You are on page 1of 27

เสถียรภาพของระบบไฟฟ้ากําลัง คือ อะไร ???

เสถียรภาพของระบบไฟฟ้ ากําลัง • ระบบไฟฟ้ ามี ความสมดุ ลระหว่างกําลังงานที่ โหลดต้องการ กับ


ความสามารถในการผลิตของเครื่ องกําเนิ ดไฟฟ้ าทุกเครื่ องในระบบ
Power System Stability รวมกัน (ทํางาน Synchronized กัน)
(Part 1) • หากมีเหตุการณ์ที่ทาํ ให้เกิ ดความไม่สมดุลขึ้น หากระบบยังกลับ
เข้ามาสู่สภาวะสมดุลได้ เรี ยกว่า “ระบบยังมีเสถียรภาพอยู”่
• ตัววัดเสถียรภาพของระบบ คือ ความถี่ และ แรงดันของระบบ

1 2

ประเภทของการศึกษาเสถียรภาพของระบบไฟฟ้า Transient Stability


แบ่งการศึกษาเสถียรภาพของระบบไฟฟ้ าตามชนิดและขนาด • สิ่ งรบกวนมีขนาดใหญ่ และเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ ว, ฉับพลัน
ของสิ่ งรบกวน (disturbance) เป็ น 3 กรณี คือ - เกิดลัดวงจร
1. เสถียรภาพชัว่ ครู่ (Transient Stability) - มีการปลดโหลดขนาดใหญ่ออกจากระบบ
2. เสถียรภาพคงตัว (Steady State Stability) - การเปลี่ยนแปลงของโหลดขนาดใหญ่
3. เสถียรภาพพลวัต (Dynamic Stability) • จะศึกษาว่า ในช่วงเวลาสั้น (วินาที) หลังจากเกิดเหตุการณ์ข้ ึน
ระบบจะยังคงกลับเข้าสู่เสถียรภาพได้หรื อไม่

3 4
Steady State Stability Dynamic Stability

• สิ่ งรบกวนมีขนาดเล็กๆ และเกิดขึ้นอย่างช้าๆ • สิ่ งรบกวนมีขนาดเล็กๆ และเกิดขึ้นอย่างช้าๆ จะทําให้เกิดการ


- การเพิ่มหรื อลดของโหลดไฟฟ้ าในระบบ แกว่ง (Oscillation) ซึ่งมีผลต่อการควบคุมเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า
- การเพิม่ หรื อลดของโหลดไฟฟ้ าในระบบ
• จะศึกษาว่า หลังจากเกิดเหตุการณ์ข้ ึน ระบบจะยังคงกลับเข้าสู่
• ในการวิเคราะห์ มีการรวมอุปกรณ์ควบคุมแบบอัตโนมัติ
เสถียรภาพได้หรื อไม่
(Automatic Control Device) เช่น FACT, HVDC
• การศึกษา จะเหมือนกับการหาจุดทํางานใหม่ของเครื่ องกําเนิด
• จะศึกษาว่า หลังจากเกิดเหตุการณ์ข้ ึน ระบบจะยังคงกลับเข้าสู่
ไฟฟ้ าหลังจากเกิดสิ่ งรบกวนขึ้น
เสถียรภาพได้หรื อไม่
5 6

พลวัตของโรเตอร์ (Rotor Dynamic) เมือ่ มีสิ่งรบกวนเกิดขึน้ ในระบบ พบว่ า ;


• โรเตอร์อาจจะหมุนเร็ วขึ้น หรื อ ช้าลง ซึ่ งจะส่ งผลต่อ Synchronously
rotating air gap mmf
• ส่ งผลให้เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าเกิดการเร่ ง และมีการเคลื่อนที่แบบพลวัต
(Dynamic Motion)เกิดขึ้น

• เรี ยกสมการที่ทาํ ให้เกิดการเคลื่อนที่แบบพลวัตนี้กว่า “สมการ


การแกว่ง (Swing Equation)”

Normal Operating Condition Power Angle คงที่ 7 8


พิจารณาที่สภาวะคงตัว Steady State Condition ทิศทางของแรงบิดทางกลและทางไฟฟ้ า

• เมื่อเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าเคลื่อนที่ที่ ความเร็ วซิงโครนัส ( w ) พบว่า


sm

Tm = Te

เมื่อ Te – ทอร์กทางไฟฟ้ า (electrical torque) [N-m]


Tm – ทอร์กทางกล (Mechanical torque) [N-m]
กรณี Generator กรณี Motor

9 10

พิจารณาเมื่อสิ่ งรบกวนในระบบ (Disturbance) สามารถเขียนสมการในรู ปโมเมนต์ความเฉื่ อย (Moment of Inertia)


ได้เป็ น
• พบว่า Te ¹ Tm ขึ้นอยูก่ บั ลักษณะสิ่ งรบกวนที่เกิดขึ้น d 2qm
J = Ta = Tm - Te
dt 2
• มี ทอร์คอัตราเร่ ง (accelerating torque, Ta) เกิดขึ้นบนโรเตอร์
แบ่งเป็ น เมื่อ J – โมเมนต์ความเฉื่ อยของ prime mover และ generator
Accelerating (Tm > Te)
Decelerating (Tm < Te)  m – มุมการเคลื่อนที่ของโรเตอร์ โดยเทียบกับแกนอ้างอิง
ของสเตเตอร์
เขียนสมการ เป็ น : Ta = Tm - Te

11 ปริ มาณทางกล 12
• ความเร็ วโรเตอร์สมั พันธ์กบั ความเร็ วสเตเตอร์ • ความเร็ วเชิงมุมของโรเตอร์ (rotor angular velocity) หาจาก
• การวัดตําแหน่งมุมโรเตอร์ จะใช้การเทียบกับแกนอ้างอิงโดย d m d
m   ms  m
หมุนที่ความเร็ วซิ งโครนัส เขียนความสัมพันธ์เป็ น dt dt

 m  smt   m
• อัตราเร่ งของโรเตอร์ (rotor acceleration) หาจาก
เมื่อ sm – ความเร็ วซิ งโครนัสของเครื่ องจักรกล [rad/s] d 2 m d 2 m

dt 2 dt 2
m – มุมการเคลื่อนที่ (angular displacement) ของโร
เตอร์ เทียบกับแกนอ้างอิง ก่อนเกิดการรบกวน (t = 0)
ปริ มาณทางกล13 14

d 2qm
• จาก J = Ta = Tm - Te จะได้ • โดยที่ J m เรี ยกว่า ค่าคงที่ความเฉื่ อย (Inertia Constant, M)
dt 2

d 2d d 2dm d 2dm
J 2m = Tm - Te J wm = M = Pm - Pe
dt dt 2 dt 2

d m
• คูณด้วย m ทั้ง 2 ข้างสมการ โดยที่ m  • โดย M มีความสัมพันธ์กบั ค่าพลังงานจลน์สะสมของการหมุน (Wk )
dt
(kinetic energy of the rotating masses)
d 2dm
J wm 2 = wmTm - wmTe 1 1
dt Wk  J m2  M m
2 2
= Pm - Pe
2Wk
หรื อ M
m
• เรี ยกสมการนี้วา่ “สมการการแกว่ง (Swing Equation)” 15 16
(มุมโรเตอร์)
• ค่า M จะไม่คงที่จริ ง ถ้าความเร็ วโรเตอร์ ( m ) เบี่ยงออกความ • สามารเขียนสมการการแกว่ง ในเทอมของ ค่ามุมกําลังไฟฟ้ า
เร็ วซิ งโครนัส (  )
sm
(electrical power angle,  ) โดยใช้ความสัมพันธ์ดงั นี้

• ในทางปฏิบตั ิ ค่า  จะไม่ต่างจาก  มากนัก เมื่อเครื่ องจักร


m sm

p
2
m และ 
p
2
m
ทํางานที่สภาวะคงตัว ก่อนที่จะสูญเสี ยเสถียรภาพ
โดยที่ p – จํานวนขั้วแม่เหล็กไฟฟ้ าของเครื่ องจักร
• สามารถสมมติให้ m  sm ได้ จะได้สมการ เป็ น
• เขียนสมการการแกว่งไหม่ ได้เป็ น
2Wk
M
sm d 2dm 2 d 2d
M = Pm - Pe M = Pm - Pe
dt 2 p dt 2

17 18

• สามารถเขียนสมการการแกว่งในรู ป p.u. ได้เป็ น ในทางปฏิบตั ิ จะบอกค่าคงที่เป็ นค่าคงที่ H ซึ่งมีนิยามว่า

2 M d 2 Pm Pe kinetic energy in MJ at rated speed WK


  H 
p S B dt 2 S B S B machine rating in MVA SB

2 2Wk d 2 Pm Pe
หรื อ   • ค่า H มีหน่วยเป็ นวินาที อยูร่ ะหว่าง 1 – 10 วินาที
p sm S B dt 2 S B S B

• ค่า H จะมากหรื อน้อย ขึ้นอยูก่ บั ชนิดและขนาดของเครื่ องจักร


เมื่อ SB - ค่ากําลังไฟฟ้ าฐานของระบบ

19 20
ตารางค่า H • เขียนสมการการแกว่งในเทอมของค่า H ได้เป็ น
2 2Wk d 2 2 2 H d 2
  Pm pu   Pe pu 
p sm S B dt 2 p sm dt 2

2
• แทนค่า sm 
p
s จะได้

2 H d 2
 Pm pu   Pe pu 
s dt 2

เมื่อ s - electrical angular velocity


21 22

• สามารถใช้ความสัมพันธ์ระหว่าง s กับ ความถี่ f 0 สามารถ แบบจําลองเครื่องจักรไฟฟ้าสํ าหรับการวิเคราะห์ เสถียรภาพ


เขียนสมการการแกว่ง ได้เป็ น
• .ในการศึกษาเสถียรภาพจะใช้แบบจําลองเครื่ องจักรไฟฟ้ า ที่ประกอบด้วย
2 H d 2 H d 2
s dt 2

 f 0 dt 2
 Pm pu   Pe pu  แหล่งจ่าย E’ กับค่า Xd”, Xd’, Xd แล้วแต่สภาวะที่ใช้ในการวิเคราะห์

• ถ้าวิเคราะห์  ในรู ปขององศาทางไฟฟ้ า จะเขียนสมการ เป็ น


H d 2
 Pm pu   Pe pu 
180 f 0 dt 2

23 Cylindrical
24
• สามารถเขียนแบบจําลองระบบที่มีการเชื่อมต่อกับระบบภายนอกขนาดใหญ่ • สามารถวิเคราะห์วงจรแบบ Y ให้เป็ นวงจรแบบ 
ผ่านสายส่ ง ได้เป็ น

ZL
y10 
(บัสอนันต์ ) พบว่า : jX d ' Z s  jX d ' Z L  Z L Z s

• บัส V เรี ยกว่า Infinite Bus โดยมี ขนาดแรงดัน และ ความถี่ คงที่ y20 
jX d '
jX d ' Z s  jX d ' Z L  Z L Z s
• บัส V อาจเป็ นบัสที่เชื่อมต่อภายนอกที่มีขนาดใหญ่ (very large system) Zs
y12 
25
jX d ' Z s  jX d ' Z L  Z L Z s 26

เขียนสมการโนด ให้อยูใ่ นรู ปเมตริ ก เป็ น

 I1  Y11 Y12   E '


 I   Y Y   V  complex
 2   21 22   

โดยที่ Y11  y10  y12 Y22  y20  y12 Y12  Y21   y12

KCL : I1   y10  y12  E ' y12V  I1   Y11 11 Y12 12   E '  
หรื อ  I    Y   
Y22  22   V 0 
I 2  y12 E '  y20  y12 V  2   21 21 polar
27 28
 I1  Y11 Y12   E '
จาก  I   Y Y   V  หากําลังไฟฟ้ าจริ งที่โนด 1 จาก ระบบส่ วนใหญ่ ค่า ZL และ Zs จะพบว่า X >> R (ตัดค่า R ทิ้งได้)
 2   21 22   
พบว่า 11  12  90 และ Y12  B12  1
X 12
Pe  Re  E ' I1 *
จะได้สมการการไหลของกําลังไฟฟ้ า เป็ น
 Re  E '   Y11   11 E '     Y12   12 V 0  
Pe  E ' Y11 cos 11  E ' V Y12 cos   12 
2

หรื อ  E ' Y11 cos90  E ' V


2 1
cos   90 
X 12
Pe  E ' Y11 cos 11  E ' V Y12 cos   12 
2

1
 E' V sin 
X 12
สมการ power flow 29 Simple form of the power flow30 eqn.

• สามารถพล็อตกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง Pe กับ  ได้เป็ น • สามารถจ่ายกําลังไฟฟ้ าได้จนถึงค่า Pmax (maximum power transferred)


• ค่า Pmax ถือเป็ น ขีดจํากัดของเสถียรภาพในสภาวะคงตัว (Steady State
Stability Limit)
• ค่า Pmax เกิดขึ้นที่ค่า   90 จะมีขนาดเป็ น
E' V
Pmax 
X 12

 สามารถเขียนสมการการไหลของกําลังไฟฟ้า ได้ เป็ น

Pe  Pmax sin 

เรี ยกว่า “Power Angle Curve” 31 32


• เมื่อเกิดลัดวงจร กระแสในช่วงทรานเซียนต์จะถูกลิมิตโดยค่า Xd’ กรณี เครื่ องจักรไฟฟ้ า แบบขั้วแม่เหล็กยืน่ (Salient)
• สามารถหาสภาวะก่อนเกิดฟอลต์ (pre - fault) ในสภาวะคงตัว เพื่อการ • คิดผลจากแกน d และ แกน q
วิเคราะห์ช่วงทรานเซียนต์ ได้จาก
• สามารถเขียนไดอะแกรมเฟสเซอร์ ได้เป็ น
E '  Vg  jX d ' I a

• จะสามารถค่าแรงดันไฟฟ้ าภายใน (E’)ในสภาวะเริ่ มต้น (initial condition)


เพื่อนํามาใช้วเิ คราะห์ในช่วงทรานเซียนต์ ต่อไป
• กราฟ power angle ในสภาวะทรานเซี ยนต์ จะมีลกั ษณะเช่นเดียวกับในสภาวะ • เขียนสมการ power angle (p.u.) ได้ดงั เป็ น
คงตัว (แต่กราฟจะมีขนาดค่าสู งสุ ด (peak) จะสูงกว่าสภาวะคงตัว)
EV Xd  Xq
Pe  sin   V sin 2
2

33 Xd 2Xd Xq 34

หาขนาดมุม 

V sin   X q I q

 X q I a cos    

 X q I a  cos  cos   sin  sin  


• ขนาดแรงดันไฟฟ้ าภายใน (ไม่มีโหลด) เท่ากับ
E  V cos   X d I d
สามารถหาค่ามุม  ได้เท่ากับ
หรือ E  V cos   X d I a sin    
X q I a cos 
  tan 1
V  X q I a sin 
ต้ องรู้ ค่า  ก่ อน !! 35 36
การวิเคราะห์ช่วงทรานเซียนต์ สําหรับเครื่ องจักร Salient
• ใช้ค่ารี แอคแตนซ์แกน d ใช้ Xd’ ส่ วนแกน q ใช้ Xq
• สามารถเขียนไดอะแกรมเฟสเซอร์ ได้เป็ น
Id

• ขนาดแรงดันไฟฟ้ าภายในช่วงทรานเซี ยนต์ เท่ากับ

Eq '  V cos   X d ' I d


Id
• เขียนสมการ power angle (p.u.) ได้ดงั เป็ น หรือ Eq '  V cos   X d ' I a sin    

Eq ' V X d ' X q
Pe  sin   V sin 2
2

Xd ' 2Xd ' Xq 37 หาจากสภาวะคงตัว 38

• จากสภาวะคงตัว E  V cos   X d I a sin    


ตัวอย่ างที่ 1
E  V cos 
จะได้ I a sin     
Xd
เครื่ องจักรซิ งโครนัส มีพารามิเตอร์ต่างๆ ดังนี้
• เขียนสมการแรงดันไฟฟ้ าภายในช่วงทรานเซียนต์ ได้เป็ น X d  1.0, X q  0.5, X d '  0.3

จาก Eq '  V cos   X d ' I a sin    


กําหนดให้ - ไม่คิดผลความต้านทานอาร์เมเจอร์
- เครื่ องจักรต่อเข้ากับบัสอนันต์ที่มีแรงดัน 1.0 p.u.
X d ' E   X d  X d '  V cos 
จะได้ Eq '  - เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าจ่ายกําลังไฟฟ้ าจริ ง 0.5 p.u. ที่ pf
Xd
0.8 lagging
• ค่า E และ มุม  หาได้จากสมการในสภาวะคงตัว ช่วง Pre Fault
39 40
จากค่าพารามิเตอร์ที่ให้มา พบว่า
จงหา 1. แรงดันหลังค่าทรานเซียนต์รีแอคแตนซ์ (Eq’)
  cos 1 0.8  36.87
2. สมการ Transient Power Angle
P 0.5
โดยวิเคราะห์ในกรณี ต่างๆ ดังต่อไปนี้ S
cos 

0.8
36.8  0.62536.87

1. Neglecting the Saliency Effect


Pre - fault Steady State Current
2. Including the Effect of Saliency
S*
Ia   0.625  36.87
V*

41 42

1. กรณี ไม่คิดผล Saliency สมการ Transient Power Angle

ค่าแรงดันหลังทรานเซี ยนต์รีแอคแตนซ์ เท่ากับ Pe 


E' V
sin  1.1226 1 sin 

X 12 0.3
E '  Vg  jX d ' I a
 3.7419sin 
 1.0   j 0.3 0.625  36.87 

 1.12267.679

43 44
The Transient Power – Angle Curve (กรณี ที่ 1) 2. กรณี ที่คิดผลความเป็ น Saliency
ค่าเริ่ มต้นของมุม power angle เท่ากับ
X q I a cos 
 tan 1
 0.6  0.625 0.8
  tan 1
V  X q I a sin  1.0   0.6  0.625  0.6 

 13.7608

The Steady State Excitation Voltage, E


E  V cos   X d I a sin    

 1.0  cos 13.7608   1.0  0.625  sin 13.7608  36.87 


Pmax = 3.7419 ที่มุม  = 90o
45  1.4545 46

ค่าแรงดันหลังทรานเซียนต์รีแอคแตนซ์ เท่ากับ สมการ Transient Power Angle


Eq ' V X d ' X q
X d ' E   X d  X d '  V cos  Pe  sin   V
2
sin 2
Eq '  Xd ' 2Xd ' Xq
Xd


(0.3)(1.4545)  (1.0  0.3)(1.0)(cos13.7608) 1.1162 1  0.3  0.6 
 sin   1.0  sin 2
2
1.0 0.3 2  0.3 0.6 
 1.1162
 3.7208sin   0.833sin 2

47 48
The Transient Power – Angle Curve (กรณี ที่ 2) ตัวอย่ างที่ 2

ระบบไฟฟ้ าความถี่ 50 Hz ดังรู ป มีเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าต่อกับบัสอนันต์ ด้วย


สายส่ งคู่ขนาน โดยขณะจ่ายโหลด 1.0 pu. แรงดันที่ข้วั และแรงดันที่บสั
อนันต์ เท่ากับ 1.0

Pmax = 4.032 ที่มุม  = 110.01o


49 สมมติ เครื่ องจักรไม่คิดผลของ Saliency และมีค่า H = 5 MJ/MVA 50

จงหา 1. สมการ กําลัง – มุม ของระบบ (Power – Angle Equation) 1. ช่วง Pre - Fault Steady State
2. สมการการแกว่ง (Swing Equation) • เขียนแผนภาพรี แอคแตนซ์ได้เป็ น

 โดยวิเคราะห์ในกรณี ต่างๆ ดังนี้

1. ภาวะคงตัวปกติ (ช่วงก่อนเกิดฟอลต์)
2. ขณะเกิดฟอลต์ 3 เฟส ที่จุด P (กึ่งกลางสายส่ ง)
3. ภายหลังเคลียร์ฟอลต์ที่จุด P โดยเปิ ดวงจรสายส่ ง
• ค่ารี แอคแตนซ์ระหว่างแรงดันที่ข้ วั กับบัสอนันต์ คือ
(CB เปิ ดวงจรหัวและท้ายของสายส่ ง)
0.4
X  0.1   0.3
51 2 52
• ค่ากําลังไฟฟ้ าที่จ่ายออกมา 1.0 p.u. ของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า แทนค่าต่างๆ จะได้
เขียนในรู ปสมการการไหลของกําลังไฟฟ้ า ได้เป็ น
1.0 1.0 
sin   1.0   sin 1 0.3  17.458
Vt V 0.3
sin   1.0
X

โดยที่ Vt - แรงดันที่ข้ วั ของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า แรงดันที่ข้ วั ของเครื่ องกําเนิ ดไฟฟ้ า เท่ากับ

V - แรงดันที่บสั อนันต์ (ปกติมีค่า 1.00 ) Vt  1.017.458


 - มุมของบัส Vt ที่สมั ผันกับบัส V  0.954  j 0.300

53 54

ค่ ากระแสทีไ่ หลออกมาจากเครื่องกําเนิดไฟฟ้า • สมการ power – angle จะสัมพันธ์ระหว่างค่า E’ และ V


I
Vt  V

1.017.458  1.00 • ผลรวมค่ารี แอคแตนซ์ระหว่างค่า E’ และ V เท่ากับ
X j 0.3
0.4
X  0.2  0.1 
 1.0  j 0.1535  1.0128.729 2
 0.5
แรงดันทรานเซียนภายใน เท่ ากับ
สมการ power – angle เขียนได้เป็ น
E '  Vt  IX d '   0.954  j 0.3  j  0.2 1.0  j 0.1535 
Pe 
E' V
sin  1.050 1  2.10sin 
X 12  sin 
 0.923  j 0.5  1.05028.44 0.5

55 เมื่อ  - มุมกําลังของเครื่ องจักร โดยเทียบกับบัสอนันต์ 56


เขียน กราฟ Power – Angle ได้เป็ น
สมการการแกว่ง (Swing Equation) หาได้จาก

H d 2
 Pm  Pe
180 f dt 2

โดยที่ H - MJ/MVA
f - Electrical Frequency
• ในสภาวะคงตัว สามารถหามุมทํางานของระบบ ที่ค่ากําลังไฟฟ้ าทางกลคงที่
ค่าหนึ่งๆ ได้ (ใช้หามุมกําลังเริ่ มต้นของระบบ)  - Electrical degree
• จากกราฟ พบว่า ที่ Pm = 1.0   0  28.44 Pe  2.1sin 28.44  1
57 58

• ในสภาวะคงตัว (จ่ายโหลด 1.0)  Pm จะมีค่า 1.0 2. เมื่อเกิดลัดวงจร 3 เฟส ที่จุด P


(จะมีขนาดเท่ากับ Pe)
• เขียนแผนภาพแอดมิตแตนซ์ได้เป็ น
เขียน สมการการแกว่ง (Swing Equation) ได้เป็ น

H d 2
 1.0  2.10sin 
180 f dt 2

• แรงดันทรานเซียนต์ภายในเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า เท่ากับ


* แทนค่ า H = 5 และ f = 50 *
E '  1.0528.44
59 60
• เขียนแผนภาพแอดมิตแตนซ์ใหม่ได้เป็ น • เนื่องจากบัส 3 ไม่มีแหล่งจ่าย สามารถขจัดได้ดว้ ยวิธี korn
YknYnj
Ykj ( new) = Ykj ( original ) - n=3
Ynn

• เมตริ กจะลดลงเหลือ
Y11 Y12   2.308 0.769 
จะได้เมตริ กแอดมิตแตนซ์ เป็ น Y Y   j 
 21 22   0.769 6.923

 3.333 0 3.333 

Y   j  0 7.50 2.50 
• แอดมิแตนซ์ถ่ายโอนระหว่างบัสที่ข้วั กับบัสอนันต์ คือ

 3.333 2.50 10.833 Y12  0.769
61 62

กําลังไฟฟ้ าจริ งสู งสุ ด เขียน สมการการแกว่ง (Swing Equation) ได้เป็ น

H d 2
Pmax  E1 ' E2 ' Y12  E ' V Y12  1.0  0.808sin 
180 f dt 2
 1.05 1.0  0.768   0.808
• เนื่องจากความเฉื่ อย ทําให้โรเตอร์ไม่สามารถเปลี่ยนตําแหน่ง
สมการ power – angle เขียนได้เป็ น ทันทีที่เกิดฟอลต์  มุม  เริ่ มที่ 28.44o
E' V
Pe  sin   Pmax sin 
X 12 • ค่ากําลังไฟฟ้ าเอาต์พตุ (Pe) เท่ากับ
 0.808sin 
Pe  0.808sin 28.44  0.385
63 64
ค่าเริ่ มต้นของกําลังเร่ ง (accelerating power) เท่ากับ แทนค่า H และ f ( H = 5 MJ/MVA, f = 50 Hz)

Pa  Pm  Pe  1.0  0.385  0.615 d 2 180 f 180  50 


 0.615  0.615
dt 2 H  5
ค่าเริ่ มต้นของอัตราเร่ ง(เชิงมุม)ของโรเตอร์ มีค่าเป็ นบวก เท่ากับ
 1,107 [องศาไฟฟ้ า / วินาที2]
H d 2
 0.615
180 f dt 2

d 2 180 f
 0.615
dt 2 H

65 66

3. ภายหลังเคลียร์ฟอลต์ที่จุด P โดยเปิ ดวงจรสายส่ ง


(CB เปิ ดวงจรที่ปลายแต่ละด้านของสายส่ ง) • หาเมตริ กแอดมิตแตนซ์ ได้เป็ น

• เขียนแผนภาพเส้นเดียวและแผนภาพรี แอคแตนซ์ได้เป็ น X 12  j 0.2  j 0.1  j 0.4  j 0.7

สมการ power – angle เขียนได้เป็ น


E' V (1.05)(1.0)
Pe  sin   sin 
X 12 0.7

 1.500sin 

67
จุดทํางานของระบบเปลีย่ นแปลง (มุม  เปลีย่ นไป)68
เขียน สมการการแกว่ง (Swing Equation) ได้เป็ น เส้นโค้ง Power – Angle ในแต่ละกรณี

H d 2
 1.0  1.500sin 
180 f dt 2

* แทนค่ า H = 5 และ f = 50 *

• ค่าอัตราเร่ งเชิงมุม

69 70

Steady – State Stability – Small Disturbances

• เครื่ องกําเนิ ดไฟฟ้ าจะต้องไม่สูญเสี ยการซิ งโครไนซึ มเมื่อเกิดการ


เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย (Small Disturbance) เกิดขึ้นในกําลังไฟฟ้ า
เอาต์พตุ จากเครื่ องจักร

• เครื่ องกําเนิ ดไฟฟ้ าจะต้องกลับมาทํางานที่จุดทํางานเดิม หรื อ ที่ สมการการแกว่ง (Swing Equation)


จุดทํางานใหม่ได้ โดยไม่สูญเสี ยเสถียรภาพ
H d 2
 Pm  Pmax sin 
 f 0 dt 2

71 สมการ non - linear


72
เขียนสมการการแกว่งใหม่ ได้เป็ น
• เมื่อเกิด small disturbance จะส่ งผลสมการการแกว่งเกิดการ
เปลี่ยนแปลงด้วย H d  0   
2

 Pm  Pmax sin  0   
 f0 dt 2
• สามารถวิเคราะห์โดยใช้การวิเคราะห์เชิงเส้น (linearized)
H d 2 0 H d 2 
• เมื่อเกิด small disturbance พบว่า มุมกําลัง (power angle) เปลี่ยนเป็ น  f 0 dt 2

 f 0 dt 2
 Pm  Pmax  sin  0 cos   cos  0 sin  

   0  
เมื่อ  มีค่าน้อยมาก cos   1 และ sin    จะได้
เมื่อ 0 - มุมกําลังที่จุดทํางานเริ่ มต้น
H d 2 0 H d 2 
 - การเปลี่ยนแปลงขนาดเล็กๆ ของมุมกําลัง 
 f 0 dt 2  f 0 dt 2
 Pm  Pmax sin  0  Pmax cos  0 

73 74

 จากสมการการแกว่งที่สภาวะทํางานเริ่ มต้น
• พบว่า ปริ มาณ Pmax cos  0 คือ ความชันของกราฟ Power – Angle
H d 02
 Pm  Pmax sin  0 ที่จุด  0
 f 0 dt 2

Ps  Slope 
dP dPmax sin 
  Pmax cos  0
 เปรี ยบเทียบสมการการแกว่งจากการที่มี Small Disturbance d 0 d 0

H d 2 0 H d 2 
  Pm  Pmax sin  0  Pmax cos  0 
 f 0 dt 2
 f 0 dt 2 โดยที่ Ps คือ Synchronizing power coefficient
(หนังสื อบางเล่ม ใช้ตวั แปร SP)
 เทอมที่แสดงการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นของมุมกําลัง คือ

H d 2 
 Pmax cos  0   0 ส.ป.ส. Ps เป็ นส่ วนสําคัญที่ใช้ในการพิจารณาเสถียรภาพของระบบ
 f 0 dt 2
75 76
The Linearized swing equation
H d 2   f0
สามารถเขียนสมการ ได้ใหม่เป็ น
 Pmax cos  0   0
• จากสมการ s   H P ระบบมีค่าความถี่ธรรมชาติของการ
2
 f 0 dt 2 s

แกว่ง (natural frequency of oscillation) เท่ากับ


H d 2 
 Ps   0
 f 0 dt 2
 f0
n  Ps
H
สามารถหาราก (root) ของสมการกําลังสองนี้ ได้เป็ น

 f0 1  f0
s2   Ps fn  Ps
H 2 H

พบว่า Ps เป็ น ลบ  รากอยูฝ่ ั่งขวาของ s - plane  Unstable


Ps เป็ น บวก  รากอยูฝ่ ั่งซ้ายของ s - plane  Stable 77 78

จากการที่ sm  m ส่ ง ผลให้ เ กิ ด แรงบิ ด ต้า นความแตกต่ า ง


ระหว่างความเร็ วเชิงมุมทั้ง 2 ขึ้น (ให้เกิดความแตกต่างกันน้อยที่สุด)

เรี ยกแรงบิ ดนี้ ว่า Damping Torque สามารถหากําลังหน่วง


(Damping power)ได้จาก
d
Pd  D
dt
ระบบจะมีเสถียรภาพ จะมีช่วงของค่า Ps ( slope dP dt ) ที่เป็ น บวก
โดยที่ D เป็ นค่าคงที่ หาได้จาก design data หรื อการทดสอบ
• ช่วงของมุมจะอยูร่ ะหว่าง 0 ถึง 90 องศา
• มีค่ามากสุ ดที่สภาวะไม่มีโหลด (no load , 0  0 ) ไม่ จาํ เป็ นต้ องใช้ Damping Torque ถ้ า Ps เป็ นค่ าบวก อยู่แ80ล้ ว
79
d 2   f 0 d   f 0
H d  จาก  D  Ps   0
จาก เมื่อคิด Damping Torque จะได้
2
 Ps   0 dt 2 H dt H
 f 0 dt 2
d 2  d 
และ 2
 2n  n2   0
H d 2  d  dt dt
D  Ps   0
 f 0 dt 2 dt
• n - the natural frequency of oscillation
d   f 0 d   f 0
2

หรื อ dt 2

H
D
dt

H
Ps   0
n 
 f0
HPs

เปรี ยบเทียบกับรู ปทัว่ ไปของสมการอนุ พน


ั ธ์อนั ดับสอง •  - the dimensionless damping ratio มีค่าเป็ น
d 2  d  D  f0
2
 2n  n2   0  
dt dt 2 HPs
81 ภาวะปกติ มีค่าน้ อยกว่
82า 1

 ในกรณี ที่ระบบมีเครื่ องจักรหลายตัว (Multi


Machine) สามารถ
จากสมการคุณลักษณะ (Characteristic Equation)
วิเคราะห์เสถียรภาพจากรู ปแบบตัวแปรสถานะ (State Variable form)ได้
s 2  2n s  n2  0

d 2  d 
จาก  2n  n2   0 zero input equation
สามารถหาราก (root) ของสมการคุณลักษณะ ได้เป็ น
2
dt dt

s1 , s2  n  jn 1   2

กําหนดให้ x1   และ x2    
 n  jd

จะได้ x1  x2 และ x2  n2 x1  2n x2


เมื่อ d คือ the damped frequency of oscillation
83 84
• เขียนสมการสถานะในรู ปเมตริ กได้เป็ น แปลงลาปลาซสมการ x(
 t )  Ax(t ) จะได้
sX( s )  x(0)  AX( s )
 x1   0 1   x1 
 x     2   t )  Ax(t )
2n   x2 
x(
 2  n
X( s )   sI  A  x(0)
1

• พบว่า เป็ นสมการ homogeneous state equation (unforce state


s 1 
variable equation) เมื่อ  sI  A   จะได้

2
n s  2n 
• สามารถหาเวกเตอร์เอาต์พตุ y(t) ได้
 s  2n 1
1 0   x1    2 s 
x(0)
y(t )     y(t )  Cx(t ) 
X( s )  2 n
0 1   x2  s  2n s  n2
85 86

เนื่ องจากเป็ นการวิเคราะห์ Small Disturbance ซึ่ งเป็ นการ  จะได้คาํ ตอบในรู ปสมการลาปลาซ เป็ น
เปลี่ยนแปลงเล็กน้อยในระบบ  โรเตอร์ถูกรบกวนเล็กน้อย ด้วย
( s + 2zwn )Dd0 wn2Dd0
มุมขนาดเล็กๆ  Dd ( s ) =
s + 2zwn s + w
และ Dw ( s ) = -
0 2 2
n s 2 + 2zwn s + wn2

สามารถหาค่า x(0) ได้เป็ น x1   0


 แก้สมการลาปลาซ จะได้ผลตอบสนอง เป็ น
x2  0  0
Dd0
Dd = e-zwnt sin (wd t + q )
1- z 2 เมื่อ d  n 1   2
 s  2n 1
  2 s 
x(0) แทนค่า wnDd0

X( s )  2 n Dw = e-zwnt sin wd t q = cos-1 z
s  2n s  n2 1- z 2

87 88
สมการการเปลี่ยนแปลงของมุมกําลัง (power angle) โรเตอร์ เนื่ องจาก
Small Disturbance เป็ นดังนี้ ค่า Response Time Constant เท่ากับ

Dd0 1 2H
d = d0 + e-zwnt sin (wd t + q ) t= =
1- z 2 zwn p f0 D

สมการการเปลี่ยนแปลงของความเร็ วเชิ งมุมของโรเตอร์ เนื่ องจาก Small


Disturbance เป็ นดังนี้ ผลตอบสนองที่เกิดขึ้น จะลู่เข้าสู่ ค่าคงที่ ที่เวลาประมาณ

wn Dd0 ts @ 4t
w = w0 - e-zwnt sin wd t
1- z 2

Settling Time
89 90

ตัวอย่ างที่ 3 พิจารณาการเปลี่ยนแปลงขึ้นที่เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า เมื่อระบบเกิด


เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าซิ งโครนัส 60 Hz มีค่า H = 9.94 MJ/MVA และมีการต่อ small disturbance ขนาด Dd = 10 = 0.1745 rad ซึ่งมีสาเหตุมา
กับระบบดังรู ป และมีค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ขึ้นกับค่าฐานของระบบ โดยที่ จากการที่เซอร์กิตเบรกเกอร์เปิ ดและปิ ดวงจรอย่างรวดเร็ ว
เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าจ่ายกําลังไฟฟ้ าจริ ง 0.6 pu. ที่ 0.8 pf lagging และแรงดันที่
บัสอนันต์มีขนาด V = 1.0 p.u. โดยพิจารณาปริ มาณต่างๆ ดังต่อไปนี้
• สมการการเปลี่ยนแปลงของ d และ w
• กราฟการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับ d และ w

กําหนดให้ เครื่ องจักรมีค่า ส.ป.ส. การหน่วง D = 0.138 91 92


กระแสที่ไหลออกจากเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า เท่ากับ
I=
S* 0.75- 36.87
= = 0.75- 36.87
V* 1.00

ค่ารี แอคแตนซ์ระหว่างแรงดันภายในเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากับบัสอนันต์ แรงดันไฟฟ้ าภายในเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า เท่ากับ


0.3
X = 0.3 + 0.2 + = 0.65 E ' = V + jXI = 1.00 + ( j 0.65)(0.75- 36.87)
2

กําลังไฟฟ้ าปรากฏ เท่ากับ = 1.3516.79


P 0.6
S= q =  cos-1 0.8 = 0.7536.87
cos q 0.8 93 d0 94

The Synchronizing Power Coefficient ของสภาวะเริ่ มต้น สมการการเปลี่ยนแปลงของ D


เขีdยนได้เป็ น
E' V (1.35)(1) d 2  d  d 2  d 
Ps = Pmax cos d0 = cos d0 = cos16.79  2n  n2   0  2.62  37.7   0
X 0.65 dt 2
dt dt 2
dt

= 1.9884
Damped angular frequency of Oscillation
หา wn และ z ได้จาก
= 6.1405 1- (0.2131)
2
w d = w n 1- z 2 = 6.0 rad/s
p f0 (p )(60)
wn = Ps = 1.9884 = 6.1405 rad/s
H 9.94
Damped Oscillation Frequency
D p f0 0.138 (p )(60) wd
z= = = 0.2131 fd = =
6.0
= 0.9549 Hz
2 HPs 2 (9.94)(1.9884) 95 2p 2p 96
กราฟการเปลี่ยนแปลงที่ได้
Dd0
จากสมการ d = d0 + e-zwnt sin (wd t + q )
1- z 2

wnDd0
w = w0 - e-zwnt sin wd t
1- z 2

จะได้ d = 16.79 + 10.234e-1.3t sin (6.0t + 77.6966)

w = 60 - 0.1746e-1.3t sin 6.0t

97 ts @ 4t = 4 (1/1.3)  3.1 98

กรณี ที่เกิด small disturbance เนื่องจากเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ามีการ  ในกรณี ที่ระบบมีเครื่ องจักรหลายตัว (Multi
Machine) สามารถ
เปลี่ยนแปลงค่ากําลังไฟฟ้ าที่จ่ายออกมา วิเคราะห์เสถียรภาพจากรู ปแบบตัวแปรสถานะ (State Variable form)ได้
• กําหนดให้กาํ ลังไฟฟ้ าที่เปลี่ยนแปลง คือ DP d 2  d 
zero state equation
จาก dt 2
 2n
dt
 n2   u
• เขียนสมการ linearized swing equation ได้เป็ นเป็ น
p f0
H d 
2
d 
เมื่อ Du =
H
DP
D  Ps   P
 f 0 dt 2
dt

กําหนดให้ x1   และ x2    
d 2   f 0 d   f 0 f
หรื อ dt 2

H
D
dt

H
Ps   0 P
H จะได้ x1  x2 และ x2  n2 x1  2n x2

99 100
• เขียนสมการสถานะในรู ปเมตริ กได้เป็ น แปลงลาปลาซสมการ x(
 t )  Ax(t ) จะได้

 x1   0 1  x1  0  sX( s )  AX( s )  BU ( s )


 x     2 
2n   x2  1 
u  t )  Ax(t )  Bu (t )
x(
 2  n
X( s )   sI  A  BU ( s )
1

• พบว่า เป็ นสมการ homogeneous state equation (unforce state Du


variable equation) เมื่อ DU ( s ) = จะได้
s

• สามารถหาเวกเตอร์เอาต์พตุ y(t) ได้


 s  2n 1 0  u
1 0   x1    2 s  1  s
y(t )     y(t )  Cx(t ) X( s )   2 n
0 1   x2  s  2n s  n2
101 102

 จะได้คาํ ตอบในรู ปสมการลาปลาซ เป็ น สมการการเปลี่ยนแปลงของมุมกําลัง (power angle) โรเตอร์ เนื่ องจาก
Small Disturbance เป็ นดังนี้
Du Du
Dd ( s ) =
s + 2zwn s + wn2
และ Dw ( s ) =
s + 2zwn s + wn2
p f 0DP 1
e-zwnt sin (wd t + q )]
2 2
d = d0 + [1-
H wn 2
1- z 2

 แก้สมการลาปลาซ จะได้ผลตอบสนอง เป็ น


สมการการเปลี่ยนแปลงของความเร็ วเชิ งมุมของโรเตอร์ เนื่ องจาก Small

Du 1 Disturbance เป็ นดังนี้


Dd = [1- e-zwnt sin (wd t + q )]
wn
2
1- z 2 เมื่อ  d  n 1   2

p f 0DP
w = w0 + e-zwnt sin wd t
H w n 1- z 2
Du -zwnt -1
Dw = e sin wd t q = cos z
w n 1- z 2
103 จุดทํางานจะเปลี่ยนไป
104
ตัวอย่ างที่ 4 สมการการเปลี่ยนแปลงของมุมกําลัง (power angle) โรเตอร์

p f 0DP 1
d = d0 + [1- e-zwnt sin (wd t + q )]
จากตัวอย่างที่ 3 ถ้าเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ามีการเปลี่ยนแปลงกําลังไฟฟ้ า H wn 2
1- z 2

ขนาด DP = 0.2
(180)(60)(0.2) 1
= 16.79 + [1- e-1.3t sin (6t + 77.6966)]
จงหา การเปลี่ยนแปลงของมุมกําลังและความถี่ (9.94)(6.1405)
2
1- (0.2131)
2

= 16.79 + 5.7631[1-1.0235e-1.3t sin (6t + 77.6966)]

105 106

กราฟการเปลี่ยนแปลงที่ได้
สมการการเปลี่ยนแปลงของความถี่ (Hz)

p f 0DP
w = w0 + e-zwnt sin wd t
H w n 1- z 2 d = 22.5

w0 1 p f 0DP
f = + e-zwnt sin wd t
2p 2p H wn 1- z 2

(60)(0.2)
= 60 + e-1.3t sin 6t
2 (9.94)(6.1405) 1- (0.2131)
2

= 60 + 0.1e-1.3t sin 6t
107
จุดทํางานเปลี่ยนแปลง 108

You might also like