You are on page 1of 5

Capital Budgeting

Capital : เงินทุนของกิจการทีใ่ ช้ในการซือ


้ Fix Asset ทีใ่ ช้ในการผลิต

Budgeting : ขบวนการการวางแผนการใช้จ่าย ทีส


่ ามารถสร้างรายได้ซึง่ คาดว่าจะได้รับในระยะ

เวลามากกว่า 1 ปี

Capital Budgeting : เป็นการวางแผนทีใ่ ช้เงินทุนของกิจการทีจ


่ ะลงทุนใน Fix Asset ที ่

คาดว่าจะก่อให้เกิดรายได้ในอนาคตของกิจการ (Long term investment planning


process)
Value of the firm : มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดทีก
่ ิจการคาดว่าจะได้รับในอนาคต

Value of the firm = ∑ TRt – TCt k = discount rate


t
t =1 (1+k)
เงินในวันนีม
้ ีค่ามากกว่าเงินในอนาคตเพราะ

1.ปัจจัยดอกเบีย้ เช่น ได้เงินวันนีเ้ อาไปฝากธนาคารจะได้ดอกเบีย


้ ในอนาคต

2.ในแง่เศรษฐศาสตร์ ถ้าไม่รับเงินวันนีก
้ ็ต้อง postpone การใช้จ่ายออกไป

3.ความแน่นอน ถ้ารอรับเงินในอนาคตอาจไม่ได้ก็ได้

ขัน
้ ตอนการทำา Capital Budgeting
1. พิจารณาต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายลงทุนของโครงการทัง้ หมด ต้องอาศัยหลายฝ่ ายช่วยกัน เช่นออกแบบ ซือ

เครือ
่ งจักร ซึง่ เหล่านีเ้ ป็นค่าใช้จ่ายทัง้ สิน

2. คาดการณ์ผลประโยชน์ในอนาคต ทีจ
่ ะได้รับในรูปของกระแสเงินสด (Cash flow) จากการลงทุน

ในโครงการนัน
้ ตลอดอายุโครงการรวมทัง้ มูลค่าของทรัพย์สิน ณ วันสุดท้ายโครงการ โดยดูภาวะ
เศรษฐกิจโดยเฉพาะละแวกรอบ ๆ โครงการของเรา สินค้าทีเ่ ราขายเป็นชนิดใด เพราะสินค้าแต่ละอย่าง

response ต่อภาวะเศรษฐกิจไม่เหมือนกัน

3. ประเมินความเสีย
่ งของโครงการ หรือ วิเคราะห์ความไม่แน่นอนของกระแสเงินสดทีจ
่ ะได้รับจากโครงการ

โดยการทำา Sensitivity Analysis โดยดู best case , worth case , most


likely case ว่ารายรับเป็นอย่างไร รวมทัง้ กระแสเงินทีจ
่ ่ายก็ต้องทำา Sensitivity
Analysis ด้วย

4. กำาหนด Discount rate ให้เหมาะสมกับความเสีย


่ งแต่ละโครงการ ( Cost of capital)
เช่นถ้าอยากให้โครงการผ่าน ก็กำาหนด Discount rate ให้ตำ่า เพราะฉะนัน
้ ผู้ทำาโครงการต้องใจ

เป็นกลาง

Discount rate หรืออัตราดอกเบีย


้ ทีร
่ วมความเสีย
่ งเข้าไปแล้ว เช่นในโครงการทีม
่ ีความเสีย
่ งสูง

ผู้ให้กู้ก็คิดดอกเบีย
้ แพง (ทีค่ ิดแพงเนือ่ งจากต้องรวมค่าเสียโอกาสและค่าความเสีย่ งเข้าไปด้วย)
5. หาค่า PV ของกระแสเงินสดทีค
่ าดว่าจะได้รับทัง้ หมดจนสิน
้ สุดโครงการ

6. เปรียบเทียบ PV ของกระแสเงินสดทีค
่ าดว่าจะได้รับกับ PV ของเงินลงทุน (NPV)
ถ้า PV ของกระแสเงินสดทีค
่ าดว่าจะได้รับ  PV ของเงินลงทุน โครงการก็ถูกจะยอมรับ

โดยส่วนใหญ่ NPV ของโครงการใหญ่จะมากกว่าโครงการเล็ก

นอกจาก 6 ข้อทีก
่ ล่าวมาต้องดูในแง่กฎหมายด้วย

Concept ของการประเมิน Cash flow


1. ต้องทำาด้วยใจเป็นกลาง
2. ต้องเป็น Incremental cash flows evaluation โดยมองให้เป็น system ไมใช่

มองเแค่จุดเดียว

Incremental cash flows : การเปลีย


่ นแปลงกระแสเงินสดสุทธิทีไ่ ด้รับเพิม
่ ขึน
้ (เปลีย่ น
ไป ) ในระยะหนึง่ จากการทีเ่ ราตัดสินใจลงทุน

Project cash flow t = Cash flow t for corporation with project -


Cash flow t for corporation without project
เราจะได้ Net cash flow ของโครงการใหม่ เพราะการสร้างโครงการใหม่อาจไปกระทบโครงการ

เก่าทีม
่ ีอยู่

Incremental cost : เป็นต้นทุนส่วนเพิม


่ ทีต
่ ้องนำามาพิจารณาในการตัดสินใจรับโครงการ

(ซึง่ ต้นทุนส่วนนีถ้ ้าตัดสินใจไม่รับโครงการก็จะไม่เกิดขึน้ )


3. ไม่เอา Sunk cost มาคิด

Sunk cost : ต้นทุนซึง่ ได้เกิดขึน


้ แล้วและไม่สามารถเรียกคืนได้ไม่ว่าจะรับหรือปฏิเสธโครงการ

นัน
้ ไม่มีส่วนในการตัดสินใจในอนาคต เช่น ค่าทีป
่ รึกษาโครงการ จะไม่นับรวมใน Incremental
cost เพราะไม่ว่าจะรับหรือไม่รับค่าใช้จ่ายในส่วนนีไ้ ด้เกิดขึน
้ แล้ว

4. ต้องเอาค่าเสียโอกาสมาประเมินด้วย
Opportunity cost : ต้นทุนค่าเสียโอกาส กรณีทีบ
่ ริษัทมีทีด
่ ินให้เช่าอยู่แล้วแต่ต้องนำามาทำา

โครงการต้องนำาค่าเสียโอกาสมาคิดด้วย
ปัจจัยในการตัดสินใจ

Net PV = PV Cash inflow – PV Cash


outflow
Profitability (PI) = PV Cash inflow ÷ PV Cash
outflow
Internal rate of return (IRR) = Discount rate ทีท
่ ำาให้

PV ของ Cash inflow เท่ากับ

(สะท้อนผลตอบแทนการลงทุน) PV ของ Cash outflow


นัน
่ คือถ้า Cash inflow มาก จะทำาให้เท่ากับ Cash outflow ,IRR จะต้องมีค่า

มาก ๆ เช่นทุน 100 รายรับเท่ากับ 1,000 เพราะฉะนัน


้ IRR ต้องมีค่ามากทีจ
่ ะลดค่า

1,000 ให้เท่ากับ 100


Payback period = ระยะเวลาทีเ่ ราได้เงินคืนมา มักใช้ดูในการลงทุนทีม
่ ีความเสีย
่ ง และเป็น

โครงการทีม
่ ีอายุสน
ั้ ๆ แบ่งออกเป็น

1. Nominal Payback period ไม่ต้องคิดถึงค่าของเงินหรือ PV คิดแต่เพียงว่า ลงทุน

100 อีกเมือ
่ ไหร่จะได้คน

2. Discounted Payback period คิดถึงค่าของเงินหรือ PV โดยทำา PV ของทัง้ เงินสด

ทีจ
่ ะได้รับและเงินสดทีจ
่ ่ายออกไป แล้วดูว่าอีกเมือ
่ ไหร่จะได้คืน
การตัดสินใจ ถ้า PV ของกระแสเงินสดทีค
่ าดว่าจะได้รับ  PV ของเงินลงทุน โครงการก็ถูกจะ

ยอมรับ NPV > 0 , IRR > K , PI


> 1, PBP < t หรือ DPBP < t (t คือเวลาทีเ่ ราตัง้ ไว้ )
ในกรณีทีม
่ ีงบประมาณจำากัดเราต้องดูที ่ PI ตัวอย่างเช่น โครงการพันล้านมี NPV เท่ากับ 10
ล้าน และโครงการ 20 ล้าน มี NPV เท่ากับ 7 ล้าน ถ้าดูแต่ NPV เราก็จะเลือกลงทุนโครงการทีม
่ ี

NPV เท่ากับ 10 ล้าน ซึง่ เราไม่มีงบขนาดนัน


้ เราจึงต้องเลือกดู PI แทนเพราะ PI จะวัด

profitability ของเงินแต่ละบาทในการทำาธุรกิจ แต่ NPV วัดทัง้ โครงการ

Externalities(ผลภายนอก) : ผลกระทบของกระแสเงินสดของโครงการเดิม เนือ


่ งจากมีโครงการ

ใหม่เกิดขึน
้ เช่น

ในกรณีของ “ Public Project” ก็ต้องพิจารณา Externalities ด้วย

Social costs = private


costs + external costs
Social benefits = private
benefit + external benefit
ในกรณี “ Public Project” ต้องรวม external costs และ external benefit
โดยพยายามคิดออกมาให้อยู่ในรูปของตัวเงิน ถ้าไม่ได้ก็ต้องบอกว่าให้คำานึงถึงด้วย

ตัวอย่าง Public Projects เช่น โครงการขุดคอคอดกระ

private cost = ค่าแรง ,ค่าเครือ่ งจักร,เงินเดือน,ค่าเสียโอกาสด้วย


external cost = การสูญเสียทรัพยากรทางทะเลบริเวณนัน

private benefit = การเก็บค่าผ่านทางของเรือ , ค่าขนส่งต่างๆ

external benefit = การจ้างงานจำานวนมาก ,รายได้ในรูปเงินตราต่างประเทศ


opportunity cost = รายได้จากการท่องเทีย
่ วบริเวณนัน

ส่วน sunk cost = ค่าจ้างบริษัทศึกษาโครงการ ไม่นำามาคิดรวม


บางโครงการไม่ feasibility ทางด้านการเงิน แต่รัฐก็ต้องทำา เช่น ขสมก . เพราะมี Social
benefit แต่บางโครงการ feasibility ทางด้านการเงินมาก เช่น เปิ ดบ่อนการพนัน รัฐก็ไม่เปิ ด

เนือ
่ งจากมี Social cost พวกมิจฉาชีพ

สรุปขัน
้ ตอนการทำา Capital Budgeting “ cash flows ”
1. รวบรวมโครงการลงทุน

2. ประเมินกระแสเงินสดสำาหรับแต่ละโครงการให้ใกล้เคียงและถูกต้องทีส
่ ุด

3. ประเมินค่าของกระแสเงินสด NPV, IRR, PI


4. คัดเลือกตามหลักเกณฑ์ทีต
่ ัง้ ไว้ NPV > 0, IRR > K, PI
> 1
5. ติดตามและประเมินผลโครงการลงทุนทีด
่ ำาเนินการ

ข้อควรคำานึง

1. ในการทำา Capital Budgeting นัน


้ ผู้บริหารต้องประเมิน Net cash flows ให้ถูกต้อง
ใกล้เคียงมากทีส
่ ุด เพราะจะส่งผลถึง Capital Budgeting ด้วย และต้อง Unbias
2. Cash flows ทีน
่ ำามาพิจารณา คือ Incremental cash flows จากการรับ

โครงการใหม่

3. Sunk costs ไม่นำามาคิด Capital Budgeting


4. กรณี Public project ถ้ามี Externalities ต้องนำามาคิดด้วย

5. การประสานงานกับส่วนทีเ่ กีย
่ วข้อง ต้องแน่ใจว่ามี Assumption ของภาวะเศรษฐกิจทีเ่ หมือนกัน

You might also like