You are on page 1of 57

การตรวจสอบคุณภาพ

เครื่องมือวัดผลการศึกษา
บุษยารัตน์ จันทร์ประเสริฐ
คุณภาพ ของเครื่องมือ
ดูได้จากอะไรบ้าง
แล้วเครื่องมือวัดผลการศึกษาล่ะ ?
เช่น
แบบทดสอบ
แบบสอบถาม
แบบวัดเจตคติ
ฯลฯ
คุณภาพเครื่องมือวัดผลการศึกษา
1. ความตรง หรือความเที่ยงตรง (Validity)

2. ความเที่ยง หรือความเชื่อมั่น (Reliability)

3. ความยาก หรือความยากง่าย (Difficulty)

4. อานาจจาแนก (Discrimination)

5. ความเป็นปรนัย (Objectivity)
ความตรง หรือความเที่ยงตรง
(Validity)
ความหมายของ ความตรง (Validity)
 ความตรง หรือความเที่ยงตรง คือ ความสอดคล้องหรือ
ความเหมาะสมของผลการวัดกับเนื้อเรื่อง หรือเกณฑ์
หรือทฤษฎีที่เกี่ยวกับลักษณะที่มุ่งวัด กล่าวคือ เครื่องมือ
สามารถวัดได้ตรงตามลักษณะหรือจุดประสงค์ที่ต้องการ
จะวัด
ประเภทของ ความตรง (Validity)
1. ความตรงตามเนื้อหา (Content Validity)

2. ความตรงตามโครงสร้าง (Construct Validity)

3. ความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ (Criterion Related Validity)


• 3.1 ความตรงตามสภาพ (Concurrent Validity)
• 3.2 ความตรงตามการพยากรณ์ (Predictive Validity
1. ความตรงตามเนื้อหา (Content Validity)
 ความตรงตามเนื้อหา (Content Validity) คือ
ความสามารถของเครื่องมือในการวัดได้ตรงและ
ครอบคลุมเนื้อหาหรือสาระสาคัญในสิ่งที่ต้องการ

 เช่น ข้อสอบที่วัดสอดคล้องกับสัดส่วนของน้้าหนักในด้านเนื้อหา
ตามแผนผังการสร้างข้อสอบ
 ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา ได้โดยให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณา
แล้วหาค่า IOC (Index of Item-Objective Congruence)
การหาค่า IOC
การหาค่าความตรงเชิงเนื้อหา โดยให้ผู้เชี่ยวชาญ
ตรวจสอบข้อคาถาม อย่างน้อย จานวน 3 คน โดย
ประกอบด้วย
ผู้เชี่ยวชาญ
• ด้านเนื้อหา
• ด้านวัดผลประเมินผลหรือด้านวิจัย
• อาจใช้ด้านภาษาด้วย เพื่อพิจารณาด้านภาษาที่ใช้ใน
ข้อค้าถาม
ความหมายของคะแนนจากผู้เชี่ยวชาญ
ค่า IOC ความหมาย
+1 ข้อคาถามนั้นสอดคล้องกับวัตถุประสงค์/นิยาม
0 ไม่แน่ใจว่าสอดคล้องกับวัตถุประสงค์/ นิยาม
-1 ข้อคาถามนั้นไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์/นิยาม
การหาค่า IOC
(Index of Item-Objective Congruence)

IOC 
 R
N
R = ผลรวมคะแนนจากผู้เชี่ยวชาญ
N = จานวนผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด
การแปลความหมายของ IOC

IOC  0.5
• ข้อคาถามข้อนั้น วัดจุดประสงค์/นิยามข้อนั้นจริง

IOC < 0.5


• ข้อคาถามข้อนั้น ไม่ได้วัดจุดประสงค์/นิยามข้อนั้น
ตัวอย่างแบบฟอร์มสร้างข้อสอบ
กลุ่มสาระการเรียนรู.้ ......................................................................ชั้น.........................
มาตราฐาน : ................................................................................................................
ตัวชี้ วัด : ......................................................................................................................
ระดับพฤติกรรมที่วดั : ................................................................................................
คาถาม ตัวเลือก
1 ....................................................... ก. ........................................................
ข. ........................................................
ค. ........................................................
ง. ........................................................
เฉลย: ข้อ............. เหตุผล...................................................................

เกณฑ์การให้คะแนน : .......................................................................................
ตัวอย่างที่ 1 การหาค่า IOC
ผู้เชี่ยวชาญคนที่ 1 ผู้เชี่ยวชาญคนที่ 2 ผู้เชี่ยวชาญคนที่ 3

ท้าตารางสรุปผลการตรวจคุณภาพด้านความตรงตามเนื้อหา
ผลการตรวจคุณภาพด้านความตรงตามเนื้อหา
ความคิดเห็น ความคิดเห็น ความคิดเห็น
สรุปผล
ข้อที่ ผูเ้ ชี่ยวชาญ 1 ผูเ้ ชี่ยวชาญ 2 ผูเ้ ชี่ยวชาญ 3
+1 0 -1 +1 0 -1 +1 0 -1 รวม IOC แปลผล
1.    3 1 มีความตรง
2.    2 0.66 มีความตรง

3.    -1 -0.33 ไม่มีความตรง

เกณฑ์พิจารณา
IOC ≥ 0.5 แสดงว่าข้อคาถามวัดวัตถุประสงค์ข้อนั้นจริง หมายความว่า ข้อนั้นมีความตรงตามเนื้อหา
IOC < 0.5 แสดงว่าข้อคาถามไม่ได้วัดวัตถุประสงค์ข้อนั้นจริง หมายความว่า ข้อนั้นมีไม่มีความตรงตามเนื้อหา
สรุปผลการตรวจสอบคุณภาพด้านความตรงเชิงเนือ้ หา
• ข้อสอบทั้งสิ้น 3 ข้อ
• ข้อสอบมีความตรงเชิงเนื้อหา 2 ข้อ ได้แก่ ข้อที่ 1, 2
• ข้อสอบไม่มีความตรงเชิงเนื้อหา 1 ข้อ ได้แก่ ข้อที่ 3
ตัวอย่าง...การวิเคราะห์ค่าความตรงตามเนื้อหาของข้อสอบ
 วิชาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ ชั้น ม.3
 สาระที่ 3 การวิเคราะห์ขอ้ มูลและความน่ าจะเป็ น
 มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
ผลการประเมิน ข้อเสนอ
ตัวชี้วัด ข้อสอบ แนะ
-1 0 1
หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต 1. ฐานนิ ยมของชุดข้อมูลต่อไปนี้ คือข้อใด
มัธยฐาน และฐานนิ ยม 4 5 7 4 5 4
ของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจง ก. 4 ข. 5
ความถี่ และเลือกใช้ได้ ค. 7 ง. ไม่มีฐานนิ ยม
อย่างเหมาะสม 2. นักเรียนกลุ่มหนึ่ งได้คะแนนวิชา
ภาษาไทย ดังนี้ 12 13 12 14 14
13 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนชุดนี้
ก. 12 ข. 13
ค. 14 ง. 15
ตัวอย่าง...การวิเคราะห์ค่าความตรงตามเนื้อหา
ชื่อผู้เชี่ยวชาญ …...................…………………………..................................
 ให้ท่านพิจารณาว่า ข้อรายการแต่ละข้อ วัดได้สอดคล้องกับนิยาม
หรือไม่ โดยทาเครื่องหมาย  ลงบนช่องทีต่ รงกับความคิดเห็นของท่าน
ระดับความสอดคล้อง ข้อเสนอแนะ
นิยาม รายการ
+1 0 -1 ในการแก้ไข
ความซื่อสัตย์ 1. ทาการบ้านด้วยตนเอง
หมายถึง พฤติกรรมที่ 2. ไม่หยิบของๆเพื่อนไปใช้โดย
แสดงถึงความซื่อตรง ไม่ได้รับอนุญาต
ต่อเวลา ต่อหน้าที่ 3. แม่ค้าทอนเงินผิดจะนาไปคืน
งานการ ต่อการให้ค้า
4. เมื่อพบสิ่งของมีค่าตกอยู่จะ
สัญญา และต่อ
นาไปประกาศหาเจ้าของ
ทรัพย์สินของผู้อื่น
5. ทาเวรทุกครั้ง
Activity 4

18
2. ความตรงตามโครงสร้าง (Construct Validity)
 ความตรงตามโครงสร้าง หรือความตรงตามทฤษฎี
(Construct Validity) คือ ความสามารถของเครื่องมือที่
ให้ผลการวัดสอดคล้องกับคุณลักษณะที่ต้องการวัด ซึ่ง
นิยามโดยใช้ตัวแปรโครงสร้างตามทฤษฎี
ความตรงเชิงโครงสร้างมีความส้าคัญมากที่สุดส้าหรับ
เครื่องมือวัดทางจิตวิทยา หรือตัวแปรเชิงคุณลักษณะแฝง
3. ความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ (Criterion Related Validity)
 ความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ (Criterion Related
Validity) คือ ความสามารถของเครื่องมือในการวัดได้
สอดคล้องกับเกณฑ์ภายนอกที่กาหนดขึ้น

แบ่งเป็น 2 ประเภท
 3.1 ความตรงตามสภาพ (Concurrent Validity)
 3.2 ความตรงตามการพยากรณ์ (Predictive Validity)
3. ความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ (Criterion Related Validity)
 3.1 ความตรงตามสภาพ (Concurrent Validity)
 เครื่องมือวัดได้สอดคล้องกับคุณลักษณะหรือ
พฤติกรรมในสภาพปัจจุบัน
 เช่น ต้องการวัดผลงานภาคปฏิบัติในวิชาบาสเกตบอล ผู้ที่
ได้คะแนนสูงจากแบบวัดควรจะเล่นกีฬาบาสเกตบอลได้เก่ง
ด้วย จึงจะเรียกว่า เครื่องมือชุดนี้มีความเที่ยงตรงเชิงสภาพ
3. ความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ (Criterion Related Validity)
 3.2 ความตรงตามการพยากรณ์ (Predictive Validity)
 เครื่องมือวัดได้สอดคล้องกับคุณลักษณะหรือ
พฤติกรรมในสภาพที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
 เช่น ในการคัดเลือกผู้เข้าเรียนในระดับปริญญาตรี ได้ใช้
ข้อสอบความถนัดเป็นเครื่องมือในการคัดเลือก ปรากฏว่า
เมื่อเวลาผ่านไป ผู้ที่ได้คะแนนผลสอบความถนัดสูงเรียนได้
ดีกว่า ผู้ที่ได้คะแนนความถนัดต่้า นั่นแสดงว่าข้อสอบวัด
ความถนัดที่น้ามาใช้สอบนี้มีความตรงเชิงพยากรณ์
คุณภาพเครื่องมือวัดผลการศึกษา
1. ความตรง หรือความเที่ยงตรง (Validity)

2. ความเที่ยง หรือความเชื่อมั่น (Reliability)

3. ความยาก หรือความยากง่าย (Difficulty)

4. อานาจจาแนก (Discrimination)

5. ความเป็นปรนัย (Objectivity)
ความเที่ยง หรือความเชื่อมั่น
(Reliability)
ความหมายของ ความเที่ยง (Reliability)
 ความเที่ยง หรือความเชื่อมั่น (Reliability) คือ
การที่เครื่องมือวัดได้ผลคงที่แน่นอน เมื่อมีการวัดซ้าอีก
นั่นคือ จะใช้เครื่องมือนั้นๆ วัดสิ่งเดิมกี่ครั้ง ก็ได้ผล
เหมือนเดิมหรือใกล้เคียงของเดิม
วิธีการหาค่าความเที่ยง (Reliability)
 วิธีการหาความเที่ยง : 1 ชุด - 1 กลุ่ม – 2 ครั้ง
1. การทดสอบซ้า (Test-Retest Reliability)
2. การใช้เครื่องมือที่สมมูลกัน (Equivalent-Form
2 ชุด - 1 กลุ่ม – 2 ครั้ง
Reliability) 1 ชุด - 1 กลุ่ม – 1 ครั้ง
3. การหาความสอดคล้องภายใน (Internal Consistency)
3.1 วิธีแบ่งครึ่งแบบสอบ (Spilt Half Reliability)
3.2 วิธีของ Kuder-Richardson (KR-20, KR-21)
3.3 วิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach's
alpha method)
ความตรง (Validity) VS ความเที่ยง (Reliability)
คุณภาพเครื่องมือวัดผลการศึกษา
1. ความตรง หรือความเที่ยงตรง (Validity)

2. ความเที่ยง หรือความเชื่อมั่น (Reliability)

3. ความยาก หรือความยากง่าย (Difficulty)

4. อานาจจาแนก (Discrimination)

5. ความเป็นปรนัย (Objectivity)
การวิเคราะห์ข้อสอบ
เป็นเทคนิคของการตรวจสอบคุณภาพ
ของข้อสอบเป็นรายข้อ

เพื่อทราบว่าข้อสอบแต่ละข้อทาหน้าที่
อย่างเหมาะสมหรือไม่
ตัวชี้วัดคุณภาพข้อสอบ

ค่าความยากของข้อสอบ

อานาจจาแนกของข้อสอบ

ประสิทธิภาพตัวลวง
ค่าความยาก (Difficulty Index)
ค่าความยาก (p) : สัดส่วนของจานวนคนทีต่ อบข้อสอบ
ข้อนั้นถูกจากจานวนคนที่ตอบข้อนัน้
ทั้งหมด

 ข้อสอบปรนัย (คะแนนแบบทวิภาค 0 กับ 1)


 ข้อสอบอัตนัย (คะแนนแบบพหุภาค มากกว่า 2 ค่า)
การแปลความหมายของค่าความยาก (p)
ค่าความยาก (p) ความหมาย
0.80 - 1.00 ง่ายมาก
0.60 - 0.79 ค่อนข้างง่าย
0.40 - 0.59 ปานกลาง
0.20 - 0.39 ค่อนข้างยาก
0 - 0.19 ยากมาก
เกณฑ์ 0.20  p  0.80
ค่าความยาก (Difficulty Index) ของข้อสอบปรนัย
(คะแนนแบบทวิภาค 0 กับ 1)
จำนวนคนทีตอบข
่ อสอบข้อนัน้ ถูก
p
จำนวนคนทีตอบข
่ อสอบข้อนัน้ ทัง้ หมด

HL
หรือ p
NH  NL
87
83
การแบ่งกลุ่ม 81
80
80
80
H 27%
80
79
H 33%
79
78
H 50%
สูง 76
76
75
73
73
73
73
.
72
.
72
.
71
.
.
.
.
.
47
46
46
45
45
45
L 50%
45
ตา่ 44
42
42
42
L 33%
41
39
39
39 L 27%
39
38
37
33
31
ตัวอย่าง.....คานวณค่าความยากง่าย (p)
 ข้อสอบปรนัยข้อหนึ่งมีคนตอบ 100 คน
ปรากฏว่ามีคนตอบถูก 45 คน
0.45
ข้อสอบข้อนี้มีคา่ ความยากง่าย เท่ากับ................
ข้อสอบข้อนี้มีความยากง่ายอยู่ในระดับปานกลาง
..............
ค่าความยาก (p) ความหมาย
0.80 - 1.00 ง่ายมาก
0.60 - 0.79 ค่อนข้างง่าย
0.40 - 0.59 ปานกลาง
0.20 - 0.39 ค่อนข้างยาก
35
0 - 0.19 ยากมาก
กลุ่มสูง กลุ่มต่า
ข้อ ตัวเลือก (H) (R) ค่าความยาก (p)
(20 คน) (20 คน)
1 ก 4 6 6+4
= 0.25
20 + 20
ข* 9 3 9+3
= 0.30
20 + 20
ค 3 5 5+3
= 0.20
20 + 20
ง 4 6 4+6
= 0.25
20 + 20
รวม 20 20
อานาจจาแนก (Discrimination)
อานาจจาแนก (r) : ความสามารถของข้อสอบ
ในการจาแนกหรือแยกให้เห็น
ความแตกต่างระหว่างผูส้ อบที่
มีผลสัมฤทธิต์ า่ งกัน
เช่น
กลุ่มคนเก่ง-กลุ่มคนอ่อน
กลุ่มคะแนนสูง-กลุ่มคะแนนตา่
การหาค่าอานาจจาแนก ของข้อสอบปรนัย

HL
r
NH orNL
r = ค่าอานาจจาแนก
H = จานวนคนที่ตอบถูกในกลุ่มเก่งหรือกลุ่มคะแนนสูง
L = จานวนคนที่ตอบถูกในกลุ่มอ่อนหรือกลุ่มคะแนนต่า
NH or NL = จานวนคนตอบทั้งหมดในกลุ่มเก่งหรือกลุม่ อ่อน
การแปลความหมายของค่าอานาจจาแนก (r)
ค่าอานาจจาแนก ความหมาย
0.60 - 1.00 ดีมาก
0.40 - 0.59 ดี
0.20 - 0.39 พอใช้
0.10 - 0.19 ค่อนข้างต่า ควรปรับปรุง
0 - 0.09 ต่ามาก ควรตัดทิ้ง
ต่ากว่า 0 จาแนกไม่ได้ ควรตัดทิ้ง

เกณฑ์ r  +0.20
ค่าอานาจจาแนกติดลบ ????

• แสดงว่ากลุ่มตัวเลือกตอบได้ถูกมากกว่ากลุ่มสูง

• ถ้ามีค่าติดลบควรพิจารณาดูว่าเฉลยผิดหรือไม่

• ถ้าเฉลยถูกต้องก็ควรตัดทิ้ง
ตัวอย่าง.....คานวณค่าอานาจจาแนก (r)
 กลุ่ มคนเก่ง 10 คน ตอบถูก 8 คน
แต่กลุ่มคนอ่อน 10 คน ตอบถูกเพียง 2 คน
0.60
ข้อสอบข้อนี้มีคา่ อานาจจาแนก เท่ากับ..............
ดีมาก
ข้อสอบข้อนี้มีอานาจจาแนกในระดับ..................
ค่าอานาจจาแนก ความหมาย
0.60-1.00 ดีมาก
0.40-0.59 ดี
0.20-0.39 พอใช้
0.10-0.19 ค่อนข้างต่า ควรปรับปรุง
41 0-0.09 ต่ามาก ควรตัดทิ้ง
กราฟแสดงการกระจายของข้อสอบตาม p และ r ของข้อสอบ
ความยาก
(p) 1.00
ง่ายเกินไป แต่จาแนกได้
0.80

0.60
ยากง่าย
พอเหมาะ
ข้อสอบที่สามารถใช้
0.40
แต่
จาแนกได้
ส้าหรับทดสอบได้
ต่า
0.20
ยากเกินไป แต่จาแนกได้
อ้านาจจ้าแนก
0 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00 (r)
ประสิทธิภาพของตัวลวง (Pw)
กรณีข้อสอบปรนัยแบบหลายตัวเลือก

 สัดส่วนของผู้เลือกตัวลวง (Pw)
Pw  0.05
คือ สัดส่วนของจานวนคนที่เลือกตัวลวงนั้นๆ

• อานาจจาแนกของตัวลวง (rw) Rw  - 0.05


คือ ผลต่างระหว่างสัดส่วนของคนในกลุ่มเก่งที่เลือก
ตัวลวงกับสัดส่วนของคนในกลุ่มอ่อนที่เลือกตัวลวงนั้นๆ
Activity

44
0.25 -0.10   ข้อสอบค่อนข้างยาก
0.30 0.30   จาแนกได้ปานกลาง
0.20 -0.10   เก็บไว้ใช้ได้
0.25 -0.10  
0.15 -0.10   ข้อสอบยากปานกลาง
0.13 -0.05   จาแนกได้ดี
0.43 0.55 ปรับปรุงตัวเลือก ข.
  เก็บไว้ใช้ได้
0.30 -0.50  
0.13 0.05   ข้อสอบยากมาก
0.23 0.05   จาแนกได้ต่า
0.35 0.10  
ควรตัดทิ้ง
0.30 -0.20 
0.38 0.45   ข้อสอบค่อนข้างยาก
จาแนกได้ดี
0.18 -0.15  
0.33 -0.15  
เก็บไว้ใช้
0.13 -0.15 
0.15 -0.20   ข้อสอบยากปานกลาง
จาแนกไม่ได้
0.08 0.05  
0.33 0.25  
0.45 -0.10  ควรตัดทิ้ง
แนะนาโปรแกรมวิเคราะห์ข้อสอบ
1. EVANA : อ.ภคนันท์ ทองคา
2. SIA (Simple Item Analysis)
: ดร.ชยุตม์ ภิรมย์สมบัติ
3. B-index : อ.สาคร แสงผึ้ง
4. TAP (Test Analysis Program)
: Gordon P. Brooks
ค่าความยาก และ อานาจจาแนก
ข้อสอบอัตนัย
(คะแนนแบบพหุภาค มากกว่า 2 ค่า)
ค่าความยาก (Difficulty Index) ของข้อสอบอัตนัย
(คะแนนแบบพหุภาค มากกว่า 2 ค่า)
การคานวณสัดส่วนของคะแนนรวมรายข้อที่ได้จาแนกตามกลุ่ม
ΣH ΣL
pH = pL =
ΣTH ΣTL
ΣH รวมคะแนนคนกลุ่มสูง ΣL รวมคะแนนคนกลุ่มต่า
ΣTH รวมคะแนนเต็มกลุ่มสูง ΣTL รวมคะแนนเต็มกลุ่มต่า
วิเคราะห์ค่าความยาก (p) วิเคราะห์ค่าอานาจจาแนก (r)
PH + PL r = PH PL
p=
2
 แบบสอบความเรียงมี 5 ข้อ แต่ละข้อคะแนนเป็น 10, 10, 20, 30, 30 คะแนน ตามลาดับ
 ใช้สอบนักเรียน 8 คน
 ตรวจสอบให้คะแนนและเรียงลาดับคะแนนจากมากไปน้อย (อันดับ 1 – 8)
 คานวณสัดส่วนของคะแนนรวมรายข้อที่ได้จาแนกตามกลุ่ม
คานวณค่า p และ ค่า r
Σ Σ

อ1  40
ข้อΣTขคะแนน กลุ่มสูง (H) (4 คน) H กลุ่มต่า (L) (4 คน) L
เต็ม คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 คนที่ 6 คนที่ 7 คนที่ 8
1 10 10 10 9 8 5 8 8 7
2 10 9 10 8 9 8 7 6 3
3 20 20 15 15 17 15 9 10 8
4 30 25 25 24 20 16 17 13 10
5 30 16 10 10 7 11 7 6 2
รวม 100 80 70 68 61 55 48 43 30
การคานวณ p และ r ของข้อสอบอัตนัย
PH + PL
p= r = PH PL
2
กลุ่มสูง (H) กลุ่มต่า (L) PH PL
คะแนน ค่าความ อานาจ
ข้อ (4 คน) (4 คน) ΣH ΣL ยาก จ าแนก
เต็ม pH = pL =
ΣH ΣTH ΣL ΣTH ΣTH ΣTL (p) (r)
1 10 37 40 28 40 0.93 0.70 0.82 0.23

2 10 36 40 24 40 0.90 0.60 0.75 0.30


3 20 67 80 42 80 0.84 0.53 0.69 0.31
4 30 94 120 56 120 0.78 0.47 0.63 0.31
5 30 43 120 26 120 0.36 0.22 0.29 0.14
Activity 5

52
ตอนที่ 2 ข้อสอบแบบเขียนตอบ (ข้อ 6 – 8) (กลุ่มสูงและกลุ่มต่า กลุ่มละ 4 คน)

0.85 0.35 0.60 0.50  

0.95 0.75 0.85 0.20  

0.80 0.40 0.60 0.40  


1, 2, 4, 6, 8
3, 7
3, 5
3, 5, 7
คุณภาพเครื่องมือวัดผลการศึกษา
1. ความตรง หรือความเที่ยงตรง (Validity)

2. ความเที่ยง หรือความเชื่อมั่น (Reliability)

3. ความยาก หรือความยากง่าย (Difficulty)

4. อานาจจาแนก (Discrimination)

5. ความเป็นปรนัย (Objectivity)
ความเป็นปรนัย
(Objectivity)
ความเป็นปรนัย (Objectivity)
 คุณสมบัติของเครื่องมือที่สามารถสื่อความหมายได้
ชัดเจน และเข้าใจความหมายตรงกัน

 ความเป็นปรนัยของโจทย์หรือข้อคาถาม
 ความเป็นปรนัยของการให้คะแนน
 ความเป็นปรนัยของการแปลความหมาย

You might also like