You are on page 1of 82

พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ.

2534 และแก้ ไขเพิ่มเติม

1. ข้ อใดเป็ นหลักการในการบริ หารราชการตาม พรบ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ ไขเพิ่มเติม

ก. เพื่อประโยชน์สขุ ของประชาชน ข. เพื่อลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จาเป็ น

ค. เพื่อกระจายอานาจตัดสินใจ ง. ข้ อ ก. และ ข.

จ. ข้ อ ก. , และ ค. ถูก

2. พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ 2534 ได้ วางแนวทางการจัดสรรงบประมาณและการบรรจุแต่งตัง้ บุคคล


เข้ าดารงตาแหน่ง หรื อปฏิบตั ิหน้ าที่ตาม พ.ร.บ. จะต้ องเป็ นไปตามหลักการใด

ก. ความยุติธรรม ข. ความเสมอภาค

ค. ความเท่าเทียมกัน ง. ความมีประสิทธิภาพ

จ. ถูกทุกข้ อ

3. การจัดระเบียบบริ หารราชการแผ่นดินมีรูปแบบใด

ก. กระทรวง ทบวง กรม ข. จังหวัด อาเภอ

ค. จังหวัด อาเภอ กิ่งอาเภอ ตาบล หมูบ่ ้ าน ง. ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้ องถิ่น

จ. ก และ ข

4. การกาหนดตาแหน่งและอัตราเงินเดือน ของส่วนราชการต่าง ๆ ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ.


2534 จะต้ องคานึงถึง

ก. ภารกิจที่รับผิดชอบ ข. ประสิทธิภาพของส่วนราชการ

ค. คุณภาพและปริ มาณของส่วนราชการนัน้ ๆ ง. ก และ ค

จ. ถูกทุกข้ อ

5. ข้ อใดเป็ นการบริ หารราชการส่วนกลาง

ก. กระทรวง ข. ทบวง
ค. ส่วนราชการที่ชื่อเรี ยกอย่างอื่นมีฐานะเป็ นกรม แต่ไม่ได้ สงั กัดกระทรวงหรื อทบวง

ง. ข้ อ ก. และ ข. ถูก จ. ถูกทุกข้ อ

6. ส่วนราชการใด ไม่มีฐานะเป็ นนิติบคุ คล

ก. สานักนายกรัฐมนตรี ข. ทบวง ซึง่ สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี

ค. กรมซึง่ ไม่สงั กัดกระทรวง ง. ข้ อ ก. และข้ อ ค. แล้ วแต่กรณี

จ. ทุกข้ อมีฐานะเป็ นนิติบคุ คล

7. โดยทัว่ ไปการจัดการจัดตัง้ การรวม การโอน กระทรวง ทบวง กรม จะต้ องตราเป็ นกฎหมายในลาดับใด

ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกาหนด

ค. พระราชกฤษฎีกา ง. กฎกระทรวง

จ. ระเบียบกระทรวง

8. ข้ อใดผิด

ก. การโอนส่วนราชการเข้ าด้ วยกันถ้ าไม่มีการกาหนดตาแหน่งหรื ออัตรากาลังของส่วนราชการหรื อลูกจ้ าง


เพิ่มขึ ้นให้ ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา

ข. ให้ สานักงานข้ าราชการพลเรื อน และสานักงานพัฒนาระบบราชการมีหน้ าที่การตรวจสอบดูแลมิให้ ส่วน


ราชการที่มีพระราชกฤษฎีกาให้ รวมหรื อโอนเข้ าด้ วยกัน กาหนดตาแหน่งหรื ออัตรากาลังของข้ าราชการหรื อลูกจ้ างเพิ่ม
จนกว่าจะครบสามปี นับแต่วนั ที่พระราชกฤษฎีกามีผลบังคับใช้

ค. การเปลีย่ นชื่อส่วนราชการที่มีฐานะเป็ นกรมให้ ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา

ง. การยุบส่วนราชการที่มีฐานะเป็ นกระทรวงให้ ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา


จ. ข้ อ ข. และ ง.

9. หน่วยงานใดมีหน้ าที่ในการตรวจสอบดูแล ส่วนราชการที่จดั ตังขึ


้ ้นใหม่ มิให้ มีการกาหนดตาแหน่งหรื ออัตรากาลังของ
ข้ าราชการหรื อลูกจ้ างเพิ่มขึ ้นจนกว่าจะครบสามปี

ก. สานักงานพัฒนาระบบราชการ ข. สานักงานคณะกรรมการข้ าราชการพลเรื อน

ค. สานักงบประมาณ ง. ข้ อ ก. ข. และ ค.

จ. ข้ อ ข. และ ค.

10. หากกรมการปกครอง จะเปลีย่ นชื่อเป็ นกรมการความมัน่ คงภายใน จะต้ องตราเป็ นกฎหมายใด

ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา

ค. พระราชกาหนด ง. กฎกระทรวง

จ. ระเบียบกระทรวง

11. กรณีที่กรมส่งเสริ มการปกครองท้ องถิ่น หมดความจาเป็ น หากต้ องการที่จะยุบกรมดังกล่าว จะต้ องตราเป็ นกฎหมาย
ใด

ก. พระราชบัญญัติๆ ข. พระราชกฤษฎีกา

ค. พระราชกาหนด ง. กฎกระทรวง

จ. ระเบียบกระทรวง

12. การแบ่งส่วนราชการภายในกรม จะต้ องตราเป็ นกฎหมายข้ อใด

ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา

ค. พระราชกาหนด ง. กฎกระทรวง

จ. ระเบียบกระทรวง

13. ข้ อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับการยุบเลิกกรม

ก. จัดทาเป็ นพระราชกฤษฎีกา ข. ให้ งบประมาณรายจ่ายที่เหลืออยูข่ องกรมนันตกเป็


้ นงบกลาง
ค. ทรัพย์สนิ อื่นของกรมนันให้
้ โอนแก่สว่ นราชการอื่นตามที่กาหนดไว้ ในพระราชกฤษฎีกา

ง. ข้ าราชการหรื อลูกจ้ างซึง่ ต้ องพ้ นจากราชการเพราะเหตุยบุ ตาแหน่งให้ ได้ รับเงินชดเชย

จ. ข้ อ ข. และ ค.

14. หน่วยงานใดมีหน้ าที่เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรี ให้ แบ่งส่วนราชการภายในของกรมการปกครอง

ก. สานักงานคณะกรรมการข้ าราชการพลเรื อน ข. กระทรวงมหาดไทย

ค. สานักงานพัฒนาระบบราชการ ง. สานักงบประมาณ

จ. ข้ อ ก. และ ข.

15. บุคคลใดเป็ นผู้รับผิดชอบในการกาหนดนโยบายเป้าหมาย และผลสาฤทธิ์ของงานในสานักนายกรัฐมนตรี

ก. นายกรัฐมนตรี ข. ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี

ค. รัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี ง. ข้ อ ก. และ ข. ถูก

จ. ข้ อ ก. ข. และ ค. ถูก

16. ในกรณี ที่นายกรัฐมนตรี ตาย ขาดคุณสมบัติ ต้ องคาพิพากษาให้ จาคุก หรื อศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าความเป็ น


รัฐมนตรี ของนายกสิ ้นสุดลงในระหว่างที่รอคณะรัฐมนตรี ชุดใหม่เข้ ามารั บหน้ าที่นนั ้ คณะรั ฐมนตรี ชุดเดิม จะต้ องทา
อย่างไร

ก. มอบหมายให้ รองนายกรัฐมนตรี คนใดคนหนึง่ รักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรี

ข. มอบหมายให้ รองนายกรัฐมนตรี คนใดคนหนึง่ ปฏิบตั ิหน้ าที่แทนนายกรัฐมนตรี

ค. มอบหมายให้ รองนายกรัฐมนตรี คนใดคนหนึง่ ปฏิบตั ิราชการแทนนายกรัฐมนตรี

ง. มอบหมายให้ รองนายกรัฐมนตรี คนใดคนหนึง่ ปฏิบตั ิหน้ าที่แทนนายกรัฐมนตรี แล้ วแต่กรณี

จ. มอบหมายให้ รองนายกรัฐมนตรี หรื อรัฐมนตรี คนใดคนหนึง่ ปฏิบตั ิราชการแทนแล้ วแต่กรณี


17. อานาจนายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ ารัฐบาล กาหนดไว้ ในมาตราใดและมีกี่ข้อ

ก. ม. 8 11 ข้ อ ข. ม. 11 ข้ อ

ค. ม.10 10 ข้ อ ง. ม.11 9 ข้ อ

จ. ม.11 11 ข้ อ

18. ข้ อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับอานาจหน้ าที่ของนายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ ารัฐบาล

ก. สัง่ ให้ ราชการส่วนกลางรายงานการปฏิบตั ิราชการ ข. สัง่ ให้ ราชการส่วนภูมิภาคชี ้แจงแสดงความคิดเห็น

ค. สัง่ ให้ ราชการส่วนท้ องถิ่นรายงานการปฏิบตั ิราชการ ง. สัง่ สอบสวนข้ อเท็จจริ งเกี่ยวกับการปฏิบตั ิราชการ
ของราชการส่วนท้ องถิ่น จ. ค. และ ง. กล่าวผิด

19. กรณีจาเป็ นนายกรัฐมนตรี สามารถยังยังการปฏิ


้ บตั ิราชการของหน่วยงานใดบ้ าง หากหน่วยงานนันปฏิ
้ บตั ิราชการขัด
ต่อนโยบายของรัฐบาล

ก. ราชการส่วนกลาง ข. ราชการส่วนภูมิภาค

ค. ราชการส่วนท้ องถิ่น ง. เฉพาะข้ อ ก. และ ข.

จ. ยับยังได้
้ ทงั ้ ก. ข. และ ค.

20. นายกรัฐมนตรี สามารถยับยังการปฏิ


้ บตั ิราชการของส่วนราชการท้ องถิ่นได้ ในกรณีใด

ก. ไม่สามารถยับยังเป็
้ นอิสระของราชการส่วนท้ องถิ่นตามหลักการปกครองตนเอง

ข. ยับยังได้
้ หากราชการส่วนท้ องถิ่นกระทาการก่อให้ เกิดความเสียหายต่อท้ องถิ่น

ค. กรณีที่ราชการส่วนท้ องถิ่นปฏิบตั ิราชการต่อนโยบายหรื อมติของคณะรัฐมนตรี

ง. ข้ อ ข. และ ค.

จ. ข้ อ ก. และ ค.
21. ข้ อใดมิได้ เป็ นอานาจการบังคับของนายกรัฐมนตรี

ก. มีอานาจบังคับบัญชาปลัดกระทรวงมหาดไทย

ข. มีอานาจบังคับบัญชาปลัดสานักนายกรัฐมนตรี

ค. มีอานาจบังคับบัญชาผู้วา่ การไฟฟ้ าส่วนภูมิภาค

ง. ข้ อ ก. และ ค. ถูก

จ. ไม่มีข้อถูก

22.ข้ อใดผิด

ก. นายกรัฐมนตรี มีอานาจสัง่ ให้ ข้าราชการกรมการปกครองมาปฏิบตั ิ ราชการสานักนายกรัฐมนตรี โดยให้ ขาด


จากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิม

ข. นายกรัฐมนตรี มีอานาจสัง่ ให้ ข้าราชการกระทรวงคมนาคม มาปฏิบตั ิราชการสานักนายกรัฐมนตรี โดยอัตรา


เงินเดือนไม่ขาดจากทางสังกัดเดิม

ค. แต่งตังรองอธิ
้ บดีกรมส่งเสริ มการปกครองท้ องถิ่น ไปดารงตาแหน่งอธิบดีกรมการปกครอง โดยให้ รับเงินเดือน
จากกรมการปกครอง

ง. แต่งตังอธิ
้ บดีกรมทางหลวงชนบทไปดารงตาแหน่งอธิบดีกรมการปกครองโดยอนุมตั ิคณะรัฐมนตรี

จ. ไม่มีข้อใดผิด

23. ระเบียบปฏิบตั ิราชการที่นายกรัฐมนตรี ได้ วางขึ ้น เพื่อการบริ หารราชการแผ่นดินเป็ นไปโดยรวดร็ วและมีป ระสิทธิภาพ
ตามระเบียบบริ หารราชการแผ่นดินกาหนดให้ มีผลใช้ บงั คับเมื่อใด

ก. ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ ว

ข. เมื่อคณะรัฐมนตรี ให้ ความเห็นชอบแล้ ว

ค. มีผลบังคับใช้ ทนั ทีที่นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ ารัฐบาลลงนามในคาสัง่

ง. มีผลบังคับตามที่ระบุไว้ ในระเบียบ

จ. มีผลบังคับใช้ ตามวันที่ระบุไว้ ในระเบียบ และได้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ ว


24. บุคคลตามข้ อใด เป็ นข้ าราชการเมือง

ก. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ข. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายบริ หาร

ค. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมือง ง. ข้ อ ก. และ ค. ถูก

จ. ข้ อ ก ข และ ค

25. สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้ าที่ในเรื่ องใด

ก. ราชการทางการเมือง ข. ราชการของรัฐสภา

ค. ราชการในพระองค์ ง. ข้ อ ข. และ ค. ถูก

จ. ถูกทุกข้ อ

26. บุคคลตามข้ อใดต่อไปนี ้อาจเป็ นข้ าราชการการเมืองหรื อข้ าราชการพลเรื อนสามัญก็ได้

ก. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี

ข. รองเลขาธิการคณะรัฐมนตรี

ค. ผู้ช่วยเลขาธิการคณะรัฐมนตรี

ง. ข้ อ ข. และ ค.

จ. ไม่มีข้อใดถูก

27. ข้ อใดมิใช่อานาจของปลัดสานักนายกรัฐมนตรี

ก. รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในสานักนายกรัฐมนตรี

ข. รับผิดชอบกาหนดแนวทางและแผนปฏิบตั ิราชการของสานักนายกรัฐมนตรี

ค. เป็ นผู้บงั คับบัญชาข้ าราชการสูงสุดของส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรี ยกเว้ นข้ าราชการของส่วนราชการ


ซึง่ หัวหน้ าส่วนราชการขึ ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี

ง. เป็ นผู้บงั คับบัญชาข้ าราชการในสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี

จ. ทุกข้ อเป็ นอานาจของปลัดสานักนายกรัฐมนตรี


28. ตาแหน่งใดระเบียบบริ หารราชการแผ่นดินมิได้ กาหนดไว้

ก. ผู้ช่วยเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ข. ผู้ช่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี

ค. ผู้ช่วยเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ง. ผู้ช่วยปลัดกระทรวง

จ. ข้ อ ข. และ ง.

29. ส่วนราชการใดต่อไปนี ้ ตามระเบียบบริ หารราชการแผ่นดินไม่มีฐานะเป็ นนิติบคุ คล

ก. สานักนายกรัฐมนตรี ข. สานักงานปลัดกระทรวง

ค. สานักงานเลขานุการรัฐมนตรี ง. ข้ อ ก. และ ข.

จ. ข้ อ ก. และ ค.

30. การจัดตังส
้ านักนโยบายและแผน เป็ นส่วนราชการภายในกระทรวง จะสามารถกระทาได้ โดยวิธีใด

ก. ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา ข. ออกเป็ นกฎกระทรวง

ค. ออกเป็ นพระราชกาหนด ง. ออกเป็ นระเบียบบริ หารราชการโดยอนุมตั ิคณะรัฐมนตรี

จ. โดยคาสัง่ รัฐมนตรี เจ้ าสังกัด

31. การจัดระเบียบราชการของกระทรวง ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน(ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 ตาแหน่งใด


ไม่ได้ ถกู กาหนดไว้

ก. ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรี ข. ผู้ช่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี

ค. ผู้ช่วยปลัดกระทรวง ง. หัวหน้ าสานักงานรัฐมนตรี

จ. ข้ อ ค. และ ง.

32. การกาหนดในส่วนราชการระดับกรมตังแต่
้ สองกรมขึ ้นไป อยู่ภายใต้ กลุ่มภารกิจเดียวกัน สามารถกระทาได้ โดย
อาศัยกฎหมายใด

ก. พระราชกฤษฎีกา ข. ระเบียบกระทรวง

ค. มติคณะรัฐมนตรี ง. เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้ วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม


จ. กฎกระทรวง

33. ในการกาหนดให้ ส่วนราชการระดับกรมตัง้ แต่สองกรมขึ ้นไปอยู่ในกลุ่มภารกิ จเดียวกันนัน้ หัวหน้ ากลุ่ม ภารกิ จ


รับผิดชอบราชการและบังคับบัญชาข้ าราชการ จะต้ องเป็ นผู้ดารงตาแหน่งใด

ก. รองปลัดกระทรวง ข. อธิบดี

ค. ผู้ช่วยปลัดกระทรวง ง. ข้ อ ก. และ ข.

จ. ถูกทุกข้ อ

34. การปฏิบตั ิราชการของ หัวหน้ ากลุม่ ภารกิจ ขึ ้นตรงต่อบุคคลใด

ก. รัฐมนตรี ข. ปลัดกระทรวง

ค. รองปลัดกระทรวง ง. รัฐมนตรี หรื อปลัดกระทรวงก็ได้ แล้ วแต่จะกาหนดไว้ ในกฎกระทรวง

จ. เฉพาะข้ อ ข. และ ค. เท่านัน้

35. บุคคลที่มีหน้ าที่ในการวางแผนและประสานกิจกรรมให้ มีการใช้ ทรัพยากรของส่วนราชการต่าง ๆ ใน กระทรวงร่วมกัน


เพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพ ตามมติและเป้าหมายของกระทรวง ได้ แก่

ก. รัฐมนตรี ข. ปลัดกระทรวง

ค. หัวหน้ ากลุม่ ภารกิจ ง. หัวหน้ าส่วนราชการระดับกรม

จ. ข้ อ ข. ค. และ ง.

36. ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 หากกระทรวงใดมิได้ จดั ให้ มีกลุม่ ภารกิจ และ
ปริ มาณงานมาก จะสามารถมีรองปลัดกระทรวงได้ กี่คน

ก. 1 คน ข. 2 คน

ค. 3 คน ง. 4 คน

จ. เป็ นไปตามที่คณะกรรมการข้ าราชการพลเรื อนและคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการร่วมกันอนุมตั ิ

37. กระทรวงใดมีการแบ่งกลุม่ ภารกิจ


ก. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ข. กระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์

ค. กระทรวงพลังงาน ง. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร

จ. ไม่มีข้อถูก

38. กระทรวงมหาดไทยมีกลุม่ ภารกิจ ดังนี ้ข้ อใดมิใช่

ก. ด้ านกิจการความมัน่ คงภายใน

ข. ด้ านพัฒนาเมืองและส่งเสริ มการปกครองท้ องถิ่น

ค. ด้ านพัฒนาชุมชนและและส่งเสริ มการปกครองท้ องถิ่น

ง. ด้ านสาธารณภัยและพัฒนาเมือง

จ. ข้ อ ข. และ ง

39. กลุม่ ภารกิจของกระทรวงมหาดไทยมีการบังคับบัญชาในลักษณะใด

ก. ทุกกลุม่ ภารกิจปฏิบตั ิราชการขึ ้นตรงต่อรัฐมนตรี

ข. ทุกกลุม่ ภารกิจปฏิบตั ิราชการขึ ้นตรงต่อปลัดกระทรวงแต่ให้ รายงานโดยตรงต่อรัฐมนตรี อีกต่อหนึง่ ด้ วย

ค. ทุกกลุ่มภารกิ จปฏิบัติร าชการขึน้ ตรงต่อ ปลัดกระทรวงเว้ นแต่ด้านกิ จการความมั่นคงภายในขึน้ ตรงต่อ


รัฐมนตรี

ง. ทุ ก กลุ่ม ภารกิ จ ปฏิ บัติ ร าชการขึ น้ ตรงต่ อ รั ฐ มนตรี เ ว้ นแต่ ด้ านกิ จ การความมั่น คงภายในขึ น้ ตรงต่ อ
ปลัดกระทรวง

จ. ผิดทุกข้ อ

40. ในการจัดระเบียบราชการของกระทรวง ส่วนราชการใดอาจมีหรื อไม่มีก็ได้

ก. สานักนายกรัฐมนตรี

ข. สานักงานปลัดกระทรวง

ค. กรม

ง. ข้ อ ก. และ ข.
จ. ต้ องมีหมดทังข้
้ อ ก. และ ค.

41. สานักงานรัฐมนตรี มีอานาจหน้ าที่เกี่ยวกับเรื่ องใด

ก. ราชการทางเมือง

ข. ราชการทัว่ ไปของกระทรวง

ค. ราชการที่มิได้ กาหนดให้ เป็ นหน้ าที่ของกรมหนึง่ กรมใดโดยเฉพาะ

ง. ข้ อ ก. และ ข.

จ. ข้ อ ก. และ ค.

42. ข้ อใดมิใช่อานาจหน้ าที่ของสานักงานปลัดกระทรวง

ก. ราชการทางเมือง

ข. ราชการทัว่ ไปของกระทรวง

ค. ราชการที่มิได้ กาหนดให้ เป็ นหน้ าที่ของกรมหนึง่ กรมใดโดยเฉพาะ

ง. เร่งรัดการปฏิบตั ิราชการของส่วนราชการในกระทรวง

จ. ก และ ง

43. ในการจัดระเบียบราชการในกรม โดยทัว่ ไปส่วนราชการใด จะต้ องถูกกาหนดไว้ เสมอ

ก. สานักงานเลขานุการกรม

ข. กอง

ค. ส่วนราชการที่มีฐานะเทียบกอง

ง. ข้ อ ก. และ ข.

จ. ถูกทุกข้ อ
44. กรณี ที่ มี ก ฎหมายอื่ น ก าหนดหน้ าที่ ข องอธิ บ ดี ไ ว้ เป็ นการเฉพาะ กา รใช้ อ านาจและการปฏิ บัติ ห น้ าที่ ต าม
กฎหมายดังกล่าว อธิบดีจะต้ องคานึงถึง...

ก. นโยบายที่คณะรัฐมนตรี ได้ แถลงไว้ ตอ่ รัฐสภา

ข. นโยบายที่คณะรัฐมนตรี กาหนดหรื ออนุมตั ิ

ค. นโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบตั ิของกระทรวง

ง. ก และ ค

จ. ข้ อ ก ข และ ค

45. กระทรวงใดมีเหตุพิเศษ ต้ องการแบ่งท้ องที่ออกเป็ นเขต และให้ มีหวั หน้ าส่วนราชการประจาเขต สามารถทาได้ โดย
อาศัยกฎหมายใด

ก. พระราชบัญญัติ

ข. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี

ค. พระราชกฤษฎีกา

ง. กฎกระทรวง

จ. มติคณะรัฐมนตรี

46. การที่กรมใด จะต้ องแบ่งท้ องที่ออกเป็ นเขตและให้ มีหวั หน้ าส่วนราชการประจาเขต มีวตั ถุประสงค์ในการแบ่งอย่างใด

ก. เพื่อปฏิบตั ิทางการเงิน

ข. เพื่อปฏิบตั ิงานวิชาการ

ค. เพื่อปฏิบตั ิงานตรวจสอบ

ง. เพื่อปฏิบตั ิงานการวิจยั

จ. ข้ อ ข. และ ค.

47. การแบ่งท้ องที่ออกเป็ นเขตเพื่อให้ มีหวั หน้ าส่วนราชการประจาเขตปฏิบตั ิงานทางวิชาการไม่บงั คับใช้ แก่สว่ นราชการ
ใดต่อไปนี ้
ก. กระทรวงต่างประเทศ

ข. สานักงานตารวจแห่งชาติ

ค. สานักงานอัยการสูงสุด

ง. ข้ อ ข. และ ค.

จ. ถูกทุกข้ อ

48. การที่กระทรวง ทบวง กรมใด จะกาหนดให้ มีผ้ ตู รวจราชการของกระทรวง ทบวง กรม ต้ องพิจารณาจากสิง่ ใด

ก. ลักษณะงานที่มีการตรวจสอบ

ข. สภาพและประมาณของงาน

ค. ภารกิจที่รับผิดชอบ

ง. ข้ อ ข. และ ค.

จ. ถูกทุกข้ อ

49. ตามกฎหมายว่าด้ วยระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน การมอบอานาจในการปฏิบตั ิราชการแทนนายกรัฐมนตรี ข้ อใด


ถูก (ยกเลิกแล้ ว)

ก. นายกรัฐมนตรี มอบอานาจให้ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทย

ข. นายกรัฐมนตรี มอบอานาจให้ ปลัดกระทรวง

ค. นายกรัฐมนตรี มอบอานาจให้ รัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี

ง. ข้ อ ก. และ ค. ถูก

จ. ถูกทุกข้ อ

50. ตามกฎหมายระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน การมอบอานาจในการปฏิบตั ิราชการแทนข้ อใดไม่ถกู ต้ อง (ความเดิม)


ก. ผู้วา่ ราชการจังหวัดมอบอานาจให้ สว่ นราชการประจาอาเภอ

ข. ผู้วา่ ราชการจังหวัดมอบอานาจให้ หวั หน้ าส่วนราชการประจากิ่งอาเภอ

ค. หัวหน้ าส่วนราชการประจาจังหวัดมอบอานาจให้ นายอาเภอ

ง. ข้ อ ข. และ ค. ไม่ถกู ต้ อง

จ. ข้ อ ก, ข และ ค. ไม่ถกู ต้ อง

51. ข้ อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับการมอบอานาจให้ ผ้ วู า่ ราชการจังหวัดได้ (ยกเลิกแล้ ว)

ก. นายกรัฐมนตรี

ข. รัฐมนตรี ที่มิใช่รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทย

ค. ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี

ง. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

จ. ก และ ค

52. ข้ อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับกสนมอบอานาจ(ยกเลิกแล้ ว)

ก. หัวหน้ าส่วนราชการจังหวัดมอบอานาจให้ นายอาเภอ

ข. นายอาเภออาจมอบอานาจให้ หวั หน้ าส่วนราชการประจาอาเภอ

ค. หัวหน้ าส่วนราชการจังหวัดมอบอานาจให้ หวั หน้ าส่วนราชการประจากิ่ งอาเภอ

ง. ผู้วา่ ราชการจังหวัดมอบอานาจให้ หวั หน้ าส่วนราชการประจากิ่งอาเภอ

จ. ข้ อ ก. และ ง.

53. ข้ อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับการมอบอานาจของผู้วา่ ราชการจังหวัด

ก. การมอบอานาจต้ องทาเป็ นหนังสือ

ข. ถ้ าอานาจที่ได้ รับมอบมาจากผู้อื่นผู้ว่าราชการจังหวัดจะมอบอานาจต่อมิ ได้ เว้ นแต่มอบอานาจให้ รองผู้ว่า


ราชการจังหวัด
ค. ผู้ว่าราชการจังหวัดเมื่อรับมอบอานาจมาแล้ วจะมอบอานาจให้ แก่หวั หน้ าส่วนราชการประจาจังหวัดต้ อง
ได้ รับความเห็นชอบจากผู้รับมอบอานาจชันต้ ้ นก่อน

ง. ผู้วา่ ราชการจังหวัดสามารถมอบอานาจให้ หวั หน้ าส่วนราชการประจาอาเภอได้

จ. ไม่มีข้อผิด

54. เมื่อรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทย มอบอานาจให้ ผ้ วู า่ ราชการจังหวัด ปฏิบตั ิราชการแทนแล้ ว หากผู้ว่าราชการ


จังหวัดมอบอานาจดังกล่าวให้ ปลัดจังหวัดปฏิบตั ิราชการแทน จะต้ องทาอย่างไร

ก. สามารถมอบอานาจได้ ทนั ที

ข. มอบอานาจแล้ วรายงานให้ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทยทราบ

ค. ไม่สามารถมอบได้ เพราะเป็ นอานาจเฉพาะตัว

ง. ขอความเห็นชอบจากรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทยก่อน เมื่อได้ รับความเห็นชอบแล้ วจึงสามารถทาการ


มอบอานาจได้

จ. ผิดทุกข้ อ

55. ข้ อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับการมอบอานาจตามพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน(ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550

ก. ผู้มีอานาจมอบอานาจให้ ผ้ ดู ารงตาแหน่งอื่นได้ เฉพาะในส่วนราชการเดียวกันเว้ นแต่มอบอานาจให้ ผ้ ูว่า


ราชการจังหวัด

ข. กาหนดหลักเกณฑ์มอบอานาจไว้ ในพระราชกฤษฎีกา

ค. อานาจในการออกใบอนุญาตที่กฎหมายกาหนดไว้ เป็ นการเฉพาะอาจมอบอานาจให้ เฉพาะราชการซึ่งเป็ น


ผู้ใต้ บงั คับบัญชาและผู้วา่ ราชการจังหวัดเท่านัน้

ง. วางหลักการสนับสนุนให้ มีการมอบอานาจกว้ างขวางขึ ้นเพื่อเน้ นการบริ การประชาชนให้ มีความสะดวกและ


รวดเร็ ว

จ. ผู้มอบอานาจพิจารณาถึงการอานวยความสะดวกแก่ประชาชน ความรวดเร็ วในการปฏิบัติราชการ การ


กระจายความรับผิดชอบตามสภาพตาแหน่ง
56. เมื่อมีการมอบอานาจในการปฏิบตั ิราชการแทนให้ แก่บคุ คลใดแล้ วผู้มอบอานาจนัน้ ยังคงหน้ าที่อย่างไร

ก. ยังคงมีอานาจอยูเ่ ช่นเดิมและแก้ ไขการปฏิบตั ิราชการของผู้รับมอบอานาจได้

ข. มีหน้ าที่กากับติดตามผลการปฏิบตั ิราชการของผู้รับมอบอานาจ

ค. มีอานาจแนะนาและแก้ ไขการปฏิบตั ิราชการของผู้รับมอบอานาจได้

ง. ข้ อ ข. และ ค. ถูก

จ. ก ข และ ค

57. การรักษาราชการแทนข้ อใดถูก

ก. กรณีที่นายกรัฐมนตรี ไม่อาจปฏิบตั ิราชการแทนได้ และไม่มีผ้ ดู ารงตาแหน่งรองนายกรัฐมนตรี ให้ รัฐมนตรี


ประจาสานักนายกรัฐมนตรี เป็ นผู้รักษาราชการแทน

ข. กรณีนายกรัฐมนตรี ไม่อาจปฏิบตั ิราชการได้ ให้ คณะรัฐมนตรี มอบอานาจให้ รัฐมนตรี คนใดคนหนึง่ เป็ นผู้รักษา
ราชการแทน

ค. กรณีที่นายกรัฐมนตรี ไม่อาจปฏิบตั ิราชการได้ และมีรองนายกรัฐมนตรี หลายคนให้ นายกรัฐมนตรี มอบหมาย


ให้ รองนายกรัฐมนตรี คนใดคนหนึง่ เป็ นผู้รักษาราชการแทน

ง. กรณีที่นายกรัฐมนตรี ไม่อาจปฏิบตั ิราชการได้ และมีรองนายกรัฐมนตรี หลายคนได้ ให้ คณะรัฐมนตรี มอบหมาย


ให้ รองนายกรัฐมนตรี คนใดคนหนึง่ เป็ นผู้รักษาราชการแทน

จ. กรณีที่ไม่มีผ้ ดู ารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี และมีนรองนายกรัฐมนตรี หลายคนได้ ให้ คณะรัฐมนตรี มอบหมายให้


รองนายกรัฐมนตรี คนใดคนหนึง่ เป็ นผู้รักษาราชการแทน

58. ในกรณีที่รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงไม่อาจปฏิบตั ิราชการแทนได้ ...........ข้ อใดกล่าวถูกต้ อง

ก. ให้ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงแต่งตังรั้ ฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงคนใดคนหนึง่ เป็ นผู้รักษาราชการแทน

ข. ถ้ าไม่มีรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงให้ ปลัดกระทรวงเป็ นผู้รักษาราชการแทน

ค. ถ้ ามีรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงหลายคนให้ นายกรัฐมนตรี มอบหมายให้ รัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงคนใดคน


หนึง่ เป็ นผู้รักษาราชการแทน

ง. ถ้ าไม่มีรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงให้ คณะรัฐมนตรี มอบหมายให้ รัฐมนตรี คนใดคนหนึง่ เป็ นผู้รักษาราชการแทน

จ. ข้ อ ค. และ ง.
59. กรณีที่ปลัดกระทรวงไม่อาจปฏิบตั ิราชการแทนได้ และไม่มีรองปลัดกระทรวงหรื อมีแต่ไม่อาจปฏิบตั ิราชการได้ ข้ อใด
กล่าวถูกต้ องเกี่ยวกับการรักษาราชการแทนปลัดกระทรวง

ก. ให้ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงแต่งตังอธิ


้ บดีหรื อผู้ดารงตาแหน่งเทียบเท่า เป็ นผู้รักษาราชการแทน

ข. ให้ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงแต่งตังข้


้ าราชการในกระทรวงซึ่งดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าผู้อานวยการกองหรื อ
เทียบเท่าเป็ นผู้รักษาราชการแทน

ค. ให้ ปลัดกระทรวงแต่งตังข้
้ าราชการในกระทรวงซึ่งดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าอธิ บดีหรื อเทียบเท่าเป็ นผู้รักษา
ราชการแทน

ง. ก และ ค แล้ วแต่กรณี

60. ในกรณีที่ไม่มีผ้ ดู ารงตาแหน่งเลขานุการรัฐมนตรี หรื อมีไม่อาจปฏิบตั ิราชการได้ ใครจะเป็ นผู้รักษาราชการแทน ข้ อใด


กล่าวถูกต้ อง

ก. ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรี ผ้ มู ีความอาวุโส

ข. ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรี ที่รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมอบหมาย

ค. หัวหน้ าสานักงานรัฐมนตรี กรณีที่ไม่มีผ้ ชู ่วยเลขานุการรัฐมนตรี

ง. ถ้ าไม่มีผ้ ชู ่วยเลขานุการรัฐมนตรี ให้ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงแต่งตังข้


้ าราชการการเมืองคนหนึ่งเป็ นผู้รักษา
ราชการแทน

จ. ข้ อ ข. และ ง.

61. ในกรณีที่ไม่มีผ้ ดู ารงตาแหน่งรองปลัดกระทรวง หรื อมี แต่ไม่อาจปฏิบตั ิราชการได้ ใครจะเป็ นผู้รักษาราชการ แทน
ข้ อใดกล่าวถูกต้ อง

ก. พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดินมิได้ บญ
ั ญัติกรณีดงั กล่าวนี ้ไว้

ข. ปลัดกระทรวงจะแต่งตังข้
้ าราชการในกระทรวงซึ่งดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าอธิ บดีหรื อเทียบเท่าเป็ นผู้รักษา
ราชการแทน
ค. ปลัดกระทรวงแต่งตังข้
้ าราชการในกระทรวงซึ่งดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าผู้นวยการกองหรื อเทียบเท่าเป็ น
ผู้รักษาราชการแทน

ง. รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงจะแต่งตังข้
้ าราชการในกระทรวงซึง่ ดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าอธิบดีหรื อเทียบเท่าเป็ น
ผู้รักษาราชการแทน

จ. รั ฐมนตรี ว่าการกระทรวงจะแต่งตัง้ ข้ าราชการในกระทรวงซึ่งดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าผู้นวยการกองหรื อ


เทียบเท่าเป็ นผู้รักษาราชการแทน

62. ข้ อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับการรักษาราชการแทน อธิบดี

ก. กรณีที่มีรองอธิบดีหลายคนให้ ปลัดกระทรวงแต่งตังรองอธิ
้ บดีคนใดคนหนึง่ เป็ นผู้รักษาราชการแทน

ข. ถ้ าไม่มีผ้ ดู ารงตาแหน่งรองอธิ บดีหรื อมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ ปลัดกระทรวงแต่งตังข้ ้ าราชการใน


กระทรวงซึง่ ดารงตาแหน่งเทียบเท่ารองอธิบดีหรื อข้ าราชการตังแต่
้ หวั หน้ ากองหรื อเทียบเท่าขึ ้นไปเป็ นผู้รักษาการแทน

ค. ถ้ ารัฐมนตรี ว่าการกระทรวงเห็นสมควรเพื่อความเหมาะสมแก่ การรับผิดชอบการปฏิบตั ิราชการในกรมนัน้


รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงจะแต่งตังข้้ าราชการคนใดคนหนึง่ ซึ่งดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่ารองอธิบดีหรื อเทียบเท่าเป็ นผู้รักษา
ราชการแทน

ง. ข้ อ ก. และ ข.

จ. ข้ อ ข. และ ค. ผิด

63. การรักษาราชการแทนตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ไม่ใช้ บงั คับแก่สว่ นราชการใด

ก. กระทรวงศึกษาธิการ

ข. กระทรวงการคลัง

ค. สานักงานตารวจแห่งชาติ

ง. กระทรวงกลาโหม

จ. ค และ ง

64. กรณีเลขานุการกรมการปกครอง ไม่สามารถปฏิบตั ิราชการได้ หากต้ องการที่จะแต่งตังผู


้ ้ รักษาราชการแทนเลขานุการ
ปกครองจะต้ องทาอย่างไร

ก. เลขานุการกรมการปกครองออกคาสัง่ แต่งตังหั
้ วหน้ าฝ่ ายคนใดคนหนึง่ เป็ นผู้รักษาราชการแทน
ข. อธิบดีออกคาสัง่ แต่งตังหั
้ วหน้ าฝ่ ายคนใดคนหนึง่ เป็ นผู้รักษาราชการแทน

ค. อธิบดีออกคาสัง่ แต่งตังข้
้ าราชการในกรมคนใดคนหนึ่งซึ่งดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าหัวหน้ ากองหรื อเทียบเท่า
เป็ นผู้รักษาราชการแทน

ง. ข้ อ ข. และ ค. ถูก

จ. ผิดทุกข้ อ

65. ข้ อใดกล่าวเกี่ยวกับเรื่ องการรักษาราชการแทนถูกต้ อง

ก. ผู้รักษาราชการแทนมีอานาจหน้ าที่เช่นเดียวกับผู้ซงึ่ ตนแทน

ข. กรณีที่ผ้ ดู ารงตาแหน่งใดมอบอานาจให้ ผ้ ดู ารงตาแหน่งอื่นปฏิบตั ิราชการแทน ให้ ผ้ ทู ี่ปฏิบตั ิราชการแทนมี


หน้ าที่เช่นเดียวกับผู้ซงึ่ มอบอานาจ

ค. กรณีที่มีกฎหมายอื่นแต่งตังให้
้ ผ้ ดู ารงตาแหน่งเป็ นกรรมการหรื อให้ มีอานาจหน้ าที่อย่างใด ผู้รักษาราชการ
แทนย่อมมีอานาจหน้ าที่เป็ นกรรมการหรื อมีอานาจหน้ าที่เช่นเดียวกับผู้ดารงตาแหน่งนัน้

ง. เฉพาะข้ อ ก. และ ข. ถูก

จ. ข้ อ ก. ถึง ค. ถูก

66. "หัวหน้ าคณะผู้แทน" ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) 2545
โดยทัว่ ไปเป็ นข้ าราชการสังกัดส่วนราชการใด

ก. สานักนายกรัฐมนตรี

ข. กระทรวงการต่างประเทศ

ค. กระทรวงกลาโหม

ง. กระทรวงใดก็ได้ ที่ได้ รับแต่งตังจากนายกรั


้ ฐมนตรี

จ. กระทรวงพาณิชย์
67. กรณี ที่ปลัดกระทรวงมหาดไทย จะมอบอานาจเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งให้ หัวหน้ าคณะผู้แทนในการบริ หารราชการใน
ต่างประเทศ ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 จะต้ อง
ทาอย่างไร

ก. ทาหนังสือให้ คณะรัฐมนตรี ทราบ

ข. แจ้ งเรื่ องมอบอานาจให้ หวั หน้ าคณะผู้แทนทราบโดยตรง

ค. ขออนุมตั ิรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทยก่อนที่จะทาการมอบอานาจ

ง. แจ้ งเรื่ องการมอบอานาจดังกล่าวผ่านกระทรวงต่างประเทศ

จ. ไม่มีข้อใดถูก

68. การจัดระเบียบบริ หารราชการส่วนภูมิภาค เป็ นไปตามข้ อใด

ก. จังหวัด อาเภอ

ข. ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้ องถิ่น

ค. จังหวัด อาเภอ ตาบล หมูบ่ ้ าน

ง. จังหวัด อาเภอ กิ่งอาเภอ

จ. ไม่มีข้อใดถูก

69. จังหวัดสุรินทร์ มีพื ้นที่ 10,000 ตารางเมตร หากต้ องการจะแบ่งเขตพื ้นที่ ของบางอาเภอจานวน 1,000 ตารางเมตร
ให้ เป็ นของจังหวัดบุรีรัมย์ จะต้ องทาอย่างไร

ก. ทาเป็ นคาสัง่ ของกระทรวงมหาดไทย

ข. ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา

ค. ตราเป็ นพระราชกาหนด

ง. ตราเป็ นพระราชบัญญัติ

จ. ออกเป็ นกฎกระทรวง
70. หน่วยงานใดสามารถยื่นคาขอจัดตังงบประมาณได้
้ ตามกฎหมายว่าด้ วยวิธีการและงบประมาณ

ก. จังหวัด

ข. กลุม่ จังหวัด

ค. อาเภอ

ง. ก และ ข

จ. ถูกทุกข้ อ

71. ในการบริ หารราชการแผ่นดินของจังหวัดใด ใครมีหน้ าที่เป็ นที่ปรึกษาของผู้วา่ ราชการจังหวัด

ก. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในจังหวัด

ข. สภาจังหวัด

ค. คณะกรรมการจังหวัด

ง. คณะกรรมการธรรมภิบาลจังหวัด

จ. ค และ ง

72. ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2550 กาหนดให้ จงั หวัดมีอานาจกี่ข้อ

ก. 6 ข้ อ

ข. 7 ข้ อ

ค. 8 ข้ อ

ง. 9 ข้ อ

จ. 5 ข้ อ

73. ข้ อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับคณะกรรมการจังหวัด

ก. หัวหน้ าส่วนราชการประจาจังหวัดจากกระทรวงต่างๆ กระทรวงละหนึง่ คนเป็ นกรมการจังหวัด


ข. ถ้ ากระทรวงใดมีหัวหน้ าส่วนราชการประจาจังหวัดมากกว่าหนึ่งคนให้ ผ้ ูว่าราชการจังหวัดมอบหมายให้
หัวหน้ าส่วนราชการจังหวัดคนหนึง่ เป็ นผู้แทนในคณะกรรมการจังหวัด

ค. ผู้ว่าราชการจังหวัดเห็นสมควรจะแต่งตังให้
้ หวั หน้ าส่วนราชการประจาจังหวัดซึ่งปฏิบตั ิหน้ าที่ในราชการส่วน
ภูมิภาคคนหนึง่ หรื อหลายคนเป็ นกรมการจังหวัดเพิ่มขึ ้นเฉพาะการปฏิบตั ิหน้ าที่ด้านใดด้ านหนึง่ ก็ได้

ง. มีหน้ าที่ให้ ความเห็นชอบแผนพัฒนาจังหวัด

จ. ข และ ง กล่าวผิด

74. ข้ อใดเป็ นอานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการจังหวัด

ก. ให้ ความเห็นชอบในการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด

ข. ทาหน้ าที่เป็ นที่ปรึกษาของผู้วา่ ราชการจังหวัด

ค. ปฏิบตั ิหน้ าที่อื่นตามที่กฎหมายหรื อมติของคณะรัฐมนตรี กาหนด

ง. ถูกเฉพาะข้ อ ข. และ ค.

จ. ก ข และ ค

--------------------------------------------------
เฉลยพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ ไขเพิ่มเติม

1. จ. 30. ง 59. ก

2. ง. 31. จ 60. ข

3. ง 32. จ 61. ค

4. ค 33. ง 62. ข

5. จ 34. ง 63. ง

6. ก 35. จ 64. ค

7. ก 36. ข 65. จ

8. ข 37. จ 66. ข

9. จ 38. ข 67. ง

10. ข 39. ก 68. ก

11. ข 40. ค 69. ง

12. ง 41. ก 70. ง

13. จ 42. ก 71. ค

14. จ 43. ก 72. จ

15. ก 44. จ 73. จ

16. ง 45. ค 74. ข

17. ง 46. ข

18. ค 47. ค

19. จ 48. ข

20. ค 49. ค

21. ค 50. ง

22. ค 51. ก

23. ข 52. ก
24. ง 53. จ

25. ง 54. ง

26. จ 55. ก

27. ค 56. ง

28. ง 57. ง

29. ก 58. ง

แนวข้ อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 แก้ ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2
(พ.ศ. 2562)

ข้ อ 1. ส่วนราชการต่างๆ จะต้ องจัดทาบัญชีต้นทุนในงานบริ การสาธารณะ เพื่อให้ บรรลุวตั ถุประสงค์การบริ หารกิจการ


บ้ านเมืองที่ดีในเรื่ องใด

ก. เพื่อให้ เกิดผลสัมฤทธิ์ตอ่ ภารกิจของรัฐ

ข. เพื่อให้ มีประสิทธิภาพและเกิดความค้ ุุมค่าในเชิงภารกิจของรัฐ

ค. เพื่อลดขันตอนการปฏิ
้ บตั ิงาน

ง. เพื่อปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ

ข้ อ 2. แผนปฏิบตั ิราชการของส่วนราชการมีระยะเวลากี่ปีตามกฎหมายใหม่

ก. 1 ปี

ข. 3 ปี

ค. 5 ปี

ง. 7 ปี
ข้ อ 3. แผนปฏิบตั ิราชการตามข้ อ 2. มีห้วงระยะเวลาตามข้ อใด

ก. ปี งบประมาณ พ.ศ. 2562

ข. ปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 ถึงปี งบประมาณ พ.ศ. 2565

ค. ปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 ถึงปี งบประมาณ พ.ศ. 2567

ง. ปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 ถึงปี งบประมาณ พ.ศ. 2569

ข้ อ 4. การปฏิบตั ิราชการที่มีเป้าหมายเพื่อให้ เกิดความผาสุกและความเป็ นอยู่ที่ดีของประชาชน ความสงบและปลอดภัย


ของสังคมส่วนรวม ตลอดจนประโยชน์สงู สุดของประเทศ เป็ นความหมายตามข้ อใด

ก. ประชาชนได้ รับการอานวยความสะดวกและได้ รับตอบสนองความต้ องการ

ข. ประชาชนเป็ นศูนย์กลาง

ค. การบริ หารราชการเพื่อประโยชน์สขุ ของประชาชน

ง. การบริ หารราชการแบบบูรณาการ

ข้ อ 5. พระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 มีผลใช้ บงั คับ
ตังแต่
้ เมื่อใด

ก. วันที่ 1 พฤษภาคม 2562

ข. วันที่ 1 มิถนุ ายน 2562

ค. วันที่ 1 กรกฎาคม 2562

ง. วันที่ 1 สิงหาคม 2562

ข้ อ 6. ส่วนราชการจะต้ องเสนอแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี ให้ บคุ คลใดให้ ความเห็นชอบ

ก. ปลัดกระทรวง

ข. รัฐมนตรี

ค. สานักงบประมาณ
ง. คณะรัฐมนตรี

ข้ อ 7. กรณีตามข้ อใดซึง่ สานักงบประมาณมีอานาจพิจารณาไม่จดั สรรงบประมาณให้ แก่สว่ นราชการ

ก. ส่วนราชการมิได้ จดั ทาแผนปฏิบตั ิราชการ

ข. ส่วนราชการมิได้ เสนอแผนปฏิบตั ิราชการ

ค. รัฐมนตรี ไม่เห็นชอบกับภารกิจที่สว่ นราชการเสนอ

ง. ถูกทุกข้ อ

ข้ อ 8. รายงานแสดงผลสัมฤทธิ์ของแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี จะต้ องเสนอต่อบุคคลใด

ก. รัฐมนตรี

ข. คณะรัฐมนตรี

ค. ก.พ.ร.

ง. นายกรัฐมนตรี

ข้ อ 9. กรณีนายกรัฐมนตรี คนใหม่สงั่ การให้ ส่วนราชการสรุ ปผลการปฏิบตั ิราชการและให้ ข้อมูลต่อนายกรัฐมนตรี นนั ้ มี


วัตถุประสงค์ตามข้ อใด

ก. ตรวจสอบ

ข. ถ่วงดุล

ค. กากับดูแล

ง. กาหนดนโยบาย

ข้ อ 10. บุคคลใดรักษาการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546

ก. นายกรัฐมนตรี

ข. รัฐมนตรี

ค. เลขาธิการ ก.พ.ร.
ง. ผู้อานวยการสานักงบประมาณ

ข้ อ 11. ข้ อใดถูกต้ องเกี่ยวกับการสัง่ ราชการ

ก. โดยปกติทาเป็ นคาสัง่

ข. โดยปกติสงั่ ราชการด้ วยวาจา

ค. โดยปกติทาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร

ง. โดยปกติสงั่ ด้ วยวาจาหรื อลายลักษณ์อกั ษรก็ได้

ข้ อ 12. ข้ อใดไม่ถกู ต้ องเกี่ยวกับความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ

ก. การประเมินความคุ้มค่าให้ คานึงถึงประโยชน์ที่ประชาชนจะพึงได้ รับ

ข. ประโยชน์ทางสังคมซึง่ ไม่อาจคานวณเป็ นตัวเงินได้ ยอ่ มมิใช่ความคุ้มค่า

ค. ในการจัดซื ้อจัดจ้ างส่วนราชการไม่ต้องถือราคาต่าสุดเสมอไป

ง. กรณีที่สว่ นราชการไม่ต้องถือราคาต่าสุดในการจัดซื ้อจัดจ้ างโดยต้ องคานึงถึงวัตถุประสงค์การใช้ งานเป็ นสาคัญ

ข้ อ 13. กรณีสว่ นราชการจะปฏิบตั ิภารกิจใดจะต้ องได้ รับอนุญาตจากส่วนราชการอื่นตามกฎหมายนัน้ ส่วนราชการที่มี


อานาจอนุญาตจะต้ องแจ้ งผลการพิจารณาภายในกี่วนั

ก. 7 วัน

ข. 15 วัน

ค. 30 วัน

ง. 60 วัน

ข้ อ 14. จากคาถามในข้ อ 13 กรณีเรื่ องใดกฎหมายกาหนดขันตอนการปฏิ


้ บตั ิซึ่งจะต้ องใช้ ระยะเวลาเกินกว่านัน้ จะต้ อง
ดาเนินการอย่างไร

ก. ส่วนราชการที่มีอานาจอนุญาต จะต้ องประกาศกาหนดระยะเวลาการพิจารณา

ข. ส่วนราชการที่มีอานาจอนุญาต จะต้ องลดเวลาการพิจารณาลง


ค. ไม่ต้องประกาศกาหนดหรื อลดเวลาการพิจารณาแต่อย่างใด เพราะระยะเวลาจะต้ องยึดตามกฎหมายเป็ นหลัก

ง. ไม่มีข้อใดถูกต้ อง

ข้ อ 15. จากข้ อ 13 และข้ อ 14 กรณีสว่ นราชการที่มีอานาจอนุญาต ไม่ได้ ดาเนินการให้ เสร็ จจนเกิดความเสียหายขึ ้น บท


สันนิษฐานของกฎหมายคือข้ อใด

ก. ให้ ถือว่าข้ าราชการที่เกี่ยวข้ องประมาทเลินเล่อ

ข. ให้ ถือว่าหัวหน้ าส่วนราชการประมาทเลินเล่ออย่างร้ ายแรง

ค. ให้ ถือว่าหัวหน้ าส่วนราชการประมาทเลินเล่อ

ง. ข้ อ ก. และ ค. ถูกต้ อง

ข้ อ 16. การดาเนินการโดยถือว่าประชาชนเป็ นศูนย์กลางที่จะได้ รับการบริ การจากรัฐ เป็ นเป้าหมายการบริ หารกิจการ


บ้ านเมืองที่ดีด้านใด

ก. ประชาชนได้ รับการอานวยความสะดวก

ข. ประชาชนได้ รับการตอบสนองความต้ องการ

ค. ทังข้
้ อ ก. และ ข.

ง. เกิดประโยชน์สขุ ของประชาชน

ข้ อ 17. พระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มีผลใช้ บงั คับตังแต่
้ เมื่อใด

ก. วันที่ 9 ตุลาคม 2546

ข. วันที่ 10 ตุลาคม 2546

ค. วันที่ 9 ตุลาคม 2547

ง. วันที่ 10 ตุลาคม 2547

ข้ อ 18. หน่วยงานใด ถือเป็ นส่วนราชการตามพระราชกฤษฎีกานี ้

ก. หน่วยงานในกากับของกระทรวง
ข. รัฐวิสาหกิจที่จดั ตังตามพระราชบั
้ ญญัติ

ค. รัฐวิสาหกิจที่จดั ตังตามพระราชกฤษฎี
้ กา

ง. องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น

ข้ อ 19. "การกาหนดเป้าหมาย แผนการทางาน ระยะเวลาแล้ ว เสร็ จ งบประมาณ และเผยแพร่ ให้ ทราบทัว่ กัน" ถือเป็ น
หลักเกณฑ์การบริ หารราชการเกี่ยวกับเรื่ องใด

ก. ประโยชน์สดุ

ข. อานวยความสะดวก

ค. ผลสัมฤทธิ์

ง. ประสิทธิภาพ

ข้ อ 20. ผู้ใดมีหน้ าที่จดั ให้ มีศนู ย์บริ การร่วมในกระทรวง

ก. ปลัดกระทรวง

ข. หัวหน้ ากลุม่ ภารกิจ

ค. ผู้ตรวจราชการกระทรวง

ง. ผู้ตรวจราชการกรม

ข้ อ 21. การกระจายอานาจการตัดสินใจเกี่ยวกับการอนุญาต อนุมตั ิ การปฏิบตั ิราชการ จัดอยูใ่ นเป้าหมายใด

ก. ประโยชน์สขุ ของประชาชน

ข. ไม่มีขนตอนการปฏิ
ั้ บตั ิงานเกินความจาเป็ น

ค. ประชาชนได้ รับการตอบสนองความต้ องการ

ง. มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ ทนั ต่อสถานการณ์

ข้ อ 22. การกระจายอานาจการตัดสินใจตามข้ อ 21 มิได้ มงุ่ ผลในด้ านใด

ก. สะดวก
ข. รวดเร็ ว

ค. คุ้มค่า

ง. ไม่มีข้อถูก

ข้ อ 23. การยกเลิก ปรับปรุง หรื อเปลีย่ นแปลงภารกิจเป็ นอานาจของบุคคลใดให้ ความเห็นชอบ

ก. ก.พ.ร.

ข. รมต.

ค. ครม.

ง. กพ.

ข้ อ 24. เหตุผลและความจาเป็ นในข้ อใดที่ใช้ ประกอบการจัดตังส่


้ วนราชการที่มีภารกิจลักษณะเดียวกันกับส่วนราชการที่มี
การยุบ เลิก โอน หรื อรวมส่วนราชการไปแล้ วขึ ้นใหม่

ก. รักษาความมัน่ คงของรัฐ

ข. รักษาความมัน่ คงของเศรษฐกิจ

ค. รักษาผลประโยชน์สว่ นรวมของประชาชน

ง. ถูกทุกข้ อ

ข้ อ25. จากข้ อ 24 จะต้ องได้ รับความเห็นชอบจากบุคคลใด

ก. ก.พ.ร.

ข. สานักงบประมาณ

ค. รัฐมนตรี

ง. คณะรัฐมนตรี

ข้ อ 26. บทบัญญัติตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลัก เกณฑ์ และวิ ธีการบริ หารกิ จการบ้ า นเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 แบ่ง
ออกเป็ นกี่หมวด
ก. 7 หมวด

ข. 8 หมวด

ค. 9 หมวด

ง. 10 หมวด

ข้ อ 27. ข้ อใดถูกต้ องเกี่ยวกับศูนย์บริ การร่วม

ก. การยื่นคาร้ องต่อศูนย์บริ การร่วม ถือว่าเป็ นการยื่นต่อส่วนราชการที่เกี่ยวข้ องตามกฎหมายแล้ ว

ข. ให้ ประชาชนติดต่อเจ้ าหน้ าที่เพียงแห่งเดียว

ค. มีเจ้ าหน้ าที่รับเรื่ องราวและส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องดาเนินการต่อไป

ง. ถูกทุกข้ อ

ข้ อ 28. กรณี ส่วนราชการที่ได้ รั บการเสนอแนะให้ ด าเนินการแก้ ไข ปรั บปรุ ง หรื อยกเลิก กฎหมาย ไม่เ ห็นด้ วยกับค า
เสนอแนะ จะต้ องเสนอเรื่ องให้ บคุ คลใดพิจารณาวินิจฉัย

ก. คณะกรรมการพัฒนากฎหมาย

ข. คณะกรรมการกฤษฎีกา

ค. คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย

ง. คณะรัฐมนตรี

ข้ อ 29. กรณีสว่ นราชการมิได้ กาหนดระยะเวลาแล้ วเสร็ จของงานใดไว้ หรื อกาหนดไว้ แต่เป็ นระยะเวลาที่ลา่ ช้ าเกินสมควร
กฎหมายให้ อานาจบุคคลสามารถกาหนดเวลาแล้ วเสร็ จให้ สว่ นราชการนันปฏิ้ บตั ิได้

ก. กพ.

ข. กพค.

ค. ก.พ.ร.

ง. ครม.
ข้ อ 30. ส่วนราชการมีหน้ าที่ตอบคาถามหรื อแจ้ งการดาเนินการตามที่ได้ รับการติดต่อสอบถามเป็ นหนังสือจากประชาชน
ภายในกี่วนั

ก. 7 วัน

ข. 15 วัน

ค. 30 วัน

ง. 60 วัน

ข้ อ 31. ข้ อยกเว้ นในข้ อใด ถือเป็ นการปฏิบตั ิราชการ

ก. คุ้มครองสิทธิสว่ นบุคคล

ข. รักษาความสงบเรี ยบร้ อยของประชาชน

ค. รักษาความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ

ง. ถูกทุกข้ อ

ข้ อ 32. ปั จจัยใดอาจทาให้ สว่ นราชการได้ รับการจัดสรรเงินเพิ่มพิเศษเป็ นบาเหน็จความชอบ

ก. ให้ บริ การที่มีคณ


ุ ภาพ

ข. สร้ างความเป็ นธรรมแก่ประชาชน

ค. บูรณาการการทางาน

ง. ประหยัดรายจ่ายได้ สงู สุด

ข้ อ 33. องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นต้ องจัดทาหลักเกณฑ์การบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดีตามแนวทางพระราชกฤษฎีกานี ้


ในเรื่ องใด

ก. การลดขันตอนการปฏิ
้ บตั ิงาน

ข. เกิดผลสัมฤทธิ์ตอ่ ภารกิจของรัฐ

ค. เกิดประโยชน์สขุ ของประชาชน

ง. เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
ข้ อ 34. จากข้ อ 33 บุคคลใดมีหน้ าที่ดแู ลให้ ความช่วยเหลือในการจัดทาหลักเกณฑ์ดงั กล่าว

ก. กรมส่งเสริ มการปกครองท้ องถิ่น

ข. กระทรวงมหาดไทย

ค. ก.พ.ร. ง. ครม.

ข้ อ 35. แพลตฟอร์ มดิจิทลั กลางเพื่อบริ การประชาชนขับเคลือ่ นโดยองค์กรใด

ก. สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)

ข. สานักงานส่งเสริ มเศรษฐกิจดิจิทลั

ค. สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทลั (องค์การมหาชน)

ง. สานักงานคณะกรรมการดิจิทลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

เฉลย

ข้ อ 1 ตอบ ข. การจัดทาบัญชีต้นทุนในงานบริ การสาธารณะ กาหนดไว้ ในมาตรา 21 หมวด 4 การบริ หารราชการอย่างมี


ประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ

ข้ อ 2 ตอบ ข. พระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 มาตรา


9 ก าหนดว่ า ในวาระเริ่ ม แรก การจัด ท าแผนปฏิ บัติ ร าชการของส่ว นราชการ 5 ปี ให้ จัด ท าเป็ นแผน 3 ปี โดยมี ห้ ว ง
ระยะเวลาตังแต่
้ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ถึงปี งบประมาณ พ.ศ. 2565

ข้ อ 3. ตอบ ข. พระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 มาตรา


9 ก าหนดว่ า ในวาระเริ่ ม แรก การจัด ท าแผนปฏิ บัติ ร าชการของส่ว นราชการ 5 ปี ให้ จัด ท าเป็ นแผน 3 ปี โดยมี ห้ ว ง
ระยะเวลาตังแต่
้ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ถึงปี งบประมาณ พ.ศ. 2565

ข้ อ 4. ตอบ ค. ดูมาตรา 7

ข้ อ 5. ตอบ ก. พระราชกฤษฎีก าว่าด้ ว ยหลักเกณฑ์ และวิ ธีการบริ หารกิ จการบ้ านเมือ งที่ดี (ฉบับ ที่ 2) พ.ศ. 2562
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 136/ตอนที่ 56 ก/หน้ า 253/30 เมษายน 2562 โดยมาตรา 2 กาหนดให้ ใช้ บงั คับ
ตังแต่
้ วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้ นไป

ข้ อ 6. ตอบ ข. รัฐมนตรี ตามมาตรา 16 วรรคสอง


ข้ อ 7. ตอบ ง. ถูกทุกข้ อ ตามมาตรา 16 วรรคสาม

ข้ อ 8. ตอบ ข. คณะรัฐมนตรี ตามมาตรา 16 วรรคท้ าย

ข้ อ 9. ตอบ ง. มาตรา 19 เพื่อนายกรัฐมนตรี คนใหม่จะได้ ใช้ เป็ นข้ อมูลในการพิจารณากาหนดนโยบายการบริ หาร


ราชการแผ่นดินต่อไป

ข้ อ 10. ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี ตามมาตรา 5

ข้ อ 11. ตอบ ค. โดยปกติทาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ตามมาตรา 26

ข้ อ 12. ตอบ ข. ความคุ้มค่า รวมถึงกรณีที่ไม่อาจคานวณเป็ นตัวเงินได้ ด้วย ตามมาตรา 22 วรรคท้ าย

ข้ อ 13. ตอบ ข. 15 วัน ตามมาตรา 24 วรรคหนึง่

ข้ อ 14. ตอบ ก. ต้ องประกาศกาหนดระยะเวลาการพิจารณาไว้ ให้ สว่ นราชการอื่นทราบ ตามมาตรา 24 วรรคสอง

ข้ อ 15. ตอบ ข. ให้ ถือว่า หัวหน้ าส่วนราชการประมาทเลินเล่ออย่างร้ ายแรง ตามมาตรา 24 วรรคท้ าย

ข้ อ 16. ตอบ ง. การบริ หารราชการเพื่อประโยชน์สขุ ของประชาชน ตามมาตรา 8 วรรคหนึง่

ข้ อ 17. ตอบ ข. วันที่ 10 ตุลาคม 2546 ตามมาตรา 2

ข้ อ 18. ตอบ ก. ตามมาตรา 4 "ส่วนราชการ"

ข้ อ 19. ตอบ ง. การบริ หารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ ตามมาตรา 20

ข้ อ 20. ตอบ ก. ปลัดกระทรวง ตามมาตรา 30

ข้ อ 21. ตอบ ข. ตามมาตรา 27

ข้ อ 22. ตอบ ค. ตามมาตรา 27 วรรคหนึง่

ข้ อ 23. ตอบ ค. ครม. ตามมาตรา 33 วรรคสาม

ข้ อ 24. ตอบ ง. ตามมาตรา 34

ข้ อ 25. ตอบ ก. ก.พ.ร. ตามมาตรา 34

ข้ อ 26. ตอบ ค. 9 หมวด

ข้ อ 27. ตอบ ง. ตามมาตรา 30 และมาตรา 31

ข้ อ 28. ตอบ ง. คณะรัฐมนตรี ตามมาตรา 36 วรรคท้ าย

ข้ อ 29. ตอบ ค. ก.พ.ร. ตามมาตรา 37 วรรคหนึง่


ข้ อ 30. ตอบ ข. 15 วัน ตามมาตรา 38

ข้ อ 31. ตอบ ง. ถูกทุกข้ อ ตามมาตรา 43

ข้ อ 32. ตอบ ก. ให้ บริ การที่มีคณ


ุ ภาพ ตามมาตรา 48

ข้ อ 33. ตอบ ก. ลดขันตอนการปฏิ


้ บตั ิงาน ตามมาตรา 52 วรรคหนึง่

ข้ อ 34. ตอบ ข. กระทรวงมหาดไทย ตามมาตรา 52 วรรคท้ าย

ข้ อ 35. ตอบ ค. สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทลั (องค์การมหาชน) ตามมาตรา 29 วรรคท้ าย ประกอบกับมาตรา 10 แห่ง


พระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2562)

1. พระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มีกี่หมวด กี่มาตรา

1. 9 หมวด 53 มาตรา 2. 8 หมวด 52 มาตรา

3. 9 หมวด 54 มาตรา 4. 8 หมวด 54 มาตรา

2. พระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ให้ ไว้ ณ วันที่เท่าใด

1. 9 มกราคม 2546 2. 9 ตุลาคม 2546

3. 9 กุมภาพันธ์ 2546 4. 9 พฤศจิกายน 2546

3. พระราชกฤษฎีกาว่าด้ วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 นี ้ใช้ บงั คับตังแต่


1. วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

2. ก่อนวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

3. วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

4. ไม่มีข้อใดถูก

4. การปฏิบตั ิตามพระราชกฤษฎีกานี ้ จะปฏิบตั ิเมื่อใด และต้ องมีเงื่อนไขอย่างใด ให้ เป็ นไปตามที่ผ้ ใู ดกาหนด
1. เลขาธิการรัฐมนตรี กาหนด 2. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี กาหนด

3. นายกรัฐมนตรี กาหนด 4. คณะรัฐมนตรี กาหนด

5. การปฏิบตั ิตามพระราชกฤษฎีกานี ้จะปฏิบตั ิเมื่อใด และต้ องมีเงื่อนไขอย่างใด ให้ เป็ นไปตามที่ผ้ ใู ดเสนอ

1. ก.พ.ร. 2. ครม. 3. กกต. 4. พ.ต.ท.

6. ตามพระราชกฤษฎีกานี ้ คาว่า “ส่วนราชการ” หมายถึง

1. ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้ วยการปรับปรุ ง กระทรวง ทบวง กรม

2. หน่วยงานอื่นของรัฐที่อยูใ่ นกากับของส่วนราชการฝ่ ายบริ หาร

3. ถูกทังข้
้ อ 1. และ 2.

4. ไม่มีข้อใดถูก

7. ตามพระราชกฤษฎีนี ้ คาว่า “ส่วนราชการ” ไม่รวมถึง

1. องค์การบริ หารส่วนจังหวัด 2. การปกครองส่วนภูมิภาค

3. การปกครองส่วนกลาง 4. องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น

8. ตามพระราชกฤษฎีกานี ้ คาว่า “รัฐวิสาหกิจ” หมายความว่า อย่างไร

1. รัฐวิสาหกิจที่จด
ั ตังขึ
้ ้นโดยพระราชบัญญัติ

2. รัฐวิสาหกิจที่จด
ั ตังขึ
้ ้นโดยพระราชกฤษฎีกา

3. รัฐวิสาหกิจที่จด
ั ตังขึ
้ ้นโดยกฎกระทรวง

4. ถูกหมดทัง้ 1. และ 2.

9. ตามพระราชกฤษฎีกานี ้ คาว่า “ข้ าราชการ” ตามพระราชกฤษฎีกานี ้หมายความรวมถึงใครบ้ าง

1. พนักงาน 2. ลูกจ้ าง
3. ผู้ปฏิบต
ั ิงานในส่วนราชการ 4. ถูกทุกข้ อ

10. ใครเป็ นผู้รักษาการตามพระราชกฤษฎีกานี ้

1. นายกรัฐมนตรี 2. รองนายกรัฐมนตรี

3. คณะรัฐมนตรี 4. ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี

11. ข้ อใดเป็ นการบริ หารเพื่อบรรลุเป้าหมายของการบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดี

1. เกิดประโยชน์สขุ ของประชาชน

2. เกิดผลสัมฤทธิ์ตอ่ ภารกิจของรัฐ

3. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ

4. ถูกหมดถูกข้ อ

12. การบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดีได้ แก่การบริ หารราชการเพื่อบรรลุเป้าหมายดังข้ อใด

1. ไม่มีขนตอนการปฏิ
ั้ บตั ิงานเกินความจาเป็ น

2. มีการปรับปรุ งภารกิจของส่วนราชการให้ ทน
ั ต่อสถานการณ์

3. ประชาชนได้ รับการอานวยความสะดวกและการได้ รับการตอบสนองความต้ องการ

4. ถูกหมดทุกข้ อ

13. การบริ หารราชการเพื่อประโยชน์สขุ ของประชาชน หมายถึงข้ อใด

1. การปฏิบตั ิราชการที่มีเป้าหมายเพื่อให้ เกิดความผาสุกของประชาชน

2. การปฏิบตั ิราชการที่มีเป้าหมายเพื่อให้ เกิดความเป็ นอยูท


่ ี่ดีของประชาชน

3. การปฏิบตั ิราชการที่มีเป้าหมายเพื่อให้ เกิดความสงบและปลอดภัยของสังคมส่วนรวม


4. ถูกหมดทุกข้ อ

14. การบริ หารราชการเพื่อประโยชน์สขุ ของประชาชน ส่วนราชการจะดาเนินการโดยถือว่าประชาชนเป็ นเช่นใด

1. ประชาชนเป็ นมิตรกับส่วนราชการ

2. ส่วนราชการเป็ นศูนย์กลางของประชาชนในด้ านการใช้ อานาจ

3. ประชาชนเป็ นศูนย์กลางในการได้ รับการบริ การจากภาครัฐ

4. ถูกหมดทุกข้ อ

15. การกาหนดภารกิจของรัฐและส่วนราชการต้ องเป็ นไปเพื่ออะไร

1. เพื่อประโยชน์สขุ ของประชาชน

2. เพื่อประโยชน์สขุ ของข้ าราชการ

3. เพื่อประโยชน์สขุ ของหน่วยงานราชการ

4. ถูกหมดทุกข้ อ

16. การกาหนดภารกิจของรัฐและส่วนราชการต้ องเป็ นไปเพื่ออะไร

1. เพื่อประโยชน์สขุ ของประชาชน

2. เพื่อให้ สอดคล้ องกับแนวนโยบายแห่งรัฐ

3. เพื่อให้ สอดคล้ องกับนโยบายของคณะรัฐมนตรี ที่แถลงต่อรัฐสภา

4. ถูกหมดทุกข้ อ

17. การปฏิบตั ิภารกิจของส่วนราชการต้ องเป็ นไปโดยข้ อใด

1. ความซื่อสัตย์ สุจริ ต 2. สามารถตรวจสอบได้

3. เกิดประโยชน์สขุ แก่ประชาชน 4. ถูกหมดทุกข้ อ


18. ข้ าราชการมีหน้ าที่ต้องคอยรับฟั ง ความคิดเห็นและความพึงพอใจของสังคมโดยรวมเพื่ออะไร

1. เพื่อปรับปรุ งหรื อเสนอแนะต่อผู้บงั คับบัญชา

2. เพื่อให้ มีการปรับปรุ งวิธีการปฏิบตั ิราชการให้ เหมาะสม

3. ถูกทังข้
้ อ 1. และ 2.

4. ไม่มีข้อใดถูก

19. ในกรณีที่เกิดปั ญหา และอุปสรรค จากการดาเนินการ ส่วนราชการต้ องดาเนินการอย่างไร

1. แก้ ไขปั ญหาและอุปสรรคนันโดยเร็


้ ว

2. แก้ ไขปั ญหาตามแผนของส่วนราชการนัน้

3. รี บทาหนังสือปรึ กษา ก.พ.ร.

4. รี บทาหนังสือปรึ กษาคณะรัฐมนตรี

20. ส่วนราชการต้ องดาเนินการแก้ ไขปั ญหา และอุปสรรคนันแล้


้ วต้ องแจ้ งให้ ใครทราบ

1. ครม. 2. รมต. 3. ปปช. 4. ก.พ.ร.

21. กรณีที่สว่ นราชการกาหนดวิธีการปฏิบตั ิให้ เหมาะสมกับภารกิ จแต่ละเรื่ อง ให้ ผ้ ใู ดเป็ นผู้กาหนดแนวทางการดาเนินการ


ทัว่ ไป

1. ครม. 2. รมต . 3. บ.ข.ส. 4. ก.พ.ร.

22. การกาหนดภารกิจของรัฐและส่วนราชการ ให้ สอดคล้ องกับแนวนโยบายของรัฐ เป็ นการบริ หารราชการแบบใด

1. เกิดผลสัมฤทธิ์ตอ่ ภารกิจของรัฐ
2. เกิดประโยชน์สขุ ของประชาชน

3. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ

4. เพื่อลดขันตอนการปฏิ
้ บตั ิงาน

23. ในการบริ หารราชการ ก่อนจะดาเนินการสิง่ ใด ส่วนราชการต้ องดาเนินการตามข้ อใด

1. แจ้ งให้ ประชาชนทราบก่อนเสมอ

2. โฆษณาประชาสัมพันธ์ ให้ ประชาชนทราบ

3. วิเคราะห์ผลการปฏิบตั ิลว่ งหน้ าไว้ ก่อน

4. จัดทาแผนปฏิบตั ิราชการไว้ เป็ นการล่วงหน้ า

24. การกาหนดแผนปฏิบตั ิราชการต้ องมีรายละเอียดใดบ้ าง

1. ระยะเวลาและงบประมาณ 2. ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ

3. ตัวชี ้วัดความสาเร็ จของภารกิจ 4. ถูกทุกข้ อ

25. ส่วนราชการต้ องจัดให้ มีการติดตามและประเมินผลการปฏิ บต


ั ิตามแผนปฏิบตั ิราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่
ส่วนราชการกาหนดขึ ้นต้ องสอดคล้ องกับมาตรฐานที่ใครกาหนด

1. ครม. 2. รมต. 3. ปปป. 4. ก.พ.ร.

26. ในกรณีที่การปฏิบตั ิภารกิจของราชการ เกิดผลกระทบต่อประชาชนเป็ นหน้ าที่ของผู้ใดต้ องดาเนินการแก้ ไข

1. ส่วนราชการ 2. หัวหน้ าส่วนราชการ

3. เจ้ าหน้ าที่ทกุ คนที่เกี่ยวข้ อง 4. ก.พ.ร.


27. ให้ สว่ นราชการมีหน้ าที่สนับสนุนการปฏิบตั ิราชการของผู้วา่ ราชการจังหวัดหรื อหัวหน้ าคณะผู้แทนในต่างประเทศ เพื่อ
อะไร

1. เพื่อให้ การบูรณาการงานต่างๆ ในจังหวัดหรื อในต่างประเทศ สามารถยืนยันตามแนว

ทางเศรษฐกิจพอเพียง

2. เพื่อให้ จงั หวัดหรื อในต่างประเทศแล้ วแต่กรณี สามารถใช้ ติดต่อกับประชาชนได้ โดย

ตรงโดยใช้ อานาจตามกฎหมายได้ ครบถ้ วน

3. เพื่อให้ การบริ หารราชการแบบบูรณาการในจังหวัดหรื อในต่างประเทศ แล้ วแต่กรณี

สามารถใช้ อานาจตามกฎหมายได้ ครบถ้ วนตามความจาเป็ นและบริ หารราชการได้ อย่าง

มีประสิทธิภาพ

4. เพื่อให้ ประชาชนทังในและต่
้ างประเทศสามารถใช้ อานาจตามกฎหมายได้ ครบถ้ วนตาม

ความจาเป็ นและบริ หารราชการได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

28. ส่วนราชการมีหน้ าที่พฒ


ั นาความรู้เพื่อให้ มีลกั ษณะเป็ นองค์การแห่งการเรี ยนรู้อย่างสม่าเสมอโดยปฏิ บตั ิอย่างไร

1. ต้ องสามารถรับรู้ ขา่ วสารอย่างถูกต้ องรวดเร็ ว

2. ส่งเสริ มและพัฒนาความรู้ ความสามารถ

3. สร้ างวิสยั และปรับเปลีย่ นทัศนคติของข้ าราชการในสังกัด

4. ถูกทุกข้ อ

29. เพื่อประโยชน์ ในการปฏิบ ัติราชการให้ เกิ ดสัมฤทธิ์ ผู้ใดอาจเสนอต่อคณะรั ฐมนตรี เพื่อกาหนดมาตรการกากับการ


ปฏิบตั ิราชการ

1. ส่วนราชการ 2. รมต.

3. ผู้วา่ ราชการจังหวัด 4. ก.พ.ร.

ั ิราชการให้ เกิดผลสัมฤทธิ์ ก.พ.ร. อาจเสนอต่อใคร เพื่อกาหนดมาตรการกากับการปฏิบตั ิ


30. เพื่อประโยชน์ในการปฏิบต
ราชการ
1. ครม. 2. รมต. 3. รัฐสภา 4. วุฒิสภา

31. คณะรั ฐมนตรี จัด ให้ มีแ ผนการบริ หารราชการแผ่นดิน ตลอดระยะเวลาการบริ หารราชการของคณะรั ฐ มนตรี เมื่อ
คณะรั ฐ มนตรี ไ ด้ แ ถลงนโยบายต่ อ รั ฐ สภาแล้ ว หน่ ว ยงานใดมี ห น้ า ที่ จัด ท าแผนการบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น เสนอ
คณะรัฐมนตรี

1. สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี

2. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

3. สานักงบประมาณ

4. ถูกทุกข้ อ

32. หน่วยงานดังกล่าวในข้ อ 31. จาเป็ นต้ องเสนอคณะรัฐมนตรี พิจารณาภายในกี่วน


1. 30 วันนับแต่วน
ั ที่คณะรัฐมนตรี แถลงนโยบายต่อรัฐสภา

2. 60 วันนับแต่วน
ั ที่คณะรัฐมนตรี แถลงนโยบายต่อรัฐสภา

3. 90 วันวันนับแต่วน
ั ที่คณะรัฐมนตรี แถลงนโยบายต่อรัฐสภา

4. 120 วันนับแต่วน
ั ที่คณะรัฐมนตรี แถลงนโยบายต่อรัฐสภา

33. ผลจากข้ อ 32. เมื่อคณะรัฐมนตรี ให้ ความเห็นชอบในแผนการบริ หารราชการแผ่นดินตามข้ อ 32. แล้ วจักมีผลการใด

1. มีผลถือว่าเสร็ จสิ ้นตามแผนการบริ หารราชการแผ่นดินทุกประการ

2. มีผลผูกพันคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี สิ ้นสุดการดาเนินการตามแผนการบริ หารราชการ

แผ่นดินนัน้

3. มีผลผูกพันคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี และส่วนราชการ ที่จะต้ องดาเนินการจัดทาภารกิจให้

เป็ นไปตามแผนการบริ หารราชการแผ่นดินนัน้

4. มีผลผูก พันกับรั ฐ มนตรี และส่วนราชการที่จะต้ องดาเนินการจัดทาภารกิ จให้ เป็ นไปตามแผนการบริ หาร


ราชการแผ่นดินนัน้
34. เมื่อคณะรัฐมนตรี ได้ แถลงนโยบายต่อรัฐสภาแล้ ว ส่วนราชการใด ต้ องจัดทาแผนการบริ หารราชการแผ่นดิน

1. สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี และสานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี

2. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิ จและสังคมแห่งชาติ

3. สานักงบประมาณ

4. ถูกทุกข้ อ

35. เมื่ อ คณะรั ฐ มนตรี ได้ แ ถลงนโยบายต่อ รั ฐ สภาแล้ ว ส่ว นราชการต้ อ งจัด ทาแผนการบริ หารราชการแผ่ นดิ น เสนอ
คณะรัฐมนตรี พิจารณาภายในกี่วนั

1. 80 วัน 2. 90 วัน 3. 100 วัน 4. 120 วัน

36. ตามข้ อ 35. เสนอคณะรัฐมนตรี พิจารณาภายในกาหนดเวลานับจากวันใด

1. วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

2. วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

3. วันที่คณะรัฐมนตรี แถลงนโยบายต่อรัฐสภา

4. ถูกทุกข้ อ

37. เมื่อรัฐมนตรี ให้ ความเห็นชอบในแผนการบริ หารราชการแผ่นดิน ให้ มีผลผูกพันกับใครบ้ าง

1. ครม. 2. รมต. 3. ส่วนราชการ 4. ถูกทุกข้ อ


38. จากการจัดทาแผนการบริ หารราชการแผ่นดินตามมาตรา 13 ให้ จด
ั ทาเป็ นแผนกาหนดกี่ปี

1. 3 ปี 2. 4 ปี 3. 5 ปี 4. 6 ปี

39. เมื่อมีการประกาศใช้ บงั คับแผนการบริ หารราชการแผ่นดินแล้ ว หน่วยงานใดต้ องพิจารณาจัดทาแผนนิติบญ


ั ญัติ

1. สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

2. สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี

3. ทัง้ 1. และ 2. ร่ วมกันพิจารณาจัดทาแผนนิติบญ


ั ญัติ

4. ไม่มีข้อใดถูก

40. แผนนิติบญ
ั ญัติ ตามข้ อ 39. มีรายละเอียดอะไรบ้ าง

1. มีรายละเอียดเกี่ยวกับกฎหมายที่จะต้ องจัดให้ มีขึ ้นใหม่

2. มีรายละเอียดเกี่ยวกับกฎหมายที่ต้องมีการแก้ ไขเพิ่มเติม

3. มีรายละเอียดเกี่ยวกับกฎหมายที่ยกเลิกให้ สอดคล้ องกับแผนการบริ หารราชการแผ่นดิน

ส่วนราชการผู้รับผิดชอบและระยะเวลาที่ต้องดาเนินการ

4. ถูกทุกข้ อ

เฉลยแนวข้ อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่ าด้ วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 แก้ ไข
เพิ่มเติม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2562)

1. คาตอบ 1 9 หมวด 53 มาตรา

2. คาตอบ 2 9 ตุลาคม 2546

3. คาตอบ 3 วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
4. คาตอบ 4 คณะรัฐมนตรี กาหนด

5. คาตอบ 1 ก.พ.ร. (มาตรา 3)

6. คาตอบ 3 ถูกทัง้ 1. และ 2. (มาตรา 4)

7. คาตอบ 4 องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น (มาตรา 4)

8. คาตอบ 4 ถูกหมดทัง้ 1 และ 2 (มาตรา 4)

9. คาตอบ 4 ถูกทุกข้ อ (มาตรา 4)

10. คาตอบ 1 นายกรัฐมนตรี (มาตรา 5)

11. คาตอบ 4 ถูกหมดทุกข้ อ (หมวดที่ 1 มาตรา 6)

12. คาตอบ 4 ถูกหมดทุกข้ อ (หมวดที่ 1 มาตรา 6)

13. คาตอบ 4 ถูกหมดทุกข้ อ (หมวดที่ 2 มาตรา 7)

14. คาตอบ 3 ประชาชนเป็ นศูนย์กลางในการได้ รับบริ การจากภาครัฐ (หมวดที่ 2 มาตรา 8)

15. คาตอบ 1 เพื่อประโยชน์สขุ ของประชาชน (หมวดที่ 2 มาตรา 8(1))

16. คาตอบ 4 ถูกหมดทุกข้ อ (หมวดที่ 2 มาตรา 8 (1))

17. คาตอบ 4 ถูกหมดทุกข้ อ (หมวดที่ 2 มาตรา 8 (2))

18. คาตอบ 3 ถูกทังข้


้ อ 1 และ 2 (หมวดที่ 2 มาตรา 8 (4)

19. คาตอบ 1 แก้ ไขปั ญหาและอุปสรรคนันโดยเร็


้ ว (หมวดที่ 2 มาตรา 8(5))

20. คาตอบ 4 ก.พ.ร. (หมวดที่ 2 มาตรา 8 (5))

21. คาตอบ 4 ก.พ.ร. (หมวดที่ 2 มาตรา 8 วรรคสุดท้ าย)

22. คาตอบ 2 เกิดประโยชน์สขุ ของประชาชน (หมวดที่ 2 มาตรา 8(1)

23. คาตอบ 4 จัดทาแผนปฏิบตั ิราชการไว้ เป็ นการล่วงหน้ า (หมวดที่ 3 มาตรา 9(1))

24. คาตอบ 4 ถูกทุกข้ อ (หมวดที่ 3 มาตรา 9 (2))

25. คาตอบ 4 ก.พ.ร. (หมวดที่ 3 มาตรา 9 (3))

26. คาตอบ 1 ส่วนราชการ (หมวดที่ 3 มาตรา 9 (4))

27. คาตอบ 3 (มาตรา 10 วรรค 2)


28. คาตอบ 4 ถูกทุกข้ อ (หมวดที่ 3 มาตรา 11)

29. คาตอบ 4 ก.พ.ร. (หมวดที่ 3 มาตรา 12)

30. คาตอบ 1 ครม. (หมวดที่ 3 มาตรา 12)

31. คาตอบ 4 ทุกข้ อที่กล่าวมาต้ องร่ วมกันจัดทาแผน เสนอคณะรัฐมนตรี (หมวดที่ 3 มาตรา 13)

32. คาตอบ 3 90 วันนับแต่วน


ั ที่คณะรัฐมนตรี แถลงนโยบายต่อรัฐสภา (หมวดที่ 3 มาตรา 13 ว.2)

33. คาตอบ 3 (หมวดที่ 3 มาตรา 13 ว.3)

34. คาตอบ 4 ถูกทุกข้ อ (หมวดที่ 3 มาตรา 13 วรรค 2)

35. คาตอบ 2 90 วัน (หมวดที่ 3 มาตรา 13 วรรค 2)

36. คาตอบ 3 วันที่คณะรัฐมนตรี แถลงนโยบายต่อรัฐสภา (หมวดที่ 3 มาตรา 13 วรรค 2)

37. คาตอบ 4 ถูกทุกข้ อ (หมวดที่ 3 มาตรา 13 วรรค 3)

38. คาตอบ 2 4 ปี (หมวดที่ 3 มาตรา 14)

39. คาตอบ 3 ทัง้ 1. และ 2. ร่ วมกันพิจารณาจัดทาแผนฯ (หมวดที่ 3 มาตรา 15)

40. คาตอบ 4 ถูกทุกข้ อ (หมวดที่ 3 มาตรา 15)


พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
1. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง มิให้ บงั คับใช้ แก่ข้อใด

ก. รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี

ข. องค์กรที่ใช้ อานาจตามรัฐธรรมนูญโดยเฉพาะ

ค. การพิจารณาของนายกรัฐมนตรี หรื อรัฐมนตรี ในงานทางนโยบายโดยตรง

ง. ถูกทุกข้ อ

2. การเตรี ยมการและการดาเนินการของเจ้ าหน้ าที่เพื่อจัดให้ มีคาสัง่ ทางปกครองหรื อกฎและรวมถึงการดาเนินการใดๆ


ในทางปกครอง เป็ นความหมายของข้ อใด

ก. วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง

ข. การปฏิบตั ิราชการทางปกครอง

ค. วิธีการปฏิบตั ิราชการทางปกครอง

ง. ไม่มีข้อถูก

3. การเตรี ยมการและการดาเนินการของเจ้ าหน้ าที่เพื่อจัดให้ มีคาสัง่ ทางปกครองเป็ นความหมายของข้ อใด

ก. ขันตอนการพิ
้ จารณาทางปกครอง

ข. การพิจารณาทางปกครอง

ค. เตรี ยมการพิจารณาทางการปกครอง

ง. ดาเนินการพิจารณาทางการปกครอง

4. การใช้ อานาจตามกฎหมายของเจ้ าหน้ าที่ที่มีผลเป็ นการสร้ างนิติสม


ั พันธ์ ขึ ้นระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง
โอนสงวนระงับหรื อมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิ์หรื อหน้ าที่ของบุคคลไม่ว่าจะเป็ นการถาวรหรื อชัว่ คราวเช่นการสัง่
การการอนุญาตการอนุมตั ิการวินิจฉัยอุทธรณ์การรับรองและการรับจดทะเบียนแต่ไม่หมายรวมความถึงอะไร

ก. การขึ ้นทะเบียน

ข. การออกกฎ

ค. การลงโทษ
ง. ไม่มีข้อถูก

5. พระราชกฤษฎีกากฎกระทรวงประกาศกระทรวงข้ อบัญญัติท้องถิ่นระเบียบข้ อบังคับหรื อบทบัญญัติอื่นที่มีผลบังคับเป็ น


การทัว่ ไปโดยไม่มงุ่ หมายให้ ใช้ บงั คับแก่กรณีใดหรื อบุคคลใดเป็ นการเฉพาะ เป็ นความหมายของคาว่า

ก.ระเบียบ

ข.กฎ

ค.กฎหมาย

ง.ข้ อบังคับ

6. คณะกรรมการที่จด
ั ตังขึ
้ ้นตามกฎหมายที่มีการจัดองค์กรและวิธีพิจารณาสาหรับการวินิจฉัยชี ้ขาดสิทธิและหน้ าที่ตาม
กฎหมายเป็ นความหมายของคณะกรรมการใด

ก. คณะกรรมการวินิจฉัยข้ อพิพาท

ข. คณะกรรมการ กรรมาธิการวินิจฉัยข้ อพิพาท

ค. คณะกรรมการวิเคราะห์ และวินิจฉัยข้ อพิพาท

ง. คณะกรรมการ สัง่ การทางข้ อพิพาท

7. บุคคลคณะบุคคลหรื อนิติบค
ุ คลซึง่ ใช้ อานาจหรื อได้ รับมอบให้ ใช้ อานาจทางปกครองของรัฐในการดาเนินการอย่างหนึ่ง
อย่างใดตามกฎหมายไม่ว่าจะเป็ นการจัดตังขึ
้ ้นตามระบบราชการ รัฐวิสาหกิ จหรื อกิ จการอื่นของรั ฐหรื อไม่ก็ตามเป็ น
ความหมายของข้ อใด

ก. เจ้ าพนักงาน

ข. พนักงานเจ้ าหน้ าที่

ค. เจ้ าหน้ าที่

ง. ข้ าราชการ
8. ผู้ยื่นคาขอหรื อผู้คด
ั ค้ านคาขอผู้อยู่ในบังคับหรื อจะอยู่ในบังคับของคาสัง่ ทางปกครองและผู้ซึ่งได้ เข้ ามาในกระบวนการ
พิจารณาทางปกครองเนื่องจากสิทธิ์ของผู้นนจะถู
ั ้ กกระทบกระเทือนจากผลของคาสัง่ ทางปกครองเป็ นความหมายของ ข้ อ
ใด

ก. คูพ่ ิพาท

ข. คูก่ รณี

ค. ผู้ต้องคาสัง่ ทางปกครอง

ง. ผู้เสียประโยชน์

9. ผู้ใดรักษาการตามพระราชบัญญัตินี ้

ก. รัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี

ข. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทย

ค. นายกรัฐมนตรี

ง. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงกลาโหม

10. ผู้รักษาการ ตามพระราชบัญญัตินี ้มีอานาจในการออก ................ เพื่อปฏิบตั ิ การตามพระราชบัญญัติ นี ้

ก. กฎกระทรวงและคาสัง่

ข. กฎกระทรวงและประกาศ

ค. ประกาศและคาสัง่

ง.ไม่มีข้อถูก

11. คณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง ให้ ใครเป็ นผู้แต่งตังประธานกรรมการและกรรมการผู


้ ้ ทรงคุณวุฒิ

ก. นายกรัฐมนตรี

ข. รัฐสภา

ค. คณะรัฐมนตรี

ง. ถูกทุกข้ อ
12. ผู้ใด แต่งตังเลขานุ
้ การและผู้ช่วยเลขานุการ คณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง

ก. ประธาน คณะกรรมการวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง

ข. เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา

ค. นายกรัฐมนตรี

ง. ไม่มีข้อถูก

13. สานักงานคณะกรรมการใดทาหน้ าที่เป็ นสานักงานเลขานุการของคณะกรรมการวิธีการปฏิบตั ิราชการทางปกครอง

ก. สานักงานคณะกรรมการข้ าราชการพลเรื อน

ข. สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ค. สานักงานเลขานุการนายกรัฐมนตรี

ง. สานักงาน คณะรัฐมนตรี

14. เจ้ าหน้ าที่ดงั ต่อไปนี ้จะทาการพิจารณาทางปกครองไม่ได้ คือข้ อใด

ก. เป็ นญาติของคูก่ รณี

ข. เป็ นคูก่ รณีเอง

ค. เป็ นเจ้ าหนี ้หรื อลูกหนี ้หรื อเป็ นนายจ้ างของคูก่ รณี

ง.ถูกทุกข้ อ

15. ถ้ าปรากฏภายหลังว่าเจ้ าหน้ าที่หรื อคณะกรรมการในคณะกรรมการที่มีอานาจพิจารณาทางปกครองใดขาดคุณสมบัติ


หรื อ มีลกั ษณะต้ องห้ ามหรื อการแต่งตังไม่
้ ชอบด้ วยกฎหมายอันเป็ นเหตุให้ ผ้ นู นั ้ ผลจากตาแหน่งการพ้ นจากตาแหน่งนัน้ มี
ผลทาให้

ก. การพ้ นจากตาแหน่งเช่นว่านันไม่
้ กระทบกระเทือนถึงการณ์ใดที่ผ้ นู นได้
ั ้ ปฏิบตั ิตามอานาจหน้ าที่

ข. การพ้ นจากตาแหน่งเช่นว่านันให้
้ ถือว่าการปฏิบตั ิหน้ าที่ที่แล้ วมาเป็ นการปฏิบตั ิหน้ าที่โดยมิชอบด้ วยกฎหมาย

ค. การพ้ นจากตาแหน่งเช่นว่านัน้ มีผลทาให้ คาสัง่ หรื อประกาศที่ออกโดยบุคคลนันไม่


้ มีผลบังคับใช้ อีกต่อไป
ง. ไม่มีข้อถูก

16. ผู้มีอานาจกากับควบคุม รัฐมนตรี นนคื


ั ้ อผู้ใด

ก. คณะรัฐมนตรี

ข. รัฐสภา

ค. นายกรัฐมนตรี

ง. ถูกทุกข้ อ

17. คูก่ รณีในการพิจารณาทางปกครองได้ ตามขอบเขตของตนถูกกระทบกระเทือนหรื ออาจถูกกระทบกระเทื อนโดยมิอาจ


หลีกเลีย่ งได้ คือ ผู้ใด

ก. บุคคลธรรมดา

ข. คณะบุคคล

ค.นิติบคุ คล

ง.ถูกทุกข้ อ

18. ผู้ใดไม่สามารถกระทาการในกระบวนการพิจารณาทางปกครองได้

ก. ผู้ซงึ่ ไม่บรรลุนิติภาวะ

ข. นิติบคุ คล

ค. คณะบุคคล

ง. ไม่มีข้อถูก

19. ในการพิจารณาทางปกครองที่ค่กู รณีต้องมาปรากฏตัวต่อเจ้ าหน้ าที่คกู่ รณีมีสิทธิ์นาทนายความหรื อที่ปรึ กษาของตน


เข้ ามาในการพิจารณาทางปกครองได้ ด้านใดที่ทนายความหรื อที่ปรึกษาได้ ทาลงต่อหน้ าคูก่ รณีให้ ถือว่าเป็ นการกระทาของ
คูก่ รณีเว้ นแต่ข้อใด

ก. คูก่ รณีจะได้ คดั ค้ านเสียแต่ในขณะนัน้

ข. คูก่ รณีคดั ค้ านไม่เห็นด้ วยความเห็นของ ทนายหรื อที่ปรึกษา


ค. คูก่ รณีคดั ค้ านทนายที่ได้ รับการแต่งตังมาแทน

ง. ไม่มีข้อถูก

20. หากปรากฏว่า ผู้ไ ด้ รับการแต่ง ตัง้ ให้ ก ระทาการแทนผู้ใ ดไม่ทราบข้ อ เท็จ จริ ง ในเรื่ อ งนัน้ เพีย งพอหรื อ มี เ หตุไม่ค วร
ไว้ วางใจในความสามารถของบุคคลดังกล่าวให้ เจ้ าหน้ าที่แจ้ งให้ คกู่ รณีทราบ โดย..........

ก.ทางโทรศัพท์

ข.อย่างรวดเร็ ว

ค.ไม่ชกั ช้ ก

ง.ทันที

21 ความตายของคูก่ รณีเป็ นเหตุ ให้ การแต่งตังให้


้ กระทาแทนไม่สิ ้นสุดลงหรื อไม่

ก. ผู้กระทาแทนที่ได้ รับการแต่งตัง้ สิ ้นสุดหน้ าที่ลง

ข. ผู้กระทาแทนที่ได้ รับการแต่งตังไม่
้ สิ ้นสุดหน้ าที่

ค. ผู้กระทาแทนที่ได้ รับการแต่งตังต้
้ องได้ รับการแต่งตัง้ จาก ทายาท

ง. ผู้กระทาแทน สิ ้นสุดหน้ าที่ลง และให้ ทายาทเป็ นผู้กระทาแทนต่อ

22. เมื่อคูก่ รณีแต่งตังผู


้ ้ กระทาแทน ถึงแก่ความตาย ผู้ใดเป็ นผู้ถอนการแต่งตัง้ ผู้แทนคูก่ รณี

ก. ทายาท

ข. เจ้ าพนักงาน

ค. ผู้สบื สิทธิตามกฎหมายของคูก่ รณี

ง. ผู้รับมรดกสิทธิ์

23. เอกสารที่ยื่นต่อเจ้ าหน้ าที่ให้ จด


ั ทาเป็ นภาษา ......

ก. ภาษาไทย

ข. ถ้ าเป็ นภาษาต่างประเทศคูก่ รณีต้องทาคาแปลเป็ นภาษาไทยที่มีการรับรองถูกต้ องภายในระยะเวลาที่เจ้ าหน้ าที่ตารวจ


ค. เจ้ าหน้ าที่ยอมรับเอกสารที่จดั ทาขึ ้นเป็ นภาษาต่างประเทศ

ง. ถูกทุกข้ อ

24. การรับรองความถูกต้ องของคาแปลเป็ นภาษาไทยหรื อการยอมรับเอกสารที่ทาขึ ้นเป็ นภาษาต่างประเทศให้ เป็ นไปตาม


.............

ก.หลักเกณฑ์ของเจ้ าหน้ าที่

ข. ระเบียบงานสารบรรณ

ค. ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง

ง. ถูกทุกข้ อ

29. ในกรณี ที่คาสัง่ ทางปกครองเป็ นค าสัง่ ด้ ว ยวาจาผู้รับค าสัง่ นันร้


้ องขอและการร้ องขอได้ กระทาโดยมีเหตุอนั สมควร
ภายในกี่วนั นับตังแต่
้ วนั ที่มีคาสัง่ ดังกล่าวเจ้ าหน้ าที่ผ้ อู อกคาสัง่ ต้ องยืนยันคาสัง่ เป็ นหนังสือ

ก.3 วัน

ข.5 วัน

ค.7 วัน

ง.15 วัน

30. คาสัง่ ทางปกครองที่ทาเป็ นหนังสือและการยืนยันคาสัง่ ทางปกครองเป็ นหนังสือต้ องจัดให้ มีเหตุผลไว้ ด้วยและเหตุผล


นันอย่
้ างน้ อยต้ องประกอบด้ วยอะไร ข้ อใดไม่เป็ นเหตุผล

ก. ข้ อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญ

ข. ข้ อกฎหมายที่อ้างอิง

ค. ข้ อพิจารณาและข้ อสนับสนุนในการใช้ ดลุ พินิจ

ง. พยานหลักฐานในการสนับสนุนคาสัง่
31. การออกคาสัง่ ทางปกครองเป็ นหนังสือในเรื่ องใดหากมิได้ มีกฎหมายหรื อกฎกาหนดระยะเวลาในการออกคาสัง่ ทาง
ปกครองในเรื่ องนันไว้
้ เป็ นประการอื่นให้ เจ้ าหน้ าที่ออกคาสัง่ ทางปกครองให้ แล้ วเสร็ จภายในกี่วนั นับแต่วนั ที่เจ้ าหน้ าที่ได้ รับ
คาขอและเอกสารถูกต้ องครบถ้ วน

ก.15 วัน

ข.30 วัน

ค.45 วัน

ง.60 วัน

32. ในการใช้ มาตรการบังคับทางปกครองแก่บุคคลใดหากบุคคลนันถึ


้ งแก่ความตายให้ ดาเนินการบังคับทางปกครอง
ต่อไปได้ แก่ ผู้ใด

ก. ทายาทผู้รับมรดก

ข. ผู้จดั การมรดก

ค. ถูกทัง้ ก.ข.

ง. ไม่มีข้อถูก

33. ในกรณีที่เจ้ าหน้ าที่มีคาสัง่ ทางปกครอง ที่กาหนดให้ ชาระเงินถ้ าถึงกาหนดแล้ วไม่มีการชาระโดยถูกต้ องครบถ้ วนให้
เจ้ าหน้ าที่ผ้ ทู าคาสัง่ ทางปกครองมีหนังสือเตือน ให้ ผ้ นู นช
ั ้ าระภายในระยะเวลาที่กาหนดแต่ไม่น้อยกว่ากี่วนั

ก.5 วัน

ข.7 วัน

ค.9 วัน

ง.15 วัน

34. เมื่อมีคาสัง่ เป็ นหนังสือ เตือน ทางปกครองให้ ไปชาระเงิน ถ้ าไม่ได้ บตั รตามคาเตือนเจ้ าหน้ าที่มีมาตรการบังคับทางการ
ปกครองโดย

ก. นากาลังเจ้ าหน้ าที่ควบคุมตัว เพื่อดาเนินคดี

ข. ยึดหรื ออายัดทรัพย์สนิ ผู้นนั ้


ค. นาทรัพย์สนิ ที่ยดึ หรื ออายัดทรัพย์สนิ ผู้นนไปขายทอดตลาดเพื
ั้ ่อชาระเงินให้ ครบถ้ วน

ง.ถูกทัง้ ข. เเละ ค.

35. หน่วยงานของรัฐที่ออกคาสัง่ ให้ ชาระเงินต้ องดาเนินการยึดหรื ออายัดทรัพย์สน


ิ ภายในกี่ปีนับแต่วนั ที่คาสัง่ ทางปกครอง
ที่กาหนดให้ ชาระเป็ นที่สดุ

ก.10 ปี

ข.12 ปี

ค.13 ปี

ง. ไม่มีข้อถูก

36. คาสัง่ ทางปกครองที่กาหนดให้ ชาระเงินเป็ นที่สิ ้นสุดในกรณีใด

ก. ไม่มีการอุทธรณ์คาสัง่ ต่อเจ้ าหน้ าที่ฝ่ายปกครองภายในระยะเวลาอุทธรณ์

ข. เจ้ าหน้ าที่ผ้ มู ีอานาจพิจารณาอุทธรณ์มีคาวินิจฉัยอุทธรณ์และไม่มีการฟ้ องคดีตอ่ ศาลภายในระยะเวลาการฟ้ องคดี

ค. ศาลมีคาสัง่ หรื อคาพิพากษายกฟ้ องหรื อเพิกถอนคาสัง่ บางส่วนและคดีถึงที่สิ ้นสุดแล้ ว

ง. ถูกทุกข้ อ

37. จะยึดหรื ออายัดทรัพย์สน


ิ เพิ่มเติมอีกนิดได้ ในกรณีใด

ก. ศาลมี คาสัง่ หรื อมีคาพิพากษายกฟ้ อง

ข. เพิกถอนคาสัง่ บางส่วน

ค. คดีถึงที่สิ ้นสุดแล้ ว

ง.ถูกทุกข้ อ

38. หน่วยงานของรัฐที่ออกคาสัง่ ให้ ชาระเงินหมายถึง

ก. พนักงานเจ้ าหนี ้

ข. เจ้ าหนี ้ตามคาพิพากษา


ค. หน่วยงานเจ้ าหนี ้

ง. ไม่มีข้อถูก

39. ผูที่อยู่ในขันตอนและวิ
้ ธีการเกี่ยวกับการยึด การอายัดและการขายทอดตลาดทรัพย์สิน อยู่ในบังคับของมาตรการ
บังคับทางปกครองหมายถึง

ก. ลูกหนี ้ของหน่วยงานรัฐ

ข. ลูกหนี ้ของ ราชการ

ค. ผู้ต้องชาระหนี ้ของหน่วยงานรัฐ

ง. ลูกหนี ้ตามคาพิพากษา

40. เจ้ าพนักงาน บังคับคดี ตามขันตอนและวิ


้ ธีการเกี่ยวกับการยึดและอายัดการขายทอดตลาดทรัพย์สนิ หมายถึงข้ อใด

ก. เจ้ าพนักงานปกครอง

ข. เจ้ าพนักงานทางการบังคับปกครอง ค. เจ้ าพนักงานบังคับทางปกครอง

ง. เจ้ าพนักงานบังคับคดีทางปกครอง

41. สารใดไม่อยู่ในภายใต้ บงั คับ การโต้ แย้ งหรื อ การใช้ สิทธิ์ ทางศาลเกี่ ยวกับการยึดการอายัด และการขายทอดตลาด
ทรัพย์สินโดยผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองรวมทังบุ
้ คคลภายนอก ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียเกี่ยวกับทรัพย์สินที่
ถูกยึดหรื ออายัด

ก. ศาลปกครอง

ข. ศาลแรงงาน

ค. ศาลภาษี อากร

ง. ศาลเยาวชนและครอบครัว

42. ค่าปรับที่เจ้ าหน้ าที่สง่ ให้ ผ้ ท


ู ี่ฝ่าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิ ตามคาสัง่ ทางปกครองที่กาหนดให้ กระทาหรื อละเว้ นการกระทา ชาระ
เป็ นรายวัน ไปจนกว่ า จะยุติ ก ารฝ่ าฝื นค าสั่ง หรื อ ได้ มี ก ารปฏิ บัติ ต ามค าสั่ง แล้ ว ไม่ ว่ า จะเป็ นค่ า ปรั บ ที่ ก าห นดโดย
พระราชบัญญัตินี ้หรื อโดยกฎหมายอื่นหมายความคือข้ อใด
ก. ค่าปรับบังคับการ

ข. ค่าปรับละเมิดคาสัง่ ปกครอง

ค. ค่าปรับทางปกครอง

ง. ค่าปรับ เพื่อชาระการละเมิดทางปกครอง

43. ผู้อยูใ่ นบังคับของคาสัง่ ทางปกครองของเจ้ าที่


ผู้ฝ่าฝื นไม่ปฏิบตั ิตาม ต้ องชดใช้ คา่ ใช้ จ่ายและเงินเพิ่มรายวันอัตราร้ อย
ละ เท่าใดต่อปี ของค่าใช้ จ่ายดังกล่าว แก่หน่วยงานของรัฐที่เจ้ าหน้ าที่นนสั
ั ้ งกัด

ก.ร้ อยละ 10

ข.ร้ อยละ 15

ค.ร้ อยละ 20

ง.ร้ อยละ 25

44. ผู้อยู่ในบังคับของคาสัง่ ทางปกครองของเจ้ าหน้ าที่ผ้ ฝ


ู ่ าฝื นไม่ปฏิบตั ิตาม ผู้นนให้
ั ้ มีการชาระค่าปรับ บังคับการตาม
จานวนที่สมควรแก่เหตุแต่ต้องไม่เกินกี่บาทต่อวัน

ก.10,000 บาท

ข.20,000 บาท

ค.30,000บาท

4.50,000บาท

45. ก่อนใช้ มาตรการบังคับทางปกครองเจ้ าหน้ าที่จะต้ อง ทาอย่างไร ถูกต้ องที่สดุ

ก. มีคาเตือนเป็ นหนังสือ ให้ มีการกระทาหรื อละเว้ นการกระทา

ข. มีคาเตือนเป็ นวาจาให้ มีการกระทาหรื อละเว้ นการกระทา

ค. ไม่ต้องแนบคาสัง่ ทางปกครอง ไปกับหนังสือเตือน

ง. แนบคาสัง่ ทางปกครองไปกลับ คาเตือนเป็ นหนังสือก็ได้


46. การแจ้ งเป็ นหนังสือให้ บุคคลนาไปส่ง ถ้ าผู้รับไม่ยอมรั บหรื อขณะนาไปส่งไม่มีผ้ รู ั บและหากได้ สง่ ให้ กบ
ั บุคคลใดซึ่ง
บรรลุนติ ิภาวะที่อยูห่ รื อทางานในสถานที่นนหรื
ั ้ อในกรณีที่ผ้ นู นไม่
ั ้ ยอมรับต้ องทาอย่างไร

ก. ประกาศ ณ หน่วยงานที่บงั คับทางปกครองเป็ นเวลา 15 วันหรื อว่า ผู้นนรั


ั ้ บทราบ

ข. วางหนังสือปิ ดหนังสือนันไว้
้ ในที่ซึ่งเห็นได้ ง่าย ณ สถานที่แห่งนันต่
้ อหน้ าเจ้ าพนักงานตามที่กาหนดไว้ ใ นกฎกระทรวงที่
ไปเป็ นพยานก็ถือว่าได้ รับแจ้ งแล้ ว

ค. มอบหนังสือแก่ ผู้นาชุมชนเพื่อปิ ดไว้ ในบอร์ ด เป็ นเวลา 15 วัน ประชาคมหมูบ่ ้ านถือว่าผู้นนรั


ั ้ บทราบแล้ ว

ง. นาคาสัง่ ทางปกครองลงบันทึกประจาวันเมื่อพ้ น 15 วันแล้ วถือว่าผู้นนรั


ั ้ บทราบ

เฉลย

1.ง 2.ก 3.ข 4.ข 5.ข 6.ก 7.ค 8.ง 9.ค 10.ข

11.ค 12.ข 13.ข 14.ง 15.ก 16.ค 17.ง 18.ก 19.ก 20.ค

21.ข 12.ค 13.ง 24.ค 25.ง 26.ง 27.ค 28.ง 29.ค 30.ง

31.ข 32.ค 33.ข 34.ง 35.ก 36.ง 37.ง 38.ข 39.ง 40.ค

41.ก 42.ก 43.ง 44.ง 45.ง 46..ข

"สรุ ปพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562"


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 76 วรรคสาม กาหนดให้ “รัฐพึงจัดให้
มีมาตรฐานทางจริ ยธรรม เพื่อให้หน่ วยงานของรั ฐใช้เป็ นหลักในการกาหนดประมวลจริ ยธรรมสาหรั บ
เจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานนั้น ๆ ซึ่ งต้องไม่ต่ากว่ามาตรฐานทางจริ ยธรรมดังกล่าว”
เป็ นหลักเกณฑ์ในการปฏิบตั ิตนของ “เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายความว่า ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง
หรื อผูป้ ฏิบตั ิงานอื่นในหน่วยงานของรัฐ ในสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นและ
มีฐานะเป็ นกรม ราชการส่ วนท้องถิ่ น รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน หรื อหน่ วยงานอื่นของรัฐในฝ่ ายบริ หาร
แต่ไม่หมายความรวมถึง หน่วยงานธุ รการของรัฐสภา องค์กรอิสระ ศาล และองค์กรอัยการ
มาตรฐานทางจริ ยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ (มาตรา 5)
คือ หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบตั ิอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่ งจะต้องประกอบด้วย
1) ยึดมัน่ ในสถาบันหลัก ของประเทศ อันได้แก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย ์ และการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข
2) ซื่ อสัตย์สุจริ ต มีจิตสานึกที่ดี และรับผิดชอบต่อหน้าที่
3) กล้าตัดสิ นใจและกระทาในสิ่ งที่ถูกต้องชอบธรรม
4) คิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว และมีจิตสาธารณะ
5) มุ่งผลสัมฤทธิ์ ของงาน
6) ปฏิบตั ิหน้าที่อย่างเป็ นธรรมและไม่เลือกปฏิบตั ิ
7) ดารงตนเป็ นแบบอย่างที่ดีและรักษาภาพลักษณ์ของทางราชการ
มาตรฐานทางจริ ยธรรมทั้ง 7 ข้อนี้ ให้ใช้เป็ นหลักสาคัญในการจัดทาประมวลจริ ยธรรมของหน่วยงานของรัฐ
ที่จะกาหนดเป็ นหลักเกณฑ์ในการปฏิ บตั ิตนของเจ้าหน้าที่ของรัฐ เกี่ยวกับสภาพคุณงามความดี ที่เจ้าหน้าที่
ของรัฐต้องยึดถือ สาหรับการปฏิ บตั ิงาน การตัดสิ นความถูกผิด การปฏิบตั ิที่ควรกระทาหรื อไม่ควรกระทา
ตลอดจนการดารงตนในการกระทาความดีและละเว้นความชัว่

ผูร้ ับผิดชอบในการจัดทาประมวลจริ ยธรรม (มาตรา 6)


ให้องค์กรกลางบริ หารงานบุคคลของหน่ วยงานของรั ฐ[1] (ก.พ.) มีหน้าที่จดั ทา “ประมวลจริ ยธรรม” สา
หรับเจ้าหน้าที่ของรัฐที่อยู่ในความรับผิดชอบ ทั้งนี้ หน่วยงานของรัฐอาจจัดทา “ข้อกาหนดจริ ยธรรม” เพื่อ
ใช้บงั คับกับเจ้าหน้าที่ ข องรั ฐในหน่ วยงานนั้นเพิ่ม เติ ม จากประมวลจริ ย ธรรมให้เหมาะสมแก่ ภารกิ จที่ มี
ลักษณะเฉพาะของหน่วยงานของรัฐนั้นด้วยก็ได้

คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรม (ก.ม.จ.) (มาตรา 8 มาตรา 13 และ มาตรา 14)


ให้ มี ค ณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ย ธรรมคณะหนึ่ ง เรี ย กโดยย่อ ว่า “ก.ม.จ.”[2] มี หน้าที่ และอ านาจ
ดังต่อไปนี้
1) เสนอแนะและให้คาปรึ กษาเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์ ดา้ นมาตรฐานทางจริ ยธรรมและการส่ งเสริ ม
จริ ยธรรมภาครัฐต่อคณะรัฐมนตรี
2) กาหนดแนวทางหรื อมาตรการในการขับเคลื่อน การดาเนิ นกระบวนการรักษาจริ ยธรรม รวมทั้งกลไกและ
การบัง คับ ใช้ป ระมวลจริ ย ธรรมสาหรั บ เจ้า หน้า ที่ ข องรั ฐ เพื่ อ ให้ อ งค์ก รกลางบริ ห ารงานบุ ค คล หรื อ
ผูบ้ งั คับบัญชานาไปใช้ในกระบวนการบริ หารงานบุคคลอย่างเป็ นรู ปธรรม
3) กาหนดแนวทางในการส่ งเสริ มและพัฒนาเพื่อเสริ มสร้างประสิ ทธิ ภาพให้เจ้าหน้าที่ของรัฐมีความรู ้ความ
เข้าใจ เกี่ ยวกับมาตรฐานทางจริ ยธรรมและยึดถื อแนวทางปฏิ บตั ิตามประมวลจริ ยธรรม รวมทั้งเสนอแนะ
มาตรการในการเพิ่ มพูนประสิ ท ธิ ภาพและเสริ ม สร้ า งแรงจูง ใจในการปฏิ บตั ิ ตามประมวลจริ ย ธรรมแก่
หน่วยงานของรัฐต่อคณะรัฐมนตรี
4) กากับ ติดตาม และประเมินผลการดาเนิ นการตามมาตรฐานทางจริ ยธรรม โดยอย่างน้อยต้องให้หน่วยงาน
ของรั ฐ จัดให้มี ก ารประเมิ นความรู้ ค วามเข้า ใจเกี่ ย วกับ มาตรฐานทางจริ ย ธรรม และให้ มี ก ารประเมิ น
พฤติกรรมทางจริ ยธรรมสาหรับ เจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานนั้น
5) ตรวจสอบรายงานประจาปี ของหน่ วยงานของรัฐ และรายงานสรุ ปผลการดาเนิ นงานดังกล่าวเสนอต่อ
คณะรัฐมนตรี เพื่อทราบอย่างน้อยปี ละหนึ่งครั้ง
6) ตีความและวินิจฉัยปั ญหาที่เกิดจากการใช้บงั คับพระราชบัญญัติน้ ี
7) ปฏิบตั ิหน้าที่อื่นตามที่บญั ญัติไว้ในพระราชบัญญัติน้ ีหรื อตามที่คณะรัฐมนตรี มอบหมาย
8) ก าหนดหลัก เกณฑ์เป็ นระเบี ย บ คู่ มื อ หรื อแนวทางปฏิ บตั ิ เพื่ อให้องค์ก รกลางบริ หารงานบุ ค คลและ
หน่วยงานของรัฐ ใช้เป็ นหลักเกณฑ์สาหรับการจัดทาประมวลจริ ยธรรมและข้อกาหนดจริ ยธรรม รวมทั้งการ
ก าหนดกระบวนการรั ก ษาจริ ย ธรรม ของเจ้า หน้า ที่ ข องรั ฐ โดยมี ห น้า ที่ ใ ห้ ค าแนะนาแก่ อ งค์ก รกลาง
บริ หารงานบุคคล และหน่วยงานของรัฐในการปฏิบตั ิตาม พระราชบัญญัติน้ ี
9) ในกรณี ที่ ป รากฏแก่ ก.ม.จ. ว่า การจัดทาประมวลจริ ย ธรรมขององค์กรกลางบริ หารงานบุ คคลหรื อ
ข้อกาหนดจริ ยธรรมของหน่วยงานของรัฐแห่ งใดไม่สอดคล้องกับมาตรฐานทางจริ ยธรรมหรื อมีการปฏิบตั ิที่
ไม่เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ ที่ ก.ม.จ. กาหนด ให้ ก.ม.จ. แจ้งให้องค์กรกลางบริ หารงานบุคคล หรื อหน่วยงาน
ของรั ฐ แห่ ง นั้น ดาเนิ น การแก้ไ ขให้ ถู ก ต้อง และให้เ ป็ นหน้า ที่ ข ององค์ก รกลางบริ หารงานบุ คคล หรื อ
หน่วยงานของรัฐที่จะต้องดาเนินการโดยเร็ ว
การรักษาจริ ยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐและนาจริ ยธรรมไปใช้ในกระบวนการบริ หารงานบุคคล
(มาตรา 19 และ มาตรา 20)
ให้หน่วยงานของรัฐดาเนินการ ดังต่อไปนี้
1) กาหนดให้มีผรู ้ ับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาจริ ยธรรมประจาหน่ วยงานของรัฐ ในการนี้ อาจมอบหมายให้
ส่ วนงานที่ มีหน้า ที่ และภารกิ จในด้านจริ ย ธรรม ธรรมาภิ บาล หรื อที่ เกี่ ย วกับการบริ หารงานบุ ค คล หรื อ
คณะกรรมการและกลุ่มงานจริ ยธรรมประจาหน่วยงานของรัฐที่มีอยูแ่ ล้ว เป็ นผูร้ ับผิดชอบก็ได้
2) ดาเนิ นกิจกรรมการส่ งเสริ ม สนับสนุน ให้ความรู ้ ฝึ กอบรม และพัฒนาเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานของ
รัฐ และจัดให้มีมาตรการและกลไกที่มีประสิ ทธิ ภาพเพื่อเสริ มสร้างให้มีการปฏิบตั ิตามประมวลจริ ยธรรม
รวมทั้งกาหนดกลไกในการส่ งเสริ มให้ประชาชนมีส่วนร่ วมในการตรวจสอบพฤติกรรมของเจ้าหน้าที่ของ
รัฐ ตลอดจนสร้างเครื อข่ายและประสานความร่ วมมือระหว่างหน่วยงานของรัฐและภาคเอกชน
3) ทุกสิ้ นปี งบประมาณ ให้จดั ทารายงานประจาปี ตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ม.จ. กาหนดเสนอต่อ ก.ม.จ.โดยให้
หน่ วยงานของรัฐเสนอรายงานประจาปี ผ่านองค์กรกลางบริ หารงานบุคคลเพื่อประเมินผลในภาพรวมของ
หน่วยงานของรัฐ เสนอต่อ ก.ม.จ. ด้วย
ให้องค์กรกลางบริ หารงานบุคคลแต่ละประเภท มีหน้าที่กากับดูแลการดาเนิ นกระบวนการรักษาจริ ยธรรม
และการประเมิ น ผลการปฏิ บ ัติต ามประมวลจริ ย ธรรม รวมทั้ง ให้มี ห น้า ที่ แ ละอ านาจจัด หลัก สู ตรการ
ฝึ กอบรมการเผยแพร่ ความเข้าใจ ตลอดจนการกาหนดมาตรการจูงใจเพื่อพัฒนาและส่ งเสริ มให้เจ้าหน้าที่
ของรัฐในหน่วยงานของรัฐมีพฤติกรรมทางจริ ยธรรม เป็ นแบบอย่างที่ดีและมาตรการที่ใช้บงั คับแก่เจ้าหน้าที่
ของรั ฐในหน่ วยงานของรั ฐซึ่ ง มี พ ฤติ ก รรมที่ เป็ นการฝ่ าฝื นมาตรฐาน ทางจริ ย ธรรมหรื อไม่ ป ฏิ บ ตั ิ ตาม
ประมวลจริ ยธรรม โดยอาจกาหนดมาตรการเพื่อใช้ในการบริ หารงานบุคคลตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบ
ข้าราชการประเภทนั้น
การใช้บงั คับประมวลจริ ยธรรม/หลักเกณฑ์เดิม (มาตรา 22)
บรรดาประมวลจริ ยธรรม กฎ ระเบียบ หรื อหลักเกณฑ์ที่เกี่ ยวกับจริ ยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรั ฐที่มีผลใช้
บังคับอยู่ในวันก่ อนวันที่พ ระราชบัญญัติน้ ี ใ ช้บงั คับให้คงมี ผลใช้บงั คับได้ต่อไปเท่าที่ ไม่ขดั หรื อแย้งกับ
พระราชบัญ ญัติ น้ ี จนกว่า จะมี ก ารก าหนดประมวลจริ ย ธรรม หรื อ หลัก เกณฑ์ เ กี่ ย วกับ จริ ย ธรรมตาม
พระราชบัญญัติน้ ี

หน้าที่และความรับผิดชอบในการปฏิบตั ิหน้าที่ราชการ
แนวทางการปฏิบตั ิตนของข้าราชการที่ดี
ข้าราชการ คื อ บุ คคลที่ ป ฏิ บตั ิ หน้าที่ ด้วยความเสี ย สละเป็ นที่ พ่ ึง ของประชาชนและทาคุ ณประโยชน์ ต่ อ
ประเทศชาติ โดยยึดถือความถูกต้อง มีจริ ยธรรมในการปฏิบตั ิหน้าที่ มีความซื่ อสัตย์สุจริ ตไม่กระทาตนเล่น
อกทางหรื อประพฤติตนในทางที่เสื่ อมเสี ยต่อหน้าที่การงาน มุ่งประโยชน์ส่วนรวมเป็ นที่ต้ งั ให้สมเกี ยรติ
ศักดิ์ แห่งจรรยาข้าราชการที่ดี
วันที่ 1 เมษายน ของทุกปี จึงกาหนดให้เป็ นวันข้าราชการพลเรื อน เนื่ องจากข้าราชการเป็ นผูท้ ี่ทางาน ต่าง
พระเนตรพระกรรณพระมหากษัตริ ยใ์ นการบริ หารดู แลประชาชน ดัง นั้น การจะเป็ นข้าราชการที่ ดีน้ ัน
นอกจาก การเป็ นคนดี ตามกฎหมายและสังคมแล้วข้าราชการยังต้องมีวินัยและจรรยาข้าราชการที่ให้ถือ
ปฏิบตั ิ ทั้งนี้ เพื่อ ศักดิ์ศรี และความมีเกียรติของตาแหน่งซึ่ งเป็ นสิ่ งสาคัญที่ถือปฏิบตั ิกนั มาแต่อดีต
ข้าราชการที่ ดีนอกจากจะยึดหลักจรรยาข้าราชการที่ กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพล
เรื อนพ.ศ. 2551 แล้ว ยังควรน้อมนาพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย
เดช พระราชทานแก่ขา้ ราชการพลเรื อน เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2556 มาใช้ในการปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความว่า
“ข้าราชการ ไม่ว่าอยูใ่ นตาแหน่งใด ระดับไหนมีหน้าที่อย่างไร ล้วนแต่มีความสาคัญอยูใ่ นงานของแผ่นดิ น
ทั้งสิ้ นทุกคนทุกฝ่ ายจึงไม่ควรจะถือตัวแบ่งแยกกัน หากต้องยกย่องนับถือให้เกี ยรติกนั สมัครสมาน ร่ วมมือ
ร่ วมคิด กันให้การปฏิบตั ิบริ หารงานของแผ่นดิ นดาเนิ นไปอย่างมีเอกภาพ และได้ผลพึงประสงค์ สมบูรณ์
พร้อมทุกส่ วน
ปั จจุบนั จรรยาข้าราชการเป็ นไปตามพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการพลเรื อน พ.ศ. 2551 หมวด 5 การ
รักษาจรรยาข้าราชการ มาตรา 78 กาหนดว่าข้าราชการพลเรื อนสามัญ ต้องรักษาจรรยาข้าราชการตามที่ส่วน
ราชการกาหนดในเรื่ องการยึดมัน่ และยืนหยัดทาในสิ่ งที่ถูกต้อง ความซื่ อสัตย์สุจริ ตและความรับผิดชอบการ
ปฏิบตั ิ หน้าที่ดว้ ยความโปร่ งใส ตรวจสอบได้ปฏิบตั ิหน้าที่โดยไม่เลือกปฏิบตั ิ และมุ่งสัมฤทธิ์ ผลของงาน

“จรรยาข้าราชการ” หมายถึง แนวทางในการประพฤติปฏิบตั ิตนของข้าราชการ เพื่อให้การปฏิบตั ิหน้าที่มี


ประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด และดารงตนในสังคมอย่างเหมาะสมทั้งนี้ เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน

“ข้าราชการ” หมายถึง ข้าราชการพลเรื อน พนักงานราชการ และลูกจ้างในสังกัดข้าราชการพลเรื อน


การทางานราชการเป็ นการทางานเพื่อประเทศชาติและประชาชน ซึ่ งเป็ นงานที่มีผลกระทบทั้งในปั จจุบนั
และอนาคตต่อสังคมมากกว่าที่จะมีผลต่อตนเองและพวกพ้อง ดังนั้น อาชี พราชการในทุกชาติทุกสังคมจึง
ได้รับ ความคาดหวังจากประชาชนในประเทศชาติ ว่าข้าราชการจะปฏิ บตั ิ งานปฏิ บตั ิ ตนโดยยึดถื อความ
ถูกต้องเป็ นธร ซื่ อสัตย์ รับผิดชอบ เสี ยสละ และมีจริ ยธรรมในการทางานสู ง ข้าราชการจึงเป็ นบุคคลที่ตอ้ ง
ทาหน้าที่ในการ สาธารณประโยชน์ต่อประชาชนโดยไม่เลือกข้างและต้องนานโยบายของชาติมาปฏิบตั ิให้
เกิดประสิ ทธิ ผล การปฏิบตั ิหน้าที่ให้แก่ประชาชนอย่างมีคุณภาพจึงขึ้นอยูก่ บั การปฏิบตั ิหน้าที่ของข้าราชการ
ซึ่ ง จะต้องซึ่ ง จะต้อ งมี จิ ตสานึ ก ใน หน้า ที่ กระทาในสิ่ ง ที่ ถู ก ต้อง เป็ นธรรมเสี ย สละ และมุ่ ง ประโยชน์
ส่ วนรวมเป็ นที่ต้ งั
ข้า ราชการทุ ก ท่า นต้องรั ก ษาจรรยาข้าราชการตามที่ ส่ วนราชการก าหนดไว้โดยมุ่ ง ประสงค์ใ ห้
ข้าราชการที่ดีมีเกียรติและศักดิ์ศรี ความเป็ นข้าราชการ โดยเฉพาะในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. การยึดมัน่ และยืนหยัดทาในสิ่ งที่ถูกต้องข้าราชการพึ่งยึดมัน่ ในระบบคุ ณธรรม ปฏิ บตั ิหน้าที่ตามกรอบ
มายด้วยความถูกต้อง เช่น ปฏิบตั ิหน้าที่โดยยึดถือความถูกต้องตามหลักวิชาการกฎหมายกล้าที่จะปฏิเสธต่อ
เสนอหรื อผลประโยชน์ที่ไม่ถูกต้องและปฏิบตั ิหน้าที่อย่างถูกต้องตามคาสั่งของผูบ้ งั คับบัญชาที่ถูกกฎหมาย
กฎเกณฑ์ เหตุผลอันชอบธรรม
2. ความซื่ อสัตย์สุ จริ ตและความรับผิดชอบข้าราชการต้องปฏิ บตั ิหน้าที่ดว้ ยความซื่ อสัตย์ สุ จริ ตทั้งต่อ เอง
และผูอ้ ื่ น ไม่แสวงหาผลประโยชน์ โดยมิ ชอบตระหนัก และสานึ กในหน้า ที่ ค วามรั บผิดชอบของตนเอง
หน่ ว ยงาน และต่ อ สั ง คม เช่ น ไม่ ใ ช้เ วลาราชการเพื่ อ ไปทางานนอกที่ ใ ห้ ผ ลประโยชน์ ต่ อ ตนเองและ
ครอบครัว ไม่มุ่งหวังหรื อแสวงหาประโยชน์อนั มิควรได้จากการปฏิ บตั ิงาน ไม่รับของขวัญหรื อของกานัน
อัน มี ค่ า มากเกิ น กว่ า ที่ ก ฎหมายก าหนด และใช้ดุ ล พิ นิ จ ในการตัด สิ น ใจด้ว ยความสุ จ ริ ต ใจ ตรงตาม
เจตนารมณ์ของกฎหมาย
3. การปฏิ บตั ิ หน้าที่ ด้วยความโปร่ งใสและสามารถตรวจสอบได้ ข้า ราชการต้องปฏิ บตั ิหน้าที่ด้วยความ
โปร่ งใสเปิ ดเผยอย่างมีเหตุผลด้วยความบริ สุทธิ์ ใจ พร้ อมรับการตรวจสอบ เช่ น กาหนดระยะเวลาในการ
ปฏิ บตั ิงาน ของแต่ละขั้นตอน เก็บหลักฐานการปฏิ บตั ิ งานไว้พร้ อมสาหรับการตรวจสอบ หรื อกรณี ที่ไม่
สามารถปฏิบตั ิหรื อ กระทาตามคาขอของผูร้ ับบริ การ สามารถชี้แจงหรื อให้เหตุผลที่เหมาะสมได้
4. การปฏิบตั ิหน้าที่โดยไม่เลือกปฏิบตั ิอย่างไม่เป็ นธรรมข้าราชการต้องปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความเสมอภาค เป็ น
ธรรม และปราศจากอคติ เช่ น ปฏิ บ ตั ิ ห น้า ที่ ต้อ งกระทาอย่า งถู ก ต้องบนพื้ นฐานของความเสมอภาคมี
มาตรฐาน ในการใช้หลักการและเหตุผลอย่างเสมอต้นเสมอปลายไม่กระทาการอันใดเป็ นการช่ วยเหลื อ
อุปถัมภ์ หรื อเลือก ปฏิบตั ิอย่างไม่เป็ นธรรม
5. การมุ่ งผลสั มฤทธิ์ ของงาน ข้า ราชการต้องปฏิ บตั ิ หน้า ที่ ด้วยความมุ่งมัน่ กระตื อรื อร้ น อย่างเต็มความ
สามารถเพื่อให้งานสาเร็ จสมบูรณ์ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล เช่น ปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความทุ่มเท
สติปัญญา ความรู ้ ความคิดที่มีอยูใ่ ห้กบั งานอย่างเต็มที่มุ่งมัน่ ปฏิบตั ิงานให้บรรลุผลตามเป้ าหมายโดยวิธีการ
กระบวนการที่ ถู ก ต้อ ง และเป็ นธรรม ด้ว ยความเป็ นมื อ อาชี พ และพัฒ นาตนเองให้ เ ป็ นผู้มี ค วามรู้
ความสามารถและความชานาญในการปฏิบตั ิงาน
หากข้า ราชการทุ ก ท่ า นมี ค วามมุ่ ง มัน่ ตั้ง ใจที่ จะปฏิ บ ัติตามจรรยาข้า ราชการข้า งต้นอย่า งจริ ง จัง โดยยึ ด
ประโยชน์ของประเทศชาติ และประชาชนเป็ นสาคัญแล้วความดี งามทั้งหลายจะส่ งผลให้การปฏิ บตั ิงาน
ราชการ มี ความเจริ ญก้าวหน้าในหน้าที่ มี ประสิ ทธิ ภาพ คุ ณภาพของงานเพิ่มมากยิ่งขึ้ น ทั้งเป็ นที่ ศรั ทธา
เชื่ อถื อ ของประชาชน สร้ างภาพลักษณ์ ที่ดีให้กบั หน่ วยงานและนาพาประเทศชาติให้มีความเจริ ญรุ่ งเรื อง
ต่อไป

ประมวลจริ ยธรรมข้าราชการพลเรื อน ได้กาหนดแนวทางให้ขา้ ราชการประพฤติ ปฏิ บตั ิรวม 10 ประการ


สรุ ปได้ดงั นี้
1.ข้าราชการต้องยึดมัน่ ในจริ ยธรรม และยืนหยัดกระทาในสิ่ งที่ถูกต้อง และเป็ นธรรม
2.ข้า ราชการต้องมี จิตสานึ ก ที่ ดี และความรั บ ผิดชอบต่อหน้า ที่ เสี ย สละ ปฏิ บ ตั ิ หน้า ที่ ด้วยความรวดเร็ ว
โปร่ งใส และสามารถตรวจสอบได้
3.ข้าราชการต้องแยกเรื่ องส่ วนตัวออกจากตาแหน่ งหน้าที่ และยึดถื อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติ
เหนือกว่าประโยชน์ส่วนตน
4.ข้าราชการต้องละเว้นจากการแสวง ประโยชน์ที่มิชอบโดยอาศัยตาแหน่งหน้าที่ และไม่กระทาการอันเป็ น
การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตน และประโยชน์ส่วนรวม
5.ข้าราชการต้องเคารพ และปฏิบตั ิตามรัฐธรรมนูญ และกฎหมายอย่างตรงไปตรงมา
6.ข้าราชการต้องปฏิ บตั ิหน้าที่ดว้ ย ความเที่ยงธรรม เป็ นกลางทางการเมือง ให้บริ การแก่ประชาชน โดยมี
อัธยาศัยที่ดี และไม่เลือกปฏิบตั ิโดยไม่เป็ นธรรม
7.ข้าราชการต้องปฏิ บตั ิตามกฎหมายว่า ด้วยข้อมูลข่าวสารของทางราชการอย่างเคร่ งครัด และรวดเร็ ว ไม่
ถ่วงเวลาให้เนิ่ นช้า และใช้ขอ้ มูลข่าวสารที่ได้มาจากการดาเนิ นงานเพื่อการในหน้าที่ และให้ขอ้ มูลข่าวสาร
แก่ประชาชนอย่างครบถ้วน ถูกต้อง ทันการณ์ และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริ ง
8.ข้าราชการต้องมุ่งผลสัมฤทธิ์ ของงาน รักษาคุณภาพ และมาตรฐานแห่งวิชาชีพโดยเคร่ งครัด
9.ข้าราชการต้องยึดมัน่ ในการปกครองระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข
10.ข้าราชการต้องเป็ นแบบอย่างที่ดีในการดารงตน รักษาชื่อเสี ยง และภาพลักษณ์ของราชการโดยรวม
พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า
โดยที่สมควรมีกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
จึงทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัติน้ ีเรี ยกว่า พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
มาตรา 2(1) พระราชบัญญัติน้ ีให้ใช้บงั คับตั้งแต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุ เบกษาเป็ นต้นไป
มาตรา 3 บรรดากฎหมาย กฎ และข้อบังคับใด ๆ ในส่ วนที่มีบญั ญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัติน้ ี หรื อซึ่ งขัด
หรื อแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัติน้ ี ให้ใช้พระราชบัญญัติน้ ีแทน

มาตรา 4 ในพระราชบัญญัติน้ ี
“เจ้าหน้าที่” หมายความว่า ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง หรื อผูป้ ฏิบตั ิงานประเภทอื่น ไม่วา่ จะเป็ นการแต่งตั้ง
ในฐานะเป็ นกรรมการหรื อฐานะอื่นใด
“หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม หรื อส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ ออย่างอื่นและมีฐานะเป็ น
กรม ราชการส่ วนภูมิภาค ราชการส่ วนท้องถิ่ น และรัฐวิสาหกิ จที่ต้ งั ขึ้ นโดยพระราชบัญญัติหรื อพระราช
กฤษฎีกา และให้หมายความรวมถึงหน่วยงานอื่นของรัฐที่มีพระราชกฤษฎีกากาหนดให้เป็ นหน่วยงานของ
รัฐตามพระราชบัญญัติน้ ีดว้ ย
มาตรา 5 หน่ วยงานของรั ฐต้องรั บผิดต่ อผูเ้ สี ยหายในผลแห่ งละเมิดที่เจ้าหน้าที่ ของตนได้ก ระทาในการ
ปฏิบตั ิหน้าที่ ในกรณี น้ ีผเู ้ สี ยหายอาจฟ้ องหน่วยงานของรัฐดังกล่าวได้โดยตรง แต่จะฟ้ องเจ้าหน้าที่ไม่ได้
ถ้า การละเมิ ดเกิ ดจากเจ้า หน้า ที่ ซ่ ึ ง ไม่ ไ ด้สั ง กัดหน่ ว ยงานของรั ฐ แห่ ง ใดให้ถื อ ว่า กระทรวงการคลัง เป็ น
หน่วยงานของรัฐที่ตอ้ งรับผิดตามวรรคหนึ่ง
มาตรา 6 ถ้าการกระทาละเมิดของเจ้าหน้าที่มิใช่การกระทาในการปฏิ บตั ิหน้าที่ เจ้าหน้าที่ตอ้ งรับผิดในการ
นั้นเป็ นการเฉพาะตัว ในกรณี น้ ีผเู ้ สี ยหายอาจฟ้ องเจ้าหน้าที่ได้โดยตรง แต่จะฟ้ องหน่วยงานของรัฐไม่ได้
มาตรา 7 ในคดีที่ผเู ้ สี ยหายฟ้ องหน่ วยงานของรัฐ ถ้าหน่วยงานของรัฐเห็ นว่าเป็ นเรื่ องที่เจ้าหน้าที่ตอ้ งรับผิด
หรื อต้องร่ วมรับผิด หรื อในคดีที่ผเู ้ สี ยหายฟ้ องเจ้าหน้าที่ถา้ เจ้าหน้าที่เห็นว่าเป็ นเรื่ องที่หน่วยงานของรัฐต้อง
รับผิดหรื อต้องร่ วมรับผิด หน่วยงานของรัฐหรื อเจ้าหน้าที่ดงั กล่าวมีสิทธิ ขอให้ศาลที่พิจารณาคดีน้ นั อยูเ่ รี ยก
เจ้าหน้าที่หรื อหน่วยงานของรัฐ แล้วแต่กรณี เข้ามาเป็ นคู่ความในคดี
ถ้าศาลพิพากษายกฟ้ องเพราะเหตุที่หน่ วยงานของรัฐหรื อเจ้าหน้าที่ที่ถูกฟ้ องมิใช่ ผตู ้ อ้ งรับผิด ให้ขยายอายุ
ความฟ้ องร้องผูท้ ี่ตอ้ งรับผิดซึ่ งมิได้ถูกเรี ยกเข้ามาในคดีออกไปถึงหกเดือนนับแต่วนั ที่คาพิพากษานั้นถึงที่สุด
มาตรา 8 ในกรณี ที่ ห น่ ว ยงานของรั ฐต้อ งรั บ ผิด ใช้ค่ า สิ น ไหมทดแทนแก่ ผูเ้ สี ย หายเพื่ อ การละเมิ ด ของ
เจ้าหน้าที่ ให้หน่ วยงานของรั ฐมี สิ ทธิ เรี ย กให้เจ้า หน้าที่ ผูท้ าละเมิ ดชดใช้ค่า สิ นไหมทดแทนดังกล่ าวแก่
หน่วยงานของรัฐได้ถา้ เจ้าหน้าที่ได้กระทาการนั้นไปด้วยความจงใจหรื อประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงสิ ทธิ
เรี ยกให้ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนตามวรรคหนึ่งจะมีได้เพียงใดให้คานึงถึงระดับความร้ายแรงแห่งการกระทา
และความเป็ นธรรมในแต่ละกรณี เป็ นเกณฑ์โดยมิตอ้ งให้ใช้เต็มจานวนของความเสี ยหายก็ได้
ถ้าการละเมิดเกิ ดจากความผิดหรื อความบกพร่ องของหน่ วยงานของรัฐหรื อระบบการดาเนิ นงานส่ วนรวม
ให้หกั ส่ วนแห่งความรับผิดดังกล่าวออกด้วย
ในกรณี ที่การละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่หลายคน มิให้นาหลักเรื่ องลูกหนี้ ร่วมมาใช้บงั คับและเจ้าหน้าที่แต่ละ
คนต้องรับผิดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนเฉพาะส่ วนของตนเท่านั้น
มาตรา 9 ถ้าหน่วยงานของรัฐหรื อเจ้าหน้าที่ได้ใช้ค่าสิ นไหมทดแทนแก่ผเู ้ สี ยหาย สิ ทธิ ที่จะเรี ยกให้อีกฝ่ าย
หนึ่ งชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนแก่ตนให้มีกาหนดอายุความหนึ่ งปี นับแต่วนั ที่หน่วยงานของรัฐหรื อเจ้าหน้าที่
ได้ใช้ค่าสิ นไหมทดแทนนั้นแก่ผเู ้ สี ยหาย
มาตรา 10 ในกรณี ที่เจ้าหน้าที่ เป็ นผูก้ ระทาละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐไม่วา่ จะเป็ นหน่ วยงานของรัฐที่ผนู ้ ้ นั
อยูใ่ นสังกัดหรื อไม่ ถ้าเป็ นการกระทาในการปฏิ บตั ิหน้าที่การเรี ยกร้ องค่าสิ นไหมทดแทนจากเจ้าหน้าที่ให้
นาบทบัญญัติม าตรา 8 มาใช้บ งั คับ โดยอนุ โลม แต่ ถ้ามิ ใ ช่ ก ารกระทาในการปฏิ บ ตั ิ หน้า ที่ ให้บ งั คับ ตาม
บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์
สิ ทธิ เรี ยกร้องค่าสิ นไหมทดแทนจากเจ้าหน้าที่ท้ งั สองประการตามวรรคหนึ่ ง ให้มีกาหนดอายุความสองปี
นับแต่วนั ที่หน่วยงานของรัฐรู ้ถึงการละเมิดและรู ้ตวั เจ้าหน้าที่ ผูจ้ ะพึงต้องใช้ค่าสิ นไหมทดแทน และกรณี ที่
หน่ วยงานของรัฐเห็ นว่าเจ้าหน้าที่ผนู ้ ้ นั ไม่ตอ้ งรับผิด แต่กระทรวงการคลังตรวจสอบแล้วเห็นว่าต้องรับผิด
ให้สิทธิ เรี ยกร้ องค่าสิ นไหมทดแทนนั้นมีกาหนดอายุความหนึ่ งปี นับแต่วนั ที่หน่ วยงานของรัฐมีคาสั่งตาม
ความเห็นของกระทรวงการคลัง
มาตรา 11 ในกรณี ที่ ผูเ้ สี ย หายเห็ นว่า หน่ วยงานของรั ฐต้องรั บ ผิดตามมาตรา 5 ผูเ้ สี ยหายจะยื่นคาขอต่ อ
หน่ วยงานของรั ฐให้พิ จารณาชดใช้ค่ า สิ นไหมทดแทนสาหรั บ ความเสี ย หายที่ เกิ ดแก่ ตนก็ ไ ด้ ในการนี้
หน่วยงานของรัฐต้องออกใบรับคาขอให้ไว้เป็ นหลักฐานและพิจารณาคาขอนั้นโดยไม่ชกั ช้า เมื่อหน่วยงาน
ของรัฐมีคาสั่งเช่ นใดแล้วหากผูเ้ สี ยหายยังไม่พอใจในผลการวินิจฉัยของหน่ วยงานของรัฐก็ให้มีสิทธิ ร้อง
ทุกข์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ภายในเก้าสิ บวันนับแต่
วันที่ตนได้รับแจ้งผลการวินิจฉัย
ให้หน่ วยงานของรัฐพิจารณาคาขอที่ได้รับตามวรรคหนึ่ งให้แล้วเสร็ จภายในหนึ่ งร้ อยแปดสิ บวัน หากเรื่ อง
ใดไม่อาจพิจารณาได้ทนั ในกาหนดนั้นจะต้องรายงานปั ญหาและอุปสรรคให้รัฐมนตรี เจ้าสังกัดหรื อกากับ
หรื อควบคุ ม ดู แ ลหน่ วยงานของรั ฐแห่ ง นั้น ทราบและขออนุ ม ตั ิ ข ยายระยะเวลาออกไปได้ แต่ รัฐ มนตรี
ดังกล่าวจะพิจารณาอนุมตั ิให้ขยายระยะเวลาให้อีกได้ไม่เกินหนึ่งร้อยแปดสิ บวัน
มาตรา 12 ในกรณี ที่เจ้าหน้าที่ ตอ้ งชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนที่หน่ วยงานของรั ฐได้ใช้ให้แก่ ผูเ้ สี ยหายตาม
มาตรา 8 หรื อในกรณี ที่เจ้าหน้าที่ ตอ้ งใช้ค่า สิ นไหมทดแทนเนื่ องจากเจ้า หน้าที่ ผูน้ ้ นั ได้ก ระทาละเมิ ดต่ อ
หน่วยงานของรัฐตามมาตรา 10 ประกอบกับมาตรา 8 ให้หน่วยงานของรัฐที่เสี ยหายมีอานาจออกคาสั่งเรี ยก
ให้เจ้าหน้าที่ผนู ้ ้ นั ชาระเงินดังกล่าวภายในเวลาที่กาหนด
มาตรา 13 ให้ค ณะรั ฐมนตรี จดั ให้มี ระเบี ย บเพื่ อให้เจ้าหน้าที่ ซ่ ึ งต้องรั บผิดตามมาตรา 8 และมาตรา 10
สามารถผ่อนชาระเงินที่จะต้องรับผิดนั้นได้โดยคานึ งถึ งรายได้ ฐานะ ครอบครัวและความรับผิดชอบ และ
พฤติการณ์แห่งกรณี ประกอบด้วย
มาตรา 14 เมื่อได้มีการจัดตั้งศาลปกครองขึ้นแล้ว สิ ทธิ ร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ตามมาตรา
11 ให้ถือว่าเป็ นสิ ทธิ ฟ้องคดีต่อศาลปกครอง
มาตรา 15 ให้นายกรัฐมนตรี รักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี
ผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการ
บรรหาร ศิลปอาชา
นายกรัฐมนตรี
หมายเหตุ:-เหตุ ผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คื อ การที่ เจ้าหน้าที่ ดาเนิ นกิ จการต่าง ๆ ของ
หน่ วยงานของรั ฐนั้น หาได้เป็ นไปเพื่ อประโยชน์อนั เป็ นการเฉพาะตัวไม่ การปล่ อยให้ความรั บผิดทาง
ละเมิดของเจ้าหน้าที่ ในกรณี ที่ปฏิบตั ิงานในหน้าที่และเกิดความเสี ยหายแก่เอกชนเป็ นไปตามหลักกฎหมาย
เอกชนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์จึงเป็ นการไม่เหมาะสมก่อให้เกิดความเข้าใจผิดว่า เจ้าหน้าที่
จะต้องรับผิดในการกระทาต่าง ๆ เป็ นการเฉพาะตัวเสมอไปเมื่อการที่ทาไปทาให้หน่วยงานของรัฐต้องรับ
ผิดต่อบุคคลภายนอกเพียงใดก็จะมีการฟ้ องไล่เบี้ยเอาจากเจ้าหน้าที่เต็มจานวนนั้น ทั้งที่บางกรณี เกิดขึ้นโดย
ความไม่ต้ งั ใจ หรื อความผิดพลาดเพียงเล็กน้อยในการปฏิบตั ิหน้าที่ นอกจากนั้น ยังมีการนาหลักเรื่ องลูกหนี้
ร่ วมในระบบกฎหมายแพ่งมาใช้บงั คับ ให้เจ้าหน้าที่ตอ้ งร่ วมรับผิดในการกระทาของเจ้าหน้าที่ผอู้ ื่นด้วย ซึ่ ง
ระบบนั้นมุ่งหมายแต่จะได้เงินครบโดยไม่คานึ งถึงความเป็ นธรรมที่จะมีต่อแต่ละคน กรณี เป็ นการก่อให้เกิด
ความไม่เป็ นธรรมแก่เจ้าหน้าที่และยังเป็ นการบัน่ ทอนกาลังขวัญในการทางานของเจ้าหน้าที่ดว้ ยจนบางครั้ง
กลายเป็ นปั ญ หาในการบริ หารเพราะเจ้า หน้า ที่ ไ ม่ ก ล้า ตัดสิ น ใจดาเนิ นงานเท่ า ที่ ค วร เพราะเกรงความ
รั บผิดชอบที่ จะเกิ ดแก่ ตน อนึ่ ง การให้คุ ณให้โทษแก่ เจ้า หน้าที่ เพื่อควบคุ มการทางานของเจ้าหน้าที่ ยงั มี
วิธีการในการบริ หารงานบุคคล และการดาเนิ นการทางวินยั กากับดูแลอีกส่ วนหนึ่ง อันเป็ นหลักประกันมิให้
เจ้าหน้าที่ทาการใด ๆ โดยไม่รอบคอบอยูแ่ ล้ว ดังนั้น จึงสมควรกาหนดให้เจ้าหน้าที่ตอ้ งรับผิดทางละเมิดใน
การปฏิ บตั ิงานในหน้าที่เฉพาะเมื่อเป็ นการจงใจกระทาเพื่อการเฉพาะตัว หรื อจงใจให้เกิ ดความเสี ยหายหรื
อประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงเท่านั้น และให้แบ่งแยกความรับผิดของแต่ละคนมิให้นาหลักลูกหนี้ร่วมมาใช้
บังคับ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความเป็ นธรรมและเพิ่มพูนประสิ ทธิ ภาพในการปฏิบตั ิงานของรัฐ จึงจาเป็ นต้องตรา
พระราชบัญญัติ
ประมวลกฎหมายอาญา ความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ
-------------------------
มาตรา ๑๔๗๑ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ซ้ื อ ทา จัดการหรื อรักษาทรัพย์ใด เบียดบังทรัพย์น้ นั เป็ นของตน
หรื อเป็ นของผูอ้ ื่นโดยทุจริ ต หรื อโดยทุจริ ตยอมให้ผอู ้ ื่นเอาทรัพย์น้ นั เสี ย ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ห้าปี ถึ ง
ยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๔๘๒ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน ใช้อานาจในตาแหน่ งโดยมิชอบ ข่มขืนใจหรื อจูงใจเพื่อให้บุคคลใด
มอบให้หรื อหามาให้ซ่ ึ งทรัพย์สินหรื อประโยชน์อื่นใดแก่ตนเองหรื อผูอ้ ื่น ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ห้าปี ถึง
ยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท หรื อประหารชีวติ
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๔๙๓ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน สมาชิ กสภานิ ติบญ ั ญัติแห่ งรั ฐ สมาชิ กสภาจังหวัด หรื อสมาชิ กสภา
เทศบาล เรี ยก รับ หรื อยอมจะรับทรัพย์สิน หรื อประโยชน์อื่นใดสาหรับตนเองหรื อผูอ้ ื่นโดยมิชอบ เพื่อ
กระทาการหรื อไม่กระทาการอย่างใดในตาแหน่งไม่วา่ การนั้นจะชอบหรื อมิชอบด้วยหน้าที่ ต้องระวางโทษ
จาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท หรื อประหารชีวติ
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๕๐๔ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน กระทาการหรื อไม่กระทาการอย่างใดในตาแหน่งโดยเห็นแก่ทรัพย์สิน
หรื อประโยชน์อื่นใด ซึ่ งตนได้เรี ยก รับ หรื อยอมจะรับไว้ก่อนที่ตนได้รับแต่งตั้งเป็ นเจ้าพนักงานในตาแหน่ง
นั้น ต้องระวางโทษจาคุ กตั้งแต่ห้าปี ถึ งยี่สิบปี หรื อจาคุกตลอดชี วิต และปรับตั้งแต่หนึ่ งแสนบาทถึงสี่ แสน
บาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๕๑๕ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ซ้ื อ ทา จัดการหรื อรักษาทรัพย์ใด ๆ ใช้อานาจในตาแหน่งโดย
ทุจริ ต อันเป็ นการเสี ยหายแก่รัฐ เทศบาล สุ ขาภิบาลหรื อเจ้าของทรัพย์น้ นั ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ห้าปี ถึง
ยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๕๒๖ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่จดั การหรื อดูแลกิ จการใด เข้ามีส่วนได้เสี ยเพื่อประโยชน์สา
หรับตนเองหรื อผูอ้ ื่น เนื่องด้วยกิจการนั้น ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่หนึ่ งปี ถึงสิ บปี และปรับตั้งแต่สองหมื่น
บาทถึงสองแสนบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๕๓๗ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่จ่ายทรัพย์ จ่ายทรัพย์น้ นั เกินกว่าที่ควรจ่ายเพื่อประโยชน์สาหรับ
ตนเองหรื อผูอ้ ื่น ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่หนึ่งปี ถึงสิ บปี และปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๕๔๘ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มี หน้าที่ หรื อแสดงว่าตนมี หน้าที่ เรี ยกเก็บหรื อตรวจสอบภาษี อากร
ค่าธรรมเนี ยม หรื อเงินอื่นใด โดยทุจริ ตเรี ยกเก็บหรื อละเว้นไม่เรี ยกเก็บภาษีอากร ค่าธรรมเนี ยมหรื อเงินนั้น
หรื อกระทาการหรื อไม่กระทาการอย่างใด เพื่อให้ผูม้ ีหน้าที่เสี ยภาษีอากรหรื อค่าธรรมเนี ยมนั้นมิตอ้ งเสี ย
หรื อเสี ยน้อยไปกว่าที่จะต้องเสี ย ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยี่สิบปี หรื อจาคุกตลอดชี วติ และปรับตั้ง
แต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๕๕๙ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่กาหนดราคาทรัพย์สินหรื อสิ นค้าใด ๆ เพื่อเรี ยกเก็บภาษีอากร
หรื อค่าธรรมเนี ยมตามกฎหมาย โดยทุจริ ตกาหนดราคาทรั พย์สินหรื อสิ นค้านั้น เพื่อให้ผมู้ ีหน้าที่เสี ยภาษี
อากรหรื อค่าธรรมเนี ยมนั้นมิตอ้ งเสี ยหรื อเสี ยน้อยไปกว่าที่จะต้องเสี ย ต้องระวางโทษจาคุ กตั้งแต่ห้าปี ถึ ง
ยีส่ ิ บปี หรื อจาคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๕๖๑๐ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ตรวจสอบบัญชี ตามกฎหมาย โดยทุจริ ต แนะนา หรื อกระทา
การหรื อไม่กระทาการอย่างใด เพื่อให้มีการละเว้นการลงรายการในบัญชี ลง
รายการเท็จในบัญชี แก้ไขบัญชี หรื อซ่ อนเร้น หรื อทาหลักฐานในการลงบัญชีอนั จะเป็ นผลให้การเสี ยภาษี
อากรหรื อค่าธรรมเนียมนั้นมิตอ้ งเสี ย หรื อเสี ยน้อยกว่าที่จะต้องเสี ย ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่หา้ ปี ถึงยีส่ ิ บปี
หรื อจาคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่ แสนบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๕๗๑๑ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน ปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสี ยหาย
แก่ผหู ้ นึ่ งผูใ้ ด หรื อปฏิ บตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยทุจริ ต ต้องระวางโทษจาคุ กตั้งแต่หนึ่ งปี ถึ งสิ บปี
หรื อปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๗ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๕๘ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน ทาให้เสี ยหาย ทาลาย ซ่อนเร้น เอาไปเสี ย หรื อทาให้สูญหายหรื อทาให้ไร้
ประโยชน์ ซึ่ งทรัพย์หรื อเอกสารใดอันเป็ นหน้าที่ของตนที่จะปกครองหรื อรักษาไว้ หรื อยินยอมให้ผูอ้ ื่น
กระทาเช่นนั้น ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกินหนึ่งแสนสี่ หมื่นบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๕๙ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ดูแล รักษาทรัพย์หรื อเอกสารใด กระทาการอันมิชอบด้วยหน้าที่
โดยถอน ทาให้เสี ยหาย ทาลายหรื อทาให้ไร้ประโยชน์ หรื อโดยยินยอมให้ผอู ้ ื่นกระทาเช่ นนั้น ซึ่ งตราหรื อ
เครื่ องหมายอันเจ้าพนักงานได้ประทับหรื อหมายไว้ที่ทรัพย์หรื อเอกสารนั้นในการปฏิบตั ิการตามหน้าที่ เพื่อ
เป็ นหลักฐานในการยึดหรื อรั กษาสิ่ งนั้น ต้องระวางโทษจาคุ กไม่เกิ นห้าปี หรื อปรับไม่เกิ นหนึ่ งแสนบาท
หรื อทั้งจาทั้งปรับ
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๖๐ ผูใ้ ดเป็ นเจ้า พนักงาน มีหน้า ที่รักษาหรื อใช้ดวงตราหรื อรอยตราของราชการหรื อของผูอ้ ื่ น
กระทาการอันมิชอบด้วยหน้าที่ โดยใช้ดวงตราหรื อรอยตรานั้น หรื อโดยยินยอมให้ผอู ้ ื่นกระทาเช่ นนั้น ซึ่ ง
อาจทาให้ผอู้ ื่นหรื อประชาชนเสี ยหาย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่ งแสนบาท หรื อ
ทั้งจาทั้งปรับ
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๖๑ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ทาเอกสาร กรอกข้อความลงในเอกสารหรื อดู แลรักษาเอกสาร
กระทาการปลอมเอกสารโดยอาศัยโอกาสที่ตนมีหน้าที่น้ นั ต้องระวางโทษจาคุ กไม่เกิ นสิ บปี และปรับไม่
เกินสองแสนบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๖๒ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ทาเอกสาร รับเอกสารหรื อกรอกข้อความลงในเอกสาร กระทา
การดังต่อไปนี้ในการปฏิบตั ิการตามหน้าที่
(๑) รั บรองเป็ นหลักฐานว่า ตนได้กระทาการอย่างใดขึ้ น หรื อว่าการอย่างใดได้กระทาต่อหน้าตนอันเป็ น
ความเท็จ
(๒) รับรองเป็ นหลักฐานว่า ได้มีการแจ้งซึ่ งข้อความอันมิได้มีการแจ้ง
(๓) ละเว้นไม่จดข้อความซึ่ งตนมีหน้าที่ตอ้ งรับจด หรื อจดเปลี่ยนแปลงข้อความเช่นว่านั้น หรื อ
(๔) รับรองเป็ นหลักฐานซึ่ งข้อเท็จจริ งอันเอกสารนั้น มุ่งพิสูจน์ความจริ งอันเป็ นความเท็จ
ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกินหนึ่งแสนสี่ หมื่นบาท
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๖๓ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ในการไปรษณี ย ์ โทรเลขหรื อโทรศัพท์ กระทาการอันมิชอบด้วย
หน้าที่ดงั ต่อไปนี้
(๑) เปิ ด หรื อยอมให้ผอู้ ื่นเปิ ด จดหมายหรื อสิ่ งอื่นที่ส่งทางไปรษณี ยห์ รื อโทรเลข
(๒) ทาให้เสี ย หาย ทาลาย ทาให้สู ญหาย หรื อยอมให้ผูอ้ ื่ นทาให้เสี ย หาย ทาลายหรื อทาให้สู ญหาย ซึ่ ง
จดหมายหรื อสิ่ งอื่นที่ส่งทางไปรษณี ยห์ รื อโทรเลข
(๓) กัก ส่ งให้ผิดทาง หรื อส่ งให้แก่บุคคลซึ่ งรู ้วา่ มิใช่เป็ นผูค้ วรรับซึ่ งจดหมาย หรื อสิ่ งอื่นที่ส่งทางไปรษณี ย ์
หรื อโทรเลข หรื อ
(๔) เปิ ดเผยข้อความที่ส่งทางไปรษณี ย ์ ทางโทรเลขหรื อทางโทรศัพท์
ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๖๔ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน รู้หรื ออาจรู้ความลับในราชการ กระทาโดยประการใด ๆ อันมิชอบด้วย
หน้าที่ ให้ผอู ้ ื่นล่วงรู ้ความลับนั้น ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่ งแสนบาท หรื อทั้งจา
ทั้งปรับ
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๖๕ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ปฏิบตั ิการให้เป็ นไปตามกฎหมาย หรื อคาสั่ง ซึ่ งได้สั่งเพื่อบังคับ
การให้เป็ นไปตามกฎหมาย ป้ องกันหรื อขัดขวางมิให้การเป็ นไปตามกฎหมายหรื อคาสั่งนั้น ต้องระวางโทษ
จาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
[อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่ งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่
๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐]
มาตรา ๑๖๖ ผูใ้ ดเป็ นเจ้าพนักงาน ละทิ้งงานหรื อกระทาการอย่างใด ๆ เพื่อให้งานหยุดชะงักหรื อเสี ยหาย
โดยร่ วมกระทาการเช่นนั้นด้วยกันตั้งแต่ห้าคนขึ้นไป ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่ ง
แสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
ถ้าความผิดนั้นได้กระทาลงเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในกฎหมายแผ่นดิน เพื่อบังคับรัฐบาลหรื อเพื่อข่มขู่
ประชาชน ผูก้ ระทาต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสิ บปี และปรับไม่เกินสองแสนบาทF
ข้อ 1. พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562 มีวตั ถุประสงค์ตามข้อใด
1. กาหนดมาตรฐานทางจริ ยธรรมของสังคมไทย
2. ใช้เป็ นหลักสาคัญในการจัดทาประมวลจริ ยธรรมของหน่วยงานของรัฐ
3. เป็ นกลไกตรวจสอบการรักษามาตรฐานทางจริ ยธรรม
4. ป้ องกันการทุจริ ตและประพฤติมิชอบในวงราชการ

ข้อ 2. หน่วยงานของรัฐใดที่ไม่อยูภ่ ายใต้บงั คับพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562


1. สานักงานเลขาธิการ
2. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
3. สานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร
4. กรมการขนส่ งทางราง

ข้อ 3. พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562 กาหนดให้มาตรฐานทางจริ ยธรรมจะต้องมีหลักเกณฑ์การ


ประพฤติปฏิบตั ิอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ กี่ประการ
1. 3 ประการ
2. 5 ประการ
3. 7 ประการ
4. 9 ประการ

ข้อ 4. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับ เลขาธิการ ก.พ.


1. เป็ นกรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรม
2. เป็ นรองประธานกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรม
3. ปฏิบตั ิงานธุรการของคณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรม
4. มีอายุไม่ต่ากว่าสี่ สิบห้าปี

ข้อ 5. ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับ พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562


1. องค์กรกลางบริ หารงานบุ คคลขององค์กรอิ สระ ไม่ตอ้ งนามาตรฐานทางจริ ยธรรมไปใช้ประกอบการ
จัดทาประมวลจริ ยธรรม
2. หน่วยงานธุ รการของศาลมิใช่หน่วยงานของรัฐ
3. กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิในคณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรมต้องมีอายุไม่ต่ากว่า 45 ปี
4. สภากลาโหมมีหน้าที่จดั ทาประมวลจริ ยธรรมสาหรับข้าราชการทหารและข้าราชการพลเรื อนกลาโหม

ข้อ 6. โดยทัว่ ไปคณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรมจะต้องทบทวนมาตรฐานทางจริ ยธรรมเมื่อใด


1. ทุก 2 ปี
2. ทุก 3 ปี
3. ทุก 4 ปี
4. ทุก 5 ปี

ข้อ 7. ข้อใดมิใช่กรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรมโดยตาแหน่ง


1. ผูแ้ ทนคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน
2. ผูแ้ ทนคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อนในสถาบันอุดมศึกษา
3. ผูแ้ ทนคณะกรรมการข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
4. ผูแ้ ทนคณะกรรมการข้าราชการตารวจ

ข้อ 8. มาตรฐานทางจริ ยธรรมคือหลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบตั ิอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ยกเว้น


ข้อใด
1. กล้ากระทาในสิ่ งที่ถูกต้องชอบธรรม
2. แสวงหาความรู้ตลอดเวลา
3. ดารงตนเป็ นแบบอย่างที่ดี
4. มีจิตสาธารณะ

ข้อ 9. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรมมีหน้าที่และอานาจตาม พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ.


2562 ยกเว้นข้อใด
1. ให้คาปรึ กษาเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ ดา้ นมาตรฐานทางจริ ยธรรมต่อคณะรัฐมนตรี
2. ปฏิบตั ิหน้าที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรี มอบหมาย
3. ตรวจสอบรายงานประจาปี ของหน่วยงานของรัฐ
4. จัดทาประมวลจริ ยธรรม

ข้อ 10. หน่วยงานของรัฐต้องดาเนินการในเรื่ องใด เพื่อเป็ นการรักษาจริ ยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ


1. กาหนดให้มีผรู ้ ับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาจริ ยธรรมประจาหน่วยงานของรัฐ
2. ให้ความรู ้แก่ประชาชนอย่างเท่าเทียมและเสมอภาค
3. จัดทาประมวลจริ ยธรรมให้สอดคล้องตามยุทธศาสตร์ชาติ
4. กากับดูแลการดาเนินกระบวนการรักษาจริ ยธรรม
ข้อ 11. พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562 มีผลใช้บงั คับตั้งแต่เมื่อใด
1. วันที่ 16 เมษายน 2562
2. วันที่ 17 เมษายน 2562
3. วันที่ 18 เมษายน 2562
4. วันที่ 19 เมษายน 2562

ข้อ 12. การจัดหลัก สู ตรการฝึ กอบรมและเผยแพร่ ค วามเข้า ใจเพื่ อให้เจ้า หน้า ที่ ข องรั ฐมี พ ฤติ ก รรมทาง
จริ ยธรรมเป็ นแบบอย่างที่ดี เป็ นหน้าที่ของผูใ้ ด
1. เจ้าหน้าที่ของรัฐ
2. ผูบ้ งั คับบัญชา
3. หน่วยงานของรัฐ
4. องค์กรกลางบริ หารงานบุคคล

ข้อ 13. กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ ใน ก.ม.จ. พ้นจากตาแหน่งตามข้อใด


1. กระทาความผิดโดยประมาทและถูกศาลพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก
2. เป็ นที่ปรึ กษาพรรคการเมือง
3. คณะรัฐมนตรี มีมติให้ออก
4. ครบวาระการดารงตาแหน่งสี่ ปี
ข้อ 14. การดาเนิ นการข้อใดถูกต้อง หากปรากฏว่าการจัดทาประมวลจริ ยธรรมไม่สอดคล้องกับมาตรฐาน
ทางจริ ยธรรม
1. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรมเสนอรายงานต่อคณะรัฐมนตรี
2. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรมแจ้งองค์กรกลางบริ หารงานบุคคลดาเนิ นการแก้ไขให้ถูกต้อง
3. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรมออกคาสั่งให้มีการแก้ไขให้ถูกต้อง
4. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรมเสนอรายงานต่อรัฐสภาเพื่อใช้มาตรการด้านงบประมาณ

ข้อ 15. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรมมี หน้าที่ กากับ ติ ดตามและประเมิ นผลการดาเนิ นการตาม


มาตรฐานทางจริ ยธรรม ที่ถูกที่สุดคือข้อใด
1. ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการประเมินพฤติกรรมทางจริ ยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ
2. จัดทารายงานประจาปี ของหน่วยงานของรัฐ
3. วินิจฉัยปั ญหาที่เกิดจากการใช้บงั คับ พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562
4. กาหนดแนวทางการบังคับใช้ประมวลจริ ยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ

ข้อ 16. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรม เรี ยกโดยย่อว่า


1. กมจ.
2. กม.จ.
3. ก.ม.จ.
4. ก.มจ.

ข้อ 17. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิในคณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรม


1. คณะรัฐมนตรี แต่งตั้งไม่เกิน 5 คน
2. คณะรัฐมนตรี แต่งตั้งไม่เกิน 7 คน
3. นายกรัฐมนตรี แต่งตั้งไม่เกิน 5 คน
4. นายกรัฐมนตรี แต่งตั้งไม่เกิน 7 คน

ข้อ 18. ผูร้ ักษาการตามพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562


1. ประธานกรรมการพิทกั ษ์ระบบคุณธรรม
2. ประธานกรรมการข้าราชการพลเรื อน
3. นายกรัฐมนตรี
4. อธิบดีกรมการศาสนา

ข้อ 19. จริ ยธรรม ตรงกับคาในภาษาอังกฤษข้อใด


1. Ethic
2. Morality
3. Occupation
4. Integrity

ข้อ 20. ข้อใดมิใช่กลไกหลักในการขับเคลื่อน พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562


1. มาตรฐานทางจริ ยธรรมและประมวลจริ ยธรรม
2. แนวนโยบายพื้นฐาน
3. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริ ยธรรม
4. การรักษาจริ ยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
เฉลย
ข้อ 1. ตอบ 2. เนื่ องจากรั ฐธรรมนู ญแห่ ง ราชอาณาจัก รไทย มาตรา 76 วรรคสาม บัญญัติใ ห้รัฐจัดให้มี
มาตรฐานทางจริ ย ธรรม เพื่ อให้หน่ วยงานของรั ฐใช้เป็ นหลัก ในการก าหนดประมวลจริ ย ธรรมส าหรั บ
เจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานนั้นๆ ซึ่ งจะต้องไม่ต่ากว่ามาตรฐานทางจริ ยธรรมดังกล่าว
ข้อ 2. ตอบ 3. มาตรา 3 บัญญัติให้หน่วยงานธุ รการของรัฐสภาไม่อยูใ่ นความหมายของหน่วยงานของรัฐ ซึ่ ง
สานักงานเลขาธิ การสภาผูแ้ ทนราษฎรเป็ นหน่ วยงานธุ รการ สังกัดรัฐสภา มีอิสระในการบริ หารงานบุคคล
งบประมาณ และดาเนินการอื่นตามพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการฝ่ ายรัฐสภา พ.ศ. 2554
ข้อ 3. ตอบ 3. มาตรา 5 หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบตั ิอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ 7 ประการ
ข้อ 4. ตอบ 1. ดูมาตรา 8 วรรคสอง
ข้อ 5. ตอบ 1. มาตรา 7 แม้หน่วยงานธุ รการขององค์กรอิสระจะมิใช่ หน่วยงานของรัฐตามพ.ร.บ.มาตรฐาน
ทางจริ ยธรรม พ.ศ. 2562 แต่มาตรา 7 แห่ งพ.ร.บ.ดังกล่าว บัญญัติให้นามาตรฐานทางจริ ยธรรมตามพ.ร.บ.นี้
ไปใช้ป ระกอบการพิ จารณาจัดท าประมวลจริ ย ธรรมของเจ้า หน้า ที่ ของรั ฐที่ อยู่ใ นความรั บ ผิดชอบด้วย
เพื่อให้การจัดทาประมวลจริ ยธรรมในภาครัฐมีมาตรฐานทางจริ ยธรรมในระดับเดียวกัน
ข้อ 6. ตอบ 4. ดู ม าตรา 15 โดยทัว่ ไปต้องทบทวนทุ ก 5 ปี เว้นแต่ กรณี ที่มี ความจาเป็ นหรื อสถานการณ์
เปลี่ยนแปลงไป จะทบทวนเร็ วกว่านั้นก็ได้
ข้อ 7. ตอบ 1. ดูมาตรา 8 (2) (3)
ข้อ 8. ตอบ 2. ดูมาตรา 5 (3) (4) (7)
ข้อ 9. ตอบ 4. ดูม าตรา 13 (1) (5) (7) ส าหรั บการจัดทาประมวลจริ ย ธรรมเป็ นหน้าที่ ขององค์ก รกลาง
บริ หารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐ
ข้อ 10. ตอบ 1. ดูมาตรา 19 (1)
ข้อ 11. ตอบ 2. มาตรา 2 บัญญัติให้ พ.ร.บ.นี้ ใช้บงั คับตั้งแต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิ จจานุ เบกษาเป็ น
ต้นไป ซึ่ งประกาศในราชกิจจานุ เบกษา เล่ม 136/ตอนที่ 50 ก/หน้า 1/16 เมษายน 2562 จึงมีผลใช้บงั คับตั้งแต่
วันที่ 17 เมษายน 2562 เป็ นต้นไป
ข้อ 12. ตอบ 4. ดูมาตรา 20
ข้อ 13. ตอบ 2. ดูมาตรา 9 (6)
ข้อ 14. ตอบ 2. ดูมาตรา 14 วรรคท้าย
ข้อ 15. ตอบ 1. ดูมาตรา 13 (4)
ข้อ 16. ตอบ 3. ดูมาตรา 8
ข้อ 17. ตอบ 3. ดูมาตรา 8 (4)
ข้อ 18. ตอบ 3. นายกรัฐมนตรี ดูมาตรา 4
ข้อ 19. ตอบ 1. Ethic
ข้อ 20. ตอบ 2. พ.ร.บ.นี้ จัดหมวดหมู่ออกเป็ น 3 หมวด ซึ่ งเป็ นกลไกหลักในการขับเคลื่ อนมาตรฐานทาง
จริ ยธรรม

You might also like