You are on page 1of 140

ของแข็ง ของเหลว แก๊ส

สมบัติของของแข็ง

 แรงยึ ด เหนี่ ย วระหว่ า งอนุ ภ าคมากกว่ า ของเหลวและ


แก๊ส
 มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง

 รูปร่างคงที่
สมบัติของของแข็ง

 มีปริมาตรคงที่ ณ อุณหภูมิและความดันคงที่
 ไม่สามารถไหลได้ในสภาวะปกติ เนื่องจากอนุภาคของ
ของแข็งอยู่ชิดติดกันมาก
การจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง

 ผลึก

อนุ ภ าคองค์ ป ระกอบ


ของของแข็ ง เรี ย งตั ว กั น
อย่ างเป็ น ระเบี ย บใน 3 มิ ติ
เช่น กามะถัน ฟอสฟอรัส
5.2 การจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง

ของแข็งอสัณฐาน
อนุ ภ าคองค์ ป ระกอบ
กระจายกั น อยู่ อ ย่ า งไม่
เป็นระเบียบ เช่น แก้ว ยาง
พลาสติก
การจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง
ของแข็งในรูปผลึกอาจมีการจัดเรียงจัดตัวของโมเลกุลได้หลาย
รูปแบบ เรียกว่า การมีอัญรูปของของแข็ง

อัญรูป (Allotropes) คือ การที่ของแข็งสามารถจัดเรียงตัวขึ้น


เป็นผลึกได้มากกว่า 1 แบบ ทาให้มีสมบัติทางกายภาพและเคมี
เปลี่ยนไป ทั้งนี้ไม่นับรวมถึงการจัดตัวที่ไม่เป็นระเบียบที่เรียกว่า
ของแข็งอสัญฐาน
ตัวอย่างของแข็งที่จัดเรียงตัวได้หลายแบบ

 กามะถัน
 ฟอสฟอรัส
 คาร์บอน
กามะถัน

กามะถัน มีรูปแบบที่เป็นผลึกอยู่ 2 แบบ คือ


1.กามะถันแอลฟา หรือกามะถันรอมบิก (Rhombic sulphur)
2.กามะถันบีตา หรือกามะถันมอนอคลินิก (Monoclinic sulphur)

ซึ่งเกิดจากการจัดเรียงตัวที่ตา่ งกัน ส่งผลให้มีคุณสมบัติบาง


ประการไม่เหมือนกันด้วย เช่น สี จุดหลอมเหลว ความหนาแน่น
กามะถันรอมบิก (Rhombic sulphur)

 ประกอบด้วย S 8 อะตอมต่อกันเป็นวง
 เป็นของแข็งผลึกสีเหลือง
 ผลึกมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนม
เปียกปูน
 พบมากในธรรมชาติ (เสถียรที่ 25 0c)
กามะถันมอนอคลินิก (Monoclinic sulphur)

 ผลึกจะมีลักษณะเป็นแท่งยาวคล้ายเข็ม
 เสถียรน้อยกว่ากามะถันรอมบิก
 อยู่ตัวที่อุณหภูมิสูงกว่า 96 0c
 ที่อุณหภูมิสูงกว่า 96 0c กามะถัน
รอมบิกจะกลายเป็นกามะถัน
มอนอคลินิกอย่างช้าๆ
สมบัติ กามะถันรอมบิก กามะถันมอนอคลินิก

รูปผลึก เหลี่ยม เข็ม

สี เหลืองอ่อน เหลืองเข้ม

ความหนาแน่น 2.07 g/cm 3 1.96 g/cm 3

จุดหลอมเหลว 112.8 ๐C 119 ๐C

จุดเดือด 444.6 ๐C 444.6 ๐C


การนาไฟฟ้า ไม่นาไฟฟ้า ไม่นาไฟฟ้า
การจัดเรียงตัวของโมเลกุลกามะถัน
จากรูปจะสังเกตได้ว่าโมเลกุลกามะถันในผลึกกามะถันรอมบิกมี
การจัดเรียงตัวชิดและอัดแน่นได้มากกว่ากามะถันมอนอคลินิก
ทาให้ผลึกกามะถันรอมบิกมีความหนาแน่นมากกว่ากามะถัน
มอนอคลินก ิ
ฟอสฟอรัส

ผลึกฟอสฟอรัสนั้นพบอยู่ 3 แบบ คือ


1.ฟอสฟอรัสขาว
2.ฟอสฟอรัสแดง
3.ฟอสฟอรัสดา
ฟอสฟอรัสขาว
 ประกอบด้วยฟอสฟอรัส 4 อะตอม
มีสูตรโมเลกุล P4
 มีสีขาว นิ่มคล้ายขี้ผึ้ง
 ว่องไวในการทาปฏิกิริยาเคมีและ
สามารถลุกไหม้ได้เองเมื่อสัมผัส
กับอากาศ
 ใช้ประโยชน์ในการทาลูกระเบิด
หรือระเบิดเพลิง
ฟอสฟอรัสแดง

 โครงสร้างเป็นสายยาวต่อกัน
ไป (พอลิเมอร์)
 เสถียรมากกว่าฟอสฟอรัส
ขาว จึงใช้ทาไม้ขีดไฟ
ฟอสฟอรัสดา

 มีโครงสร้างแบบโครงผลึกร่าง
ตาข่าย
 เสถียรกว่าฟอสฟอรัสแดง
 ติดไฟยาก
สมบัติ ฟอสฟอรัสขาว ฟอสฟอรัสแดง ฟอสฟอรัสดา

ลักษณะ ของแข็งสีขาว ของแข็งสีแดง ของแข็งสีดา


หรือเหลือง
จุดหลอม 44 ๐C 590 ๐C ( ที่ความ 610 ๐C
เหลว ดันสูง)
ความ 1.82 g/cm 3 2.34 g/cm 3 2.70 g/cm 3
หนาแน่น
การนา ไม่นาไฟฟ้า ไม่นาไฟฟ้า นาไฟฟ้าเล็กน้อย
ไฟฟ้า ที่อุณหภูมิสูง
คาร์บอน

ผลึกคาร์บอนนั้นพบอยู่ 3 แบบ คือ


1. แกรไฟต์
2. เพชร
3. ฟลูเลอรีน
แกรไฟต์

 เป็นโครงสร้างที่พบได้ง่ายใน
ธรรมชาติ
 เกิ ด จากอะตอมของคาร์ บ อนที่ มี
พันธะคู่อยู่ 1 พันธะมาต่อกัน
 เป็ น โครงสร้ า งแบบระนาบ โดยมี
ลักษณะเชื่อมต่อกันไป สามารถนา
ไฟฟ้าได้ในแนวระนาบ
เพชร

 เป็นโครงสร้างที่แข็งแรงทีส่ ุด
 เกิดจากคาร์บอนที่เกิดพันธะเดี่ยว
ต่อกันทั้งหมดจนเป็นโครงร่าง
ตาข่ายที่แต่ละหน่วยมีพันธะยื่น
ออกมา 4 ข้าง
ฟลูเลอรีน

 เป็นสารตระกูลคาร์บอนที่มโี ครงสร้าง
คล้ายลูกบอล
 เกิดจากแกรไฟต์ที่ม้วนตัวขึ้นเป็นทรง
กลมที่ประกอบด้วยรูป 5 เหลี่ยม และ 6
เหลี่ยมเชื่อมกัน
 เป็นตระกูลสารอะโรมาติกที่มีขนาดใหญ่
ที่สุดก็ว่าได้สงั เคราะห์ได้ครั้งแรกเมื่อ
ค.ศ. 1985
สมบัติ แกรไฟต์ เพชร ฟลูเลอรีน

ลักษณะ ผงหรือแผ่นสี ผลึกรูปเหลี่ยม ผงสีดา


ดา ไม่มีสี
จุดหลอม 3727 ๐C สูงกว่า3550 ขึ้นอยู่กับจานวน
เหลว C อะตอม
ความ 2.25 g/cm 3 3.51 g/cm 3 ขึ้นอยู่กับจานวน
หนาแน่น C อะตอม
การนา นาไฟฟ้า ไม่นาไฟฟ้า ไม่นาไฟฟ้า
ไฟฟ้า
5.3 ชนิดของผลึก
ผลึกโมเลกุล
ผลึกโมเลกุล
ชนิดของ ชนิดของพันธะ สมบัติทั่วไป ตัวอย่าง
อนุภาค
ภายในผลึก
โมเลกุล หรือ โมเลกุลมีขั้ว อ่อนหรือแข็ง โมเลกุลมีขั้ว
อะตอม แรงดึงดูด ปานกลาง น้าแข็ง
ระหว่างขั้ว จุดหลอมเหลว แอมโมเนีย
พันธะ ต่า โมเลกุลไม่มีขวั้
ไฮโดรเจน ไม่นาความร้อน
แนฟทาลีน
โมเลกุลไม่มีขวั้ ไม่นาไฟฟ้า
แรงลอนดอน
ผลึกโคเวเลนต์ร่างตาข่าย
ผลึกโคเวเลนต์ร่างตาข่าย

ชนิดของ ชนิดของพันธะ สมบัติทั่วไป ตัวอย่าง


อนุภาคภายใน
ผลึก
อะตอม พันธะโคเว- แข็ง เพชร
เลนต์ จุดหลอมเหลวสูง แกรไฟต์
ส่ ว น ใ ห ญ่ ไ ม่ น า ควอตซ์
ความร้อนและไฟฟ้า
ผลึกโลหะ

ชนิดของ ชนิดของพันธะ สมบัติทั่วไป ตัวอย่าง


อนุภาคภายใน
ผลึก
อะตอม พันธะโลหะ แข็ง เหล็ก
จุดหลอมเหลวสูง ทองแดง
น าความร้ อ นและ โซเดียม
ไฟฟ้าได้ดี แมกนีเซียม
ผลึกไอออนิก
ผลึกไอออนิก
ชนิดของ ชนิดของพันธะ สมบัติทั่วไป ตัวอย่าง
อนุภาคภายใน
ผลึก
ไอออน พันธะไอออนิก แข็งเปราะ KNO3
จุดหลอมเหลวสูง AgCl
ไ ม่ น า ค ว า ม ร้ อ น CaF2
และไฟฟ้า MgCl2
5.2 การจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง

ของแข็งอสัณฐาน
อนุ ภ าคองค์ ป ระกอบ
กระจายกั น อยู่ อ ย่ า งไม่
เป็นระเบียบ เช่น แก้ว ยาง
พลาสติก
5.4 การเปลี่ยนแปลงสถานะของของแข็ง

การเปลี่ยนสถานะของของแข็งมี 2
ประเภท ได้แก่
 การหลอมเหลว

 การระเหิด
การหลอมเหลว
 เมื่ อ ให้ ค วามร้ อ นแก่ ข องแข็ ง อนุ ภ าคของของแข็ ง จะมี
พลังงานจลน์มากขึ้น เกิดการสั่นจนบางอนุภาคมีพลังงาน
สูงกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค อนุภาคของของแข็ง
จึง อยู่ห่างกันมากขึ้น ของแข็ง จึง เกิดการเปลี่ ยนสถานะ
เป็นของเหลว เรียกว่า การหลอมเหลว
 เรี ย กอุ ณ หภู มิ ที่ ข องแข็ ง เปลี่ ย นสถานะเป็ น ของเหลวที่
ความดัน 1 บรรยากาศว่า จุดหลอมเหลว
การระเหิด
 การเปลี่ ย นสถานะของของแข็ ง
กลายเป็ น ไอโดยไม่ ผ่ า นสถานะ
ของเหลว เรียกว่า การระเหิด
 การระเหิ ด เป็ น การเปลี่ ย นแปลงที่
เกิดกับสารบางชนิดที่ไม่มีขั้วหรือมี
ขั้ ว น้ อ ยมาก และมี แ รงยึ ด เหนี่ ย ว
ระหว่ า งอนุ ภ าคเป็ น แรงแวนเดอร์
วาลส์อย่างอ่อน
การระเหิด
 เมื่ออนุภาคของสารได้รับความร้อน
จากสิ่งแวดล้อมเพียงเล็กน้อย จะ
ทาให้อนุภาคของสารนั้นแยกออก
จากผลึ ก โดยเฉพาะอนุ ภ าคที่ อ ยู่
บริเวณผิวหน้าของผลึกจะหยุดออก
และเคลื่อนที่เป็นอิสระได้ง่าย
 ของแข็ ง บางชนิ ด เช่ น แนฟทาลี น
(ลูกเหม็น) พิมเสน หรือการบูร
5.5สมบัติของของเหลว

 แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยกว่า
ของแข็ง
 จัดเรียงอนุภาคไม่เป็นระเบียบ
 มีที่ว่างระหว่างอนุภาคเล็กน้อย
 ไหลได้ สามารถเทของเหลวจากภาชนะ
หนึ่งไปภาชนะหนึ่งได้
สมบัติของของเหลว

 รูปร่างของของเหลวจะเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ
 มีปริมาตรคงที่ที่อุณหภูมิและความดันคงที่
 สามารถแพร่ได้
สมบัติของของเหลว

สมบัติของของเหลวที่จะทาการศึกษา
มีดังนี้
 ความตึงผิว
 การระเหย
 ความดันไอกับจุดเดือดของของเหลว
5.5.1 ความตึงผิว

หยดน้าบนใบไม้ แมลงบนผิวหน้าของน้า
ความตึงผิว

 แรงที่ดึงผิวของของเหลวเข้ามาภายในเพื่อให้พื้นที่
ผิวของของเหลวเหลือน้อยที่สุดเรียกว่า แรงดึงผิว
ความตึงผิว
แรงดึงผิวของของเหลว
• จะทาให้ของเหลวปริมาณน้อยๆ มี
รูปร่างค่อนข้างเป็นทรงกลม เช่น 1 หยด
• รูปทรงกลมมีพื้นที่ผิวน้อยที่สุด
• ผิวของเหลวถูกดึงจนตึงเปรียบเสมือน
แผ่นยางยืดบางๆ ปกคลุมของเหลวไว้
หยดน้าบนใบไม้ • น้ามีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลที่
แข็งแรงและมีแรงดึงผิวมาก
ความตึงผิว
 ในกรณีที่เพิ่มพื้นที่ผิวของของเหลว โมเลกุลที่อยู่ด้านในจะต้อง
เคลื่อนที่ออกมายังพื้นผิวของของเหลว โมเลกุลเหล่านี้ต้องใช้
พลังงานเพื่อเอาชนะแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลที่อยู่รอบข้าง
 งานที่ต้องใช้ในการขยายพื้นที่ผิวของของเหลว 1 หน่วย
เรียกว่า ความตึงผิว
 ความตึงผิวของของเหลวจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับแรงยึด
เหนี่ยวระหว่างโมเลกุลในของเหลว
 ถ้าของเหลวใดมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลสูง ความตึงผิวจะ
มีค่าสูงด้วย
ความตึงผิว
ตารางแสดง ความตึงผิวของของเหลวบางชนิดที่อุณหภูมิ 25 ๐C
ของเหลว สูตร ความตึงผิว(N/m)
ปรอท Hg 0.4855
น้า H2 O 0.0720
เบนซีน C6 H6 0.0282
เอทานอล C2H5OH 0.0220
เฮกเซน C6H14 0.0179
ไดเอทิลอีเทอร์ C2H5OC2H5 0.0167
ความตึงผิว

ุ หภูมิ 25 ๐C
จากตารางแสดงความตึงผิวของของเหลวบางชนิดที่อณ
 ปรอทมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคเป็นพันธะโลหะมีความ
แข็งแรงมาก ความตึงผิวของปรอทจึงมีค่าสูง
 ไดเอทิลอีเทอร์มีแรงลอนดอนเป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
ซึ่งมีความแข็งแรงน้อย ความตึงผิวจึงมีค่าน้อย
 น้า ยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะไฮโดรเจน จึงมีค่าความตึงผิวมาก
ความตึงผิว
ตารางแสดง ความตึงผิวของน้าที่อุณหภูมิต่างๆ
อุณหภูม(ิ ๐C) 10 25 50 75 100

ความตึงผิว 0.0742 0.0720 0.0679 0.0636 0.0589


(N/m)

อุณหภูมิมีผลต่อความตึงผิวของน้า อย่างไร
ความตึงผิว

เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนจะทาให้ความตึง
ผิวของของเหลวนั้นเปลี่ยนไปด้วย
เช่น น้า ความตึงผิวจะลดลงเมื่อ
อุณหภูมิเพิ่มขึ้น
การเติมสารบางชนิด เช่น น้าสบู่ลงไป
ในน้า จะทาให้ความตึงผิวของน้า
เปลี่ยนแปลงด้วย
ปัจจัยที่มีผลต่อความตึงผิวของของเหลว

 1) แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล
- ถ้าแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลมาก พลังงานที่ใช้ในการขยาย
พื้นที่ผิวจะมาก
- ถ้าแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลน้อย พลังงานที่ใช้ในการขยาย
พื้นที่ผิวจะน้อย
ปัจจัยที่มีผลต่อความตึงผิวของของเหลว
2) อุณหภูมิ
- เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น พลังงานจลน์ของแต่ละโมเลกุลจะเพิ่มขึ้น แต่
แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลลดลง ทาให้ความตึงผิวลดลง
- เมื่ออุณหภูมิลดลง พลังงานจลน์ของแต่ละโมเลกุลจะลดลง แต่แรง
ดึงดูดระหว่างโมเลกุลเพิ่มขึ้น ทาให้ความตึงผิวเพิ่มขึ้น
ความตึงผิว

เมื่อของเหลวสัมผัสกับวัสดุหรือบรรจุอยู่ใน
ภาชนะจะมีโมเลกุลของสาร 2 ชนิดที่
แตกต่างกัน คือ
1.โมเลกุลของของเหลว
2. โมเลกุลของสารที่เป็นวัสดุหรือทาภาชนะ
ความตึงผิว

มีแรงยึดเหนี่ยวที่เกี่ยวข้องอีก 2 ประเภท คือ


1. แรงเชื่อมแน่น คือ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคหรือ
โมเลกุ ล ของสารชนิ ด เดี ย วกั น เช่ น แรงยึ ด เหนี่ ย วระหว่ า ง
โมเลกุลของน้ากับน้า
2. แรงยึดติด คือ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคหรือโมเลกุล
ต่างชนิดกัน เช่น แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของน้ากับแก้ว
ที่ใช้ทาภาชนะ
ความตึงผิว

ความตึงผิวของน้าและปรอทในหลอดทดลอง
ความตึงผิว

 จากรูป บริเวณตรงด้านบนของผิวน้ามีลักษณะเว้า เนื่องจาก


แรงยึดติดระหว่างโมเลกุลของแก้วกับน้าแข็งแรงมากกว่าแรง
เชื่อมแน่นระหว่างโมเลกุลของน้ากับน้า ความตึงผิวของน้าซึ่งมี
ค่าสูงจะทาให้ผิวน้าหดตัวได้
ความตึงผิว

 ปรอท จะมีลักษณะตรงข้ามกับน้า เนื่องจากปรอทมีแรงเชื่อม


แน่ น ระหว่ า งโมเลกุ ล ของปรอทกั บ ปรอทมากกว่ า แรงยึ ด ติ ด
ระหว่างโมเลกุลของปรอทกับแก้ว ดังนั้นโมเลกุลของปรอทที่อยู่
บริเวณผิวและที่อยู่ติดกับผนังหลอดทดลองจะถูกดึงเข้าสู่ภายใน
หรือให้ห่างจากผนัง จึงทาให้ผิวหน้าของปรอทมีลักษณะโค้งนูน
5.5.2 การระเหย

 ก า ร เ ป ลี่ ย น ส ถ า น ะ จ า ก
ข อ ง เ ห ล ว ก ล า ย เ ป็ น ไ อ
เรียกว่า การระเหย
การระเหย
การระเหย
 โมเลกุ ล ของของเหลวที่ เ คลื่ อ นที่ ช นกั น เอง
หรื อ ชนกั บ ผนั ง ภาชนะแล้ ว มี ก ารถ่ า ยโอน
พลังงานให้แก่กัน ถ้าโมเลกุลที่มีพลังงานมาก
อยู่ บ ริ เ วณผิ ว หน้ า ของของเหลวและมี
พลั ง งานสู ง มากกว่ า แรงยึ ด เหนี่ ย วระหว่ า ง
โมเลกุ ล โมเลกุ ล เหล่ า นั้ น จะหลุ ด ออกจาก
ผิวหน้ากลายเป็นไอไปเรื่อยๆ
การระเหย

 ขณะที่ของเหลวเกิดการระเหยจะดึง
พลังงานส่วนหนึ่งไปใช้ในการเปลี่ยน
สถานะ
 ทาให้อุณหภูมิของของเหลวลดลง
 ของเหลวจึงดูดพลังงานจาก
สิ่งแวดล้อมมาแทน
การระเหย

การตากผ้าในที่มีแดดจัดกับการตากผ้าในที่ร่ม ผ้าในที่ใดจะ
แห้งเร็วกว่ากัน เพราะเหตุใด?

แอลกอฮอล์ในภาชนะเปิดปากแคบกับภาชนะเปิดปากกว้าง
ปริมาตรเท่ากัน วางที่เดียวกัน เวลาผ่านไปปริมาตร
แอลกอฮอล์ในภาชนะใดเหลือน้อยที่สุด เพราะเหตุใด ?
การระเหย

ขณะมีเหงื่อบนร่างกาย เมื่อยืนอยู่ในที่ที่มีลมพัดผ่านหรือ
อากาศถ่ายเทได้ดีกับที่ไม่มีลม ที่ใดจะช่วยให้เหงือ่ แห้งเร็ว
กว่ากัน เพราะเหตุใด ?
การระเหย

ปัจจัยที่มีผลต่อการระเหย
 ความร้อน

 การเพิ่มพื้นที่ผิว

 การอยู่ในที่ที่อากาศถ่ายเท
ความร้อน

 ความร้อนหรืออุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น
 ทาให้พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุล
ของน้าเพิ่มขึ้น
 ทาให้จานวนโมเลกุลของน้าที่มี
พลังงานจลน์สูงพอที่จะเอาชนะแรง
ยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมีมากขึ้น
การระเหยของน้าจึงเกิดได้เร็ว
การเพิ่มพื้นที่ผิว

 การเพิ่มพื้นที่ผิวหน้าของของเหลวที่สัมผัส
กับอากาศ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ช่วยให้ของเหลว
เกิดการระเหยเร็วขึ้น
 เพราะว่าเป็นการเพิ่มจานวนโมเลกุลของ
ของเหลวที่มโี อกาสหลุดอออจากผิวหน้า
ของของเหลวได้มากขึ้น
การอยู่ในที่ที่อากาศถ่ายเท
 การอยู่ในที่ที่อากาศถ่ายเท
 การเคลื่ อ นที่ ข องอากาศท าให้
โ ม เ ล กุ ล ข อ ง ไ อ บ ริ เ ว ณ เ ห นื อ
ของเหลวเกิดการเคลื่อนที่และลด
จ านวนโมเลกุ ล ของไอบริ เ วณ
ผิวหน้าของของเหลว
 เป็ น ผลให้ โ มเลกุ ล ของของเหลว
บริเวณผิวหน้ากลายเป็นไอได้มาก
ขึ้นหรือระเหยได้มากขึ้น
5.5.3 ความดันไอกับจุดเดือดของของเหลว
ความดันไอกับจุดเดือดของของเหลว
จากรูปภาพการระเหยในระบบปิด
 โมเลกุลที่ระเหยกลายเป็นไอยังอยู่ที่ว่างเหนือของเหลว

 โมเลกุลที่อยู่ในรูปของไอจะชนกันเอง หรือชนกับผนังภาชนะ
ตลอดเวลา จึงมีแรงดันเกิดขึ้น
 ปริมาตรของของเหลวลดลง ปริมาตรของไอเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทา
ให้ความดันไอเหนือของเหลวเพิ่มขึ้น
 ขณะเดียวกันไอบางส่วนก็จะควบแน่นกลับไปเป็นของเหลว
ความดันไอกับจุดเดือดของของเหลว
 การเปลี่ยนกลับไปกลับมาระหว่างของเหลวกับไอเกิดขึ้น
ต่อเนื่อง
 จนกระทั่งอัตราการเปลี่ยนจากของเหลวเป็นไอเท่ากับอัตราการ
เปลี่ยนไอเป็นของเหลว ทาให้จานวนโมเลกุลที่กลายเป็นไอ
เท่ากับจานวนโมเลกุลที่ควบแน่นเป็นของเหลว

ณ ขณะนี้ปริมาตรและความดันไอของของเหลวจะคงที่ ความ
ดันของไอเหนือของเหลวขณะที่มีค่าคงที่นี้เรียกว่า ความดัน
ไอของของเหลว
ความดันไอของของเหลวกับอุณหภูมิ
ความดันไอของของเหลวกับอุณหภูมิ

 จากกราฟ เมื่อของเหลวมีอุณหภูมิสูงขึ้น ความดันไอของ


ของเหลวเหล่านี้ก็จะสูงขึ้นด้วย และการทาให้ของเหลว
แต่ละชนิดมีความดันไอเท่ากันจะใช้อุณหภูมิไม่เท่ากัน
อุ ณ หภู มิ ที่ ข องเหลวมี ค วามดั น ไอเท่ า กั บ ความดั น
บรรยากาศ คือ จุดเดือดของของเหลว
ความดันไอของของเหลวกับอุณหภูมิ

 นักวิทยาศาสตร์ได้กาหนดให้จุดเดือดของของเหลว
ที่ความดัน 1 บรรยากาศ เป็น จุดเดือดปกติ
 สาหรับจุดเดือดของของเหลวที่ความดันอื่นๆ จะมีค่า
แตกต่างกัน
ความดันไอของของเหลวกับอุณหภูมิ

เนื่องจากของเหลวแต่ละชนิดมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลที่ไม่
เหมือนกัน
 ของเหลวที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อยจะกลายเป็นไอ
ได้ง่าย มีจุดเดือดต่า ความดันไอสูง
 ส่วนของเหลวที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมากจะกลายเป็น
ไอได้ยาก มีจุดเดือดสูง ความดันไอต่า
ความดันไอของของเหลวกับอุณหภูมิ

 ที่ อุ ณ หภู มิ สู ง ความดั น ไอของของเหลวจะมี ค่ า สู ง


กว่ า ที่ อุ ณ หภู มิ ต่ า เนื่ อ งจากโมเลกุ ล มี พ ลั ง งานจลน์
เพิ่มขึ้น โมเลกุลจึงมีโอกาสกลายเป็นไอได้มากขึ้น
สมบัติของแก๊ส

 แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย
 อนุภาคอยู่ห่างกันมากเมือ่ เทียบกับ
ของแข็ง ของเหลว
 แพร่กระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ
 ความหนาแน่นต่ากว่าของเหลว
ของแข็ง
 สามารถบีบอัดได้ง่าย
สมบัติของแก๊ส

 แก๊สเกือ บทุ กชนิ ด มีสมบั ติ


บางประการคล้ า ยกั น จน
สรุ ป เป็ น ทฤษฎี เรี ย กว่ า
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส

1. แก๊สประกอบด้วยอนุภาคที่มีขนาดเล็กมาก จนถือได้ว่า
อนุภาคของแก๊สไม่มีปริมาตรเมื่อเทียบกับขนาดภาชนะที่
บรรจุ
2. โมเลกุลของแก๊สอยู่ห่างกันมาก ทาให้แรงดึงดูดและแรง
ผลักระหว่างโมเลกุลน้อยมาก จนถือได้ว่าไม่มีแรงกระทา
ต่อกัน
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
3. โมเลกุลของแก๊สเคลื่อนที่อย่าง
รวดเร็ ว ในแนวเส้ น ตรง เป็ น
อิสระด้วยอัตราเร็วคงที่และไม่
เป็ น ระเบี ย บ จนกระทั่ ง ชนกั บ
โมเลกุ ล อื่ น หรื อ ชนกั บ ผนั ง
ภาชนะจึงจะเปลี่ยนทิศทางและ
ความเร็ว
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส

4. โมเลกุลของแก๊สที่ชนกันเอง
หรื อ ชนกั บ ผนั ง ภาชนะ จะ
เกิ ด การถ่ า ยโอนพลั ง งาน
ให้แก่กันได้แต่พลังงานรวม
ของระบบมีค่าคงที่
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส

5. ณ อุ ณ หภู มิ เ ดี ย วกั น โมเลกุ ล ของแก๊ ส แต่ ล ะโมเลกุ ล


เคลื่อนที่ด้วยความเร็วไม่เท่ากัน แต่มีพลังงานจลน์เฉลี่ย
เท่ากัน โดยที่พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สจะแปรผันตรง
กับอุณหภูมิเคลวิน
 แก๊ ส ที่ มี ส มบั ติ เ ป็ น ไปตามทฤษฎี จ ลน์ ข องแก๊ ส ทุ ก
ประการเรียกว่า แก๊สอุดมคติ
ความสัมพันธ์ของปริมาตร ความดันและ
อุณหภูมขิ องแก๊ส

 กฎของบอยล์

 กฎของชาร์ล

 กฎรวมแก๊ส

 กฎแก๊สสมบูรณ์
กฎของบอยล์

นักวิทยาศาสตร์ได้ทาการทดลองเพื่อศึกษาความสัมพันธ์
ระหว่างปริมาตรกับความดันของแก๊ส โดยความคุมให้อุณหภูมิ
คงที่ ได้ผลการทดลองดังตาราง
กฎของบอยล์
การทดลอง V P PV
ครั้งที่ (cm3) (mmHg) (mmHg.cm3)
1 5.00 760 3.80 × 103
2 10.00 380 3.80 × 103
3 15.00 253 3.80 × 103
4 20.00 191 3.82 × 103
5 25.00 151 3.78 × 103
6 30.00 127 3.81 × 103
7 35.00 109 3.82 × 103
8 40.00 95 3.80 × 103
9 45.00 84 3.78 × 103
ความสัมพันธ์ระหว่างความดันกับปริมาตรของแก๊ส
กฎของบอยล์

 สามารถสรุ ป กฎของบอยล์ ไ ด้
ดั ง นี้ เมื่ อ อุ ณ หภู มิ แ ละมวล
ของแก๊ ส คงที่ ปริ ม าตรของ
แก๊สจะแปรผกผันกับความดัน
กฎของบอยล์

V α 1
P

PV = k1 โดย k1 เป็นค่าคงที่

P1V1 = P2V2 = P3V3 = P4V4 = … PnVn = k1


ตัวอย่างการคานวณกฎของบอยล์

ตัวอย่าง 1 แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุในภาชนะขนาด 1 ลิตร ที่


ความดัน 1 บรรยากาศ ณ อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ถ้า
นาแก๊สนี้ไปบรรจุในภาชนะ 2 ลิตร ณ อุณหภูมิเดิม แก๊สนี้
จะมีความดันเท่าไร
ตัวอย่างการคานวณกฎของบอยล์
จากโจทย์ P1 = 1.0 atm , V1 = 1.0 L
P2 = ? atm , V2 = 2.0 L
จากกฎของบอยล์ P1V1 = P2V2
แทนค่าในสมการ
1.0 atm × 1.0 L = P2 × 2.0 L
P2 = 1.0atm  1.0L
2.0L
= 0.5 atm
กฎของชาร์ล

พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิในหน่วยองศา
เซลเซียส (๐C) และเคลวิน(K) กับปริมาตรของแก๊ส เมื่อความ
ดันคงที่ โดยนักวิทยาศาสตร์ได้กาหนดให้อุณหภูมิ -273 ๐C มี
ค่าเท่ากับ 0 K ซึ่งสามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ของ
อุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียสกับเคลวินได้ดังนี้
T(K) = t (๐C) + 273
กฎของชาร์ล
ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียส(๐C)
และเคลวิน (K) กับปริมาตรของแก๊ส
การทดลอง T V V/T
ครั้งที่ (๐C) (cm3) (cm3/๐C)
1 10 100 10.0
2 50 114 2.3
3 100 132 1.3
4 200 167 0.8
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิเคลวินกับ
ปริมาตรของแก๊ส
กฎของชาร์ล
 สามารถสรุ ป กฎของชาร์ ล ได้
ดั ง นี้ เมื่ อ มวลและความ
ดั น ของแก๊ ส คงที่ ปริ ม าตร
ของแก๊สจะแปรผันตรงกับ
อุณหภูมิเคลวิน
กฎของชาร์ล
VαT

V = k โดย k เป็นค่าคงที่
2 2
T
V1 V2 V3 Vn
= = =…= = k2
T1 T2 T3 Tn
ตัวอย่างการคานวณกฎของชาร์ล

ตัวอย่างที่ 3 แก๊สไนโตรเจนปริมาตร 20 ลิตร ที่


อุณหภูมิ 373 เคลวิน เมื่อทาให้อุณหภูมิลดลงเป็น
273 เคลวิน โดยความดันของแก๊สไม่เปลี่ยนแปลง
ปริมาตรสุดท้ายของแก๊สเป็นเท่าใด
ตัวอย่างการคานวณกฎของชาร์ล
จากโจทย์ V1 = 20 L , T1 = 373 K
V2 = ? L , T2 = 273 K

V1
จากกฎของชาร์ล = V2
T1 T2

20 L = V2
373K 273K

V2 = 20L  273K
373K
ตัวอย่างการคานวณกฎของชาร์ล

V2 = 14.6 L

ที่อุณหภูมิ 273 เคลวิน แก๊สไนโตรเจนจะมีปริมาตร 14.6 ลิตร


ตัวอย่างการคานวณกฎของชาร์ล

ตัวอย่าง 4 แก๊สตัวอย่างที่ความดันคงที่หดตัวจาก 4.72


cm3 ไปเป็น 4.41cm3 ด้วยความเย็น ถ้าอุณหภูมิตั้งต้น
เป็น 90 0C อุณหภูมิสุดท้ายเป็นเท่าไร
ตัวอย่างการคานวณกฎของชาร์ล

จากโจทย์ V1 = 4.72 cm3 V2 = 4.41 cm3


T1 = 273 + 90 0C = 363 K
T2 = ? 0C

จากกฎของชาร์ล V1/T1 = V2/T2

4.72 cm3 / 363 K = 4.41 cm3 / T2


กฎของเกย์-ลูสแซก

โจเซฟ-ลุย เก-ลูซัก ได้ศึกษาสมบัติ


ของแก๊สและได้สรุปว่า “ที่มวล
และปริมาตรคงที่ ความดันจะแปร
ผันตรงกับอุณหภูมิเคลวิน”
กฎของเกย์-ลูสแซก
กฎของเกย์-ลูสแซก

Pα T เมื่อ V และ m คงที่


P = kT

P = K
T

เมื่อมวลและปริมาตรคงที่ ในภาวะต่างๆจะได้ว่าอัตราส่วน
ระหว่างความดันกับอุณหภูมิ (K) ของแก๊สคงที่
กฎของเกย์-ลูสแซก

P1 = K และ P2 = K ดังนั้น
T1 T2

P1 = P2 เมื่อ V และ m คงที่


T1 T2
กฎของเกย์-ลูสแซก
หมายเหตุ
1. อุณหภูมิใช้หน่วยเคลวินหมด
2. หน่วยความดัน P1 และ P2
3. ที่อุณหภูมิ -273 0C หรือ 0 K แก๊สมีความดันเป็นศูนย์
หมายความว่า แก๊สจะเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลวหมด จึงไม่มี
ความดันที่จะเกิดจากแก๊ส
ตัวอย่างการคานวณกฎของเกย์-ลูสแซก

ตัวอย่าง แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุในถังปิดมีความดัน 1 atm ที่


27 0C จงหาความดันของแก๊สในถังนีเ้ มื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น
เป็น 80 0C
ตัวอย่างการคานวณกฎของเกย์-ลูสแซก
จากโจทย์ P1 = 1 atm P2 = ? atm
T1 = 273 + 27 0C = 300 K
T2 = 273 + 80 0C = 353 K

กฎของเกย์-ลูสแซก P1/T1 = P2/T2


1 atm / 300 K = P2/ 353 K
P2 = (1 atm x 353 K) / 300 K
P2 = 1.177 atm

ถ้ามีอุณหภูมิ 80 0C จะมีความดัน = 1.177 atm


ตัวอย่างการคานวณกฎของเกย์-ลูสแซก

ตัวอย่าง แก๊ส He ที่ความดัน 775 mmHg บรรจุในภาชนะ


ขนาด 1.05 L ที่อุณหภูมิ 26 0C จงหาอุณหภูมิที่เปลี่ยนแก๊ส
ให้มีความดันเป็น 725 mmHg สมมติว่าปริมาตรของแก๊ส
คงที่
ตัวอย่างการคานวณกฎของเกย์-ลูสแซก

ตัวอย่าง แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุอยู่ในกระบอกสูบขนาด 10
ลิตร ภายใต้ความดัน 4.68 atm ที่อุณหภูมิ 22 0C ถ้า
อุณหภูมิเพิ่มเป็น 600 0C ความดันของแก๊สจะเท่ากับกี่ atm
กฎรวมแก๊ส

เนื่องจากกฎของบอยล์และชาร์ลกล่าวถึงเฉพาะ
 ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรกับความดัน
 ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรกับอุณหภูมิ
แต่การเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติอาจเกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน
ดังนั้นจึงมีการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ปริมาตร ความดัน
และอุณหภูมิของแก๊สในขณะที่มีมวลคงที่
กฎรวมแก๊ส
1
จากกฎของบอยล์ V α
P
จากกฎของชาร์ล V α T

• รวมกฎของบอยล์และกฎของชาร์ล
T
V α
P
กฎรวมแก๊ส
k 3T
V = P
โดย k3 เป็นค่าคงที่

PV
= k3
T

P1V1 P2V2 P3V3 PnVn


= = =…= Tn
= k3 (เมื่อมวลคงที่)
T1 T2 T3
ตัวอย่างการคานวณกฎรวมแก๊ส

ตัวอย่าง แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมาตร 10.0 ลิตร ที่ความดัน 1.0


บรรยากาศ อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ถ้าแก๊สนี้มีปริมาตร
และความดันเปลี่ยนเป็น 11.5 ลิตร และ 900 มิลลิเมตรปรอท
ตามลาดับ จงหาอุณหภูมิที่เปลี่ยนไปในหน่วยองศาเซลเซียส
ตัวอย่างการคานวณกฎรวมแก๊ส
จากโจทย์ P1 = 1 atm = 760 mmHg
P2 = 900 mmHg
V1 = 10.0 L V2 = 11.5 L
T1 = 0 ๐C + 273 = 273 K
T2 = ?K

P1V1 P2V2
จากกฎรวมแก๊ส =
T1 T2
ตัวอย่างการคานวณกฎรวมแก๊ส
แทนค่าในสมการ
760mmHg  10.0 L = 900mmHg  11.5L
273K T2
900mmHg  11.5L  273K
T2 =
760mmHg  10.0 L

T2 = 372 K
T (K ) = t (๐C) + 273
t (๐C) = 372 ๐C - 273 = 99 ๐C
อุณหภูมิของแก๊สที่เปลี่ยนแปลง = 99๐C - 0 ๐C = 99 ๐C
ตัวอย่างการคานวณกฎรวมแก๊ส

ตัวอย่าง แก๊สในภาชนะ 500 cm3 ที่อุณหภูมิ 25 0C มีความ


ดัน 760 mmHg ถูกถ่ายเทไปยังภาชนะ 250 cm3 ที่อุณหภูมิ
0 0C จงหาความดันสุดท้ายของแก๊ส
ตัวอย่างการคานวณกฎรวมแก๊ส
จากโจทย์ P1 = 760 mmHg
P2 =?
V1 = 500 cm3 V2 = 250 cm3
T1 = 25 ๐C + 273 = 298 K
T2 = 0 ๐C + 273 = 273 K

P1V1 P2V2
จากกฎรวมแก๊ส =
T1 T2
ตัวอย่างการคานวณกฎรวมแก๊ส
แทนค่าในสมการ
760 mmHg x 500 cm3 = P2x 250cm3
298 K 273 K

P2 = 760 mmHg x 500 cm3 x 273 K


298 K x 250cm3

= 1390 mmHg
ความดันสุดท้ายของแก๊ส 1390 mmHg
ตัวอย่างการคานวณกฎรวมแก๊ส

ตัวอย่าง แก๊สนีออนมีปริมาตร 105 L ที่ 27 0C ภายใต้ความ


ดัน 985 mmHg จงหาปริมาตรที่เกิดขึ้นที่ภาวะมาตรฐาน
STP
กฎของอาโวกาโดร

อาโวกาโดร ได้ศึกษาสมบัติของ
แก๊สและได้สรุปว่า “ที่อุณหภูมิ
และความดันคงที่ แก๊สที่มี
ปริมาตรเท่ากัน จะมีจานวน
โมเลกุลเท่ากันด้วย”
กฎของอาโวกาโดร
กฎของอาโวกาโดร

กล่าวอีกนัยหนึ่งว่า “ที่อุณหภูมิและความดันคงที่ ปริมาตร


ของแก๊สใดๆ จะแปรผันโดยตรง กับจานวนโมลของแก๊สนั้น”

V α n เมื่อ T และ P คงที่


V = kn
V = K
n
กฎของอาโวกาโดร

V1 = K และ V2 = K ดังนั้น
n1 n2

V1 = V2 เมื่อ P และ T คงที่


n1 n2
ตัวอย่างการคานวณกฎของอาโวกาโดร

ตัวอย่าง หลอดไฟขนาด 100 วัตต์มีปริมาตร 130 cm3 บรรจุ


แก๊สอาร์กอน 3 x 10-3 mol จงหาจานวน mol ของแก๊ส
อาร์กอนที่บรรจุในหลอดไฟขนาด 150 วัตต์ ปริมาตร 185
cm3 ภายใต้อุณหภูมิและความดันเดียวกัน
ตัวอย่างการคานวณกฎของอาโวกาโดร
จากโจทย์ V1 = 130 cm3 V2 = 185 cm3
n1 = 3 x 10-3 mol
n2 = ? mol

กฎของอาโวกาโดร V1/n1 = V2/n2

130 cm3 / 3 x 10-3 mol = 185 cm3 / n2


n2 = (185 cm3 x 3 x 10-3 mol ) /130 cm3
n2 = 4x 10-3 mol
หลอดไฟขนาด 150 วัตต์ มีอาร์กอน 4x 10-3 mol
กฎแก๊สสมบูรณ์
k1
กฎของบอยล์ V =
P

กฎของชาร์ล V = k 2T

กฎของอาโวกาโดร V = k 4n
กฎแก๊สสมบูรณ์
 รวมความสัมพันธ์เข้าด้วยกัน

nT
V α
P

V = R nT
P
กฎแก๊สสมบูรณ์

PV = nRT

R คือ ค่าคงที่ของแก๊ส
กฎแก๊สสมบูรณ์
หมายเหตุ
1. n คือ จานวนโมลของแก๊ส
2. แก๊สใดๆ 1 mol มีปริมาตร 22.414 L ที่ STP
( ที่ STP คือ ที่อุณหภูมิ 0 0C หรือ 273 K ความดัน 1 atm)
แทนค่า หาค่า R จากสูตร ดังนี้ PV = nRT
1 atm x 22.414 L = 1 mol x R x 273 K

1 atm x 22.414 L
R = 1 mol x 273 K
= 0.08206 L .atm . K-1 .mol-1
กฎแก๊สสมบูรณ์
3. ค่าคงที่ของแก๊สในสูตร PV = nRT สามารถหาได้ 3
ทาง ถึงมีหน่วยได้ 3 แบบ ดังตาราง

ค่า R เมื่อ
0.082058 L .atm . K-1 .mol-1 P มีหน่วย atm
62.364 L . torr. K-1 .mol-1 P มีหน่วย torr
8.3145 J. K-1 .mol-1 P มีหน่วย Pa และ V มีหน่วย m3
กฎแก๊สสมบูรณ์
4. เนื่องจากจานวนโมลของแก๊ส (n) = มวล (m)
มวลโมเลกุล (M)

จาก PV = nRT
แทนค่า n ได้

PV = m RT
M
ตัวอย่างการคานวณกฎแก๊สสมบูรณ์

ตัวอย่างที่ 7 บรรจุแก๊สออกซิเจนจานวน 0.885 กิโลกรัม ไว้


ในถังเหล็กกล้าซึ่งมีปริมาตร 438 ลิตร จงคานวณความดัน
ของแก๊สออกซิเจนในถังนี้ที่อุณหภูมิ 21 ๐C
ตัวอย่างการคานวณกฎแก๊สสมบูรณ์
จากโจทย์ P = ? V = 498 L
T = 21 ๐C = 21 ๐C + 273 = 294 K
m = 0.885 kg = 885 g

จากสูตร PV = m RT
M
ตัวอย่างการคานวณกฎแก๊สสมบูรณ์
จากสูตร PV = m RT
M
แทนค่า P x 498 L = 885 g x 0.0821 L .atm . K-1 .mol-1 x 294 K
32 g . mol-1

P = 885 x 0.0821 x 294


32 x 498
P = 1.53 atm
แก๊สออกซิเจนมีความดัน 1.53 บรรยากาศ ที่อุณหภูมิ 21 ๐C
ตัวอย่างการคานวณกฎแก๊สสมบูรณ์

ตัวอย่างที่ 8 แก๊สธรรมชาติในแหล่งแก๊สธรรมชาติแห่งหนึ่ง
ประกอบด้วยมีเทน 3.20 X 105 L ที่ความดัน 1500 atm
อุณหภูมิ 45 0C แก๊สธรรมชาติในแหล่งนี้มีแก๊สมีแทนอยู่กี่
กิโลกรัม
กฎแก๊สสมบูรณ์
ความหนาแน่นของแก๊สหาได้จากกฎของแก๊สสมบูรณ์ ดังนี้
PV = m RT
M
PM = m RT
V
PM = d RT

d = PM
RT
ตัวอย่างการคานวณกฎแก๊สสมบูรณ์

ตัวอย่างที่ 9 แก๊สออกซิเจน 1 mol ที่อุณหภูมิ 62.4 ความดัน


3.45 atm มีความหนาแน่นเท่าใด
การแพร่ของแก๊ส

 การที่อ นุ ภาคของสารเคลื่อ นที่ผ่านตั ว กลางจากที่ห นึ่ ง


ไปสู่อีกที่หนึ่งเรียกว่า การแพร่
 การแพร่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ สารได้ ทุ ก สถานะ ทั้ ง ของแข็ ง
ของเหลว และแก๊ส
 การแพร่ของไอมีความสัมพันธ์กับมวลโมเลกุลของสาร
คือ ในระยะเวลาที่เท่ากันสารที่มีมวลโมเลกุลต่าจะ
แพร่ไปได้ไกลกว่าสารที่มีมวลโมเลกุลสูง
การแพร่ของแก๊ส

 การแพร่ผ่าน เป็นกระบวนการที่แก๊สภายใต้ความดัน
ค่าหนึ่งเคลื่อนที่ออกจากภาชนะที่บรรจุ แก๊สจะเคลื่อนที่
ผ่านรูเล็กๆไปสู่อีกภาชนะหนึ่งโดยโมเลกุลไม่ชนกัน
การแพร่ผ่านของเกรแฮม

 สรุปกฎการแพร่ผ่านของเกรแฮม
ได้ ดั ง นี้ ที่ อุ ณ หภู มิ แ ละความ
ดั น เดี ย วกั น อั ต ราการแพร่
ผ่ า นของแก๊ ส เป็ น สั ด ส่ ว น
ผกผั น กั บ รากที่ ส องของมวล
ต่อโมลของแก๊ส
การแพร่ผ่านของเกรแฮม

 สามารถเขี ย นแสดงความสั ม พั น ธ์ ท างคณิ ต ศาสตร์ ไ ด้


ดังนี้
1
อัตราการแพร่ของแก๊ส α
M
การแพร่ผ่านของเกรแฮม
 เปรี ย บเที ย บอั ต ราการแพร่ ผ่ า นของแก๊ ส 2 ชนิ ด ที่
อุณหภูมิและความดันเดียวกันจะได้ดังนี้
r1 M2
=
r2 M1

r1 และ r2 คืออัตราการแพร่ผ่านของแก๊สชนิดที่ 1 และ 2


M1 และ M2 คือมวลต่อโมลของแก๊สชนิดที่ 1 และ 2
การแพร่ผ่านของเกรแฮม

 การแพร่ ผ่ า นของแก๊ ส
เป็ น ไปเช่ น เดี ย วกั บ การ
แพร่ ของแก๊ส คือ แก๊สที่
เบากว่าจะแพร่ผ่านได้เร็ว
กว่าแก๊สที่หนักที่อุณหภูมิ
และความดันเดียวกัน
การแพร่ผ่านของเกรแฮม

ตัวอย่างที่ 10 จงเปรียบเทียบอัตราการแพร่ผ่านของแก๊ส
ไฮโดรเจนกับฮีเลียมที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน

You might also like