You are on page 1of 33

[แผนการบริหารการเปลี่ยนแปลง]

[การใช้ปั ญญาประดิษฐ์ในการเรียนรู้ของผู้เรียน]

[โรงเรียนล้ำโลกา]

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร

สรุปประเด็นที่สำคัญของแผน จากรายละเอียดด้านล่าง

1.
ข้อมูลโครงการ

ผู้รับผิดชอบโครงการ (Change Leader)

SSS

รายชื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Key stakeholders)

1. ผู้เรียน
2. ครู
3. ผู้ปกครอง

รายชื่อทีมงาน (Change project team)


1. ผู้บริหาร
2. ฝ่ ายวิชาการ
3. ครู

2. ระบุการเปลี่ยนแปลง (Change Identification)

ประเภทของการเปลี่ยนแปลง (Type of change)

(เชิงนโยบาย กระบวนการ ระบบ บทบาทหน้าที่)

นโยบายการเปลี่ยนแปลงกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน

เหตุผลของการเปลี่ยนแปลง

ระบุเหตุผล ความจำเป็ นที่ต้องทำการเปลี่ยนแปลง

1. การใช้งาน AI ในการเรียนรู้ การทำงานของผู้เรียน


2. เพื่อส่งเสริมความฉลาดรู้ปั ญญาประดิษฐ์ของผู้เรียน
3. เพื่อให้มีขอบเขตการใช้งาน AI ของผู้เรียน และเกิดประโยชน์ต่อการ
เรียนรู้ของผู้เรียนสูงสุด

2
ขอบเขตของการเปลี่ยนแปลง

แผนกใด และกลุ่มงานใด เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงบ้าง

1. ครูผู้สอน
2. กลุ่มบริหารวิชาการ

สภาพปั จจุบัน

สภาพปั ญหาในปั จจุบัน ระบุบริบทและความท้าทาย ความยากลำบากที่มี


ผลกระทบต่อองค์การ
1. ผู้เรียนพึ่งพา AI มากเกินไปและขาดทักษะการคิดวิเคราะห์
2. การใช้ AI อาจมีประเด็นจริยธรรม เช่น การใช้ AI เพื่อโกง
3. ข้อมูลที่ AI สร้างขึ้นอาจไม่ถูกต้องหรือมีความน่าเชื่อถือ

สภาพที่พึงประสงค์

ระบุภาพอนาคต สิ่งที่ต้องการเห็นเกิดขึ้น กระบวนการหรือการทำงานของ

3
คนเป็ นอย่างไร บทบาทของแผนกเป็ นอย่างไร อะไรจะพัฒนาขึ้นบ้าง

1. ผู้เรียนมีการใช้งาน AI อย่างมีขอบเขตและส่งเสริมให้เกิดทักษะการ

คิดวิเคราะห์

2. การใช้ AI อย่างมีจริยธรรมปั ญญาประดิษฐ์

3. ผู้เรียนมีทักษะในการคิดอย่างมีวิจารญานและรู้เท่าทัน AI

3. ข้อกำหนดของการเปลี่ยนแปลง (Change specification)

กลยุทธ์ของการเปลี่ยนแปลง (Change tactic/strategy)

4
จะใช้กลยุทธ์หรือแนวทางอย่างไรเพื่อให้ไปถึงสภาพที่พึงประสงค์นั้น

ส่งเสริมแแนวทางการใช้ AI ในการเรียนรู้ของผู้เรียน

มีหน่วยงานหรือกลุ่มใดที่จะได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ที่ต้อง
คำนึงถึงบ้าง

ฝ่ ายวิชาการของโรงเรียนโดยผู้บริหารต้องคำนึงถึงความชัดเจนของ
นโยบายเพื่อให้สามารถนำนโยบายไปใช้ได้จริง

ครู โดยผู้บริหารต้องคำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงแนวทางปฏิบัติในการ
บริหารจัดการชั้นเรียนของครูว่า สามารถนำไปใช้ในชั้นเรียนได้มากน้อย
เพียงใด

จำเป็ นต้องมีการปรับโครงสร้างองค์การหรือไม่

ไม่จำเป็ นที่จะต้องมีการปรับโครงสร้างองค์การแต่จะต้องมีการ
เปลี่ยนแปลงระบบและกระบวนการทางด้านการวัดและประเมินผลผู้เรียน
ใหม่

ความสัมพันธ์ในองค์การไม่ได้รับผลกระทบเนื่องจากเปลี่ยนแปลงใน
ระดับชั้นเรียนซึ่งครูสามารถบริหารจัดการด้วยตนเองวัฒนธรรมองค์การจะ
มีการเปลี่ยนแปลงในด้านการเน้นการใช้เทคโนโลยี
อย่างชาญฉลาด และเป็ นองค์กรแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจะแบ่งปั นองค์ความรู้กันอย่างไร

โรงเรียนมีการประชุมเพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนแนวคิด

5
จัดการปฐมนิเทศกับผู้ปกครองเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน

การเปลี่ยนแปลงกระบวนการ (Process change)

การเปลี่ยนแปลงนี้เป็ นการเปลี่ยนแปลงแบบใหม่อย่างสิ้นเชิง หรือปรับปรุง


จากกระบวนการเดิม มีกระบวนการในองค์การอะไรบ้างที่จะเปลี่ยนแปลง
อย่างไร

เป็ นการปรับปรุงการเรียนรู้แบบเดิมให้มีการเรียนรู้แบบใหม่ที่ก้าว
ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกและเทคโนโลยีมากขึ้นโดยเกิดกระบวนการ
เปลี่ยนแปลงในการบริหารจัดการชั้นเรียนของครูและด้านการวัดและ
ประเมินผล โดยมีการใช้ AI เข้ามามีส่วนช่วยในกระบวนการเรียนรู้ของผู้
เรียน

การเปลี่ยนแปลงด้านบุคคล (People change)

บทบาทของใครบ้างจะได้รับผลกระทบหรือเปลี่ยนแปลง อย่างไร

- ครู ต้องมีการเปลี่ยนแปลงในการมอบหมายงาน เช่น เกณฑ์ในการให้


คะแนนงานที่มอบหมาย รวมถึงการที่ครูต้องมีความฉลาดรู้ปั ญญา

6
ประดิษฐ์เพื่อให้เท่าทันผู้เรียน
- ครูต้องตรวจสอบงานของผู้เรียนอย่างละเอียดเพื่อหาว่ามีการใช้ AI
อย่างถูกต้องหรือไม่
- ครูปรับบทบาทในการสอนเพื่อรองรับการใช้ AI

งานใดบ้างที่จะได้รับผลกระทบ อย่างไร

- การจัดการเรียนรู้ คือ ครูต้องไม่ห้ามผู้เรียนในการใช้ปั ญญาประดิษฐ์


สำหรับการเรียนรู้เนื่องจากปั จจุบัน
ปั ญญาประดิษฐ์ได้ครอบคลุมทุกมิติของการใช้ชีวิตแต่ควรออกแบบ
การจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความ
ฉลาดรู้ปั ญญาประดิษฐ์

จำเป็ นต้องมีการอบรมพัฒนา หรือไม่ อะไรบ้าง

จำเป็ นต้องมีการอบรมพัฒนาเพื่อให้ผู้ใช้งานมีความรู้และทักษะในการ
ใช้AI ได้อย่างมีประสิทธิภาพและถูกต้องโดยมีโครงการอบรมดังนี้
– โครงการอบรมครู "การใช้ AI ในการจัดการเรียนรู้"
– โครงการอบรมผู้เรียน "การใช้ AI ในการเรียนรู้"
– โครงการอบรมผู้ปกครอง "AI กับการศึกษาในการสนับสนุนผู้เรียน
อย่างเหมาะสม"
– โครงการอบรมการสร้างระบบตรวจจับการใช้ AI ที่ผิดกฎหมาย
– โครงการอบรมการจัดทำคู่มือการใช้ AI สำหรับผู้เรียน ครู และผู้
ปกครอง
– โครงการอบรมการจัดตั้งคณะกรรมการกำกับดูแลการใช้ AI ในการ

7
ศึกษา

จำเป็ นต้องสร้างพฤติกรรมใหม่ หรือวัฒนธรรมใหม่หรือไม่ อย่างไร

โครงการการใช้ปั ญญาประดิษฐ์ในการเรียนรู้ของผู้เรียน จำเป็ นต้อง


สร้างพฤติกรรมใหม่และวัฒนธรรมใหม่ โดยต้องทำอย่างรอบคอบและค่อย
เป็ นค่อยไป โดยอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน
• วัฒนธรรม
 วัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต คิดวิเคราะห์ แก้ปั ญหา
และการใช้เทคโนโลยีอย่างชาญฉลาด
• พฤติกรรมใหม่
○ ผู้เรียน
 เรียนรู้ที่จะใช้ AI ในการเรียนรู้ ค้นคว้า และทำงาน
 คิดวิเคราะห์ ประเมิน และตรวจสอบข้อมูลที่ AI สร้างขึ้น
 ตระหนักถึงจริยธรรมในการใช้ AI
○ ครู
 เรียนรู้ที่จะใช้ AI ในการสอน การวัดผลและประเมินผล
 ปรับบทบาทในการสอนเพื่อรองรับการใช้ AI
○ ผู้ปกครอง
 เรียนรู้เกี่ยวกับ AI เพื่อเข้าใจการใช้ AI ในการศึกษา
 สนับสนุนผู้เรียนในการใช้ AI อย่างเหมาะสม

8
การจัดการความรู้ (Information sharing/Knowledge

management)

จะจัดการกับข้อมูลข่าวสารในองค์การอย่างไร ให้ผู้คนได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง
เหมาะสม

1. คัดกรองข้อมูล คัดเลือกข้อมูลจากแหล่งที่เชื่อถือได้ตรวจสอบ
ความถูกต้องและความทันสมัยของข้อมูลก่อนเผยแพร่

2. จัดหมวดหมู่ข้อมูล จัดระเบียบข้อมูลให้ชัดเจน แยกตามประเภท


เนื้อหา หรือกลุ่มเป้ าหมาย

3. กำหนดช่องทางการสื่อสาร เลือกช่องทางที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้ า
หมาย เช่น อีเมล เว็บไซต์ สื่อสังคมออนไลน์

4. สื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ เขียนเนื้อหาให้ชัดเจน กระชับ เข้าใจ


ง่าย ตรงประเด็น

5. ส่งเสริมการมีส่วนร่วม เปิ ดโอกาสให้ผู้คนสามารถถามคำถาม


แสดงความคิดเห็น หรือเสนอแนะข้อมูล

9
6. ติดตามผล:ตรวจสอบว่าผู้คนได้รับข้อมูลข่าวสารครบถ้วน ถูกต้อง
และนำไปใช้ประโยชน์ได้หรือไม่

มีนโยบายหรือกระบวนการใดบ้างที่ต้องเปลี่ยนแปลง

- นโยบายการสื่อสารสองทาง เพิ่มโอกาสหรือช่องทางในการแสดง
ความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น การมี google form/แบบ
สำรวจความพึงพอใจ ให้ feedback เกี่ยวกับข้อมูลที่ต้องการสื่อสาร
- ให้มีผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลก่อนการเผยแพร่
และปรับปรุงข้อมูลเมื่อได้รับ feedback

เครื่องมือหรือสื่อที่ใช้ในการสื่อสาร ปั จจุบันเป็ นอย่างไร จำเป็ นต้องมีการ


ปรับเปลี่ยนวิธีการหรือไม่

- เครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสารปั จจุบันอาศัยเทคโนโลยีเป็ นส่วนใหญ่


เช่น ไลน์ เว็บไซต์ เพจ facebook เมลองค์กร เป็ นต้น หรือเป็ นการ
สื่อสารในที่ประชุม ซึ่งไม่จำเป็ นต้องปรับเปลี่ยนเครื่องมือหรือสื่อที่ใช้
ในการสื่อสาร แต่อาจปรับเปลี่ยนกระบวนการในการสื่อสาร เช่น
การสื่อสารสองทาง คือให้มีผู้ส่วนได้ส่วนเสียมีโอกาสหรือช่องทางใน
การแสดงความคิดเห็น หรือมี feedback เกี่ยวกับข้อมูลนั้น ๆ
เนื่องจากปั จจุบันในการสื่อสารข้อมูลมักเป็ นการสื่อสารทางเดียว

ต้นทุนของการเปลี่ยนแปลง (Cost of change)

10
ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนี้ ประมาณการเป็ น
อย่างไร มีกิจกรรมอะไรบ้างที่มีค่าใช้จ่ายสูง จะนำงบประมาณมาจากไหน

การจัดอบรมเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับครูในการใช้ AI ใน
กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งค่าใช้จ่ายจะเป็ นในส่วนการเชิญวิทยากร
ที่มีความรู้ ความสามารถ และความเชี่ยวชาญทางด้าน AI โดยนำงบ
ประมาณมาจาก งบในการพัฒนาบุคลากรของฝ่ ายบริหารงานบุคคล

การบริหารความเสี่ยง (Risk management)

ระบุเหตุการณ์/ความเสี่ยง โอกาสและผลกระทบ ที่อาจเกิดขึ้นจากการ


เปลี่ยนแปลง ระหว่างการเปลี่ยนแปลง และหลังการเปลี่ยนแปลง

เหตุการณ์/ความเสี่ยง
● การใช้ AI ที่ไม่เหมาะสมของผู้เรียน ครู และผู้ปกครองม
● ผู้เรียนพึ่งพา AI มากเกินไป
● เกิดปั ญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาผู้เรียนที่เข้าถึง AI ได้อาจมี
โอกาสมากกว่าผู้เรียนที่เข้าถึงไม่ได้
● การขาดความรู้และทักษะ

โอกาส
● AI สามารถช่วยพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน
● AI สามารถช่วยลดภาระงานของครู

11
● การเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงการศึกษา จัดหาทรัพยากรให้ผู้เรียนทุก
คนเข้าถึง AI ได้
● การพัฒนาทักษะที่จำเป็ นสำหรับศตวรรษที่ 21

ผลกระทบระหว่างการเปลี่ยนแปลง
● การต่อต้านการเปลี่ยนแปลง อาจเกิดความสับสนวุ่นวายในช่วง
เปลี่ยนผ่าน
● การขาดทรัพยากร และขาดการสนับสนุนจากผู้บริหารโรงเรียน ครู
และผู้ปกครอง

ผลกระทบหลังการเปลี่ยนแปลง
● ผู้เรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการแก้ปั ญหา ทักษะการ
สื่อสาร และทักษะการทำงานร่วมกันที่ดีขึ้น
● ครูมีเวลาสอนมากขึ้น มีประสิทธิภาพในการสอนมากขึ้น และมีความ
พึงพอใจในการสอนมากขึ้น
● โรงเรียนมีคุณภาพการศึกษาที่ดีขึ้น มีความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
น้อยลง และมีชื่อเสียงมากขึ้น

3. การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder analysis)

การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder analysis)

กลุ่มเป้ าหมายที่จะได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงมีใครบ้าง

12
- ครู
- ผู้เรียน
- ผู้ปกครอง

ใครสามารถเป็ นผู้สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงได้ (ผู้สนับสนุน/change


advocate/early adopter)

- ผู้บริหาร
- ผู้ปกครอง

ใครน่าจะเป็ นผู้ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง

- ครู
- ผู้ปกครอง

ใครน่าจะเป็ นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (change agent) ได้บ้าง

- ผู้บริหาร
- ครู

ระบุการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการเปลี่ยนแปลงข้างต้น
แต่ละกลุ่มจะมีปฏิกิริยาต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างไร และจะทำความเข้าใจ
และเข้าถึงพวกเขาเหล่านั้นอย่างไร

- ผู้บริหาร

ออกนโยบาย “การใช้ปั ญญาประดิษฐ์ในการเรียนรู้ของผู้เรียน” ซึ่ง


ต้องทำให้ผู้บริหารเห็นถึงความสำคัญของปั ญญาประดิษฐ์ในปั จจุบัน

13
ว่ามีอิทธิพลในการเรียนรู้และ
การดำเนินชีวิตของผู้คนในปั จจุบันอย่างไรหากห้ามไม่ให้ผู้เรียนใช้
หรือไม่สนับสนุนในการเรียนรู้นั้น
จะส่งผลกระทบต่อผู้เรียนในปั จจุบันและอนาคตอย่างไร

- ครู

ทำความเข้าใจและปฏิบัติตามนโยบาย “การใช้ปั ญญาประดิษฐ์ใน


การเรียนรู้ของผู้เรียน” ซึ่งต้องทำให้ครูเห็นสภาพปั จจุบันและสภาพ
ที่พึงประสงค์ในการใช้ปั ญญาประดิษฐ์เป็ นข้อมูลทางสถิติ
เพื่อสนับสนุนให้ครูเชื่อและปฏิบัติตาม สร้างเกณฑ์ในการให้คะแนน
ของงานที่มอบหมายผู้เรียน

- ผู้เรียน

ปฏิบัติตามระเบียบ/ข้อบังคับ/เกณฑ์ในการใช้ปั ญญาประดิษฐ์ในการ
เรียนรู้ ซึ่งต้องทำความเข้าใจในเจเนอเรชั่นของผู้เรียนในปั จจุบันว่า
ปั ญญาประดิษฐ์แทรกซึมอยู่ในทุกมิติ ไม่สามารถดำเนินชีวิตโดย
ปราศจากปั ญญาประดิษฐ์ได้ดังนั้นควรส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะใน
การใช้
ตั้งแต่ปั จจุบัน

- ผู้ปกครอง

ทำความเข้าใจในนโยบาย “การใช้ปั ญญาประดิษฐ์ในการเรียนรู้ของผู้


เรียน” เพื่อส่งเสริม/สนับสนุนผู้เรียนซึ่งต้องอธิบายถึงสถานการณ์

14
ของปั ญญาประดิษฐ์ในโลกยุคปั จจุบันและให้ข้อมูลเชิงสถิติหรือวิจัย
ว่าปั ญญาประดิษฐ์มีความสำคัญอย่างไรต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน

4. กลยุทธ์การนำสู่การปฏิบัติ (Implementation strategies) แผน


ปฏิบัติการ (Action plan)

ระบุขั้นตอนที่เกี่ยวข้อง ผู้รับผิดชอบ และกรอบเวลา

1.วัดและทำความเข้าใจเกี่ยวกับกลุ่มเป้ าหมาย: ผู้รับผิดชอบ ผู้บริหาร


● วิเคราะห์ความต้องการและระดับความรู้ของกลุ่มเป้ าหมาย
● สำรวจความสามารถทางเทคโนโลยีและการเรียนรู้ของผู้เรียน
2.เลือกและปรับใช้เครื่องมือและทรัพยากรที่เหมาะสม: ผู้รับผิดชอบ ครู
ผู้สอน
● เลือกและปรับใช้แพลตฟอร์มหรือเครื่องมือปั ญญาประดิษฐ์ที่
ตอบสนองต่อความต้องการของ
ผู้เรียน
● แต่งตั้งทรัพยากรที่จำเป็ นเพื่อให้ระบบปั ญญาประดิษฐ์ทำงาน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.การฝึ กอบรมและการสนับสนุน: ผู้รับผิดชอบ ผู้บริหาร
● ฝึ กครูและผู้ดูแลในการใช้เทคโนโลยีปั ญญาประดิษฐ์
● สร้างระบบสนับสนุนและการอบรมต่อเนื่องเพื่อปรับปรุงทักษะ
การใช้เทคโนโลยีใหม่.
4.วางแผนการสอนแบบปรับใช้: ผู้รับผิดชอบ ครูผู้สอน

15
● ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้ปั ญญาประดิษฐ์ในการปรับให้
เหมาะสมกับระดับความรู้และ
สมรรถนะของผู้เรียน
● ปรับแผนการสอนตามผลการวัดผลและการประเมิน
5.เฝ้ าระวังและปรับปรุง:ผู้รับผิดชอบ ครูผู้สอน
● ติดตามและวัดผลประสิทธิภาพของการใช้ปั ญญาประดิษฐ์ใน
การเรียนรู้.
● ปรับปรุงแผนการเรียนรู้ตามข้อมูลผลการเรียน
6.สร้างชุมชนการเรียนรู้:ผู้รับผิดชอบ ผู้บิหารและครูผู้สอน
● สร้างพื้นที่ในโรงเรียนหรือองค์กรที่สนับสนุนการแลกเปลี่ยน
ความรู้เกี่ยวกับการใช้ปั ญญา
ประดิษฐ์
● สร้างระบบการสนับสนุนระหว่างผู้เรียนและครู
7.ประเมินและรายงาน:ผู้รับผิดชอบ ครูผู้สอน
● ประเมินผลสัมฤทธิ์ของการใช้ปั ญญาประดิษฐ์ตลอดระยะเวลา
● รายงานผลการใช้ปั ญญาประดิษฐ์ในการเรียนรู้แก่ผู้บริหาร ครู
และผู้ปกครอง
8.ขับเคลื่อนนโยบายและยกระดับ: ผู้รับผิดชอบ ผู้บริหาร
● สนับสนุนนโยบายที่ส่งเสริมการใช้ปั ญญาประดิษฐ์ในการเรียนรู้
● พัฒนาแผนยกระดับเพื่อขยายการใช้ปั ญญาประดิษฐ์ในชั้น
เรียนหรือหลักสูตร

16
ตารางเวลา (Schedule details)

ระบุงาน (task) ระยะเวลา (duration) วันเริ่มต้น วันสิ้นสุด และทรัพยากร


ที่จำเป็ น

1. ประชุมและวางแผนการนำนโยบายไปใช้ (เดือน ก.พ. - มี.ค.)

2. นำนโยบายไปใช้ (เดือน พ.ค. - ก.ย.) (เดือน ต.ค. - มี.ค.)

3. ประเมินผลการนำนโยบายไปใช้ (เดือน ก.ย.)

4. ปรับปรุงและพัฒนาการปฏิบัติงาน (เดือน ต.ค.)

ทรัพยากรที่จำเป็ น : ครู, เงินงบประมาณ

แผนการสื่อสาร (Communication plan)

ระบุกลุ่มเป้ าหมาย (audience)

ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

ข้อความสำคัญ (key messages) เช่น การอัพเดทข่าว การจัดการกับข่าว


ลือ วิธีในการสื่อสาร (delivery method) วันและเวลา สถานที่

● ประโยชน์และโทษของการใช้ AI ในการเรียนรู้
● ความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในชั้นเรียน

17
● ข้อตกลงในการใช้ AI และการลงโทษ

แผนการอบรม (Training plan)

ระบุสภาพปั จจุบันของ ทักษะ ความรู้ และพฤติกรรมของกลุ่มเป้ าหมายที่


จะได้รับผลกระทบ

ผู้เรียน ครู และผู้ปกครองในปั จจุบันส่วนใหญ่ยังขาดทักษะ และความรู้ที่


เกี่ยวข้องกับ AI ส่วนพฤติกรรมนั้นมีการใช้ AI อยู่ในชีวิตประจำวัน

ระบุความรู้พื้นฐาน (prerequisite) ที่กลุ่มเป้ าหมายดังกล่าวต้องมี


ความรู้พื้นฐานที่ผู้เรียน ครู ผู้ปกครองต้องมีด้านการใช้ AI ในการเรียนรู้

ของผู้เรียน

ผู้เรียน

● ผู้เรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ AI เช่น ความหมาย ประเภท


การใช้งาน
● ผู้เรียนควรมีทักษะการใช้ AI เบื้องต้น เช่น การค้นหาข้อมูล การใช้
โปรแกรม AI
● ผู้เรียนควรมีทักษะการคิดวิเคราะห์เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลและประเมิน
ผลลัพธ์ที่ได้จาก AI
● ผู้เรียนควรมีทักษะการแก้ปั ญหาเพื่อแก้ปั ญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้ AI

18
ครู

● ครูควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ AI เช่น ความหมาย ประเภท การใช้


งาน
● ครูควรมีทักษะการใช้ AI ในการสอน เช่น การใช้โปรแกรมปั ญญา
ประดิษฐ์
● ครูควรมีทักษะการออกแบบและการประเมินผลการเรียนรู้ที่ใช้ AI

ผู้ปกครอง

● ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ AI: ผู้ปกครองควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ


AI เช่น ความหมาย ประเภท การใช้งาน
● ทักษะการใช้ AI: ผู้ปกครองควรมีทักษะการใช้ AI เบื้องต้น เช่น การ
ค้นหาข้อมูล
● ทักษะการสนับสนุน: ผู้ปกครองควรมีทักษะการสนับสนุนบุตรหลาน
ในการใช้ AI

ระบุกลยุทธ์การอบรมที่จะใช้

1. การอบรมเชิงปฏิบัติการ: ฝึ กผู้เรียนใช้เครื่องมือ AI จริงๆ เช่น ระบบ


แนะนำการเรียนรู้
2. การเรียนรู้แบบผสมผสาน: ผสมผสานการเรียนรู้แบบออนไลน์และ
ออฟไลน์
3. การเรียนรู้แบบโครงการ: มอบหมายโครงการให้ผู้เรียนใช้ AI แก้

19
ปั ญหาจริง
4. ชุมชนแห่งการเรียนรู้: สร้างพื้นที่สำหรับผู้เรียนแบ่งปั นประสบการณ์
และเรียนรู้จากกันและกัน

ระบุข้อกำหนดของโปรแกรมการอบรม
1. การอบรมเชิงปฏิบัติการ:
• วัตถุประสงค์: ฝึ กผู้เรียนใช้เครื่องมือ AI จริงๆ เช่น
ระบบแนะนำการเรียนรู้
• กลุ่มเป้ าหมาย: ครู ผู้เรียน
• เนื้อหา:
- แนวคิดพื้นฐานของ AI
- ประเภทของ AI
- ระบบแนะนำการเรียนรู้
- เครื่องมือ AI อื่นๆ สำหรับการเรียนรู้
- การฝึ กปฏิบัติการใช้เครื่องมือ AI
• รูปแบบ:
- การบรรยาย
- การสาธิต
- กิจกรรมปฏิบัติการ
• สื่อการสอน:
- สไลด์นำเสนอ
- วิดีโอ
- เครื่องมือ AI

20
• การประเมินผล:
- การวัดความรู้
- การวัดทักษะ
- การวัดความพึงพอใจ

2. การเรียนรู้แบบผสมผสาน:
• วัตถุประสงค์: ผสมผสานการเรียนรู้แบบออนไลน์และ
ออฟไลน์
• กลุ่มเป้ าหมาย: ผู้เรียน
• เนื้อหา:
- แนวคิดพื้นฐานของ AI
- ประเภทของ AI
- เครื่องมือ AI สำหรับการเรียนรู้
- ตัวอย่างการใช้งาน AI ในการเรียนรู้
• รูปแบบ:
- การเรียนรู้แบบออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ วิดีโอ บทความ
- การเรียนรู้แบบออฟไลน์ผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการ กิจกรรม
กลุ่มสนทนา
• สื่อการสอน:
- สไลด์นำเสนอ
- วิดีโอ
- เว็บไซต์
- แอปพลิเคชัน

21
• การประเมินผล:
- การวัดความรู้
- การวัดทักษะ
- การวัดความพึงพอใจ
3. การเรียนรู้แบบโครงการ:
• วัตถุประสงค์: มอบหมายโครงการให้ผู้เรียนใช้ AI แก้
ปั ญหาจริง
• กลุ่มเป้ าหมาย: ผู้เรียน
• เนื้อหา:
- การกำหนดปั ญหา
- การออกแบบโครงการ
- การใช้ AI แก้ปั ญหา
- การนำเสนอผลงาน
• รูปแบบ:
- การทำงานเป็ นกลุ่ม
- การให้คำปรึกษา
- การนำเสนอผลงาน
• สื่อการสอน:
- เอกสารประกอบ
- เครื่องมือ AI
- แหล่งข้อมูลออนไลน์
• การประเมินผล:
- การวัดความรู้

22
- การวัดทักษะ
- การวัดความพึงพอใจ
4. ชุมชนแห่งการเรียนรู้:
• วัตถุประสงค์: สร้างพื้นที่สำหรับผู้เรียนแบ่งปั น
ประสบการณ์และเรียนรู้จากกันและกัน
• กลุ่มเป้ าหมาย: ครู ผู้เรียน ผู้ปกครอง
• รูปแบบ:
- กลุ่มออนไลน์
- กิจกรรมพบปะ
- เว็บบอร์ด
• สื่อการสอน:
- เว็บไซต์
- แอปพลิเคชัน
- เว็บบอร์ด
• การประเมินผล:
- การวัดความพึงพอใจ
- การวัดการมีส่วนร่วม

ใครจะเป็ นคนจัดการอบรม
1. การอบรมเชิงปฏิบัติการ:
• วิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้าน AI: ผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์
การใช้งานเครื่องมือ AI จริง
• ผู้ฝึ กสอน: ผู้ที่มีทักษะการสอนและสามารถอธิบายการใช้

23
งานเครื่องมือ AI ได้อย่างเข้าใจง่าย

2. การเรียนรู้แบบผสมผสาน:
• ผู้พัฒนาเนื้อหาออนไลน์: ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและการ
ออกแบบการเรียนรู้แบบออนไลน์
• วิทยากร: ผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์การสอนและ
สามารถอธิบายเนื้อหาการอบรมได้อย่างเข้าใจง่าย
3. การเรียนรู้แบบโครงการ:
• อาจารย์ผู้สอน: ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาที่สามารถให้คำ
แนะนำและคำปรึกษาแก่ผู้เรียน
• ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI: ผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์การใช้
งานเครื่องมือ AI
4. ชุมชนแห่งการเรียนรู้:
• ผู้ดูแลชุมชน: ผู้ที่มีทักษะการจัดการชุมชนออนไลน์และ
ออฟไลน์
• ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI: ผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์การใช้
งานเครื่องมือ AI
• ผู้เรียน: ผู้เรียนสามารถแบ่งปั นประสบการณ์และเรียนรู้
จากกันและกัน

จะนำงบประมาณมาจากแหล่งใด

เงินอุดหนุนรายหัวของผู้เรียน และเงินสมาคม

24
เป้ าหมายที่คาดหวังจากการอบรมคืออะไร
1. การอบรมเชิงปฏิบัติการ:
เป้ าหมาย: ฝึ กผู้เรียนให้สามารถใช้เครื่องมือ AI จริงๆ เช่น ระบบแนะนำ
การเรียนรู้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างกิจกรรม:
• ฝึ กผู้เรียนใช้ระบบแนะนำการเรียนรู้เพื่อค้นหาเนื้อหาการ
เรียนรู้ที่เหมาะสม
• ฝึ กผู้เรียนใช้เครื่องมือ AI ในการสร้างเนื้อหาการเรียนรู้
เช่น วิดีโอ อินโฟกราฟิ ก
• ฝึ กผู้เรียนใช้เครื่องมือ AI ในการประเมินผลการเรียนรู้
2. การเรียนรู้แบบผสมผสาน:
เป้ าหมาย: ผสมผสานการเรียนรู้แบบออนไลน์และออฟไลน์เพื่อมอบ
ประสบการณ์การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพและยืดหยุ่น
ตัวอย่างกิจกรรม:
• ผู้เรียนเรียนรู้เนื้อหาการเรียนรู้พื้นฐานแบบออนไลน์
• ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมการฝึ กปฏิบัติแบบออฟไลน์
• ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชุมชนออนไลน์เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้
และประสบการณ์

3. การเรียนรู้แบบโครงการ:
เป้ าหมาย: มอบหมายโครงการให้ผู้เรียนใช้ AI แก้ปั ญหาจริง
ตัวอย่างกิจกรรม:

25
• ผู้เรียนพัฒนาระบบแนะนำการเรียนรู้สำหรับวิชาเรียน
ของตน
• ผู้เรียนใช้ AI ในการวิเคราะห์ข้อมูลการเรียนรู้เพื่อหาจุด
อ่อนและจุดแข็งของผู้เรียน
• ผู้เรียนใช้ AI ในการพัฒนาเกมการเรียนรู้
4. ชุมชนแห่งการเรียนรู้:
เป้ าหมาย: สร้างพื้นที่สำหรับผู้เรียนแบ่งปั นประสบการณ์และเรียนรู้จาก
กันและกัน
ตัวอย่างกิจกรรม:
• จัดตั้งเว็บบอร์ดหรือกลุ่ม Facebook สำหรับผู้เรียน
• จัดกิจกรรมพบปะสังสรรค์เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และ
ประสบการณ์
• เชิญผู้เชี่ยวชาญด้าน AI มาบรรยาย
5. เป้ าหมายเพิ่มเติม:
• พัฒนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ AI ของผู้เรียน
• พัฒนาทักษะการใช้เครื่องมือ AI ของผู้เรียน
• ส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์และแก้ปั ญหาอย่าง
สร้างสรรค์
• เตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนสำหรับอนาคต

ระยะเวลาการอบรมเป็ นเท่าไร สถานที่ และองค์การที่เกี่ยวข้อง


1. ระยะเวลา:
ขึ้นอยู่กับเนื้อหา รูปแบบ และกลุ่มเป้ าหมายของการอบรม

26
ตัวอย่าง:
• การอบรมเชิงปฏิบัติการ: 1-3 วัน
• การเรียนรู้แบบผสมผสาน: 1-2 สัปดาห์
• การเรียนรู้แบบโครงการ: 1-3 เดือน
• ชุมชนแห่งการเรียนรู้: ระยะยาว
2. สถานที่:
• สถานที่จริง: ห้องเรียน ห้องประชุม ศูนย์อบรม
• โลกเสมือนจริง: แพลตฟอร์มออนไลน์ เว็บบินาร์ โซเชีย
ลมีเดีย

3. องค์การที่เกี่ยวข้อง:
• หน่วยงานภาครัฐ: กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะ
กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
• สถาบันการศึกษา: มหาวิทยาลัย โรงเรียน วิทยาลัย
• องค์กรเอกชน: มูลนิธิ สมาคม บริษัท
• ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI: นักวิจัย นักพัฒนา วิทยากร

แผนโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure plan)

ระบุโครงสร้างพื้นฐาน ระบบ เครื่องมือ เทคโนโลยี hardware และ


software ที่จะเป็ นต้องใช้ในการบริหารการเปลี่ยนแปลง

27
โครงสร้างพื้นฐาน:

● เครือข่าย: เครือข่ายที่มีความเสถียรและรวดเร็ว เพื่อรองรับการเข้า


ถึงข้อมูลและเครื่องมือ AI
● คลาวด์: ใช้คลาวด์ช่วยลดต้นทุนในการจัดการโครงสร้างพื้นฐาน และ
ช่วยให้สามารถปรับขนาดได้ง่าย
● อุปกรณ์: ผู้เรียนควรมีอุปกรณ์ เช่น คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมา
ร์ทโฟน ที่สามารถเข้าถึงเครื่องมือ AI ได้

ระบบ:

● ระบบจัดการการเรียนรู้ (LMS): LMS ใช้ในการจัดเก็บเนื้อหาการ


สอน เครื่องมือ AI และติดตามผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
● ระบบวิเคราะห์ข้อมูล: ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลการเรียนรู้ของผู้เรียน
เพื่อปรับการเรียนรู้ให้เหมาะสม
● ระบบความปลอดภัย: ใช้ในการปกป้ องข้อมูลของผู้เรียน

เครื่องมือ:

● เครื่องมือสร้างเนื้อหา: ช่วยให้ผู้สร้างเนื้อหาการสอนแบบ AI ได้ง่าย


ขึ้น
● เครื่องมือประเมินผล: ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในการใช้ AI
● เครื่องมือสนับสนุนผู้เรียน: เครื่องมือเหล่าที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถ
เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยใช้ AI

28
เทคโนโลยี:

● ปั ญญาประดิษฐ์: เทคโนโลยี AI จะเป็ นหัวใจสำคัญในการขับเคลื่อน


การเรียนรู้
● Machine Learning : เทคโนโลยี Machine Learning ช่วยให้ AI
เรียนรู้จากข้อมูล
● การประมวลผลภาษาธรรมชาติ: เทคโนโลยี NLP ช่วยให้ AI เข้าใจ
ภาษาธรรมชาติ
● การจดจำภาพ: เทคโนโลยี Computer Vision ช่วยให้ AI เข้าใจภาพ

Hardware:

● เซิร์ฟเวอร์: มีเซิร์ฟเวอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง เพื่อรองรับการประมวล


ผล AI
● หน่วยความจำ: มีหน่วยความจำจำนวนมาก เพื่อจัดเก็บข้อมูล
● การ์ดจอ: มีการ์ดจอที่มีประสิทธิภาพสูง เพื่อรองรับการประมวลผล
ภาพ

Software:

● ระบบปฏิบัติการ: มีระบบปฏิบัติการที่รองรับการใช้งาน AI
● เฟรมเวิร์ก AI: เช่วยให้นักพัฒนาซอฟต์แวร์สามารถพัฒนา
แอปพลิเคชัน AI ได้ง่ายขึ้น
● ไลบรารี AI: ไช่วยให้นักพัฒนาซอฟต์แวร์สามารถใช้งานฟั งก์ชัน AI
สำเร็จรูปได้

29
แผนการรับมือกับการต่อต้าน (Resistance plan)

ระบุสาเหตุ/ปั จจัยต่างๆที่อาจทำให้เกิดการต่อต้าน แนวทางการจัดการกับ


การต่อต้านนั้น และผู้รับผิดชอบ

1.การสื่อสารและการอธิบาย:
● สื่อสารเป้ าหมายและประโยชน์ของการใช้ปั ญญาประดิษฐ์ใน
การเรียนรู้
● อธิบายและแสดงให้เห็นถึงวิธีที่การใช้ปั ญญาประดิษฐ์สามารถ
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการ
เรียนรู้
2.การฟั งความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ:
● จัดกิจกรรมหรือการประชุมเพื่อฟั งความคิดเห็นและข้อเสนอ
แนะจากครู ผู้เรียน และผู้ปกครอง
● ปรับแผนการใช้ปั ญญาประดิษฐ์ตามความต้องการและความ
เห็น
3.การจัดอบรมและการสนับสนุน:
● จัดกิจกรรมอบรมเพื่อเพิ่มทักษะและความเข้าใจในการใช้
ปั ญญาประดิษฐ์
● มอบทรัพยากรและการสนับสนุนที่เหมาะสมในขั้นตอนการใช้
งาน
4.การระบุประโยชน์ส่วนตัว:

30
● ชี้แจงว่าการใช้ปั ญญาประดิษฐ์สามารถนำไปสู่การพัฒนาทักษะ
ที่เป็ นประโยชน์ส่วนตัว
● สร้างสถานการณ์ที่ช่วยให้ผู้เรียนเห็นถึงการใช้ปั ญญาประดิษฐ์
เป็ นส่วนสำคัญในการพัฒนา
ตนเอง
5.การแสดงผลการใช้งาน:
● นำเสนอผลลัพธ์และความสำเร็จจากการใช้ปั ญญาประดิษฐ์ใน
การเรียนรู้
● เน้นที่ข้อมูลที่แสดงให้เห็นถึงการพัฒนาทักษะและการเรียนรู้ที่
มีประสิทธิภาพ
6.การจัดกิจกรรมที่มีส่วนร่วม:
● จัดกิจกรรมหรือโครงการที่เต็มไปด้วยความสนุกสนานและมี
การเรียนรู้เชิงปฏิบัติ
● สร้างโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการการเรียนรู้
7.การแก้ไขปั ญหา:
● จัดทำแผนการแก้ไขปั ญหาเพื่อรับมือกับความต่อต้าน
● ให้โอกาสในผู้ต้องการสนับสนุนแสดงความคิดเห็นและเข้าร่วม
ในการแก้ไขปั ญหา
8.การติดตามและประเมิน:
● ติดตามความก้าวหน้าและประสิทธิภาพของการใช้ปั ญญา
ประดิษฐ์
● ประเมินผลลัพธ์และปรับปรุงแผนการรับมือต่อต้านตามความ
จำเป็ น

31
แผนการติดตาม (Monitor plan)

ระบุแนวทางการฉลองความก้าวหน้า และความสำเร็จ

• จัดงานนิทรรศการผลงาน

• จัดงานสัมมนา

• จัดกิจกรรมรณรงค์

• มอบรางวัล "ผู้เรียนใช้ AI ดีเด่น"

• จัดเวทีเสวนาเกี่ยวกับ AI ในการศึกษา

5. ภาคผนวก

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

32
รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม

1. นายปรีชาพล สมานหมู่ รหัสนิสิต 6580077827


2. นางสาวกฤติกา รุประมาณ รหัสนิสิต 6580009127
3. นางสาวกมลชนก ปิ่ นปรีชาชัย รหัสนิสิต 6580005627
4. นายคมกริช เพ็ชรพลอย รหัสนิสิต 6580022227
5. นางสาวปาลิตา ชื่นใจ รหัสนิสิต 6580081227
6. นางสาวรัตนาภรณ์ สอนศรี รหัสนิสิต 6580134927
7. นางสาวจิรัชญา สุขรัตนเจริญ รหัสนิสิต 6580029727

33

You might also like