You are on page 1of 6

หลักการเบื้องต้น

ของการชุบโลหะด้วยไฟฟ้ า
น้ำยาชุบโลหะ (Electrolytes)
ตัวล่อ (Anode)
ตัวล่อ (Anode)
ชิ้นงาน (Cathode)
แอนอิออน
(Anions)
แคทอิออน (Cations)
จากการวิจยั ของนักวิทยาศาสตร์ ได้พบว่าตัวนําไฟฟ้ าแบ่งได้เป็ นสองพวก คือ
พวกที่หนึ่ง เป็ นตัวนําไฟฟ้ าโดยตัวเองไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เป็ นแต่เพียง สะพานเพื่อให้ไฟฟ้ าผ่านได้เท่านั้น เช่น โลหะต่าง ๆ และแกรไฟต์
พวกที่สอง เป็ นตัวนําไฟฟ้ าโดยตัวเองแยกสลายออกเป็ นอนุภาคเล็ก ๆ ในขณะที่ กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านตัวของมัน เช่น น้าเชื ํ อกรด และสารละลายของเกลือ
ต่าง ๆ เป็ นต้น ตัวนําไฟฟ้ าพวกหลังนี้ ในทางวิทยาศาสตร์ ใช้ชื่อว่า อีเล็คโตรไลต์ (Electrolytes) ไมเคิล ฟาราเดย์ นักวิทยาศาสตร์คนสําคัญคนหนึ่ง
ของโลกได้ต้ งั ชื่อนี้ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1832-183 ตัวนําไฟฟ้ าพวกที่สองนี้ เองที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการชุบเคลือบผิวโลหะด้วยไฟฟ้ าโดยตรง
เมื่อเราผ่านกระแสไฟฟ้ าเข้าไปในสารละลายของอีเล็คโตรไลต์ที่ใช้แผ่นปลาตินมั เป็ น ขั้วอีเล็คโตรด อนุภาคเล็ก ๆ พวกหนึ่งของอีเล็คโตรไลต์จะวิ่งไปยัง
แอโนด (Anode) หรื อขั้วบวก อนุภาคเล็ก ๆ อีกพวกหนึ่งของอีเล็คโตรไลต์จะวิ่งไปยังแคโทด (Cathode) หรื อขั้วลบ อนุภาค เล็ก ๆ ของอีเล็ค
โตรไลต์ที่วิ่งไปยังขั้วบวก หรื อขั้วลบดังกล่าวแล้วนั้นเรี ยกว่า อิออน (lons) แต่ละอิออนจะมีประจุไฟฟ้ า ประจําตัวทุกตัว อิออนที่วิ่งไปยังขั้วบวก เรี ยกว่า
แอนอิออน (Anions) จะมีประจุ
CATHODE ไฟฟ้ าลบ (-) ประจําตัว อิออนที่วิ่งไป ยังขั้วลบเรี ยกว่า แคทอิออน (Cathions) จะมีประจุไฟฟ้ าบวก (+) ประจําตัว ขณะที่เกิดการ
แยกสลายดังกล่าวในสาร ละลายนั้น เราจะมองไม่เห็นปฏิกริ ยา ใด ๆ เกิดขึ้นในสารละลายนั้นเลย แต่ จะไปเห็นปฏิกิริยาเกิดขึ้นที่ข้วั ลบ หรื อขั้วบวก ตัวอย่าง
เช่นในสารละลายของอีเล็คโตรไลต์ บางชนิด ที่ใช้แผ่นปลาตินมั เป็ นขั้วบวกและขั้วลบ เมื่อต่อแผ่นขั้วทั้งสองเข้ากับแบตเตอรี่ ให้ ครบวงจร จะปรากฏว่ามี
ฟองแก๊สออกซิเจนเกิดขึ้นที่ข้วั บวก และมีฟองแก๊สไฮโดรเจนเกิดขึ้น ที่ข้วั ลบ เป็ นต้น

ตัวอย่างการแยกสลายของน้ายาสารละลายของทองแดงซั ลเฟต
เมื่อเอาสารละลายของทองแดงซัลเฟตมาทําการแยกสลายด้วยไฟฟ้ า ใช้แผ่นปลาตินมั เป็ นขั้วลบโดยต่อเข้ากับขั้วลบ ของแบตเตอรี่ ใช้แผ่นทองแดงบริ สุทธิ์

เป็ นขั้วบวก โดยต่อ เข้ากับขั้วบวกของแบตเตอรี่ จะเกิดปฏิกิริยาดังนี้ :- CuS04+Cu+ + + S04 - ทองแดงซัลเฟตที่มีอยูใ่ นน้ายาจะแยกสลายออก
เป็ นอนุภาคเล็ก ๆ 2 ส่ วนคือ อนุภาค ทองแดง (Cu+ +) มีประจุไฟฟ้ าบวก (+) ประจําตัว และซัลเฟต (So4) มีประจุไฟฟ้ าลบ (-) ประจําตัว เมื่อต่อ
กระแสไฟฟ้ าให้ครบวงจร อนุภาคเล็ก ๆ ทองแดงจะวิง่ ไปหาปลาตินมั (ขั้วลบ) เกาะติดเป็ นผงสี แดงอยูบ่ นแผ่นปลาตินมั ส่ วนอนุภาคเล็ก ๆ ซัลเฟตจะวิง่ ไป
หา แผ่นทองแดง (ขั้วบวก) ทําปฏิกิริยากับทองแดง เป็ นเหตุให้ทองแดงละลายเป็ นทองแดงซัลเฟต แทนที่ทองแดงซัลเฟตตัวก่อนที่หมดไป ทองแดงซัลเฟต
ตัวหลังนี้ จะแยกสลายออกเป็ น 2 ส่ วนอีก คืออนุภาคทองแดง (Cu++) และอนุภาคซัลเฟต (So4) อนุภาคทองแดงจะวิ่งไป ขั้วลบ เกาะติดอยูท่ ี่ข้วั ลบ
อนุภาคซัลเฟตวิ่งไปที่ข้วั บวกทําปฏิกิริยากับขั้วบวก กลายเป็ น
ทองแดงซัลเฟตขึ้นมาแทนที่อีก ปฏิกิริยาจะเกิดหมุนเวียนเช่นนี้ตลอดไปตราบที่ยงั คงต่อให้ กระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน จากการค้นพบกฏเกณฑ์อนั นี้ เราจึงนํา
เอาใช้เป็ นประโยชน์ในทางชุบ เคลือบผิวโลหะ (Electro Plating) และการแยกโลหะให้บริ สุทธิ์ (Refinery) เช่น ถ้าเรามี ทองแดงไม่บริ สุทธิ์อยู่
เราก็เอาทองแดงนี้ไปทําเป็ นแผ่นขั้วบวกแล้วจุ่มในสารละลายทองแดงซัลเฟต (CuS04) เมื่อไฟฟ้ าไหลผ่านครบวงจร ทองแดงบริ สุทธิ์ จะไปเกาะติดบน
แผ่นขั้วลบ ซึ่งเราก็จะได้ทองแดงบริ สุทธิตามต้องการ
กฎของฟาราเดย์
เมื่อกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านสารละลายอีเล็คโตรไลต์โดยทางแคโทดและแอโนด โลหะ จะละลายจากแอโนดหรื อมีออ๊ กซิเจนเกิดขึ้นที่แอโนด และจะได้โลหะ
เกาะจับที่แคโทดหรื อ มีไฮโดรเจนเกิดขึ้นที่แคโทด ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นมากหรื อน้อยมีส่วนสัมพันธ์โดยตรงกับปริ มาณ ของกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านสารละลาย
และระยะเวลาของการปล่อยให้กระแสผ่าน ไมเคิล ฟาราเดย์ ได้ต้ งั กฏความสัมพันธ์ระหว่างปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นที่ข้วั ทั้งสอง, ปริ มาณกระแสไฟฟ้ าที่ใช้ และ
ระยะเวลาที่ให้กระแสไหลผ่านไว้ดงั นี้
ํ กของอิออนที่ถูกปล่อยให้เป็ นอิสระโดยกระแสไฟฟ้ าย่อมเป็ น สัดส่วนโดยตรงกับปริ มาณของไฟฟ้ าที่ใช้
กฎข้อที่หนึ่ง น้าหนั
ํ กของอิออนชนิดต่าง ๆ ที่ถูกปล่อยให้เป็ นอิสระโดยปริ มาณไฟฟ้ า เท่า ๆ กันย่อมเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับสมมูลย์เคมีของอิออนเหล่านั้น
กฎข้อที่สอง น้าหนั
จากกฎข้อที่ 1 เราสามารถนํามาใช้ในการชุบโลหะได้ คือถ้าเราต้องการให้โลหะมา เกาะจับมีความหนาจํานวนหนึ่ง เราอาจจะทําได้ 2 วิธีคือ ใช้กระแส
ไฟฟ้ าน้อย ๆ แล้วใช้ เวลานาน ๆ หรื อเราอาจจะใช้กระแสไฟฟ้ ามาก ๆ แต่ใช้เวลาสั้น ๆ ก็จะได้โลหะไปเกาะจับที่แคโทดมีปริ มาณเท่ากัน
จากกฎข้อที่สอง เราทราบได้วา่ โลหะ แต่ละชนิดมีคุณสมบัติการแยกสลายไม่เหมือนกัน กล่าวคือ ในปริ มาณกระแสไฟฟ้ าที่เท่า ๆ กัน โลหะแต่ละชนิดจะ
แยกสลายออกมามีปริ มาณ ไม่เท่ากัน โลหะบางชนิดจะแยกสลายออกมาน้อย โลหะบางชนิดจะแยกสลายออกมามาก ทั้งนี้ ขึ้นอยูก่ บั คุณสมบัติประจําตัว
หรื อสมมูลย์เคมี ของโลหะนั้น ๆ
ประสิ ทธิภาพของขั้วลบและขั้วบวก
ตามกฏของฟาราเดย์ขอ้ ที่หนึ่ง ในน้ายาชุ ํ บโลหะนิเกิล ถ้ากระแสไฟฟ้ าจํานวน 1 ฟาราเดย์ (96,500 คูลอมป์ ) ซึ่งมีค่าเท่ากับ 26.8 แอมแปร์ ไหลผ่าน
สารละลายนิเกิลเป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง ตามทฤษฎีควรจะได้โลหะนิเกิลเกาะที่แคโทดมีนาหนั ้ ํ ก 29.35 กรัม
แต่จากการทดลองจริ ง ๆ ผลปรากฏว่าได้โลหะนิเกิลเกาะที่แคโทดเพียง 27.9 กรัม เท่านั้น จากการทดสอบจึงพบว่ากระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านไปในน้ายาชุ ํ บ
นิเกิล ไม่ได้ใช้สิ้นเปลือง ไปในการแยกสลายให้นิเกิลไปเกาะที่แคโทดแต่อย่างเดียว หากแต่ยงั ต้องสิ้ นเปลืองไปกับการ แยกสลายสิ่ งอื่น ๆ ที่มีอยูใ่ นน้ายาอี ํ ก
ํ ํ
เช่น แก๊สไฮโดรเจน เป็ นต้น ถ้าเรานําเอาน้าหนักของ นิเกิลที่ไปเกาะที่ข้วั ลบอย่างแท้จริ งมาเปรี ยบเทียบกับน้าหนักของนิเกิลที่ควรจะไปเกาะที่ ขั้วลบตาม
ทฤษฎีกจ็ ะสามารถทราบ “ประสิ ทธิภาพของขั้วลบ” ได้
ตัวอย่าง น้าหนั ํ กของนิเกิล ที่ไปเกาะที่ข้วั ลบอย่างแท้จริ ง 27.9 กรัม น้าหนั
ํ กของนิเกิล ที่ควรจะไปเกาะที่ข้วั ลบ 29.35 กรัม ประสิ ทธิภาพของขั้วลบ
29.32 x 100
นัน่ คือปริ มาณของกระแสไฟฟ้ า 26.8 แอมแปร์ที่ไหลผ่านนํายาชุบโลหะนิเกิลเป็ น เวลา 1 ชัว่ โมง จะมีกระแสเพียง 95% เท่านั้นที่ใช้สิ้นเปลืองไปใน
การแยกสลายให้โลหะไป เกาะที่ข้วั ลบ ส่ วนอีก 5% จะเป็ นปริ มาณกระแสที่สูญเสี ยไปกับการแยกสลายของก๊าซไฮโดรเจน เราจึงเรี ยกว่านิเกิลมี
ประสิ ทธิภาพของขั้วลบ 95%
ประสิ ทธิภาพของขั้วลบของน้ายาชนิ ํ ดต่าง ๆ จะแตกต่างกันออกไป เช่น น้ายาชบ ํ โครเมี่ยมจะมีประสิ ทธิภาพต่ามาก ํ คือประมาณ 10-25% เท่านั้นเอง
ํ บเงินมีประสิ ทธิ ภาพขั้วลบสูงมากคือเกือบ 100% เต็ม และในน้ายาชุ
น้ายาชุ ํ บดีบุก (Tin Plating) ประสิ ทธิภาพ ของขั้วลบจะประมาณ 50 ถึง
75% ดังนี้ เป็ นต้น
ที่แอโนดกระแสไฟฟ้ าที่ไปช่วยให้แอโนดละลายก็ไม่ได้ใช้ให้หมดไปในการละลายแอโนด แต่อย่างเดียว กระแสไฟฟ้ าต้องสูญเสี ยไปกับสิ่ งอื่น ๆ อีก เช่น
ต้องเอาชนะความต้านทาน ที่เกิดขึ้นโดยปฏิกิริยาเคมี มีลกั ษณะเป็ นเยือ่ บางๆ รอบ ๆ แท่งแอโนด, ต้องสูญเสี ยไปกับ การละลายสิ่ งเจือปนอื่น ๆ ที่มีผสมอยู่
ในแอโนด ฯลฯ เป็ นต้น จากการสูญเสี ยดังกล่าวจึงต้อง คํานวณหาประสิ ทธิภาพของแอโนดด้วย แต่วิธีการคํานวณหาประสิ ทธิภาพของแอโนด เขามักจะคํา
นวณโดยการเปรี ยบเทียบกับประสิ ทธิภาพของแคโทดหรื อคํานวณโดยวิธีเดียวกันกับ การหาประสิ ทธิภาพของขั้วลบ
ในการประกอบการชุบโลหะโดยทัว่ ๆ ไป ถ้าประสิ ทธิภาพของแคโทดและแอโนด ต่างก็มีประสิ ทธิภาพดีเลิศคือ 100% เท่ากัน นัน่ คือมีโลหะไปเกาะที่
แคโทดเท่าใด ที่แอโนด ก็จะต้องมีโลหะละลายลงไปในน้ายามี ํ จาํ นวนเท่ากัน ถ้าน้ายาชุ
ํ บใด ๆ เป็ นเช่นนี้ ก็จะมีลกั ษณะ ดีเลิศ ไม่มีปัญหายุง่ ยากใด ๆ จะต้อง
แก้ไขเลย แต่นายาชุ ้ ํ บโลหะทุกชนิดไม่มีลกั ษณะเช่นนั้น

น้ายาทุกชนิดจะมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ วมาก ประสิ ทธิภาพของขั้วบวกและขั้วลบหรื อกล่าว โดยง่าย การละลายของขั้วบวกและการเกาะจับของโลหะที่
ขั้วลบจะแตกต่างกันอยูต่ ลอดเวลา ด้วยเหตุน้ ี เอง น้ายาชุ ํ บโลหะแต่ละชนิดจึงจําเป็ นต้องประกอบด้วยตัวยาหลาย ๆ อย่าง เพื่อให้ ตัวยาเหล่านั้นทําหน้าที่ต่าง
ๆ กัน เช่นตัวที่ 1 มีหน้าที่ปล่อยโลหะออกมา ตัวที่ 2 มีหน้าที่ช่วยให้ แอโนดละลายสม่าเสมอ ํ ช่วยเป็ นสื่ อไฟฟ้ า ตัวที่ 3 มีหน้าที่ช่วยควบคุมไม่ให้นายา้ํ
เป็ นกรด มากเกินไปหรื อเป็ นด่างมากเกินไป ฯลฯ ดังนี้ เป็ นต้น ทั้งนี้โดยมีจุดมุ่งหมายให้ข้วั บวกและ ขั้วลบมีประสิ ทธิภาพใกล้เคียงกันที่สุดเท่าที่จะเป็ นไป
ได้นนั่ เอง

น้ายาแต่ ละชนิด ประกอบด้วยตัวยาแตกต่างกันออกไป ตัวยาชนิดใดมีหน้าที่อย่างไร เป็ นเรื่ องที่ผปู้ ระกอบการชุบโลหะควรศึกษาเอาไว้
ค่าของ พีเอช (pH Values)
หนึ่งโมเลกุลของน้าประกอบด้ ํ วยไฮโดรเจน 2 อะตอม และอ๊อกซิเจน 1 อะตอม สูตรโมเลกุลของน้าคื ํ อ H20 น้าบริ ํ สุทธิ์ เมื่อมีการแตกแยกจะได้
ไฮโดรเจน อิออนและ ไฮดรอกซิลอิออนเล็กน้อยดังสมการ H,0--H" + OH
ในน้าบริ ํ สุทธิ์ ค่าของไฮโดรเจนอิออนและค่าของไฮดรอกซิลอิออน จะมีค่าเท่ากัน ในสภาพเช่นนี้ น้านั ํ ้ นจะมีสภาพเป็ นกลาง คือไม่เป็ นกรดหรื อด่าง แต่ถา้
ในน้าใดมี ํ ไฮโดรเจน อิออนมากกว่าไฮดรอกซิลอิออน น้านั ํ ้ นจะมีสภาพเป็ นกรด และในทางตรงกันข้าม ถ้าน้าใด ํ มีไฮดรอกซิลอิออนมากกว่าไฮโดรเจนอิ
ํ ํ
ออน น้านั้นก็จะมีสภาพเป็ นด่าง ในการวัดค่า พี.เอช. ของน้ายาชุบถือค่า พี.เอช. 7 เป็ นค่าที่นายามี ํ
้ สภาพเป็ นกลาง ค่า พี.เอช. ตั้งแต่ 7 ลงมาถึง 1 เป็ นค่า
ที่นายามี ้ ํ สภาพเป็ นกรด ตั้งแต่ 7 ถึง 13 เป็ นค่าที่นายามี
้ ํ สภาพเป็ นด่าง
ค่าของพี.เอช. มีอิทธิพลต่อน้ายาชุ ํ บโลหะมาก กล่าวคือถ้าค่าของพี.เอช. น้อย แสดงว่า น้ายานั ํ ้ นมีสภาพเป็ นกรดมากเกินไป จะมีผลทําให้ประสิ ทธิภาพของ
ํ ํ
แคโทดลดต่าลง ถ้าค่า ของพี.เอช.มาก แสดงว่าน้ายานั้นมีสภาพเป็ นด่างมากเกินไป จะมีผลทําให้ประสิ ทธิภาพ ของแอโนดลดต่าลงเช่ ํ นเดียวกัน ด้วยเหตุน้ ี

การควบคุมค่าของพี.เอช.จึงสําคัญมาก น้ายา ทุกชนิดจะมีค่าพี.เอช.ที่เหมาะสมอยูโ่ ดยเฉพาะที่ค่าหนึ่ง ฉะนั้นจึงควรพยายามควบคุมให้ค่า พี.เอช.อยูใ่ น
ขอบเขตตามที่กาํ หนดให้ได้ น้ายาชุ ํ บชนิดใดควรมีค่าพี.เอช.เท่าใด จะทราบได้ จากคู่มือการใช้นายาชนิ ้ํ ดนั้น ๆ
ความหนาแน่นของกระแส (Current Density)
ความหนาแน่นของกระแสของขั้วลบ คือกระแสที่ช่วยให้เกิดการเคลือบที่ข้วั ลบต่อ หนึ่งหน่วยเนื้อที่ ปกติมกั จะใช้แอมแปร์ต่อตารางฟุต หรื อแอมแปร์ต่อตา
รางเดซิเมตร การ คํานวณหาพื้นที่ของแคโทด เพื่อทราบว่าจะจ่ายความหนาแน่นของกระแสแตกต่างกันออกไป และงานแต่ละชิ้นก็มีเนื้อที่ต่าง ๆ กัน ด้วย
เหตุน้ ีกระแสและเนื้อที่จึงควรต้องพิจารณาเป็ น อันดับแรกเสมอ ก่อนที่จะจ่มชิ้นงานลงในถังเพื่อทําการชุบ ความหนาแน่นของกระแสให้ดู จากคู่มือการใช้
น้ายาแต่ ํ ละชนิด โดยสอบถามจากผูจ้ าํ หน่าย ในการชุบโลหะถ้ากวนน้ายาโดย ํ ใช้เครื่ องกวนหรื อใช้ลมเป่ า และเพิ่มอุณหภูมิของน้ายาขึ ํ ้ นตามคู่มือการใช้นา้ ํ
ยา จะช่วยให้ สามารถใช้ความหนาแน่นของกระแสได้มากขึ้น ซึ่งอาจจะทําให้ระยะเวลาของการชุบลดสั้น ลงได้ โดยได้ความหนาของผิวที่เท่ากัน
ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของชิ้นงานและกําลังการเคลือบผิว
รู ปร่ างของชิ้นงานที่จะต้องทําการชุบเคลือบผิวนั้นมักมีรูปร่ างต่าง ๆ กันออกไป เช่น กลม, แบน, โค้งงอ, กลวง ฯลฯ รู ปร่ างต่าง ๆ เหล่านี้จะชุบให้มีการ
เกาะจับหนาเท่ากันโดย ตลอดทัว่ ชิ้นงานย่อมยากมาก
จากการศึกษาถึงธรรมชาติการเดินทางของกระแสในการชุบโลหะพบว่า กระแส เดินทางไปยังจุดที่ใกล้เคียงที่สุดอย่างหนาแน่น จุดที่ห่างออกไปจะมีกระแส
เบาบางลงไป ด้วยเหตุที่การเดินทางของกระแสก็คือการเดินทางของแคทอออนไปยังขั้วลบนัน่ เอง ดังนั้น ส่ วนใดที่มีกระแสเดินไปหาอย่างหนาแน่น ย่อมี
การเกาะจับหนามาก ส่วนที่มีกระแสเดินไป หาเบาบาง ก็จะมีการเกาะจับบาง ดังในภาพ

ทองเหลืองกับสแตนเลส คุณสมบัติต่างกันอย่างไร ?
ทองเหลืองและสแตนเลส เป็ นวัสดุที่พบเห็นได้ทวั่ ไปในแทบจะทุกๆงาน ไม่วา่ จะเป็ นเครื่ องมือเครื่ องใช้ เครื่ องประดับ หรื อแม้แต่ในอุปกรณ์โรงงาน
เองก็ตาม แต่คงมีคนไม่ทราบว่าทั้งสองแบบนั้นแตกต่างกันอย่างไร ? แบบไหนใช้กบั อะไรดี ? ปาโก้มีบทความเกี่ยวกับเรื่ องความแตกต่างของทอง
เหลืองและสแตนเลสมาฝากกันจ้า
ทองเหลืองแปรรู ปแบบแท่ง
ทองเหลือง (Brass) เป็ นโลหะที่เกิดจากการผสมระหว่างทองแดงและสังกะสี แต่จะมีคุณสมบัติเฉพาะตัวที่แตกต่างกันไป เพราะปริ มาณของ
สังกะสี ที่ผสมแล้วได้เปลี่ยนไปอยูท่ ี่ประมาณ 5-45% โดยการค้นพบทองเหลืองนั้น คาดว่าน่าจะเป็ นยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์ เพราะมีการนำทอง
เหลืองมาใช้ประโยชน์ในยุคสำริ ด และยังถูกเรี ยกว่าเป็ นโลหะที่แข็งแกร่ งที่สุดในยุคสำริ ดอีกด้วย โดยมีชื่อเรี ยกในตำนานว่า “โอริ คลั คุม”
ลักษณะของทองเหลือง
ทองเหลือง เป็ นโลหะที่มีสีเหลืองและมีบางส่ วนที่คล้ายกับทองคำเป็ นอย่างมาก แถมยังมีคุณสมบัติในการต่อต้านการเกิดสนิมได้เป็ นอย่างดี จึงมักจะ
มีการนำทองเหลืองมาทำเป็ นเครื่ องประดับเพื่อตกแต่งในบ้านเรื อนและเครื่ องมือเครื่ องใช้ต่างๆ ด้วย สำหรับการค้นพบทองเหลืองนั้น คาดว่าน่าจะมี
การค้นพบมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ โดยมีการนำเอาทองแดงมาหลอมละลายกับแร่ คาลาไมน์ เพื่อดูดเอาสังกะสี ออกมา แล้วผสมเข้ากับ
ทองแดงจนกลายมาเป็ นเป็ นทองเหลืองในที่สุด
คุณสมบัติของทองเหลือง
ทองเหลือง ก็คือ โลหะที่มีการผสมระหว่างทองแดงและสังกะสี เข้าด้วยกัน ทั้งนี้กเ็ พราะสังกะสี สามารถละลายในทองแดงได้ ซึ่ งปริ มาณของสังกะสี ที่
ใส่ ลงไปในทองแดงนั้นจะมากหรื อน้อยก็ข้ ึนอยูก่ บั ความต้องการของผูผ้ ลิตเอง โดยจะทำให้ทองเหลืองที่ได้ มักมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันไป ไม่
สามารถกำหนดคุณสมบัติอย่างตายตัวได้ แต่สำหรับคุณสมบัติที่ดีน้ นั จะต้องมีคุณสมบัติหลักๆ ดังนี้ คือ สามารถทนต่อการกัดกร่ อนและสภาพอากาศ
ได้ดี ทั้งมีความแข็งแรงทนทานและทนต่อรอยขีดข่วนได้อย่างดีเยีย่ ม
ข้อดีของทองเหลืองต่ออุตสาหกรรม
ผลิตภัณฑ์ทองเหลือง สามารถนำมาใช้ในงานอุตสาหกรรมได้อย่างแพร่ หลาย โดยเฉพาะการนำมาประกอบกับเครื่ องจักรเพื่อใช้ในการผลิตชิ้นส่ วน
ต่างๆ ของรถยนต์ และอุปกรณ์สำคัญอื่นๆ อีกมากมาย ทั้งสามารถนำมาทำเป็ นอุปกรณ์เครื่ องใช้ อย่างท่อทองเหลือง หรื อข้อต่อทองเหลืองได้อีกด้วย
นอกจากนี้ทองเหลือง ก็สามารถนำมาใช้เป็ นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมยานยนต์และอุตสาหกรรมการผลิตได้เป็ นอย่างดี ซึ่ งก็จะเห็นได้วา่ ทองเหลืองมี
บทบาทสำคัญในภาคอุตสาหกรรมเป็ นอย่างมาก ทั้งสามารถสร้างรายได้ให้กบั ภาคอุตสาหกรรมได้ดี
ทองเหลืองกับสิ่ งแวดล้อม
สำหรับใครที่กงั วลว่าทองเหลืองจะเป็ นพิษต่อสิ่ งแวดล้อมหรื อไม่น้ นั ขอบอกเลยว่าไม่ เพราะทองเหลืองมีความเป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อมค่อนข้างสู ง
โดยถูกผลิตขึ้นมาด้วยกระบวนการที่ใช้พลังงานอย่างมีประสิ ทธิภาพที่สุด จึงไม่ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่ งแวดล้อม และยังสามารถใช้งานควบคู่ไปกับ
ธรรมชาติได้เป็ นอย่างดีอีกด้วย นอกจากนี้ ทองเหลืองก็สามารถนำมาหมุนเวียนใช้ใหม่ได้อย่างไม่เปล่าประโยชน์ ด้วยการนำทองเหลืองมาหลอมและ
ขึ้นรู ปใหม่เพื่อใช้งานต่อไปนัน่ เอง นอกจากนี้ทองเหลืองก็เป็ นตัวช่วยที่ดีในเรื่ องของสุ ขภาพด้วย โดยการนำทองเหลืองมาทำเป็ นลูกบิดประตูหรื อ
ราวบันไดเพราะจะไม่มีเชื้อโรคหรื อแบคทีเรี ยเกาะอยูน่ นั่ เอง จึงมัน่ ใจได้เลยว่าเมื่อจับลูกบิดหรื อจับราวบันได จะไม่มีเชื้อโรคร้ายเกาะติดอยูใ่ ห้ตอ้ ง
กังวล
และนอกจากทองเหลืองจะเป็ นโลหะที่มีความเป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อมแล้ว ทองเหลืองก็สามารถนำมาทำให้มีสีสนั และรู ปทรงต่างๆที่สวยงามได้ตาม
ต้องการอีกด้วย แถมยังให้ความรู้สึกอบอุ่นและสามารถคงความแข็งแกร่ งไว้ได้เป็ นอย่างดี จึงไม่ตอ้ งแปลกใจเลยว่าทำไมทองเหลืองจึงเป็ นที่นิยม
และมักจะถูกนำมาใช้ในงานสถาปั ตยกรรมและมัณฑนศิลป์ บ่อยๆ
ผลของธาตุต่างๆ ที่อยูใ่ นทองเหลือง
นิกเกิล จะช่วยเพิ่มความแข็งแรงและความทนทานต่อการกัดกร่ อนให้กบั ทองเหลือง จึงทำให้ทองเหลืองมีคุณสมบัติที่แข็งแกร่ งยิง่ ขึ้น และนำมาใช้ใน
งานที่ตอ้ งการคุณสมบัติตา้ นการกัดกร่ อนได้ดี อีกทั้งเมื่อผสมนิกเกิลให้เท่ากับปริ มาณของสังกะสี ก็จะทำให้ทองเหลืองเปลี่ยนเป็ นสี ขาวเหมือนเงิน
จึงถูกเรี ยกอีกชื่อหนึ่งว่า นิกเกิลเงิน
เหล็กและแมงกานีส มีคุณสมบัติช่วยเพิ่มความแข็งแรงให้กบั ทองเหลือง ซึ่ งส่ วนใหญ่แล้วก็จะนิยมผสมเข้าไปในทองเหลืองประเภท ทองเหลืองต้าน
แรงดึงสู ง
ตะกัว่ ไม่มีส่วนผสมที่ต้ งั ใจใส่ เข้าไปในทองเหลืองโดยตรง แต่อาจติดมาจากสังกะสี โดยไม่รู้นนั่ เอง ซึ่ งตะกัว่ นั้นก็จะมีคุณสมบัติในการช่วยให้การ
ไหลตัวของน้ำโลหะดีข้ ึน ทั้งมีความต้านทานแรงดึง มีความเหนียวเหมาะกับการขึ้นรู ป
อะลูมิเนียม จะช่วยเพิ่มความสามารถในการต้านทานต่อการกัดกร่ อนให้กบั ทองเหลือง และช่วยลดการสู ญเสี ยโลหะสังกะสี ในการหลอมได้เป็ นอย่าง
ดี
ดีบุก ช่วยเพิ่มความต้านทานต่อการกัดกร่ อน และสามารถต้านทางแรงดึงได้มากขึ้น
ทองเหลือง เป็ นโลหะที่มีความแข็งแกร่ งและสามารถต้านทานต่อการกัดกร่ อนได้ดี ทั้งยังเป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อม จึงทำให้ทองเหลืองได้รับความนิยม
ในการนำมาใช้งานเป็ นอย่างมาก โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมจำพวกอุตสาหกรรมยานยนต์และอุตสาหกรรมการผลิต ซึ่ งก็จะเห็นได้วา่ ทองเหลือง
เป็ นโลหะที่มีความสำคัญและมีบทบาทต่อวงการการผลิตมาก
สแตนเลสสตีล(stainless) คือ โลหะผสม (Ferrous Alloy) ระหว่างเหล็กกับสารหลายชนิด ที่สำคัญ คือ สารโครเมี่ยมอย่างน้อย 10%
ที่ทำให้เหล็กกลายเป็ นโลหะผสม ที่สามารถทนการกัดกร่ อน และ ทนสนิมทั้งจากธรรมชาติ และจากสิ่ งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น
สแตนเลส สตีล แบ่งออกได้มากกว่า 150 ชนิด แต่สามารถแบ่งเป็ นกลุ่มได้ 8 กลุ่มด้วยกันขึ้นอยูก่ บั ส่ วนผสมของธาตุต่างๆ ที่ทำให้
มีคุณสมบัติบางอย่างที่แตกต่างกันไป การเลือกใช้ตอ้ งพิจารณาจากคุณสมบัติ และความเหมาะสมของงานด้วย ส่ วนผสมที่ทำให้งาน
มีคุณสมบัติแตกต่างกันหลัก ๆ มีดงั นี้
สารโครเมี่ยม เป็ นสารผสมหลักที่จะทำให้เหล็กมีคุณสมบัติในการทนทานต่อการเกิดสนิม และการกัดกร่ อนต่าง ๆ
สารนิเกิ้ล ช่วยเสริ มความต้านทานในการเกิดสนิม และทำให้สแตนเลสไม่ดูดแม่เหล็ก
สารโมลิดินมั่ ทำให้สแตนเลส มีความต้านทานในการเกิดสนิมสู งขึ้น และความคงทนต่อสารเคมี เช่น คลอรี น เป็ นต้น
สารคาร์บอน เป็ นตัวเพิ่มความแข็งให้กบั สแตนเลส ถ้ามีคาร์บอนน้อย สแตนเลสก็จะมีความเหนียวเพิ่มขึ้นแทน
ทนทานต่อการกัดกร่ อน
สเตนเลสทุกตระกูลทนทานต่อการกัดกร่ อน แต่จะแตกต่างกันไปตามส่ วนผสมของโลหะ เช่น เกรดที่มีโลหะผสม ไม่สูง สามารถต้านทาน การ
กัดกร่ อนในบรรยากาศทัว่ ไป ในขณะที่เกรดที่มีโลหะผสมสู งสามารถต้านทานการกัดกร่ อน ในกรด ด่าง สารละลาย บรรยากาศคลอไรด์ ได้เกือบ
ทั้งหมด
ความต้านทานต่ออุณหภูมิสูงและอุณหภูมิต ่ำ
สเตนเลสบางเกรดสามารถทนความร้อนหรื อ/และความเย็น รวมถึงการเปลี่ยนอุณหภูมิโดยฉับพลันได้ดี และด้วยคุณสมบัติพิเศษในการทนไฟ ทำให้
มีการนำสเตนเลสไปใช้ในอุตสาหกรรมขนส่ ง อุตสาหกรรม ปิ โตรเคมี อย่างแพร่ หลาย
ง่ายต่องานประกอบ หรื อแปรรู ป
สเตนเลสส่ วนใหญ่สามารถ ตัด เชื่อม ขึ้นรู ป ตบแต่งทางกล ลากขึ้นรู ป ขึ้นรู ปนูนต่ำได้ง่าย ด้วยรู ปร่ าง สมบัติ และลักษณะต่างๆของสเตนเลสช่วยให้
ผูผ้ ลิตสามารถนำสเตนเลสไปประกอบกับวัสดุอื่นๆได้ง่าย
ความทนทาน
คุณสมบัติเด่นอีกประการหนึ่งของสเตนเลสคือความแข็งแกร่ งทนทาน สเตนเลสสามารถเพิ่มความแข็งได้ดว้ ยการขึ้นรู ปเย็น ซึ่ งใช้เพื่อออกแบบงาน
โดยลดความหนา น้ำหนักและราคา สเตนเลสบางเกรดอาจใช้ในงานที่ทนความร้อนและยังคงความ ทนทานสู ง
ความสวยงาม
ด้วยรู ปทรงและพื้นผิวที่หลากหลายรู ปแบบที่สวยงาม ทำความสะอาดได้ง่าย ปั จจุบนั สเตนเลสมีสีให้เลือกมากมายด้วย กรรมวิธีชุบเคลือบผิวด้วยเคมี
ไฟฟ้ าสามารถทำให้สเตนเลสมีผวิ สี ทอง บรอนซ์ เขียว เงิน และสี ดำ ทำให้สามารถเลือก ประยุกต์ใช้สเตนเลสได้อย่างมากมาย นอกจากนี้ ความเงา
งามของ สเตนเลสในอ่างล้างจาน อุปกรณ์ประกอบอาหาร หรื อ เฟอร์นิเจอร์ ทำให้บา้ นดูสะอาดและน่าอยูอ่ ีกด้วย
ความปลอดภัยและถูกสุ ขลักษณะ
การทำความสะอาด การดูแลรักษาสเตนเลส และมีความเป็ นกลางสู งจึงไม่ดูดซึ มรสใดๆ เป็ นเหตุผลสำคัญที่สเตนเลสถูกนำมาใช้งานในงานโรง
พยาบาล เครื่ องครัว ด้านโภชนาการและด้านเภสัชกรรม เนื่องจากความทนทาน ต้องการการดูแลรักษาน้อย และค่าใช่จ่ายต่ำเมื่อเปรี ยบเทียบกับระยะ
เวลาการใช้ งาน การใช้อุปกรณ์เครื่ องครัวสเตนเลสใน บ้านเรื อนให้ความรู้สึกถึงความปลอดภัยแก่ผใู้ ช้
ช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สเตนเลสเป็ นวัสดุที่สามารถนำกลับมาใช้ได้ใหม่เกือบ 100 เปอร์เซ็นต์ และกว่า ของวัตถุดีที่ใช้ในการผลิตมาจากเศษเหล็ก
ประเภท: คุณสมบัติ ของสแตนเลส (Stainless Steel)
ออสเทนนิติค (Austenitic)
ต้านทานการกัดกร่ อนดีเยีย่ ม
ใช้งานประกอบและขึ้นรู ป ทีเกี่ยวข้องกับความสะอาดและสุ ขอนามัยได้ดีเลิศ
สะดวกในงานสร้าง ประกอบหรื อขึ้นรู ปทัว่ ไปได้ดีมาก
ความแข็งแรงสู งสุ ดและมความยืดตัวสู ง
แม่เหล็กดูดไม่ติด
สามารถใช้งานเย็นจัดและร้อนจัดที่อุณหภูมิประมาณ 600 องศาเซลเซี ยส หรื อสู งกว่านี้
เฟอร์ริติค (Ferritic)
ต้านทานการกัดกร่ อนปานกลางถึงดี
ต้านทานการกัดกร่ อนแบบเป็ นจุดและแบบมุมอับในซอกแคบๆ ได้ดีและมีความต้านทานการกัดกร่ อนใต้แรงเค้นดีกว่าเกรดออสเทนนิติก
มีขอ้ จำกัดในการเชื่อมและ การขึ้นรู ป เช่น ดัด ดึงขึ้นรู ป มากกว่าเกรดออสเทนนิติค
มีความต้านทานการเกิดออกซิ ไดซ์ที่อุณหภูมิสูงถึง 850 องศาเซลเซี ยส
แม่เห็กดูดติด
ไม่สามารถชุบแข็งได้
มาร์เทนซิ ติค (Martensitic)
ความต้านทานการกัดกร่ อนปานกลาง
แม่เหล็กดูดติด
สามารถทำให้แข็งได้ดว้ ยกรรมวิธีทางความร้อน ดังนั้นจึงสามารถพัฒนาปรับปรุ งให้มีความแข็งแรงสู งและปรับระดับควมแข็งแรงได้
มีขอ้ จำกัดในการเชื่อม เนื่องจากมีปริ มาณคาร์บอนสู งและมีความแข็งโดยธรรมชาติในตัวเอง
ใช้งานในอุณหภูมิสูงได้ดีถึง 593 องศาเซลเซี ยส
ดูเพล็กซ์ ( Duplex)
– การที่โครงสร้างผสมระหว่างเฟอร์ริติค และออสเทนนิติค ทำให้สามารถต้านทานการแตกร้าว จากการกัดกร่ อนด้วยแรงเค้นสู งและการกัดกร่ อน
เป็ นรู
ทนต่อสารคลอไรด์ทำให้ใช้ในสภาพแวดล้อมที่มีความเป็ นกรดหรื อด่างสู งได้
ต้านทานการกัดกร่ อนได้ดี เนื่องจากมีส่วนผสมของโครเมียมสู งและเพิ่มส่ วนผสมของธาตุโมลิบดิบนัม ไนโตรเจน
ใช้ในงานเชื่อมและขึ้นรู ปได้ดีเช่น งานปั๊ มก้นลึก

ทองเหลือง (Brass) เป็ นโลหะที่เกิดจากการผสมระหว่างทองแดงและสังกะสี แต่จะมีคุณสมบัติเฉพาะตัวที่แตกต่างกันไป เนื่องจากปริ มาณของสังกะสี ที่


ผสมแล้วได้แปรเปลี่ยนไปอยูท่ ี่ประมาณ 5-45% โดยการค้นพบทองเหลืองนั้น คาดว่าน่าจะเป็ นยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์ เพราะมีการนำทองเหลืองมา
ใช้ประโยชน์ในยุคสำริ ด และยังถูกเรี ยกว่าเป็ นโลหะที่แข็งแกร่ งที่สุดในยุคสำริ ดอีกด้วย โดยมีชื่อเรี ยกในตำนานว่า “โอริ คลั คุม” ว่าแต่ทองเหลืองคืออะไร มี
คุณสมบัติโดดเด่นอย่างไรบ้าง และการนำมาใช้งานเป็ นอย่างไร ว่าแล้วเรามาทำความรู ้จกั กับทองเหลืองกันให้มากขึ้นดังนี้
ลักษณะของทองเหลือง
ทองเหลือง เป็ นโลหะที่มีสีเหลืองและมีบางส่ วนที่คล้ายกับทองคำเป็ นอย่างมาก แถมยังมีคุณสมบัติในการต่อต้านการเกิดสนิมได้เป็ นอย่างดี จึงมักจะมี
การนำทองเหลืองมาทำเป็ นเครื่ องประดับเพื่อตกแต่งในบ้านเรื อนและเครื่ องมือเครื่ องใช้ต่างๆ ด้วย สำหรับการค้นพบทองเหลืองนั้น คาดว่าน่าจะมีการค้น
พบมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ โดยมีการนำเอาทองแดงมาหลอมละลายกับแร่ คาลาไมน์ เพื่อดูดเอาสังกะสี ออกมา แล้วผสมเข้ากับทองแดงจนกลายมา
เป็ นเป็ นทองเหลืองในที่สุด
คุณสมบัติเชิงกลของทองเหลือง
ทองเหลือง ก็คือ โลหะที่มีการผสมระหว่างทองแดงและสังกะสี เข้าด้วยกัน ทั้งนี้กเ็ พราะสังกะสี สามารถละลายในทองแดงได้ ซึ่งปริ มาณของสังกะสี ที่ใส่ ลง
ไปในทองแดงนั้นจะมากหรื อน้อยก็ข้ ึนอยูก่ บั ความต้องการของผูผ้ ลิตเอง โดยจะทำให้ทองเหลืองที่ได้ มักมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันไป ไม่สามารถกำหนด
คุณสมบัติอย่างตายตัวได้ แต่สำหรับคุณสมบัติที่ดีน้ นั จะต้องมีคุณสมบัติหลักๆ ดังนี้ คือ สามารถทนต่อการกัดกร่ อนและสภาพอากาศได้ดี ทั้งมีความแข็ง
แรงทนทานและทนต่อรอยขีดข่วนได้อย่างดีเยี่ยม (บริ การรับตัดทองเหลือง ที่ไชยเจริ ญเทค)
ในอุตสาหกรรมการผลิต สามารถแบ่งทองเหลืองออกได้เป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
ทองเหลืองประเภทรี ดเป็ นแท่งหรื อเป็ นแผ่น
ทองเหลืองประเภทหล่อ
สำหรับความแตกต่างทางคุณสมบัติของทองเหลืองทั้งสองประเภทนั้น สามารถหาข้อมูลได้จาก รายละเอียดคู่มือ ASTM หรื อ JIS ที่เป็ นมาตรฐานเกี่ยว
กับการผลิตทองเหลืองโดยเฉพาะ ทั้งนี้กเ็ พื่อสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน ไว้ในรายละเอียดคู่มือ นอกจากนี้ ยงั สามารถขอคำแนะนำได้ตามแหล่งซื้อขายทองเห
ลืองทัว่ ๆ ไปได้อีกด้วย
ข้อดีของทองเหลืองต่ออุตสาหกรรม
ผลิตภัณฑ์ทองเหลือง สามารถนำมาใช้ในงานอุตสาหกรรมได้อย่างแพร่ หลาย โดยเฉพาะการนำมาประกอบกับเครื่ องจักรเพื่อใช้ในการผลิตชิ้นส่ วนต่างๆ
ของรถยนต์ และอุปกรณ์สำคัญอื่นๆ อีกมากมาย ทั้งสามารถนำมาทำเป็ นอุปกรณ์เครื่ องใช้ อย่างท่อทองเหลือง หรื อข้อต่อทองเหลืองได้อีกด้วย นอกจากนี้
ทองเหลือง ก็สามารถนำมาใช้เป็ นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมยานยนต์และอุตสาหกรรมการผลิตได้เป็ นอย่างดี ซึ่งก็จะเห็นได้วา่ ทองเหลืองมีบทบาทสำคัญใน
ภาคอุตสาหกรรมเป็ นอย่างมาก ทั้งสามารถสร้างรายได้ให้กบั ภาคอุตสาหกรรมได้ดี
เจาะลึกเรื่ องน่ารู ้ของ “ทองเหลือง” โลหะผสมระหว่างทองแดงและสังกะสี
ทองเหลืองกับสิ่ งแวดล้อม
สำหรับใครที่กงั วลว่าทองเหลืองจะเป็ นพิษต่อสิ่ งแวดล้อมหรื อไม่น้ นั ขอบอกเลยว่าไม่ เพราะทองเหลืองมีความเป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อมค่อนข้างสูง โดยถูก
ผลิตขึ้นมาด้วยกระบวนการที่ใช้พลังงานอย่างมีประสิ ทธิภาพที่สุด จึงไม่ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่ งแวดล้อม และยังสามารถใช้งานควบคู่ไปกับธรรมชาติได้เป็ น
อย่างดีอีกด้วย นอกจากนี้ ทองเหลืองก็สามารถนำมาหมุนเวียนใช้ใหม่ได้อย่างไม่เปล่าประโยชน์ ด้วยการนำทองเหลืองมาหลอมและขึ้นรู ปใหม่เพื่อใช้งาน
ต่อไปนัน่ เอง นอกจากนี้ทองเหลืองก็เป็ นตัวช่วยที่ดีในเรื่ องของสุ ขภาพด้วย โดยการนำทองเหลืองมาทำเป็ นลูกบิดประตูหรื อราวบันไดเพราะจะไม่มีเชื้อโรค
หรื อแบคทีเรี ยเกาะอยูน่ นั่ เอง จึงมัน่ ใจได้เลยว่าเมื่อจับลูกบิดหรื อจับราวบันได จะไม่มีเชื้อโรคร้ายเกาะติดอยูใ่ ห้ตอ้ งกังวล
และนอกจากทองเหลืองจะเป็ นโลหะที่มีความเป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อมแล้ว ทองเหลืองก็สามารถนำมาทำให้มีสีสนั และรู ปทรงต่างๆที่สวยงามได้ตามต้องการ
อีกด้วย แถมยังให้ความรู ้สึกอบอุ่นและสามารถคงความแข็งแกร่ งไว้ได้เป็ นอย่างดี จึงไม่ตอ้ งแปลกใจเลยว่าทำไมทองเหลืองจึงเป็ นที่นิยม และมักจะถูกนำมา
ใช้ในงานสถาปัตยกรรมและมัณฑนศิลป์ บ่อยๆ
ผลของธาตุต่างๆ ที่อยูใ่ นทองเหลือง
นิกเกิล จะช่วยเพิ่มความแข็งแรงและความทนทานต่อการกัดกร่ อนให้กบั ทองเหลือง จึงทำให้ทองเหลืองมีคุณสมบัติที่แข็งแกร่ งยิ่งขึ้น และนำมาใช้ในงานที่
ต้องการคุณสมบัติตา้ นการกัดกร่ อนได้ดี อีกทั้งเมื่อผสมนิกเกิลให้เท่ากับปริ มาณของสังกะสี ก็จะทำให้ทองเหลืองเปลี่ยนเป็ นสี ขาวเหมือนเงิน จึงถูกเรี ยกอีก
ชื่อหนึ่งว่า นิกเกิลเงิน
เหล็กและแมงกานีส มีคุณสมบัติช่วยเพิ่มความแข็งแรงให้กบั ทองเหลือง ซึ่งส่ วนใหญ่แล้วก็จะนิยมผสมเข้าไปในทองเหลืองประเภท ทองเหลืองต้านแรงดึง
สูง
ตะกัว่ ไม่มีส่วนผสมที่ต้ งั ใจใส่ เข้าไปในทองเหลืองโดยตรง แต่อาจติดมาจากสังกะสี โดยไม่รู้นนั่ เอง ซึ่งตะกัว่ นั้นก็จะมีคุณสมบัติในการช่วยให้การไหลตัว
ของน้ำโลหะดีข้ ึน ทั้งมีความต้านทานแรงดึง มีความเหนียวเหมาะกับการขึ้นรู ป
อะลูมิเนี ยม จะช่วยเพิ่มความสามารถในการต้านทานต่อการกัดกร่ อนให้กบั ทองเหลือง และช่วยลดการสูญเสี ยโลหะสังกะสี ในการหลอมได้เป็ นอย่างดี
ดีบุก ช่วยเพิ่มความต้านทานต่อการกัดกร่ อน และสามารถต้านทางแรงดึงได้มากขึ้น
ทองเหลือง เป็ นโลหะที่มีความแข็งแกร่ งและสามารถต้านทานต่อการกัดกร่ อนได้ดี ทั้งยังเป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อม จึงทำให้ทองเหลืองได้รับความนิยมใน
การนำมาใช้งานเป็ นอย่างมาก โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมจำพวกอุตสาหกรรมยานยนต์และอุตสาหกรรมการผลิต ซึ่งก็จะเห็นได้วา่ ทองเหลืองเป็ นโลหะ
ที่มีความสำคัญและมีบทบาทต่อวงการการผลิตมาก

You might also like