You are on page 1of 55

คณะสาธารณสุขศาสตร์

และสิ่งแวดล้อม
มหาวิทยาลัยปทุมธานี
วิชา แรง มวล และกฎการ
ฟิ สิกส์
เคลื่อนที่ของนิวตัน

ภาคภูมิ อุณห
เลขจิตร
แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน

ความหมาย และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน


การประยุกต์ใช้ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน
แรง (Force)
การกระทำของวัตถุหนึ่งกระทำกับอีกวัตถุหนึ่งเพื่อ
พยายามเปลี่ยนสถานะของวัตถุนน ั ้ แรงเป็ นปริมาณ
เวกเตอร์ ซึ่งมีทงั ้ ขนาด และ ทิศทาง
มวล และ น้ำหนัก
ปริมาณที่ใช้บ่งบอกว่าวัตถุนน
ั ้ หนัก มากหรือน้อยเพียงใด
ในทางฟิ สิกส์ มี สองปริมาณ ได้แก่ มวล และ น้ำหนัก
นิยามของมวล ในทางฟิ สิกส์ คือ“ปริมาณความเฉื่อยที่ต่อ
ต้านการเคลื่อนที่”
้ วัตถุที่มีมวลมากจะเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ได้
ดังนัน
ยากกว่าวัตถุที่มีมวลน้อย

ตัวอย่าง ง่ายๆทีเ่ ราคุน้ เคย เช่น การเข็นรถในห้างสรรพสินค้า


มวลและน้ำหนัก

“มวล(Mass) คือ ปริมาณของสสารที่ประกอบเป็ นวัตถุ”


ดังนัน
้ มวลจึงใช้บอกถึงปริมาณของวัตถุ และเป็ น สเกลาร์
หน่วยของมวลในระบบ SI คือ กิโลกรัม (kilogram) : กก. (kg)

มวลของวัตถุหนึ่งๆ มีค่าคงที่เสมอไม่ว่า
มวลนีจ ้ ะอยู่ที่ใดในจักรวาลเพราะมวลขึน

อยู่กับมวลของอะตอมและโมเลกุลของวัตถุ
มวลและน้ำหนัก

น้ำหนัก (weight) คือ แรงโน้มถ่วงของโลกที่กระทำต่อวัตถุ


w= mg
ค่าของ g มีค่าประมาณ 9.8 m/s2 ที่ระดับผิวน้ำทะเลของ
โลก
หน่วยของน้ำหนัก คือ kg.m/s2 (ซึ่งต่อมาเรียก นิวตัน, N)
ดังนัน
้ น้ำหนักของ
วัตถุมวล 1.0 kg ที่อยู่บนโลกคือ 9.8 N
น้ำหนักเป็ นปริมาณเวกเตอร์ บ่งบอกถึงขนาดของแรงที่โลก
กระทำ (ดึงดูด) ต่อ วัตถุที่มีน้ำหนักมากแสดงว่าโลก
ออกแรงกระทำมาก
ขนาดของน้ำหนัก หาได้จาก mg และ
มีทิศสู่ศูนย์กลางโลก
มวลและน้ำหนัก

น้ำหนักของวัตถุไม่ได้มีค่าคงที่เสมอไป ขึน
้ อยู่กับว่าวัตถุ
้ อยู่ที่ไหน เนื่องมาจากว่าค่า g มีค่าแตกต่างกันไป
นัน
แล้วแต่สถานที่

w3=mg3
w1=mg1 w2=mg2
มวลและน้ำหนัก
น้ำหนักของวัตถุไม่ได้มีค่าคงที่เสมอไป ขึน
้ อยู่กับว่าวัตถุ
นัน้ อยู่ที่ไหน เนื่องมาจากว่าค่า g มีค่าแตกต่างกันไป
แล้วแต่
ดาวเสาร์ สถานที
gs=11.2 ่
m/s2 ดวงจันทร์ gm=1.554
โลก gE=9.8
m/s2
น้าหนักวัตถุเมื่ออยู่บนดาว m/s2
น้าหนักวัตถุเมื่ออยู่
เสาร์ น้าหนักวัตถุเมื่ออยู่บน
บนโลก
WS = 11.2 N ดวงจันทร์
WS = 9.8 N
WS = 1.554 N w3=mg3
w1=mg1 w2=mg2
แรงกล (Mechanic force)

แรงกล เป็ นแรงที่เกิดขึน


้ โดยมวลของวัตถุ แบ่งออกเป็ น 5
ประเภท
1. แรงดึงดูดระหว่างมวล
2. แรงตึงผิว
3. แรงพยุง
4. แรงในสปริง
5. แรงเสียดทาน
แรงดึงดูดระหว่างมวล

𝑚2

𝑚1
แรงลัพธ์(RESULTANT FORCE)
เมื่อวัตถุถูกแรงกระทำ พร้อม ๆ กันมากกว่าหนึ่งแรงขึน
้ ไป
ผลของแรงกระทำทัง้ หมดจะส่งผลเสมือนเกิดจากแรง ๆ
เดียว ซึ่งเป็ นผลจากการรวมกันของแรงทุกแรง เราเรียก
แรงที่เกิดจากการรวมแรงหลาย ๆ แรงนีว ้ ่า แรงลัพธ์
แรงดึงดูดระหว่างมวล
แรงดึงดูดระหว่างมวลของโมเลกุลชนิดเดียวกัน (Cohesion
force) คือ
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลวชนิดเดียวกันแรงนี ้
สามารถรับความเค้นดึง (tensile stress) ได้เล็กน้อย
• น้ำที่เป็ นของเหลวในแก้วน้ำเดียวกัน
• เหล็กที่ยังเป็ นของแข็งไม่แยกจากกัน
แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลต่างชนิดกัน (Adhesion force) คือ
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลวกับสารชนิดอื่น เช่น
น้ากับแก้ว ปรอทกับแก้ว เป็ นต้น
• หยดน้ำฝนบนกระจกหน้ารถ เวลาเราขับรถกลางฝน
• หยดน้ำมันบนผิวน้ำที่ไม่เป็ นเนื้อเดียวกัน
แรงดึงดูดระหว่างมวล

Gm1 m 2
W F  2
R
ความเร่งเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก

𝑊 = 𝑚2𝑔 คือ น้ำหนักของ


วัต𝑚
ถุ คือ มวลของโลก
1

𝑚2 คือ มวลของวัตถุที่ชั่ง
ตัวเลขที่วัดได้บนตาชั่ง คือ มวลของวัตถุ (kg) ไม่ใช่
น้ำหนัก (N)
ตัวอย่างที่ 1 แรงดึงดูดระหว่างนักศึกษาที่มีมวล 45 kg ที่ยืนที่
ผิวโลกกับโลกมีค่าเท่าไร? โดยให้โลกมีมวล 5.98 x 1024 kg
และมีรัศมีประมาณ 6,378 km (𝐺 = 6.67 × 10−11 𝑁𝑚2/𝑘𝑔2)

ms = 45 kg

RE = 6,378 km

ME = 5.98 x 1024 kg
ตัวอย่างที่ 2 นักศึกษาหญิงและชาย มีมวล 40 และ 60
กิโลกรัม ตามลาดับ ทัง้ สองยืนห่างกัน 1 เมตร นักศึกษาทัง้
สองมีแรงดึงดูดต่อกัน เท่าไร?

mm = 60 kg
mw = 40 kg

1 เมตร
แรงกลอื่น ๆ (Mechanic force)
แรงในสปริง (Stretching Force) เป็ นแรงที่สปริงต้าน
แรงจากภายนอก
เพื่อรักษาให้สปริงหยุดนิ่ง
F  kx
สูตรการคำนวณ
F คือ แรงในสปริง
k คือ ค่าคงที่สปริง
x คือ ระยะทางทีสปริงยืด
แรงกลอื่นๆ (Mechanic force)

แรงสู่ศูนย์กลาง (Centripetal force) คือ เป็ นแรงที่เกิด


ขึน
้ จากวัตถุที่เคลื่อนที่เป็ นวงกลม
2

F  ma  mv
R
แรงกลอื่นๆ (Mechanic force)
แรงเสียดทาน Friction force คือ แรงที่เกิดขึน
้ ระหว่าง
ผิวของวัตถุ เพื่อ
ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ มี 3 ระดับ

v 0 3 . วัตถุเคลื่อนที่

แรงเสียดทานสถิต


1 . วัตถุไม่เคลื่อนที่ 2 . วัตถุเริ่มเคลื่อนที่ fk
แรงเสียดทานจลย
ตัวอย่าง การคำนวณหาแรงลัพธ์
ตัวอย่างที่ 3 เมื่อแรงสองแรงทำมุมกันค่าต่างๆ ผล
รวมของแรงมีค่าต่ำสุด 2 นิวตัน และมีค่าสูงสุด 14 นิว
ตัน ผลรวมของแรงทัง้ สองเมื่อกระทำตัง้ ฉากกัน จะมีค่า
เท่าใด
ตัวอย่าง การคำนวณแรงเสียดทาน
ตัวอย่างที 4 กล่องโลหะใบหนึ่ง มีมวล 10 kg วางอยู่บน
พื้นไม้ ถ้าออกแรงผลักกล่องนี ้ 500 N จะทำให้กล่องเริ่ม
เคลื่อนที่ จงหาสัมประสิทธิแ์ รงเสียดทานสถิตระหว่างกล่อง
โลหะกับพื้น ไม้ (กำหนดให้ g = 9.8 m/s2)
ตัวอย่างที่ 3

ตัวอย่างที 4 นักศึกษาจะต้องออกแรงผลักกล่องไม้ที่มีมวล 5
kg ด้วยแรงเท่าใดบนพื้นไม้ จึงจะทำให้กล่องใบนีเ้ คลื่อนที่
์ รงเสียดทานจลน์ระหว่างไม้กับไม้
( กำหนดให้ สัมประสิทธิแ
𝜇s = 0.3
แรงตึงเชือก (Tension)

แรงตึงเชือก (Tension) คือ แรงที่เกิดขึน


้ ในเส้นเชือก ลวด
และอื่นๆ ซึ่งแรงจะเกิดเฉพาะตามแนวเส้นเชือกเท่านัน

และมีทิศ พุง่ ออกจากระบบที่กำลังพิจารณาเสมอ
แรงตึงเชือก (Tension)
แรงตึงเชือก (Tension) คือ แรงที่เกิดขึน

ในเส้นเชือก ลวดและอื่นๆ ซึ่งแรงจะเกิด
เฉพาะตามแนวเส้นเชือกเท่านัน ้ และมีทิศ
พุ่งออกจากระบบที่กำลังพิจารณาเสมอ
แรงไฟฟ้ าสถิต(Electrostatic force)
แรงแม่เหล็ก(Magnetic force)

แรงนีเ้ กิดจากสารที่เป็ นแม่เหล็กดูดสารแม่เหล็กได้ โดยที่แม่เหล็ก


นัน
้ ไม่สูญเสียอำนาจเลย ขัว ้ แม่เหล็กชนิดเดียวกันออกแรงผลักกัน
และขัว ้ แม่เหล็กต่างชนิดกันออกแรงดูดกัน
𝐹 = 𝑞𝑣 × 𝐵
F คือ แรงกล
q คือ ประจุไฟฟ้ า
v คือ ความเร็วของประจุไฟฟ้ าที่เคลื่อนที่ในวงจร
B คือ สนามแม่เหล็ก
แรงลัพธ์ (Resultant Force)

เมื่อวัตถุถูกแรงกระทำพร้อม ๆ กันมากกว่าหนึ่งแรงขึน
้ ไป
ผลของแรงกระทำทัง้ หมดจะส่งผลเสมือนเกิดจากแรง ๆ
เดียว ซึ่งเป็ น ผลจากการรวมกันของแรงทุกแรง เราเรียก
แรงที่เกิดจากการรวมแรงหลาย ๆ แรงนีว้ ่า แรงลัพธ์
แรงลัพธ์ (Resultant Force
การหาขนาดของแรงลัพธ์
ตัวอย่างที่ 5 จงคำนวณหาองค์ประกอบตามแนวแกน x และ
แกน y ของแรงลัพธ์ จากนัน
้ หาขนาดและทิศทางของแรง
ลัพธ์
ตัวอย่างที่ 6 จากรูป แรงลัพธ์ที่เกิดจากแรงย่อยทัง้ 3 แรง
ดังรูป จะมีขนาด เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน

ค้นพบธรรมชาติการเคลื่อนที่ เมื่อประมาณ 300 กว่าปี ที่


แล้ว
กฎแรงโน้มถ่วง เมื่อปี 1666
กฎการเคลื่อนที่ เมื่อปี 1686

Sir Isaac Newton


กฎการเคลื่อนที่ข้อที่หนึ่งของนิวตัน
กฎการเคลื่อนที่ข้อที่หนึ่งของนิวตัน
กฎการเคลื่อนที่ข้อที่หนึ่งของนิวตัน

วัตถุมีความเฉื่อย (Inertia)
กฎการเคลื่อนที่ข้อที่หนึ่งของนิวตัน

รักษาสภาพการ
เคลื่อนที่
กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน

• กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน กล่าวว่า ถ้ามีแรง


มากระทำ ต่อวัตถุ
หรือแรงที่มากระทำ นัน ้ ไม่หักล้างกันเป็ นศูนย์วัตถุจะ
เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง

ความเร่ง = แรงลัพธ์/มวลของ
วัตถุ
ความเร่งมีทิศทางตามทิศของ
แรงลัพธ์ที่มากระทา
กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน
กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สามของนิวตัน

กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สามของนิวตัน กล่าวว่า ทุกแรงกิริยา


จะต้องมีแรงปฏิกิริยา ซึ่งมีขนาดเท่ากันและมีทิศทางตรง
ข้ามเสมอ หรือ แรงกระทำ
ซึ่งกันและกันของวัตถุทง ั ้ สอง ย่อมมีขนาดเท่ากันและทิศ
ตรงข้าม

แรงกิริยา = แรงปฏิกิริยา
กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สามของนิวตัน
กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สามของนิวตัน
เราจะประยุกต์กฏของนิวตันกับวัตถุทง
ั ้ กรณีวัตถุอยู่ในสภาวะสมดุล
และวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่งเชิงเส้นด้วยแรงภายนอกที่คงที่
เนื่องจากโมเดลวัตถุเป็ นอนุภาคดังนัน้ จึงไม่คำนึงถึง การเคลื่อนที่แบบ
หมุนและไม่คิดถึงแรงเสียดทานตลอดการเคลื่อนที่
โดยทั่วไปจะไม่คิดถึงน้ำหนักของเส้นเชือก ลวดหรือเคเบิล และ
ประมาณการณ์ว่า ขนาดของแรงที่กระทำละจุดบนเส้นเชือกเท่ากัน
ตลอดทัง้ เส้น โดยคำที่ใช้แทนความหมายดังกล่าว คือ เชือกเบาและ
ไม่คิดมวลของเชือก
เมื่อนำวัตถุมาแขวนกับเชือก เชือกจะออกแรงกระทากับวัตถุ T ขนาด
ของแรง T
เรียกว่า ความตึง(tension)ในเส้นเชือก(ความตึงเป็ นปริมาณสเกล
าร์)
วัตถุอยู่ในสภาวะสมดุล

ถ้าความเร่งของวัตถุเป็ นศูนย์วัตถุอยู่ในสภาวะสมดุล

พิจารณาโคมไฟที่
แขวนบนเพดาน
แรงลัพธ์ตามแกน Y เป็ น
   
T W  0  T  W

T และ W ไม่ใช่แรงคู่กิริยา –ปฎิกิริยากัน


วัตถุอยู่ในสภาวะสมดุล

F


N
ไฟจราจรมีน้ำหนักและแขวนติดกับ

W เพดานด้วยเชือกดั
 งรูป 
T
T1 2

T3

จงคำนวณหาแรงตึงเชือก T1, T2
และ T3
วัตถุอยู่ในสภาวะสมดุล

ตัวอย่างที่ 8 จงคำนวณหาแรงตึงเชือก T1 และ T2 เมื่อไฟ


จลาจรมีน้ำหนัก 150 N แขวนติดกับเพดานด้วยเชือก
วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่งในแนวราบ

ตัวอย่างที่ 9 F เป็ นแรงซึ่งใช้ในการดึงให้วัตถุมวล 100


กิโลกรัม จนเกิดความเร่ง 3 เมตร/วินาที2 อยากทราบว่า F มี
ค่ากี่นิวตัน
วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่งในแนวราบ

ตัวอย่างที่ 10 ถ้าแรง F ขนาด 20 นิวตัน ทำมุม 60º


กับแนวราบ จงหาความเร่งของกล่อง กำหนดให้กล่องมวล
5 กิโลกรัม , µ = 0.1
วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง

ตัวอย่าง 11 วัตถุสองก้อน มวล m1 และมวล m2 โดย


m1>m2 วางติดกันบนพื้นลื่น ดังรูป ถ้าออกแรง F คงที่
ตามแนวระดับกระทำกับมวล m1 ดังรูป จงหา

a) ขนาดของความเร่งของระบบ
b) จงหาแรงสัมผัสระหว่างวัตถุทงั ้ สอง
วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง

ตัวอย่าง 12 จากรูปวัตถุ 20 กิโลกรัม และ 10 กิโลกรัม


วางติดกันบนพื้นที่ไม่มีแรงเสียดทาน ให้หา แรง P และ Q
ในรูปภาพ
วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง

v ถ้า
วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่บนพื้นโดยมีความเร็วเริ่มต้นเป็ น
วัตถุเคลื่อนที่ได้ d ก่อนที่จะหยุดนิ่ง จงคำนวณหาค่า
สัมประสิทธิค์ วามเสียดทานจลน์ระหว่างวัตถุกับพื้น
วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง

Ent 30 : นักเรียนคนหนึ่งถือเชือกเบาซึ่งปลายข้างหนึ่งผูก
ติดกับแท่งวัตถุมวล 3.0 กิโลกรัม ให้หาแรงที่เชือกดึงมือเมื่อ
ดึงเชือกขึน
้ ด้วยความเร่ง 2.0 เมตรต่อวินาที2
วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง

ตัวอย่างที่ 14 คนมวล 80 กิโลกรัม ยืนในลิฟต์ทกำ


ี่ ลัง
เคลื่อนลงด้วยความเร่ง 2 เมตร/วินาที2 จงหาแรง ที่พ้นื ลิ
ฟกระทำต่อคนคนนี ้ 
a
วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง
ตัวอย่างที่ 15 วัตถุมวล 3 กิโลกรัม และ 2 กิโลกรัม ผูกติด
กัน ด้วยเชือก ดังรูปวัตถุทงั ้ สองถูกดึงขึน
้ ด้วยเชือกอีกเส้น
ด้วยความเร่ง 2 เมตรต่อวินาที2 ในแนวดิ่ง แรงดึงเชือกทัง้
สองมีค่าเท่าใด

3 Kg

2 Kg
วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง

ตัวอย่างที่ 16 เชือกแขวนไว้กับเพดาน มีลิงมวล 20 กิโลกรัม


โหนเชือกอยู่สูงจากพื้น 10 เมตรได้รูดตัวลงมากับเชือก ด้วย
ความเร่งคงที่ถึงพื้นใช้เวลา 2 วินาที ความตึงเชือกเป็ น
เท่าใด ไม่คิดมวลของเชือก
วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง
วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง
ตัวอย่างที่ 17 รถมวล m เคลื่อนที่ลงบนพื้นเอียงที่ทำมุม
กับแนวระดับ จงคำนวณหา
a) จงหาความเร่งของรถ ถ้าพื้นไม่มีความเสียดทาน
b) ถ้ารถถูกปล่อยจากหยุดนิ่งจากยอดพื้นเอียงลงมาด้านล่าง
โดยมีระยะตามแนวพื้นเอียง
เป็ น d จงหาว่านานเท่าใดรถถึงจะเคลื่อนลงมาถึงด้านล่าง
ของพื้นเอียงและมีอัตราเร็วขณะนัน้ เท่าใด

You might also like