You are on page 1of 11

SAPIENS PHYSICS

1. ปริมาณทางฟิสกิ ส์
1.1 ระบบหน่วยระหว่างชาติ (SI Unit)
ประกอบด้วยหน่วยฐาน (SI Base Units) และ หน่วยอนุพันธ์ (SI Derived Units)
หน่วยฐาน (SI Base Units)
เป็นหน่วยหลักในระบบเอสไอ มีทั้งหมด 7 หน่วย
ชือ่ ตัวแปร หน่วย
ความยาว
มวล
เวลา
กระแสไฟฟ้า
อุณหภูมิ
ปริมาณสาร
ความเข้มการส่องสว่าง

หน่วยอนุพันธ์ (SI Derived Units)


เป็นหน่วยที่ได้จากการนำหน่วยฐานมาคำนวณทางฟิสิกส์
ชื่อ ตัวแปร หน่วย แสดงในหน่วยเอสไออื่นๆ
ความถี่ s-1
แรง kg.m/s2
ความดัน N/m2
ความเค้น
งาน
พลังงาน N.m
ปริมาณความร้อน
กำลัง J/s
ประจุไฟฟ้า A.s
ปริมาณไฟฟ้า
ศักย์ไฟฟ้า
ความต่างศักย์ J/C
แรงเคลื่อนไฟฟ้า
ความจุไฟฟ้า C/V
ความต้านทานไฟฟ้า V/A
ความนำไฟฟ้า  −1
ฟลักซ์แม่เหล็ก V.s
ความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็ก Wb/m2
การเหนี่ยวนำแม่เหล็ก
ความเหนี่ยวนำ Wb/A
ฟลักซ์การส่องสว่าง cd.sr
ความสว่าง lm/m2

2
SAPIENS PHYSICS

1.2 คำอุปสรรค (Prefix)


เป็นสิ่งที่ถูกสมมติขึ้นมาเพื่อใช้แทนการเรียก 10n (เมื่อ n คือ จำนวนเต็ม) เพื่อให้การจดบันทึก และการนำเสนอข้อมูล
สะดวกขึ้น

คำนำหน้าหน่วย คำนำหน้าหน่วย
ตัวคูณ ศัพท์ สัญลักษณ์ ตัวคูณ ศัพท์ สัญลักษณ์
ชือ่ บัญญัติ ชือ่ บัญญัติ
10-24 yocto ยอคโต y 101 deca เดคา da
10-21 zepto เซพโต z 102 hecto เฮกโต h
10-18 atto อัตโต a 103 kilo กิโล k
10-15 femto เฟมโต f 106 mega เมกะ M
10-12 pico พิโก p 109 giga จิกะ G
10-9 nano นาโน n 1012 tera เทระ T
10-6 micro ไมโคร  1015 peta เพตะ P
10-3 milli มิลลิ m 1018 exa เอกซะ E
10-2 centi เซนติ c 1021 zetta เซตตะ Z
10-1 deci เดซิ d 1024 yotta ยอตตะ Y

มาตราเทียบเวลา
1 h = ____ min
1 min = ____ sec
1 h = ____ sec
การเปลี่ยนคำนำหน้าหน่วยของพืน้ ที่
3.61 cm2 = ________ m2
4.81 mm2 = ________ m2
6.71 dm2 = ________ m2
การเปลี่ยนคำนำหน้าหน่วยของปริมาตร
0.57 cm3 = ________ m3
1839 mm3 = ________ m3
1271 dm3 = ________ m3

3
SAPIENS PHYSICS

2. การวัดและการบันทึกผลการวัดปริมาณทางฟิสกิ ส์
2.1 เครื่องมือวัด ความละเอียดของเครื่องมือ และการบันทึกผลการวัด
การวัดปริมาณต่างๆด้วยเครื่องมือวัดย่อมมีความแม่นยำอยู่ในช่วงที่จำกัด เพราะไม่มีเครื่องมือวัดใดที่สามารถวัดได้
ละเอียดทุกช่วง โดย
ไม้บรรทัด มีความละเอียด 1 มิลลิเมตร
เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ มีความละเอียด 0.1 มิลลิเมตร
ไมโครมิเตอร์ มีความละเอียด 0.01 มิลลิเมตร
การวัดความยาวโดยใช้ไม้บรรทัด
ความละเอียดเครื่องมือ =
ค่าที่อา่ นได้จากเครื่องมือ =
ค่าที่บันทึก =

ความละเอียดเครื่องมือ =
ค่าที่อา่ นได้จากเครื่องมือ =
ค่าที่บันทึก =

ความละเอียดเครื่องมือ =
ค่าที่อา่ นได้จากเครื่องมือ =
ค่าที่บันทึก =

ความละเอียดเครื่องมือ =
ค่าที่อา่ นได้จากเครื่องมือ =
ค่าที่บันทึก =

ความละเอียดเครื่องมือ =
ค่าที่อา่ นได้จากเครื่องมือ =
ค่าที่บันทึก =

4
SAPIENS PHYSICS

การวัดความยาวโดยใช้เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์

35.06 mm

3.74 mm

51.16 mm

5
SAPIENS PHYSICS

การวัดความยาวโดยใช้ไมโครมิเตอร์

5.67 mm

8.35 mm

0.58 mm

1.16 mm

6
SAPIENS PHYSICS

2.2 เลขนัยสำคัญ
คือ ตัวเลขที่ได้จากการวัด จำนวนเลขนัยสำคัญขึ้นอยู่กับเครื่องมือที่ใช้วัด เลขนัยสำคัญมีความสำคัญต่อการจดบันทึก
โดยไม่เกี่ยวว่าจะต้องมีเลขนัยสำคัญมากๆจึงจะเป็นเรื่องดี ต้องดูความเหมาะสมในการจดบันทึกด้วย
หลักการนับเลขนัยสำคัญ
ตัวเลขที่นำมาพิจารณา หลักการนับ ตัวอย่าง
1. ค่าคงที่ ไม่นับเป็นเลขนัยสำคัญ ค่า , e, c
1.2 มีเลขนัยสำคัญ 2 ตัว
2. เลขทุกตัวที่ไม่ใช่ 0 นับเป็นเลขนัยสำคัญทุกตัว 1.23 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
(เลข 1 – 9) 1.2121 มีเลขนัยสำคัญ 5 ตัว
3. เลข 0 จะแบ่งออกเป็น 4 กรณี
1) เลข 0 ที่อยู่ด้านซ้ายสุดของ 0.432 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
ตัวเลขใดๆ ไม่นับเป็นเลขนัยสำคัญ 0.0456 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
0.00205 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
202 มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว
2) เลข 0 ที่อยู่ระหว่างตัวเลขใดๆ นับเป็นเลขนัยสำคัญ 2002 มีเลขนัยสำคัญ 4 ตัว
200.01 มีเลขนัยสำคัญ 5 ตัว
3) เลข 0 ที่อยู่ด้านขวามือและหลัง 12.50 มีเลขนัยสำคัญ 4 ตัว
จุดทศนิยมของตัวเลขใดๆ นับเป็นเลขนัยสำคัญ 0.1200 มีเลขนัยสำคัญ 4 ตัว
0.00012000 มีเลขนัยสำคัญ 4 ตัว
4) เลข 0 ที่อยู่ด้านขวามือของ ไม่สามารถระบุจำนวนเลขนัยสำคัญได้ 120 มีเลขนัยสำคัญที่เป็นไปได้ 2 ตัว
จำนวนเต็ม แต่ไม่เป็นเลขทศนิยม ขึ้นกับความละเอียดของเครื่องมือวัด หรือ 3 ตัว ขึ้นกับเครื่องมือวัด

การบวกและลบเลขนัยสำคัญ
หลังจากบวกหรือลบตามวิธีการทางคณิตศาสตร์แล้ว ผลลัพธ์ที่ได้ต้องมีตัวเลขหลังจุดทศนิยมเท่ากับจำนวนตัวเลขหลัง
จุดทศนิยมที่นอ้ ยที่สดุ ของกลุ่มตัวเลขนั้น
เช่น 1.723 + 32.3 =
21.42 – 12.8 =

การคูณและหารเลขนัยสำคัญ
หลังจากคูณและหารตามวิธีการทางคณิตศาสตร์แล้ว ผลลัพธ์ที่ได้ต้องมีตัวเลขนัยสำคัญที่นอ้ ยที่สดุ ของกลุ่มนั้น
เช่น 2.52 x 1.2 =
28.8  4 =

7
SAPIENS PHYSICS

การปัดตัวเลข
- ถ้าตัวเลขนั้นน้อยกว่า 5 : ปัดตัวเลขถัดไปออกทั้งหมด
เช่น 5.7432 ถ้าต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตำแหน่ง ->
3.1931 ถ้าต้องการเลขนัยสำคัญ 3 ตำแหน่ง ->
- ถ้าตัวเลขนั้นมากกว่า 5 : เพิ่มค่าของตัวเลขตำแหน่งสุดท้ายที่ตอ้ งการอีก 1 และปัดเลขถัดไปออกทั้งหมด
เช่น 12.745 ถ้าต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตำแหน่ง ->
19.4597 ถ้าต้องการเลขนัยสำคัญ 4 ตำแหน่ง ->
- ถ้าตัวเลขนั้นเท่ากับ 5 และตามหลังด้วยเลขที่ไม่ใช่ 0 : เพิ่มค่าของตัวเลขตำแหน่งสุดท้ายที่ตอ้ งการอีก 1 และปัด
เลขถัดไปออกทั้งหมด
เช่น 2.457 ถ้าต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตำแหน่ง ->
15.673 ถ้าต้องการเลขนัยสำคัญ 1 ตำแหน่ง ->
- ถ้าตัวเลขนั้นเท่ากับ 5 และไม่มีเลขต่อท้าย ให้พิจารณาผลของการปัด ดังนี้
- ถ้าปัดแล้วเป็นเลขคู่ ให้ปัดขึน้
เช่น 2.35 ถ้าต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตำแหน่ง ->
- ถ้าปัดแล้วเป็นเลขคี่ ให้ปัดออก
เช่น 2.25 ถ้าต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตำแหน่ง ->
การคำนวณความคลาดเคลื่อนจากการวัด
กำหนด A = a  a และ B = b  b

การบวก : A + B = (a + b)  (a + b) การลบ : A − B = (a − b)  (a + b)

a b A a a b
การคูณ : A  B = (a  b)  ( + )% การหาร : =  ( + )%
a b B b a b
การรายงานความคลาดเคลื่อน
การวัดปริมาณต่างๆ จะมีความคลาดเคลื่อนเสมอ ขึ้นกับเครื่องมือ วิธีการวัด ประสบการณ์ของผู้วัด รวมไปถึง
สภาพแวดล้อม ในการทดลองหนึ่งๆ เราจึงมักจะมีการวัดซ้ำ หรือทดลองซ้ำหลายๆครั้ง เพื่อลดความคลาดเคลื่อนจาก
การทดลอง ในที่นี้จะพิจารณาเฉพาะความคลาดเคลื่อนเชิงสถิติเท่านั้น และจะเขียนรายงานผลการทดลองในรูปแบบ
ของค่าเฉลี่ยและค่าความคลาดเคลื่อนของค่าเฉลี่ย ตามรูปแบบ x   X ซึ่งคำนวณได้จาก

x1 + x2 + x3 + ... + xN
x =
N
xmax − xmin
x =
2

8
SAPIENS PHYSICS

2.3 ความแม่นและความเที่ยงของการวัด
ความแม่น หมายถึง ความสามารถของเครื่องมือวัดในการแสดงค่าใกล้เคียงกับค่าจริงมากที่สดุ
ความเที่ยง หมายถึง ความสามารถของเครื่องมือวัดในการแสดงค่าเดิมเมื่อทำการวัดซ้ำเดิมหลายๆครั้ง

แม่นยำ/เที่ยงตรง ไม่แม่นยำ/เที่ยงตรง แม่นยำ/ไม่เที่ยงตรง ไม่แม่นยำ/ไม่เที่ยงตรง

9
SAPIENS PHYSICS

3. แนวโจทย์
1. ในการทดลอง นักเรียน A วัดความยาวแท่งวัตถุหนึ่งที่มคี วามยาวประมาณ 8 เซนติเมตร ด้วยไม้บรรทัดที่มีการแบ่งช่อง
สเกลที่มีความละเอียด 0.1 เซนติเมตร โดยทำการวัด 5 ครั้ง ได้ผลดังนี้
ความยาวที่วัดได้ (เซนติเมตร) : 7.85 8.00 8.25 7.90 14.15
ถ้านักเรียน A รายงานผลการวัดเป็นค่าเฉลี่ยและค่าความคลาดเคลื่อนของค่าเฉลี่ย (  x ) โดยค่าความคลาดเคลื่อนของ
x −x
ค่าเฉลี่ย หาได้จาก  x = max min เมื่อ xmax และ xmin คือค่ามากสุดและค่าน้อยสุดของข้อมูล ตามลำดับ
2
นักเรียน A ควรรายงานผลการวัดความยาวของแท่งวัตถุนี้อย่างไรจึงเหมาะสมที่สุด

1) 8  0.2 เซนติเมตร
2) 8.0  0.2 เซนติเมตร
3) 8.00  0.20 เซนติเมตร
4) 9.2  3.2 เซนติเมตร
5) 9.23  3.15 เซนติเมตร

10
SAPIENS PHYSICS

2. วัดขนาดของวัตถุปริซึมสีเ่ หลี่ยมที่มฐี านเป็นรูปสีเ่ หลี่ยมจัตุรัส ดังภาพ

ปริซึมนี้มปี ริมาตรกี่ลกู บาศก์เซนติเมตร โดยคำนึงถึงเลขนัยสำคัญ กำหนดให้อ่านค่าความสูงและความยาวจากภาพทีข่ ยาย


เท่านั้น
1) 53.29
2) 53.3
3) 58
4) 58.4
5) 58.40

11

You might also like