You are on page 1of 7

ชื่อ-สกุลนิสิต: นางสาวจรรยพร แสงกระจ่างสุข

อาจารย์ผู้ควบคุม: กภ.จุฑารัตน์ จันทร์สว่าง

กภ.อรสา เยี่ยมจันทึก

แบบรายงานผู้ป่วยทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
ภาควิชากายภาพบำบัด คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ชื่อ-สกุลผู้ป่วย นายชีพวานนท์ โชติการพิพัฒน์ อายุ 50 ปี สถานภาพ -


อาชีพ ผอ.โรงเรียนจักรพงษ์บ้านห้วยเทียน
ที่อยู่ โรงเรียนจักรพงษ์บ้านห้วยเทียน ต.ปากชม อ.ปากชม จ.เลย
HN 0073205 WARD OPD วันที่รับผู้ป่วย 6 มีนาคม 2567
การวินิจฉัยทางกายภาพบำบัด -
การวินิจฉัยทางกายภาพบำบัด Piriformis Syndrome
อาการสำคัญ ปวดสะโพกทั้งสองข้างมาเป็นเวลา 2 สัปดาห์
SUBJECTIVE EXAMINATION

Pain: ปวดตึงๆลึกๆบริเวณสะโพกทั้งสองทั้ง
Intensity: NRS 9/10
□Constant □Intermittent
r

Presently: □ better □ worse


□/ stable
Aggravates: ยืน นั่ง นอนคว่ำและนอนหงาย
นานๆ
Eases: เปลี่ยนท่าเช่น จากยืนไปเดิน จากนั่งไป
ยืนหรือเดิน การนอนตะแคงและการยืด
Pain
กล้ามเนื้อ
T1 = 5 T2 = 30 นาที T3 = 5 นาที
Night: ปวดมากเมื่อนอนคว่ำและนอนหงาย จึงต้อง
มาเปลี่ยนท่านอนเป็นการนอนตะแคงจึงจะนอนต่อ
ได้
A.M.: ขึ้นอยู่กับกิจกรรมทีท่ ำ
P.M.: ขึ้นอยู่กับกิจกรรมที่ทำ
ADL and work: อาการปวดรบกวนการนอน การทำงานและการเข้าร่วมสังคม เช่น การเข้าวัด ผู้ป่วยไม่
สามารถคุกเข่าแล้วก้มลงกราบพระได้
Special question:
X-ray, MRI : -

PI:
เริ่มมีอาการปวดสะโพกประมาณ 6-7 ปี สิ่งที่ทำให้ผู้ป่วยจะมีอาการปวดมากขึ้นคือ การยืน การนัง่
ทำงานหรือการนั่งรถนานๆ เมื่อผู้มอี าการปวดผู้ป่วยจะไปรับการรักษาโดยการนวดแพทย์แผนไทย หลังการ
นวดบางครั้งอาการปวดดีขึ้น บางครั้งก็ไม่ดีขึ้น

ปลายเดือนกุมภาพันธ์ 2567 ผู้ป่วยเริ่มมีการอาการปวดสะโพกมากขึ้น ผู้ป่วยให้ประวัติว่าจะมีอาการมากขึ้น


เมื่อยืนหรือนั่งทำงานๆ บางครั้งรู้สึกว่ามีอาการชาร้าวลงขาทั้งสองข้างและมีอาการอ่อนแรงเมื่อยืนหรือนั่ง
นานๆ และจะยืดเหยียดกล้ามเนื้อเมื่อมีอาการปวดมากขึ้น โดยท่าที่ยืดกล้ามเนื้อคือ ท่าเอี้ยวตัว ท่ายืนแล้ว
ก้าวข้างหนึ่งไปข้างหน้ากระดกข้อเท้าขึ้นแล้วก้มตัวไปข้างหน้าและท่านั่งแล้วไข้วขาเป็นเลข 4 แล้วก้มต้วไป
ข้างหน้า

4 มีนาคม 2567 ผู้ป่วยมีอาการปวดสะโพกมาขึ้น NRS 10/10 จึงไปพบแพทย์โรงพยาบาลเลย ไม่


ทราบการวินิจฉัยแพทย์ แพทย์ให้การรักษาโดยการให้ยากิน และส่งตัวไปรักษาที่แผนกกายภาพบำบัด นัก
กายภาพโรงพยาบาลเลยได้ทำการประเมินและวินิจฉัยว่าเป็น Lumbar stenosis แต่เนื่องจากผู้ป่วย
โรงพยาบาลเลยเยอะร่วมกับตผูป้ ่วยติดธุระ นักกายภาพโรงพยาบาลบำบัดเลยจึงได้ส่งตัวผูป่วยมาทำ
กายภาพบำบัดที่โรงพยาบาลปากชม และผู้ป่วยให้ประวัติว่าแพทย์ได้นัดไป MRI ในวันที่ 9 เมษายน 2567

5 มีนาคม 2567 หลังได้รับยา อาการการปวดสะโพกลดลง จาก NRS 10/10 เหลือ NRS 9/10

6 มีนาคม 2567 เป็นวันแรกรับของนิสิตกายภาพบำบัดชั้นปีที่ 4 ผู้ป่วยมีอาการปวดสะโพกทั้งสอง


ข้าง NRS 9/10

PH:
- ปฏิเสธการมีโรคประจำตัว
- เคยได้รับอุบัติเหตุทางรถยนต์ ผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บบริเวณอกเป็นรอบเข็มขัดนิรภัย หลังและสะโพกไม่ได้รับ
การบาดเจ็บ
- ปฏิเสธการได้รับการผ่าตัด
- ปฏิเสธการแพ้ยา
- ดื่มสุราตามโอกาส
- ปฏิเสธการสูบบุหรี่
OBJECTIVE EXAMINATION
Observation:
- A man static body built
- Good consciousness
- Good communication
- Anterior view: Asymmetrical shoulder level (Rt > Rt)
Asymmetrical clavicle level (Rt > Rt)
Asymmetrical ASIS level (Lt > Rt)
Asymmetrical iliac crest level (Lt > Rt)
- Posterior view: Asymmetrical shoulder level (Rt >Lt)
Asymmetrical PSIS level (Rt > Lt)
- Lateral view: Forward head
Round shoulder
Lumbar hyperlodosis
Hypertension of knee

ROM: Lumbar
×

× × × limited bg pain

× ×

×
ROM: Hip
Action Normal ROM AROM PROM
Hip Flexion/Extension 120/0/30 Lt. 113*/0/25* . Lt.120/0/30
Rt. 110*/0/23* Rt. 120/0/30
Hip abduction/adduction 45/0/30 Lt. 39*/0/25* Lt. 45/0/30
Rt. 37*/0/25* Rt.45/0/30
Hip internal 45/0/45 Lt.38*/0/40* Lt. 45/0/45
rotation/Extension rotation Rt.27*/0/39* Rt 45/0/45
หมายเหตุ * หมายถึง limit ROM by tightness and pain
แปลผล Limit AROM of hip all directions by tightness and pain

Palpation:
- Normal temperature at both sides of hip
- Tenderness at Piriformis both sides
- Paravertebral muscle spasm at both sides (L5-S1)

Accessory movement test: มีแค่Rและ s. ไม่มี pain


aaooorotttooroerxroortotrthrttk
B D B 2 D
เ เ แ เ เ

ป2 -
-1/2 ป 2- -1 /2

i i
s "
A
งµ B A B
4 4 µ

H.vn ilateral PA แ Sา
Central PA
-

L1

B " D
เ เ เ
g.

ป 2- -1 /
2.
9.
A
4 2 งµ B

Rt .
vnilateral PA แ -2

แปลผล Hypomobility at L1-S1


ข่
ข่
ทุ๊
งุ
ขู่
ข่
ภื๋
กุ๊
Special tests:
SLR test : Negative
Piriformis test : Positive
Distraction test: Negative
Compression test: Negative
Sacral thrust: Negative

Muscle length tests:


- Tightness at piriformis both sides

Neurological examination:
Myotome
Level Motor testing Left Right
L1, L2 Hip Flexion 5 5
L3 Knee extension 5 5
L4 Ankle dorsiflexion 5 5
L5 Big toe extension 5 5
S1 Ankle plantar flexion 5 5

Impression: Piriformis syndrome


จากการซักประวัติข้อมูลที่สนับสนุนคือ ผู้ป่วยมีอาการปวดสะโพกทั้งสองข้าง จะมีอาการปวดมากขึ้นเมื่ออยู่
ท่าใดท่าหนึ่งนานๆ และเมื่อยืดกล้ามเนื้อในท่านัง่ แล้วไขว้ขาเป็นเลข 4 แล้วก้มตัวไปด้านหน้าแล้วอาการปวดจะดีขึ้น
และเคยมีอาการชาและปวดร้าวลงขาเมื่อยืนและนั่งนานๆ
และจากการตรวจร่างกายพบ
- Tenderness at Piriformis both sides
- Piriformis test ได้ผลเป็น positive
- Tightness at piriformis both sides
- Accessory movement test at L1-S1ไม่พบจุดกดเจ็บ
- Lumbar ROM all directions ไม่พบว่าทำให้อาการปวดสะโพกมากขึ้นหรือชาร้าวลงขา
Problem list
Problem list Problem analysis
1.Pain at hip both side อาจเกิดจากการที่มีการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ Piriformis แล้วไปกด
เบียด Sciatic nerve ทำให้เกิดอาการปวดบริเวณสะโพก
2.Tenderness at piriformis both sides อาจเกิดจากผู้ป่วยอยู่ท่าใดท่าหนึ่งนานๆ ทำให้การหดตัวซ้ำๆของ
กล้ามเนื้อ ส่งผลให้กล้ามเนื้อเกิดการเกร็งตัว ทำให้เกิดจุดกดเจ็บบริเวณ
กล้ามเนื้อ Piriformis
3.Tightness at piriformis both sides อาจเกิดจากการที่ผู้ป่วยอยู่ท่าใดท่าหนึ่งนานๆ ทำให้กล้ามเนื้อเกิดการ
ตึงตัว
4.Limited ADL and work เมื่อผู้ป่วยอยู่ท่าใดท่าหนึ่งนานๆ จะมีอาการปวดสะโพกมากขึน้ ส่งผล
ให้อาการปวดไปรบกวนการทำงานและการนอน
5.Risk to complications หากไม่ได้รับการรักษาอาจทำให้กล้ามเนื้อ Piriformis มีการหดเกร็งตัว
- Numbness เพิ่มขึ้นและไปกดเบียด Sciatic nerve เพิม่ อาจทำให้เกิดอาการชาและ
- Muscles weakness อาการอ่อนแรงของขาตามมา

Goals of treatment:
Short term goals
1.Decrease pain at hip both side 9/10 from to 2/10 within 5 weeks
2.Decrease tenderness at Piriformis both sides within 6 weeks
3.Decrease tightness at Piriformis both sides within 6 weeks
4.Improve ADL and work within 4 weeks
5.Prevent complications ตลอดการรักษา

Long term goals


ผู้ป่วยสามารถกลับมาใชชีวิตประจำวันได้ตามปกติ โดยไม่มีอาการปวดสะโพกและไม่มีภาวะแทรกซ้อน ภายใน
2 เดือน
Plan of treatment:
1.Decrease pain at hip both side by hot pack and shock wave
2.Decrease tenderness at Piriformis both sides by shock wave
3.Decrease tightness at Piriformis both sides by stretching exercise

4.Improve ADL and work by education and stretching exercises


5.Prevent complications by education and exercise
Treatment:
1.Hot pack
Method: ผู้ป่วยนอนหงาย วางแผ่นร้อนบริเวณสะโพกทั้งสองข้าง 20 นาที
2.shock wave
Method: ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงกึ่งคว่ำ เอาหมอนรองใต้เข่าเพือ่ ให้กล้ามเนื้อ Piriformis ยืดออก จากนั้นทำ
Shock wave ใช้หัวขนาดกลาง ตั้งค่า ข้างขวา Intensity 25%, frequency 3-4, 800 shocks ตั้งค่า ข้าง
ขวา Intensity 27 %, frequency 3-4, 800 shocks
3.Stretching exercises
- Piriformis
ท่าที่ 1
Method: นอนหงายทำขาเป็นเลข 4 มีจับใต้เข่าแล้วงอเข่า งอสะโพกแล้ว
กอดเข่าชิดอก ยืดค้างไว้ 10 วินาที ทำข้างละ 5 ครั้ง
ท่าที่ 2
Method: นั่งบนเตียงหรือเก้าอี้ แล้วทำขาเป็นเลข 4 แล้วค่อยก้มไปด้านหน้า โดยที่ก้มไม่ยกหรือลอย จากนั้น
ยืดค้างไว้ 10 วินาที ทำข้างละ 5 ครั้ง
4.Education and home program
- ไม่ควรอยูท่ ่าใดท่าหนึ่งนานๆ เนื่องจากการอยู่ท่าใดท่าหนึ่งนานๆจะทำให้กล้ามเนื้อเกิดการเกร็งตัวมากขึ้น
- Stretching exercises สามารถเลือกทำท่าใดท่าหนึ่งหรือทำทั้งสองท่าตามที่ผู้ป่วยสะดวก ควรทำท่าละ 10
ครั้ง/เซท ทำอย่างน้อย 2-3 เซท/วัน หรือสามารถทำได้ได้บ่อยๆได้เมื่อมีอาการปวด
Re-assessment
ผู้ป่วยรู้สึกว่าอาการปวดเบาลง NRS 7-8/10

You might also like