You are on page 1of 10

มคอ.

๓ รายละเอียดของรายวิชา (Course Specification)


(ปรับปรุงล่าสุด ๕ พ.ย. ๖๕)

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร


วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา พยาธิวิทยา

หมวดที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป

๑.๑ รหัสและชื่อรายวิชา
๔๐๕๒๑๓ พยาธิวิทยา
Pathology

๑.๒ จานวนหน่วยกิต ๔ (๓-๒-๗)

๑.๓ หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
หลักสูตร
คณะสหเวชศาสตร์
- วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิขา เทคนิคการแพทย์

- วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา รังสีเทคนิค


- ทัศนมาตรศาสตรบัณฑิต
คณะพยาบาลศาสตร์
- พยาบาลศาสตรบัณฑิต
คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา วิทยาศาสตร์การแพทย์
- วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา พยาธิวิทยากายวิภาค
- วิทยาศาสตรบัณฑิต ควบ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
คณะสาธารณสุขศาสตร์
- การแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต

ประเภทของรายวิชา วิชาบังคับในหมวดวิชาเฉพาะด้าน กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ

1
๑.๔ อาจารย์ที่รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
๑.๔.๑ ผู้รับผิดชอบรายวิชา และผู้ประสานงานรายวิชา
๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ ดร. ณตพล ศุภณัฐเศรษฐกุล (ผู้รับผิดชอบรายวิชา)
๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิง ละออ ชมพักตร์ (ผู้ประสานงานรายวิชา)

๑.๔.๒ อาจารย์ผู้สอน
๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิง จุลินทร สาราญ
๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิง ละออ ชมพักตร์
๓. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ ดร.ณตพล ศุภณัฐเศรษฐกุล
๔. อาจารย์ นายแพทย์ ทศพล มีน่วม
๕. อาจารย์ นายแพทย์ ชัยพร วิโรจน์แสงอรุณ
๖. อาจารย์ นายแพทย์ ภูศิษฏ์ เรืองวาณิชยกุล
๗ อาจารย์ นายแพทย์ รักษิต ชินรักษ์บารุง
๘. อาจารย์ นายแพทย์ นันท์ สิงห์ปาน
๙. อาจารย์ นายแพทย์ เจษฎา จันทร์คฤหาสน์

๑.๕ ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน
ภาคปลาย ปีการศึกษา ๒๕๖๕

๑.๖ รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี)


-

๑.๗ รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี)


-

๑.๘ สถานที่เรียน
(On-site) ห้อง QS 4401 อาคารเฉลิมพระเกียรติ (อาคารเรียนรวม QS) มหาวิทยาลัยนเรศวร
(On-line) ผ่านโปรแกรม Google Classroom รหัสเข้าห้องเรียน ecl32ev

๑.๙ วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
วันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๕

2
หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

๒.๑ จุดมุ่งหมายของรายวิชา
- อธิบาย ความหมายขอบเขต ความสาคัญ หลักการและวิธีการศึกษาทางพยาธิวิทยาได้
- อธิบาย สาเหตุและกลไกการเกิดโรค การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างและหน้าที่ การดาเนินโรค
อันเป็นผลมาจาก การบาดเจ็บของเซลล์ การอักเสบ การซ่อมแซมและการหาย ความผิดปกติจาก
ของเหลวและระบบไหลเวียน การติดเชื้อ ความผิดปกติของภูมิคุ้มกัน การเจริญที่ผิดปกติ
เนื้องอกและมะเร็ง
- สามารถเรียนรู้ถึงโรคที่สาคัญ โรคที่พบบ่อยและเป็นปัญหาสาคัญในประเทศไทย
- ศึกษาโรคและความผิดปกติของร่างกายตามระบบ ทั้งในด้านอุบัติการณ์ การจาแนกและชนิดของ
โรค พยาธิกาเนิด สาเหตุ พยาธิสภาพ และการดาเนินโรค

๒.๒ วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
- การปรับปรุงรายวิชานี้เพื่อให้ตอบสนองต่อการเรียนรู้ของหลั กสูตร และปรับปรุงเนื้อหาให้ มี
ความทันสมัย และเพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนวิชาอื่น ๆ ต่อไป
- เพื่อส่ งเสริ มการจั ด การเรี ย นการสอนโดยเน้น การเรีย นรู้ด้ว ยตนเองอย่ างเป็นรู ปธรรม และ
พัฒนาการเรียนการสอนในภาคปฏิบัติโดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ นิสิตเรียนรู้ด้วยตนเอง
ทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ

หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดาเนินการ

๓.๑ คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ และเนื้อเยื่อ รวมทั้งอวัยวะต่าง ๆ ภายหลังได้รับอันตราย และเกิด
โรคโดยทั่วไป ตลอดจนผลการเปลี่ยนแปลงหรือพยาธิสภาพที่มีต่อการทางานของอวัยวะนั้น ๆ อันเป็ นการ
แสดงอาการของโรค
Study the general pathology of cell injury, inflammation, repair, healing, infection and
neoplasia, for basic understanding the systemic diseases especially terminology and clinical
manifestation

๓.๒ จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา (๑๖ สัปดาห์)


บรรยาย สอนเสริม ปฏิบัติการ การศึกษาค้นคว้า
ด้วยตนเองนอกเวลา
๔๘ - ๓๒ ๑๑๒

3
๓.๓ จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
- อาจารย์ประจารายวิชาประกาศเวลาให้คาปรึกษาที่หน้าห้องทางาน และในเว็ปไซต์ภาควิชา
- นิสิตจองวันเวลาล่วงหน้า หรือมาพบตามเวลาที่ประกาศ หรือ e-mail ถึงอาจารย์ประจารายวิชา
โดยตรง

หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

๔.๑ ความรู้
๔.๑.๑ ผลการเรียนรู้
- อธิบาย ความหมายขอบเขต ความสาคัญ หลักการและวิธีการศึกษาทางพยาธิวิทยาได้
- อธิบาย สาเหตุและกลไกการเกิดโรค การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างและหน้าที่ การ
ดาเนินโรค อันเป็นผลมาจาก การบาดเจ็บของเซลล์ การอักเสบ การซ่อมแซมและการ
หาย ความผิดปกติจากของเหลวและระบบไหลเวียน การติดเชื้อ ความผิดปกติของ
ภูมิคุ้มกัน การเจริญที่ผิดปกติ เนื้องอกและมะเร็ง
- สามารถจาแนกชนิดของโรค พยาธิกาเนิด สาเหตุ พยาธิสภาพ และการดาเนินโรคตาม
ระบบของร่างกาย
๔.๑.๒ วิธีการสอน
- บรรยาย ปฏิบัติการ และค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ตามที่ได้รับมอบหมาย
๔.๑.๓ วิธีการประเมินผล
- สอบบรรยาย และปฏิบัติการ
- ประเมินจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย

๔.๒ ทักษะทางปัญญา
๔.๒.๑ ผลการเรียนรู้
- นิ สิ ต สามารถคิ ด อย่ า งมี วิ จ ารณญาณและมี ร ะบบ เพื่ อ ค้ น คว้ า เกี่ ย วกั บ งานที่ ไ ด้ รั บ
มอบหมาย
๔.๒.๒ วิธีการสอน
- มอบหมายงาน (assignment) ให้นิสิตดาเนินการ
๔.๒.๓ วิธีการประเมินผล
- ประเมินจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย

4
๔.๓ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
๔.๓.๑ ผลการเรียนรู้
- รับผิดชอบในการศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง และปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายให้ครบถ้วน
ตามกาหนดเวลา
๔.๓.๒ วิธีการสอน
- มอบหมายงาน (assignment) ให้นิสิตดาเนินการ
๔.๓.๓ วิธีการประเมิน
- ประเมินจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย

หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล

๕.๑ แผนการสอน
เนื้อหา/หัวข้อการเรียนภาคบรรยาย ชั่วโมง
• Introduction to pathology ๓ (อ.ละออ)
• Cellular pathology ๓ (อ.จุลินทร)
• Inflammation and repair ๓ (อ.ณตพล)
• Hemodynamic disorders ๓ (อ.ละออ)
• Disorder of immunity ๓ (อ.ทศพล)
• Infection diseases ๖ (อ.ทศพล)
• Neoplasia ๓ (อ.เจษฎา)
• Cardiovascular system ๓ (อ.ละออ)
• Respiratory system ๓ (อ.ชัยพร)
• Gastrointestinal system ๓ (อ.จุลินทร)
• Central nervous system ๓ (อ.รักษิต)
• Musculoskeletal system ๓ (อ.ภูศิษฏ์)
• Endocrine system ๓ (อ.นันท์)
• Genitourinary system ๓ (อ.ละออ)
• Perinatal pathology ๓ (อ.ชัยพร)
๔๘

5
เนื้อหา/หัวข้อการเรียนภาคปฎิบัติการ ชั่วโมง (อ.ณตพล)
ปฏิบัติการครั้งที่ ๑ ๘
o Cellular pathology
o Inflammation and repair
o Hemodynamic disorders
ปฏิบัติการครั้งที่ ๒ ๘
o Infection diseases
o Neoplasia
ปฏิบัติการครั้งที่ ๓ ๘
o Cardiovascular system
o Respiratory system
o Gastrointestinal system
o CNS and musculoskeletal system
ปฏิบัติการครั้งที่ ๔ ๘
o Endocrine system
o Genitourinary system
o Perinatal pathology
อวน1
_
าน
๓๒
ปแ ว
บe_
สอบ ตอ

๕.๒ แผนการประเมินผลการเรียนรู้
มาตรฐานผลการเรียนรู้ วิธีการ สัดส่วนการ
คุณธรรม ความรู้ ทักษะทาง ความสัมพันธ์ ทักษะการ ประเมิน ประเมิน
จริยธรรม ปัญญา ระหว่างบุคคล วิเคราะห์เชิง ผล ผล
และความ ตัวเลข สื่อสาร (๑๐๐%)
รับผิดชอบ และเทคโนโลยี
สารสนเทศ
ภาคบรรยาย XX MCQ ๖๐%
(Lecture)
ภาคปฏิบัติการ XX XX MCQ ๓๐%
(Laboratory)
งานที่ได้รับมอบหมาย XX XX XX ปรนัย ๑๐%
(Assignment)

6
ดูรู
ล้
ก็
ล้
- รายละเอียดการสอบบรรยาย และปฏิบัติการ

หัวข้อ สอบ จานวน


ครั้งที่ ข้อ ชนิดของข้อสอบ กาหนด สัดส่วน
Inter ของ
Recall pretation การสอบ การประเมิน
๑. Introduction to pathology ๑ ๕ ๔ ๑ สัปดาห์ที่ ๙ ๓๐%
๒. Cellular pathology ๑ ๑๕ ๑๒ ๓ (๘๐ ข้อ)
-

๓. Inflammation & repair ๑ ๑๐ ๘ ๒


_

๔. Hemodynamic disorders ๑ ๑๐ ๘ ๒
๕. Disorders of immunity ๑ ๑๐ ๘ ๒
๖. Infection diseases ๑ ๒๐ ๑๖ ๔
๗. Neoplasia ๑ ๑๐ ๘ ๒
รวม ๘๐ ๖๔ ๑๖
๘. Cardiovascular system ๒ ๑๐ ๘ ๒ สัปดาห์ที่ ๑๖ ๓๐%
๙. Respiratory system ๒ ๑๐ ๘ ๒ (๘๐ ข้อ)
๑๐. Gastrointestinal system ๒ ๑๐ ๘ ๒
๑๑. Central nervous system ๒ ๑๐ ๘ ๒
๑๒. Musculoskelatal system ๒ ๑๐ ๘ ๒
๑๓. Endocrine system ๒ ๑๐ ๘ ๒
๑๔. Genitourinary system ๒ ๑๐ ๘ ๒
๑๕. Perinatal pathology ๒ ๑๐ ๘ ๒
รวม ๘๐ ๖๔ ๑๖

หัวข้อ จานวนข้อ กาหนด สัดส่วนของ


การสอบ การประเมินผล
ปฏิบัติการ ๑ ๑๘ สัปดาห์ ๙ ๑๕%
• Cellular pathology (๓๐ ข้อ) 30 นา

• Inflammation & repair


• Hemodynamic disorders
ปฏิบัติการ ๒ ๑๒
• Infection diseases
• Neoplasia

7
ที่
ข้
หัวข้อ จานวนข้อ กาหนด สัดส่วนของ
การสอบ
ปฏิบัติการ ๓ ๑๖ สัปดาห์ ๑๗ ๑๕%
• Cardiovascular system (๓๐ ข้อ)
• Respiratory system
• Gastrointestinal system
• Central nervous system
• Musculoskeletal system
ปฏิบัติการ ๔ ๑๔
• Endocrine system
• Genitourinary system
• Perinatal pathology

- งานที่ได้รับมอบหมายรายบุคคล (Assignment)
หัวข้อ คะแนนเต็ม กาหนด สัดส่วนของ
การส่ง การประเมินผล
Assignment ๑ ๓๐ สัปดาห์ ๔ ๒.๕%

Assignment ๒ ๓๐ สัปดาห์ ๗ ๒.๕%

Assignment ๓ ๓๐ สัปดาห์ ๑๒ ๒.๕%

Assignment ๔ ๓๐ สัปดาห์ ๑๖ ๒.๕%

การขาดสอบภาคบรรยาย และภาคปฏิบัติการ
๑. กรณีที่ลาป่วย ให้แจ้งอาจารย์ผู้คุมสอบในวันสอบ และส่งใบลาพร้อมใบรับรองแพทย์ ที่ระบุวันที่ขาดสอบ
ชัดเจน ให้ผู้รับผิดชอบรายวิชาทราบ ภายใน ๓ วัน หลังการสอบ
๒. กรณีที่ลากิจ ให้ส่งใบลาพร้อมความเห็นอาจารย์ที่ปรึกษา ให้ผู้รับผิดชอบรายวิชาทราบล่วงหน้า อย่าง
น้อย ๕ วัน ก่อนวันสอบ และต้องได้รับอนุญาตจากผู้รับผิดชอบรายวิชาด้วย
๓. หากไม่ส่งใบลาใน ๒ กรณีดังกล่าวข้างต้น จะไม่อนุญาตให้สอบทดแทนในครั้งที่ขาด

8
๔. ในกรณีที่มีการจัดสอบซ่อมระหว่างภาคเรียน ภาควิชาจะประกาศเกณฑ์การสอบซ่อมผ่านให้ทราบอีก
ครั้งหนึ่ง (โดยปกติจะคิด ๕๐% ของคะแนนเต็มในการสอบชุดนั้น) ซึ่งผลการสอบซ่อม จะนามาร่วมพิจารณาใน
การตัดเกรดสุดท้าย (final grade) ของรายวิชา
๕. ผลการเรียน และข้อพิจารณาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในรายวิชานี้ จะนาเข้าที่ประชุมภาควิชาพยาธิวิทยา ซึ่ง
ผลการวินิจฉัย และมติที่ประชุมถือเป็นที่สุด

เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
- การตัดเกรดจะพิจารณารวมทุกคณะโดยใข้วิธีอิงกลุ่ม อิงเกณฑ์ หรือวิธีอื่นที่เหมาะสม
- ในกรณีที่เกรดตัดแบบอิงเกณฑ์ ให้พิจารณาจากคะแนนรวม (%) ดังนี้
น้อยกว่า ๕๐.๐๐ และสอบซ่อมไม่ผ่าน =F
๕๐.๐๐ – ๕๔.๙๙ =D
๕๕.๐๐ – ๕๙.๙๙ = D+
๖๐.๐๐ – ๖๔.๙๙ =C
๖๕.๐๐ – ๖๙.๙๙ = C+
๗๐.๐๐ – ๗๔.๙๙ =B
๗๕.๐๐ – ๗๙.๙๙ = B+
ตั้งแต่ ๘๐.๐๐ ขึ้นไป =A

หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

๖.๑ ตาราและเอกสารหลัก
• ประมวลรายวิช า และเอกสารประกอบการบรรยายในหั ว ข้อ ต่า งๆ สามารถ download ได้ ที่
website ของภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์ (http://www.med.nu.ac.th)
• Damjanov I., “Pathology for the Health Profession, 4th edition.”, Missouri:
Elsevier Saunders, 2012.

๖.๒ เอกสารและข้อมูลสาคัญ
• สุ ภ รณ์ พงศะบุ ต ร, บรรณาธิ ก าร, “ต าราพยาธิ วิ ท ยาทั่ ว ไป, พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 1.”, ภาควิ ช า
พ ย า ธิ วิ ท ย า แ ล ะ นิ ติ เ ว ช ศ า ส ต ร์ , ค ณ ะ แ พ ท ย ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย น เ ร ศ ว ร ,
โกลบอลพริ้นท์, ๒๕๔๖.

9
๖.๓ เอกสารและข้อมูลแนะนา
• อนุ พ งศ์ นิ ติ เ รื อ งจรั ส , “พยาธิ วิ ท ยาพื้ น ฐานของโรคที่ พ บบ่ อ ย.”, คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, โอ เอส พริ้นติ้งเฮาส์, ๒๕๔๖.
• Kumar, V., Abbas A. K., Fausto N., Mitchell R. N., “Robbins Basic Pathology,
8th edition.”, Elsevier Inc., Philadelphia, 2007.
• Kuma, V., Abbas A. K., Fausto N., Aster J. C., “Robbins and Cotran Pathologic
Basis of Disease, 8th edition.” Elsevier Inc., Philadelphia, 2010.
• Porth, C. M., Matfin, G., “Pathophysiology Concepts of Altered Health States,
8th edition.”, Lippincott Williams & Wilkins., Philadelphia, 2009.

หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา

๗.๑ กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
๗.๒ กลยุทธ์การประเมินการสอน
- ผลการสอบ MCQ และการสอบภาคปฏิบัติการ
๗.๓ การปรับปรุงการสอน
- ประชุมการจัดการเรียนการสอนเพื่อหาแนวทางปรับปรุงพัฒนารายวิชา
๗.๔ การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
- คณะกรรมการรายวิช าพยาธิวิทยา ร่ว มกันวิเคราะห์ ข้ อสอบ จัดทาข้อสอบ และจัดทาแบบ
ประเมินพฤติกรรมการนาเสนอกรณีศึกษา และตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนิสิต โดย
ตรวจข้อสอบ และตัดเกรด
๗.๕ การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
- คณะกรรมการรายวิชาพยาธิวิทยา มีการประชุมเพื่อปรับปรุงรายวิชาทุกปี

10

You might also like