทวนความรู้เดิม กระตุ้นและสร้ างความรู้พื ้นฐานเพื่อการอ่านเน้ นการมีสว่ นร่วมในการเรี ยนเพื่อทาให้ ผ้ เู รี ยนมีผลสัมฤทธิ์ใน
การอ่านสูงขึ ้น และยังช่วยส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยนสามารถอ่านทาความเข้ าใจและเรี ยนรู้ เนื ้อหาได้ อย่างประสบความสาเร็ จช่วยให้
ผู้เ รี ย นดึ ง ความรู้ เดิ ม มาใช้ ในการอ่ า น ขยายความรู้ ด้ านค าศัพ ท์ ใ หม่ ส ร้ างความรู้ พื น้ ฐานให้ เพี ย งพอในการอ่ า น
แนวประสบการณ์การอ่านแบบเสริ มต่อการเรี ยนรู้ จึงเป็ นแนวคิดหนึง่ ที่ช่วยให้ ครู นาองค์ความรู้ ลงไปจัดการเรี ยนการสอนใน
ชันเรี
้ ยนได้ จริ ง เพื่อช่วยพัฒนาความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้ าใจของผู้เรี ยนอันจะส่งผลต่อการเรี ยนรู้ที่ยงั่ ยืนได้

คาสาคัญ: ประสบการณ์การอ่านแบบเสริ มต่อการเรี ยนรู้, ความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้ าใจ

1
นิสติ หลักสูตรครุ ศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2
อาจารย์ประจาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
3
อาจารย์ประจาสาขาวิชาวิธีวิทยาการวิจยั การศึกษา ภาควิชาวิจยั และจิตวิทยาการศึกษา คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
60 วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ : ปี ที่ 16 ฉบับที่ 1 มกราคม 2558 – มิถนุ ายน 2558

ABSTRACT

Reading comprehension is the key of reading. The reading efficiency helps readers realize and
recognize the content. Students are able to use the knowledge to develop themselves. The Scaffolded Reading
Experiences are the learning process methodology which helps students to get achievement, reading
comprehension, learning how to read correctly and happily. Moreover, this methodology encourage for learning
properly, Zone of Proximal Development: ZPD, of students. There are reviewing, encouraging and creating the
basic knowledge for reading which emphasize on learning cooperation which help students to get the higher
achievement for reading. Furthermore, it is successful to encourage students to understand and learn the
lesson. In addition to help students to retrieve their reading background knowledge, to extend their new
vocabulary which enable them to build their adequate basic knowledge, Scaffolded Reading Experiences
approach helps teachers to bring the body of knowledge to organize the instruction in classroom to develop the
reading comprehension ability of students which effect to the sustainable learning.

Keywords: Scaffolded Reading Experience, Reading Comprehension Ability

บทนา อย่างธรรมดาไปสู่การสอนให้ ผู้เรี ย นสนุกสนานกับการ


การอ่านเป็ นทักษะที่มีความจาเป็ นและสาคัญ อ่า นและขยายขอบเขตของการอ่า นให้ ก ว้ า งขวางขึ น้
อย่า งยิ่ งต่อ การดารงชี วิต ในปั จ จุบัน เป็ นเครื่ องมือ ที่ (Holden, 2004)
สาคัญที่สดุ ในการแสวงหาความรู้ และใช้ ความรู้ ที่ได้ จาก การอ่านเพื่อความเข้ าใจนับว่าเป็ นหัวใจของการ
การอ่านในการปรับตัว เป็ นทักษะด้ านการรับรู้ ที่สาคัญ อ่า น การอ่า นอย่า งมี ป ระสิท ธิ ภาพช่ ว ยให้ ผ้ ูอ่ า นรู้ และ
มาก เพราะเป็ นเครื่ องมือเรี ยนรู้ สิ่งต่างๆ เป็ นรากฐานของ เข้ าใจเรื่ องราวต่างๆ ที่อ่า น จึ งสามารถนาความรู้ ไป
กา รเ รี ยนรู้ แ ต่ ล ะ สาข า วิ ช า และ เพิ่ ม พู น ค วา ม รู้ พัฒนาตนเองได้ ดังที่ ศิริวรรณ เสนา (2541) กล่าวว่า
ประสบการณ์ ความสามารถของแต่ละคนซึ่ง เป็ นการ ความเข้ าใจในการอ่านถือเป็ นหัวใจสาคัญของการอ่าน
พั ฒ นา คุ ณ ภา พชี วิ ต ที่ ไ ด้ ผลระ ย ะ ย า ว ม า ก ที่ สุ ด เพราะว่าถ้ าผู้เรี ยนไม่สามารถเข้ าใจในสิ่งที่อ่านและไม่
(เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์ , 2550) ถึงแม้ การอ่านถูกมองว่า สามารถจับใจความสาคัญของสิ่งที่อ่านได้ ผู้เรี ยนก็ไม่
เป็ นกระบวนการเชิ ง รั บ แต่ก ารอ่า นเป็ นกระบวนการที่ สามารถที่จะนาสาระความรู้ และข้ อเสนอไปใช้ ปฏิบตั ิให้
สร้ างสรรค์ในตัวเองและเป็ นองค์ประกอบสาคัญในการ เกิดประโยชน์ต่อตนเองได้ การอ่านนัน้ ถือเป็ นการอ่าน
นาไปสู่กระบวนการสร้ างสรรค์อื่น ผู้เรี ยนจาเป็ นต้ องมี ที่ไม่สมบูรณ์ ดังนัน้ จึงกล่าวได้ ว่าการอ่านมีความสาคัญ
ความพร้ อมในทัก ษะการอ่ า นในระดับ ที่ สูง เพื่ อ ได้ รั บ และจาเป็ นอย่างยิ่งในการพัฒนาสติปั ญญา ความรู้
ประโยชน์สูงสุดจากวัฒนธรรมและชีวิตในสังคม ดังนัน้ ความสามารถ ประสบการณ์ในการดาเนินชีวิตและการ
การศึก ษาจ าเป็ นต้ อ งก้ า วข้ า มจากการสอนอ่า นเขี ย น อ่านที่มีประสิทธิ ภาพจะช่วยให้ ผ้ เู รี ยนรับรู้ สาระเรื่ องราว
วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ : ปี ที่ 16 ฉบับที่ 1 มกราคม 2558 – มิถนุ ายน 2558 61

ของเรื่ อ งที่ อ่า นด้ ว ยความเข้ า ใจและสามารถน าสาระ เครื่ อ งมือ ที่พร้ อมสาหรั บการเรี ย นรู้ บทความเรื่ อ งนีจ้ ะ
ความรู้ จากเรื่ อ งที่ อ่า นมาพัฒ นาปรั บ ตนเองให้ เ ข้ า กับ เสนอ เรื่ อง แนวประสบการณ์ การอ่านแบบเสริ มต่อการ
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงได้ อย่างเหมาะสม ทาให้ มี เรี ยนรู้ ซึง่ เป็ นแนวคิดหนึ่งที่ช่วยให้ ครู นาองค์ความรู้ ลงไป
คุณภาพชีวิตที่ดีและอยูใ่ นสังคมอย่างมีความสุข จัดการเรี ยนการสอนในชัน้ เรี ยนได้ จริ ง เพื่อช่วยพัฒนา
แนวประสบการณ์ ก ารอ่ า นแบบเสริ ม ต่ อ การ ความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้ าใจของผู้เรี ยนอัน
เรี ยนรู้ (Scaffolded Reading Experiences) ของ เกรฟ จะส่งผลต่อการเรี ยนรู้ที่ยงั่ ยืนได้
และ เกรฟ (Graves และ Graves, 2003) เป็ นการจัด
ความหมายของการสอนตามแนวประสบการณ์ การ
กระบวนการเรี ยนรู้ ของที่ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนอ่านอย่างประสบ
อ่ านแบบเสริมต่ อการเรียนรู้
ความสาเร็ จ เกิดความเข้ าใจจากการอ่าน เรี ยนรู้ ที่จะอ่าน
การสอนตามแนวประสบการณ์ การอ่านแบบ
ได้ อย่ า งถู ก ต้ อง และเพลิ ด เพลิ น กั บ การอ่ า น แนว
เสริ มต่อการเรี ยนรู้ คือ ชุดของกิจกรรมซึ่งประกอบด้ วย
ประสบการณ์ การอ่านแบบเสริ มต่อการเรี ยนรู้ เน้ นการ
กิจกรรมก่อนอ่าน (Pre-reading) กิจกรรมระหว่างอ่าน
เสริ มต่อการเรี ยนรู้ ที่เหมาะสมกับพื ้นที่รอยต่อพัฒนาการ
(During-reading) และกิจกรรมหลังอ่าน (Post-reading)
(Zone of Proximal Development: ZPD) ของผู้เรี ยน
ซึง่ พัฒนาขึ ้นผ่านการศึกษาวิจยั ของนักการศึกษา 2 ท่าน
มีการทบทวนความรู้เดิม กระตุ้นและสร้ างความรู้ พื ้นฐาน
คือ ไมเคิล เอฟ เกรฟ(Michael F. Graves) และ บอนนี่ บี
เพื่ อ การอ่า น เน้ น การมีส่ว นร่ วมในการเรี ย นเพื่ อ ท าให้
เกรฟ (Bonnie B. Graves) เพื่อช่วยผู้เรี ยนแต่ละกลุม่ ให้
ผู้เรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ในการอ่านสูงขึ ้นการมีสว่ นร่ วมในการ
สามารถอ่านได้ อย่างประสบความสาเร็ จ เข้ าใจสิ่งที่อ่าน
เรี ยน ผู้เรี ยนจะสามารถดาเนินกิจกรรมการอ่านได้ และ
เกิดการเรี ยนรู้ จากสิ่งที่อ่าน เพลิดเพลินกับการอ่านและ
ปรับปรุงการอ่านได้ ด้วยตนเองแนวการสอนประสบการณ์
สิ่ ง ที่ คัด เลื อ กมาให้ อ่ า นเป็ นการสอนที่ พัฒ นามาจาก
การอ่านแบบเสริ มต่อการเรี ยนรู้ ยังช่วยส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยน
หลั ก การของการเสริ มต่ อ การเรี ยนรู้ (Scaffolding)
สามารถอ่าน ทาความเข้ าใจและเรี ยนรู้ เนื ้อหาได้ อย่าง
ที่สามารถยืดหยุ่น โดยขึ ้นอยู่กับตัวผู้เรี ยน บทอ่าน และ
ประสบความสาเร็ จ ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนดึงความรู้ เดิมมาใช้ ใน
จุดประสงค์ในการอ่าน เป้าหมายของประสบการณ์ การ
การอ่ า น ขยายความรู้ ด้ านค าศัพ ท์ ใ หม่ ส ร้ างความรู้
อ่านแบบเสริ มต่อการเรี ยนรู้ คือ ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนเข้ าใจบท
พื ้นฐานให้ เพียงพอในการอ่าน (Clark และ Graves,
อ่าน เกิดการเรี ยนรู้ เข้ าใจความหมาย คาศัพท์ เพลิดเพลิน
2005; Fitzgerald และ Graves, 2004) แนวประสบการณ์
กั บ บทอ่ า นประเภทต่ า งๆ ทัง้ แบบเล่ า เรื่ อ งและแบบ
การอ่านแบบเสริ มต่อการเรี ยนรู้ ประกอบด้ วยการวางแผน
อธิ บายความ การสอนตามแนวประสบการณ์ การอ่าน
(Planning Phase) และการนาไปใช้ (Implementation
แบบเสริ ม ต่อ การเรี ย นรู้ เน้ น การเสริ ม ต่อ การเรี ย นรู้ ที่
Phase) ซึ่งสามารถนาไปปรับการสอนให้ ตรงกับความ
เหมาะสมกับพื ้นที่รอยต่อพัฒนาการของผู้เรี ยน ประสบการณ์
ต้ องการของผู้ เรี ย นและสถานการณ์ ท างการเรี ยน
การอ่านแบบเสริ มต่อการเรี ยนรู้ หนึ่งๆ อาจจะมีการเสริ ม
โดยเฉพาะในผู้เรี ยนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนรู้ ต่านันมี

ต่อการเรี ยนรู้ทงแบบวาจา
ั้ (Verbal Scaffolding) และการ
ความเสี่ ย งต่ อ ความล่า ช้ า หากได้ รั บ การช่ ว ยเหลื อ ที่
เสริ มต่อการเรี ยนรู้ แบบใช้ สื่อที่มองเห็น (Visual Scaffolding)
ทันท่วงทีก็จะช่วยให้ ผ้ เู รี ยนมีทกั ษะในการใช้ ภาษาและมี
62 วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ : ปี ที่ 16 ฉบับที่ 1 มกราคม 2558 – มิถนุ ายน 2558

มีการทบทวนความรู้เดิม กระตุ้นและสร้ างความรู้ พื ้นฐาน ลดการเสริ มต่อการเรี ยนรู้ แล้ วถ่ายโอนความรั บผิดชอบ
เพื่ อ การอ่า น เน้ น การมีส่ว นร่ วมในการเรี ย นเพื่ อ ท าให้ ไปสูผ่ ้ เู รี ยน
ผู้เรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ในการอ่านสูงขึ ้น การมีสว่ นร่วมในการ 3. เป็ นการสอนที่ให้ ผ้ ูเรี ยนมีส่วนร่ วมในการ
เรี ยนจะช่วยผู้เรี ยนให้ สามารถดาเนินกิจกรรมการอ่านได้ เรี ยน และมีป ฏิสัมพันธ์ ต่อ บทอ่า นท าให้ ผู้เรี ยนประสบ
และปรั บ ปรุ ง การอ่ า นได้ ด้ วยตนเอง แนวการสอน ความสาเร็ จในการอ่าน
ประสบการณ์ ก ารอ่า นแบบเสริ ม ต่อ การเรี ย นรู้ ยัง ช่ ว ย 4. เป็ นการสอนที่ให้ ผ้ ูเรี ยนเข้ าใจเนื ้อหา และ
ส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยนสามารถอ่าน ทาความเข้ าใจและเรี ยนรู้ บริ บทของเนื ้อหา โดยเชื่อมโยงความรู้ หรื อประสบการณ์
เนื อ้ หาได้ อ ย่ า งประสบความส าเร็ จ ช่ ว ยให้ ผ้ ูเ รี ย นดึ ง เดิมซึ่งเป็ นสิ่งที่มีคุณค่าและสาคัญต่อการอ่าน ช่วยให้
ความรู้ เดิมมาใช้ ในการอ่า น ขยายความรู้ ด้ านคาศัพ ท์ ผู้เรี ยนเชื่อมโยงบทเรี ยนกับชีวิตจริ งได้
ใหม่ สร้ างความรู้พื ้นฐานให้ เพียงพอในการอ่าน (Graves
แนวคิดหลักในการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนว
และ Graves, 2003)
การสอนประสบการณ์ การอ่ านแบบเสริมต่ อการ
หลักการสอนตามแนวประสบการณ์ การอ่ านแบบ เรียนรู้
เสริมต่ อการเรียนรู้ แนวการสอนประสบการณ์ การอ่านแบบเสริ ม
การสอนตามแนวประสบการณ์ การอ่านแบบ ต่อการเรี ย นรู้ แตกต่างอย่างเห็น ได้ ชัดเจนจากแนวการ
เสริ มต่อการเรี ยนรู้ คือ การออกแบบชุดของกิ จกรรมก่อน สอนอื่นๆ ซึง่ แนวการสอนประสบการณ์การอ่านแบบเสริ ม
การอ่าน ระหว่างการอ่าน และหลังการอ่าน ที่ออกแบบ ต่อการเรี ยนรู้ ไม่ใช่แผนการที่เตรี ยมไว้ ลว่ งหน้ าเพื่อใช้ กบั
อย่ า งมี ค วามเฉพาะเจาะจง และเป็ นแผนที่ ส ามารถ ข้ อความ แต่แนวการสอนประสบการณ์การอ่านแบบเสริ ม
ยืดหยุ่น ให้ เข้ ากับสถานการณ์ เฉพาะได้ เพื่อ ช่ว ยเหลือ ต่อการเรี ยนรู้ คือ แผนการที่ยืดหยุน่ วางแผนไว้ เพื่อใช้ กบั
เฉพาะกลุม่ ของผู้เรี ยนได้ โดย เกรฟ และ เกรฟ (Graves สถานการณ์ ใดสถานการณ์ หนึ่งแนวการสอนประสบการณ์
และ Graves, 2003) ได้ นาเสนอหลักการสอนตามแนว การอ่านแบบเสริ มต่อการเรี ยนรู้ มี 2 ขัน้ คือ
ประสบการณ์การอ่านแบบเสริ มต่อการเรี ยนรู้ ดังต่อไปนี ้ 1. ขัน้ วางแผน (Planning Phase)
1. การสอนที่ใช้ การวางแผนและจัดกิจกรรมการ ขัน้ วางแผนนี จ้ ะมี ก ารพิ จ ารณากลุ่ม ของ
สอนอ่านในสถานการณ์ต่างๆ ประกอบด้ วยกิจกรรมก่อน ผู้เรี ยนที่มีความเฉพาะเจาะจงที่จะทาการอ่าน ข้ อความที่
ระหว่าง และหลังการอ่าน ที่ออกแบบมาเพื่อส่งเสริ มการ ผู้เรี ยนอ่าน และพิจารณาวัตถุประสงค์ในการอ่าน โดยมี
สร้ างประสบการณ์ ให้ ผ้ เู รี ยนประสบความสาเร็ จในการ ความมุง่ หมาย ดังต่อไปนี ้
อ่า นเพื่ อความเข้ า ใจ เรี ย นรู้ เนื อ้ หาและเพลิดเพลิน กับ 1) ครูมีการวางแผนและสร้ างสรรค์ประสบการณ์
การอ่าน ทังหมดที
้ ่ผ้ เู รี ยนควรจะได้ รับ ซึ่งมีความสอดคล้ องกับตัว
2. เป็ นการสอนที่ ใ ช้ ก ารเสริ ม ต่อ การเรี ย นรู้ ที่ ผู้เรี ยน การคัดเลือกบทอ่า น และวัตถุประสงค์ ข องการ
เหมาะสมกับระดับความสามารถของผู้เรี ยน โดยครูคอ่ ยๆ อ่านที่มีความเฉพาะเจาะจง
2) กลุม่ ของผู้เรี ยนที่มีความเฉพาะเจาะจง
ที่จะทาการอ่าน ข้ อความที่ผ้ เู รี ยนอ่าน และวัตถุประสงค์
วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ : ปี ที่ 16 ฉบับที่ 1 มกราคม 2558 – มิถนุ ายน 2558 63

ในการอ่าน เป็ นองค์ประกอบสาคัญที่ครู จะต้ องนามาใช้ กิ จ กรรมหลั ง การอ่ า น (Post-reading Activities)


ในการตัดสินใจว่า ผู้เรี ยนคนไหนที่ครู จะร่ วมทางานด้ วย กิจกรรมหลังการอ่านนันเป็
้ นกิจกรรมที่มีความ
ซึ่ ง มี แ ค่ บ างข้ อความที่ ค รู สามารถใช้ ได้ และบาง หลากหลายเพื่อให้ สอดคล้ องกับความมุ่งหมายที่มีความ
จุดประสงค์ที่ครูสามารถคาดหวังให้ บรรลุผลสาเร็ จได้ หลากหลายเช่ น กั น จึ ง สามารถสรุ ป ความหมายของ
กิจกรรมหลังการอ่านได้ หลายประการ คือ
2. ขัน้ นาไปใช้ (Implementation Phase)
1) เพื่อเป็ นการจัดโอกาสให้ ผ้ เู รี ยนเข้ าใจและ
ขันน
้ าไปใช้ นี ้จะเป็ นการเตรี ยมชุดของกิจกรรม
ระลึกถึงประเด็นที่สาคัญได้
ก่อนการอ่าน กิจกรรมการอ่าน และกิจกรรมหลังการอ่าน
2) เพื่ อ เป็ นการจั ด โอกาสให้ ผู้ เรี ย นประเมิ น
ส าหรั บ กลุ่ม ผู้ อ่ า นที่ มี ค วามเฉพาะเจาะจง เพื่ อ เป็ น
ข้ อความหรื อ สารของผู้ เขี ย น ในเรื่ อ งของทัศ นคติ ที่
ทางเลือกสาหรั บผู้อ่า นกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง รวมไปถึง การ
นาเสนอ รวมไปถึงคุณภาพของข้ อความ
คัดเลือ กเนื อ้ หาสาหรั บอ่า น และการตัง้ วัต ถุประสงค์ ที่
3) เพื่อเป็ นการจัดโอกาสให้ ครู และผู้เรี ยนได้
สอดคล้ องในการอ่ า น โดยในแต่ ล ะขั น้ ตอนของ
ประเมินความเข้ าใจในข้ อความ
ขันน
้ าไปใช้ มีความมุง่ มาย ดังต่อไปนี ้
4) เพื่อเป็ นการจัดโอกาสให้ ผ้ เู รี ยนได้ ตอบสนอง
กิจกรรมก่ อนการอ่ าน (Pre-reading Activities) ต่อข้ อความในหลากหลายทิศทาง
1) เพื่อสร้ างพื ้นฐานให้ ผ้ เู รี ยนมีความสนใจและ
กระตือรื อร้ นต่อการอ่านบทอ่านที่ได้ จากการคัดเลือก
2) เพื่อทบทวนผู้เรี ยนเกี่ยวกับสิง่ ต่างๆ ที่ได้ เคยรู้
มาแล้ ว ซึ่งจะช่วยสร้ างให้ ผ้ เู รี ยนเกิดความรู้ ความเข้ าใจ
ในเรื่ องที่อา่ น และเกิดความพึงพอใจในบทอ่าน
3) เพื่อเป็ นการเตรี ยมก่อนการสอน จากบทอ่าน
ที่คดั เลือกมาซึง่ อาจจะมีความยากสาหรับผู้เรี ยน

กิจกรรมระหว่ างการอ่ าน (During-reading Activities)


1) เพื่ อให้ ผ้ ูเ รี ยนได้ พ บและมี ปฏิสัมพัน ธ์ กับ
ข้ อ ความด้ ว ยตนเอง โดยมี ค รู ช่ ว ยเหลือ ในขณะที่ อ่า น
2) เพื่อให้ ผ้ ูเ รี ย นเริ่ มที่จ ะประมวลและสร้ าง
ความหมายจากข้ อความโดยการอ่าน
3) เพื่ อให้ ผ้ ูเรี ยนอ่านร่ วมกับผู้อื่ นหรื ออ่า นบท
อ่านที่แตกต่างออกไปบ้ างเป็ นบางครัง้ บางคราว
64 วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ : ปี ที่ 16 ฉบับที่ 1 มกราคม 2558 – มิถนุ ายน 2558

ขั้นวางแผน

ตัวผู้เรี ยน การคัดเลือกบทอ่าน วัตถุประสงค์ของการอ่าน

(The Students) (The Reading Selection) (The Purpose(s) of the Reading)

ขั้นนาไปใช้
กิจกรรมก่อนการอ่าน กิจกรรมระหว่างการอ่าน กิจกรรมหลังการอ่าน
(Prereading Activities) (Reading Activities) (Postreading Activities)

ภาพที่ 1 ขันตอนของแนวการสอนประสบการณ์
้ การอ่านแบบเสริ มต่อการเรี ยนรู้
ที่มา: Graves และ Graves (2003)
กิจกรรมที่ผ้ สู อนและผู้เรี ยนมีสว่ นร่วมใน ต้ องพึ่งพากันและกัน เช่น ถ้ าเราตัดสินใจจะใช้ กิจกรรม
กิจกรรมตามที่วางแผนไว้ กระบวนการทังสอง ้ หลัง การอ่ า นเป็ นงานที่ ท้ า ทายมากๆ เราจะต้ อ งเพิ่ ม
ขัน้ ตอนเป็ นลัก ษณะสาคัญ ของประสบการณ์ การอ่า น กิ จ กรรมก่ อ นการอ่ า นและระหว่ า งการอ่ า นซึ่ ง เตรี ย ม
แบบเสริ มต่อการเรี ยนรู้ ในขันวางแผนผู
้ ้ สอนออกแบบให้ ผู้เรี ยนให้ ทางานที่ท้าทายได้ สาเร็ จอย่างแท้ จริ ง
เหมาะสมกับแต่ละประสบการณ์ ประสบการณ์การอ่าน กิจกรรมการอ่ านตามแนวประสบการณ์ การ
แบบเสริ ม ต่อ การเรี ย นรู้ ที่ สร้ างขึน้ สาหรั บ สถานการณ์ อ่ า น แบ บ เ ส ริ ม ต่ อ ก า รเ รี ยน รู้ ที่ ช่ ว ยส่ ง เ ส ริ ม
เฉพาะที่ เ ผชิ ญ อยู่ สถานการณ์ ที่ แ ตกต่า งกัน ก็ ต้ อ งใช้ ความสามารถในการอ่ านเพื่อความเข้ าใจ
ประสบการณ์การอ่านแบบเสริ มต่อการเรี ยนรู้ที่ตา่ งกัน
กิจกรรมการอ่านตามแนวประสบการณ์การอ่าน
สิง่ สาคัญที่ต้องคานึงถึง คือ แต่ละองค์ประกอบ
แบบเสริ ม ต่ อ การเรี ย นรู้ นัน้ เกิ ด ขึ น้ ได้ จ ากการน าเอา
ของประสบการณ์การอ่านแบบเสริ มต่อการเรี ยนรู้ ต่างก็
หลัก การของแต่ ละขัน้ ตอน คื อ กิ จ กรรมก่ อ นการอ่า น
สัม พั น ธ์ กั น หากพิ จ ารณาองค์ ป ระกอบทั ง้ 3 ในขั น้
กิจกรรมการอ่าน และกิจกรรมหลังการอ่าน มาเชื่อมโยง
วางแผน ได้ แก่ ตัว ผู้เรี ยน ข้ อความ และจุดประสงค์ เมื่อ
กับการสังเคราะห์ งานวิจัยของนักการศึกษา จึงได้ สรุ ป
เราตัดสินว่าผู้เรี ยนกลุ่มใดที่เราจะจัดกิจกรรมให้ มีเพียง
ออกมาเป็ นกิ จกรรมเสนอแนะในแต่ละขัน้ ตอนของขัน้
บางข้ อความและบางวัตถุประสงค์เท่านันที ้ ่เราสามารถ
นาไปใช้ ซึง่ จะสามารถช่วยให้ ผ้ เู รี ยนสามารถอ่านได้ อย่าง
คาดหวังให้ ไปถึงได้ เมื่อเราตัดสินใจเลือกข้ อความที่จะใช้
เข้ าใจ และเกิดการเรี ยนรู้ ที่บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ได้ ตงั ้
ก็มีเพียงผู้เรี ยนบางกลุม่ เท่านันที้ ่จะสามารถอ่านได้ และมี
เอาไว้ โดยองค์ประกอบที่เป็ นไปได้ สาหรับกิจกรรมก่อน
บางจุดประสงค์เท่านันที ้ ่หวังจะให้ ผ้ เู รี ยนไปถึง และเมื่อ
การอ่าน กิจกรรมการอ่าน และกิจกรรมหลังการอ่านของ
ตัดสินใจว่าวัตถุประสงค์คืออะไร ก็มีเพียงบางข้ อความ
ประสบการณ์ การอ่านแบบเสริ มต่อการเรี ยนรู้ ในตาราง
เท่านัน้ ที่เราสามารถใช้ เพื่อให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ และมี
ต่ อ ไ ป นี ้ เ ป็ น กิ จ ก ร ร ม ก า ร อ่ า น ที่ ส า คั ญ ใ น ก า ร
ผู้เรี ยนบางกลุม่ เท่านันที
้ ่จะสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์นนั ้
จัดประสบการณ์การอ่านตามแนวประสบการณ์การอ่าน
ขันการน
้ าไปใช้ ก็เช่นเดียวกันซึง่ องค์ประกอบทังสามต่ ้ างก็
แบบเสริ มต่อการเรี ยนรู้ ที่ช่วยส่งเสริ มความสามารถใน
การอ่านเพื่อความเข้ าใจของผู้เรี ยนในแต่ละครัง้
วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ : ปี ที่ 16 ฉบับที่ 1 มกราคม 2558 – มิถนุ ายน 2558 65

ตารางที่ 1 กิจกรรมการอ่านตามแนวการสอนประสบการณ์การอ่านแบบเสริ มต่อการเรียนรู้ (Graves และ


Graves, 2003)
กิจกรรมก่ อนการอ่ าน
(1) การสร้ างแรงจูงใจ (Motivating)
(2) การกระตุ้นและสร้ างความรู้พื ้นฐาน (Activating and Building Background Knowledge)
(3) การสร้ างความรู้เฉพาะจากเนื ้อหา (Providing Text-Specific Knowledge)
(4) การสร้ างความสัมพันธ์เรื่ องทีอ่ า่ นกับชีวิตจริ งของผู้เรี ยน (Relating the Reading to Students' Lives)
(5) การสอนคาศัพท์ก่อนการอ่าน (Pre-teaching Vocabulary)
(6) การสอนมโนทัศน์ก่อนการอ่าน (Pre-teaching Concepts)
(7) การตังค
้ าถามก่อนการอ่าน (Pre-questioning) การทานาย (Predicting) การกาหนดทิศทาง (Direction
Setting)
(8) การเสนอแนะกลวิธีในการอ่าน (Suggesting Strategies)
กิจกรรมระหว่ างการอ่ าน
(1) การอ่านในใจ (Silent Reading)
(2) การอ่านให้ ผ้ เู รี ยนฟั ง (Reading to Students)
(3) การอ่านตามคาแนะนา (Guided Reading)
(4) การอ่านออกเสียงโดยผู้เรียน (Oral Reading by Students)
(5) การปรับเนื ้อหาที่อา่ น (Modifying the Text)
กิจกรรมหลังการอ่ าน
(1) การตังค
้ าถาม (Questioning)
(2) การอภิปราย (Discussion)
(3) การเขียน (Writing)
(4) การแสดงละคร (Drama)
(5) การทากิจกรรมที่เป็ นศิลปะ กราฟฟิ ก และกิจกรรมแบบไม่เป็ นคาพูด (Artistic, Graphic,
and Nonverbal Activities)
(6) การทากิจกรรมที่นอกเหนือจากเรื่ องที่อา่ นและกิจกรรมประยุกต์ (Application and
Outreach Activities)
(7) การสร้ างการเชื่อมโยง (Building Connections)
(8) การสอนซ ้า (Re-teaching)
66 วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ : ปี ที่ 16 ฉบับที่ 1 มกราคม 2558 – มิถนุ ายน 2558

การนาแนวประสบการณ์ การอ่ านแบบเสริมต่ อการ บทอ่ า น และวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการอ่ า นที่ มี ค วาม
เรียนรู้ไปใช้ ในการจัดการเรียนการสอนอ่ านเพื่อ เฉพาะเจาะจง รวมทัง้ ท าให้ ผ้ ูเ รี ย นมี ค วามสนใจและ
ความเข้ าใจ กระตือรื อร้ นต่อการอ่าน
แนวประสบการณ์ ก ารอ่ า นแบบเสริ ม ต่ อ การ 3. ครู เป็ นผู้ออกแบบ : ครู จะต้ องออกแบบและ
เรี ยนรู้ มีประโยชน์ อย่างยิ่งในการนาไปใช้ ในการจัดการ คัดเลือกกิจกรรมการอ่านที่มีความเหมาะสมในแต่ละขัน้
เรี ยนการสอนเพื่ อพัฒนาการอ่า นเพื่อ ความเข้ าใจของ การอ่าน
ผู้เรี ยนทังการสอนในชั
้ นเรี
้ ยนปกติ และการสอนซ่อมเสริ ม 4. ครูเป็ นผู้สนับสนุน : ครู จะต้ องเป็ นผู้สนับสนุน
(Remedial Teaching) เพราะมีขนวางแผนที
ั้ ่ออกแบบให้ ผู้เรี ยนในขณะทากิจกรรมการอ่าน โดยเน้ นการเสริ มต่อ
ครู ผ้ ู สอนต้ องเข้ าใจปั ญหาการอ่ า นของผู้ เรี ย นเป็ น การเรี ย นรู้ ที่ เ หมาะสมกับ พื น้ ที่ ร อยต่ อ พัฒ นาการของ
รายบุ ค คล เพื่ อ น ามาก าหนดจุ ด ประสงค์ ก ารอ่ า น ผู้เรี ยน การมีสว่ นร่ วมในการอ่านด้ วยตนเอง และกระตุ้น
จัดเตรี ยมกิจกรรม สือ่ การสอน บทอ่านที่หลากหลาย และ ให้ ผ้ เู รี ยนสนุกกับการอ่าน
การประเมิ น ในแต่ละขัน้ การสอน ภายใต้ บ รรยากาศที่
อบอุน่ เป็ นมิตร มีการวางแผนช่วงเวลาในการจัดกิจกรรม บทบาทผู้เรียน
ให้ เหมาะสมในขันน
้ าไปใช้ 1. ผู้เรี ยนเป็ นผู้ตื่นตัวในการอ่าน : ผู้เรี ยนจะ
นอกจากนี ข้ นั ้ ตอนของแนวประสบการณ์ การ ต้ องมีความสนใจและกระตือรื อร้ นต่อการอ่านบทอ่าน
อ่านแบบเสริ มต่อการเรี ยนรู้ ได้ ถกู ออกแบบมาให้ มีความ 2. ผู้เรี ยนเป็ นผู้ลงมืออ่าน : ผู้เรี ยนจะต้ องมี
ยืดหยุน่ สามารถใช้ ได้ กบั สถานการณ์การอ่านแบบต่างๆ ปฏิสมั พันธ์ กบั บทอ่านด้ วยตนเอง สร้ างความหมายจาก
และลักษณะของกลุม่ ผู้เรี ยนที่มีความแตกต่างกันออกไป การอ่าน โดยอ่านด้ วยตนเองหรื ออ่านร่ วมกับผู้อื่นตาม
ครู ผ้ สู อนและผู้เรี ยนจะมีสว่ นร่ วมกันในการออกแบบการ ความเหมาะสม
อ่านที่มีความเฉพาะเจาะจง และการคัดเลือกกิ จกรรม 3. ผู้เรี ยนเป็ นผู้สะท้ อนการอ่าน : ผู้เรี ยนจะต้ อง
การอ่านต่างๆ มาใช้ เพื่อให้ ผ้ ูเรี ยนเกิ ดการเรี ยนรู้ และ แสดงความเข้ าใจ หรื อไม่เข้ าใจเรื่ องที่อ่าน และมีโอกาส
สามารถอ่านได้ อย่างเข้ าใจ โดยการนาแนวประสบการณ์ นาเสนอการตี ค วามและค าตอบของตนเอง ซึ่ง จะเป็ น
การอ่านแบบเสริ มต่อการเรี ยนรู้ ไปใช้ ในการจัดการเรี ยน เครื่ องมือประเมินได้ วา่ การอ่านบรรลุเป้าหมายหรื อไม่
การสอนอ่านให้ ประสบความสาเร็ จนัน้ ครู และผู้เรี ยนควร บทสรุ ป
มีบทบาทดังต่อไปนี ้ แนวประสบการณ์ ก ารอ่ า นแบบเสริ ม ต่ อ การ
บทบาทครู เรี ยนรู้เป็ นกระบวนการที่ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนเกิดการเรี ยนรู้ จาก
1. ครู เป็ นผู้สงั เกต : ครู จะต้ องสังเกตกลุม่ ของ การเป็ นผู้อ่านทาให้ สามารถพัฒนาความสามารถในการ
ผู้เรี ยนที่มีความเฉพาะเจาะจงที่จะทาการอ่าน และสังเกต อ่า นเพื่ อ ความเข้ า ใจของตนเอง และเรี ย นรู้ ท าความ
ปั ญหาการอ่านของผู้เรี ยน เข้ าใจจากการอ่านได้ อีกทังยั
้ งเป็ นการสร้ างความมัน่ ใจ
2. ครู เ ป็ นผู้ว างแผน : ครู จ ะต้ องวางแผนและ ในการอ่ า น เมื่ อ ผู้ เรี ยนค้ นพบว่ า ตนเอง ประสบ
สร้ างสรรค์ประสบการณ์ที่ผ้ เู รี ยนควรจะได้ รับ การคัดเลือก ความสาเร็ จในการอ่าน สามารถเรี ยนรู้ เนื ้อหา และรู้ สึก
วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ : ปี ที่ 16 ฉบับที่ 1 มกราคม 2558 – มิถนุ ายน 2558 67

เพลิดเพลินกับการอ่าน ทาให้ ผ้ เู รี ยนเกิดความมัน่ ใจและมี การอ่านนันมี


้ ความคงทนและยัง่ ยืน ก่อให้ เกิดประโยชน์
ความเชื่อมัน่ ว่า ตนเองสามารถอ่านได้ อย่างมีความสุข ต่อผู้เรี ยนต่อไปในอนาคต
และเข้ าใจในสิง่ ที่ตนเองอ่านอันจะทาให้ ผลลัพธ์ที่เกิดจาก

บรรณานุกรม

ศิริวรรณ เสนา. (2541). การศึกษาคุณลักษณะของเนือ้ ความสาหรับฝึ กคัดลายมือที่ส่งผลต่ อพัฒนาการด้ าน


ลายมือ และความเข้ าใจในการอ่ านของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 4. ปริ ญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต
สาขาวิชาการประถมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ.
เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์. (2550). การสอนแบบมุ่งประสบการณ์ ภาษา: กลยุทธ์ ส่ คู วามสาเร็จในการพัฒนาการรู้
หนังสือเพื่อปวงชน. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโรตารี แห่งประเทศไทย.
Clark, K. F., and Graves, M. F. (2005). Scaffolding students’ comprehension of text. The Reading Teacher
58(6): 570-580.
Fitzgerald, J., and Graves, M. F. (2004). Reading Supports for All. Educational Leadership 62(4): 68-71.
Graves, M. F., and Graves, B. B. (2003). Scaffolding Reading Experiences: Designs for
Students Success. 2nd ed. Massachusetts: Christopher-Gordon.
Holden, J. (2004). Creative Reading: Young People, Reading and Public Libraries. London: Demos.

You might also like