You are on page 1of 82

ROOT G

STEM
R
O
U
P

LEAF
2

structure / type / function


ROOT
การเจริญเติบโต โครงสร้าง ประเภท ระบบราก

Primary Growth Secondary Growth ตามยาว ตามขวาง Primary root ระบบรากแก้ว


การเพิ่มความสูงจาก เกิดบริเวณเหนือขนราก Root cap Epidermis - รากแรกสุด ระบบรากฝอย
Apical Meristem โดย Vascular Cambium Region of cell - (นอกสุด) Secondary root ระบบรากพิเศษ
1. Protoderm Division Cortex - แตกแขนงจาก รากสะสมอาหาร
Mitosis Region of cell Endodermis primary root รากสังเคราะห์แสง
Epidermis Secondary Xylem Elongation - (Suberin+Lignin) Adventitious root รากค้้าจุน
2. Ground Meristem Secondary Phloem Region of cell = แถบ Cospatrian - เจริญมาจากส่วนต่างๆ รากยึดเกาะ
Maturation Stele รากปรสิต
Cortex, Endodermis Pericycle
** Root hair cell Pericycle รากหายใจ
3. Procambium เนื้อเยื่อเจริญ Vascular tissue
Primary Phloem รากหนาม
Primary Xylem แบ่ง cell สร้าง cork ออก - Primary Xylem
Vascular Cambium (ด้านในกลายเป็น Phelloderm) ใน Primary Growth
- Primary Phloem
Pericycle Pith
Vascular Tissue ของ Dicot Vascular Tissue ของ Monocot
note - Primary xylem เรียงตัวเป็นแฉก (Arch) ส่วนใหญ่ 4 แฉก - xylem เรียงตัวกันหลายแฉกใกๆ (Poly arch)
- Phloem เป็นกลุ่มแรกระหว่างแฉกของ Xylem - Phloem เป็นกลุ่มแรกระหว่างแฉกของ Xylem
- ระหว่าง Phloem, Xylem มี cambium คั่นอยู่ - ไม่มี cambium คั่น
STEM
โครงสร้าง การเจริญเติบโต Lenticle หน้าที่

บริเวณต่างๆ 5 บริเวณ การจัดเรียงตัวของโครงสร้างล้าต้นพืช ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ รอยแตก พยุงส่วนต่างๆ


เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด เอพิเดอร์มิส เจริญต่อข้าง อากาศสามารถผ่านเข้า ล้าเลียงสาร
ใบเริ่มแรกเกิด คอร์เทกซ์ เส้นผ่านศูนย์กลาง ออกได้ สร้างเนื้อเยื่อต่างๆ
ใบอ่อน สตีล Procambium Ground tissue Modified stem
ล้าต้นอ่อน Fascicular cambium Pith Ray Stolon
ล้าต้นที่มีการเจริญทุติยภูมิ Climbing stem
Inter fascicular cambium
Thorny stem
Vascular cambium Cladode
Stem tendril
Secondary xylem Secondary phloem Subterranean stem
(wood) (bark) Tuber
Springwood Annual ring Corm
Summer wood Rhizome
Bulb
Root stock
LEAF
โครงสร้าง ประเภท Modified leaf แผ่นใบ

ภายนอก ภายใน แบ่งตามจ้านวนใบบน ใบที่เจริญไปท้าหน้าที่พิเศษ - แผ่นใบของ dicot


Blade Epidermis ก้านใบ Storage leaf - แผ่นใบของ monocot
Petiole - Upper ใบเดี่ยว Reproductive leaf
Stipule - Lower ใบประกอบ Bud Scale
Axillary *เปลี่ยนแปลงเป็น guard cell ได้* ใบไม่มีก้านใบ Leaf Spine
Bud *คุมการเปิด-ปิดของปากใบ แบ่งตามหน้าที่ Phyllode
midrib - Stoma ใบแท้ Buoyancy leaf
leaf apex Typical stomata ใบเกล็ด Leaf tendril
Sunken stomata ใบดอก Scale leaf
Raised stomata
Mesophyll ใบเลี้ยง Bract
- Palisade mesophyll Carnivorous leaf
- Spongy mesophyll
Vascular bundle
ROOT-การเจริญเติบโต

ROOT
การเจริญเติบโต
ROOT-การเจริญเติบโต

ROOT
การเจริญเติบโต
1. PRIMARY GROWTH
พืชใบเลี้ยงคู่
- Protoderm เปลี่ยนแปลงไปเป็นเนื้อเยื่อถาวร Epidermis
- Ground Meristem เปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์ชั้นใน ได้แก่ Cortex และ Endodermis
- Procambium เปลี่ยนแปลงไปเป็น ชั้น Stele (Pericycle, Vascular Cambium , Primary Phloem
และ Primary Xylem)

พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
แตกต่างจากพืชใบเลี้ยงคู่ที่ชั้น Stele จะไม่มี Pericycle และ Vascular Cambium แต่
จะมี Pith ขนาดใหญ่
ROOT-การเจริญเติบโต

2. SECONDARY GROWTH
พืชใบเลี้ยงคู่
- Vascular Cambium จะไมโทซิสเป็น Secondary Xylem (ด้านใน) และ
Secondary Phloem (ด้านนอก)
- Pericycle แบ่งเซลล์เป็น Cork Cambium ซึ่งจะแบ่งตัวต่อไปได้ Cork (ด้านนอก) และ
Phelloderm (ด้านใน)

พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
- ไม่มี Secondary Growth เนื่องจากบริเวณตรงกลางไม่มี Pericycle และ Vascular Cambium
- พืชบางชนิด เช่น มะพร้าว มี Cortex-like tissue ท้าให้สามารถเพิ่มกลุ่มเซลล์ของ Xylem และ
Phloem ได้
ROOT-การเจริญเติบโต
ROOT-การเจริญเติบโต
ROOT-โครงสร้าง

ROOT
โครงสร้าง

1. LONGITUDINAL SECTION
โครงสร้างตามยาว
- Root Cap : เนื้อเยื่อถาวรและ Parenchyma เรียงตัวกันหลวมๆ มี Vacuole ท้าให้สามารถผลิตเมือก
เพื่อเพิ่มความชุ่มชื้นได้
- Region of cell Division : ส่วนของเนื้อเยื่อเจริญ มีการไมโทซิส ส่วนหนึ่งเจริญไปเป็น Root Cap อีก
ส่วนเจริญไปเป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ถัดขึ้นไป
- Region of cell Elongation : เซลล์จากการแบ่งตัวมีการแบ่งเซลล์เพื่อเพิ่มความยาวราก
- Region of cell Maturation : ประกอบด้วยเซลล์ถาวร มีเซลล์ขนราก
ROOT-โครงสร้าง

LONGITUDINAL SECTION
ROOT-โครงสร้าง

2. TRANSVERSE SECTION

โครงสร้างตามขวาง
- Epidermis: ชั้นนอกสุดของราก ไม่มีคลอโรพลาสต์ เมือ่ เจริญเต็มที่จะเปลี่ยนไปเป็นขนรากเพื่อเพิ่มการดูด
น้้าและแร่ธาตุ
- Cortex: ประกอบด้วยเซลล์ Parenchyma เนื้อเยื่อชั้นในสุดคือ Endodermis
- Stele: 1. Pericycle : แบ่งเซลล์สร้างรากแขนง และ Secondary Permanent Tissue
2. Xylem : ท่อล้าเลียงน้้า เรียงตัวเป็นแฉก
3. Phloem: ท่อง้าเลียงน้้าตาล เรียงตัวรอบนอกของวง Xylem
ROOT-โครงสร้าง

TRANSVERSE SECTION
ROOT-หน้าที่

ROOT
หน้าที่

- ดูดน้้าและแร่ธาตุจากพื้นดินไปเลี้ยงส่วนต่างๆ
- ล้าเลียงน้้าและแร่ธาตุที่สะสมในรากขึ้นไปยังล้าต้น
- ยึดล้าต้นให้ติดกับพื้นดิน
- สร้างฮอร์โมนบางชนิด เช่น Cytokinin
- หน้าที่อื่นๆ เช่น สะสมอาหาร สังเคราะห์แสง เป็นต้น
ROOT-ประเภท

ROOT
ประเภท

1. Primary Root : รากแรกที่แทงออกจากเมล็ด เกิดจากการเจริญของ Radicle ของต้นอ่อน


2. Secondary Root : รากที่แตกแขนงออกจาก Primary Root เกิดจากการแบ่งตัวของ Pericycle
3. Adventitious Root : รากที่เจริญจากส่วนต่างๆของพืช
ROOT-ระบบ

ROOT
ระบบ
ระบบรากแก้ว : เป็นรากปฐมภูมิ เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและมีขนาดใหญ่
ระบบรากฝอย : รากที่แตกแขนงออกมา มีขนาดเท่า ๆ กัน มีจ้านวนมาก
ระบบรากพิเศษ : รากค้้าจุน, รากยึดเกาะ, รากหายใจ, รากปรสิต, รากสังเคราะห์แสง, รากสะสมอาหาร,
รากหนาม
STEM-โครงสร้าง

STEM
ล้าต้น

ล้าต้น (Stem) เป็นอวัยวะของพืชที่ส่วนใหญ่จะเจริญขึ้นเหนือดิน เจริญมาจากส่วนที่เรียกว่า


Hypocotyl ของเมล็ด ประกอบด้วยส่วนส้าคัญ 2 ส่วนคือ ข้อ (Node) ส่วนใหญ่มกั มีตา
(Bud) ซึ่งจะเจริญไปเป็น กิ่ง ใบ หรือดอก ต่อไป และ ปล้อง (Internode) ซึ่งอยูร่ ะหว่างข้อ
โดยในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะเห็นข้อ และปล้องชัดเจน แต่ในพืชใบเลี้ยงคู่อาจเห็นได้ไม่ชัดเจน

ล้าต้นเป็นโครงสร้างของพืชที่เจริญถัดขึ้นมาจากราก ล้าต้นมีข้อปล้อง บริเวณข้อจะมีใบ ที่ซอก


ใบมีตา ล้าต้นท้าหน้าที่ชูกิ่ง พยุง ชูใบส้าหรับสังเคราะห์ด้วยแสง ผลิดอก และการพัฒนาของผล
และเป็นตัวกลางส้าหรับล้าเลียงน้้าจากรากไปยอด ท้าหน้าที่ล้าเลียงอาหาร ธาตุอาหาร ไปยัง
ส่วนต่าง ๆ ของพืช
STEM-โครงสร้าง

STEM
โครงสร้าง
เนื้อเยือ่ บริเวณปลายยอด
เมื่อตัดตามยาวผ่านกลางส่วนปลายยอด แล้วน้าไปศึกษาลักษณะเนื้อเยื่อโดยใช้กล้องจุลทรรศน์
ก้าลังขยายต่าง ๆ จะเห็นเซลล์มลี ักษณะขนาด รูปร่าง และการเรียงตัวเป็นบริเวณต่าง ๆ ดังนี้
STEM-โครงสร้าง

เนื้อเยือ่ บริเวณปลายยอด

1. เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด (apical meristem) เป็นบริเวณปลายสุดของล้าต้น เซลล์บริเวณ


นี้จะแบ่งตัวอยูต่ ลอดเวลา มีการเจริญไปเป็นล้าต้น ใบ และตาตามซอก (axillary bud)

2. ใบเริ่มเกิด (leaf primordium) อยูต่ รงด้านข้างของปลายยอดส่วนที่เป็นขอบของความโค้ง


ถ้าพืชตัวอย่า งที่ศึกษามีใ บแบบตรงข้ามกัน จะเห็นใบเริ่มเกิดอยู่ 2 ข้า ง ใบเริ่มเกิดนี้ต่อไปจะ
พัฒนาเป็นใบอ่อน ตรงโคนของใบเริ่มเกิดจะเห็นเซลล์ขนาดเล็กรูปร่างยาวเรียงตัวเป็นแนวยาว
จากล้าต้นขึ้นไปจนถึงใบอ่อน
STEM-โครงสร้าง

3. ใบอ่อน (young leaf) เป็นใบที่ยงั เจริญเติบโตไม่เต็มที่ เซลล์ของใบยังมีการแบ่งเซลล์ และ


เจริญเติบโตเปลี่ยนแปลงเซลล์ต่อไปอีกจนในที่สุดจะได้เป็นใบที่เจริญเต็มที่ ระยะที่ใบอ่อนยังไม่กาง
ออกเต็มที่จะเห็นตาตามซอกเริ่มเกิด (axillary bud primordium) ซึ่งต่อไปจะพัฒนาไปเป็นตา
ตามซอกเมื่อใบที่รองรับอยูน่ ั้นเจริญเต็มที่

4. ตาซอกแรกเกิด (axillary bud primordium) เป็นส่วนที่เจริญมาจากเนื้อเยื่อเจริญปลายยอด


ในช่วงเวลาใกล้เคียงกับใบแรกเกิด ซึ่งจะเจริญต่อไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญตามซอก (axillary bud)
STEM-โครงสร้าง

5. ล้าต้นอ่อน (young stem) อยูถ่ ัดจากต้าแหน่งใบเริ่มเกิดลงมา ล้าต้นส่วนใต้ใบอ่อนก็ยัง


เป็นล้าต้น ระยะที่ยังเจริญไม่เต็มที่ กล่าวคือ เซลล์บางบริเวณอาจพัฒนาไปจนเจริญเต็มที่ใน
ระดับหนึ่งแล้ว ซึ่งจะปรากฏเนื้อเยื่อถาวรต่าง ๆ สมบูรณ์ จัดเป็นการเจริญปฐมภูมิ (Primary
Growth) แต่บางบริเวณยังแบ่งเซลล์เพื่อเพิ่มจ้านวน เปลี่ยนแปลงรูปร่างของเซลล์ และขยาย
ขนาดต่อไปได้อีก

ล้าต้นที่มีการเจริญทุติยภูมิ พบในล้าต้นพืชใบเลี้ยงคู่ที่เป็นไม้ยืนต้นและ
มีเนื้อไม้ (Perennial woody plant) ซึ่งวาสคิวลาร์แคมเบียมจะ
แบ่งตัวให้ก้าเนิดโฟลเอ็มทุติยภูมิ (Secondary phloem) และไซ
เล็มทุติยภูมิ (Secondary xylem)
STEM-โครงสร้าง

STEM
โครงสร้าง
โครงสร้างภายในล้าต้น
เมื่อน้าล้าต้นพืชที่มีการเติบโตเต็มที่แบบปฐมภูมิมาตัดตามขวางแล้วศึกษา พบว่า ล้าต้นพืช
ประกอบจากชั้นต่าง ๆ 3 ชั้นหลัก คือ epidermis cortex stele เช่นเดียวกับราก แต่จะมี
ความแตกต่างในรายละเอียด ดังนี้

1. Epidermis อยูน่ อกสุดประกอบด้วยเซลล์ผิว


เรียงเป็นแถวเดียว บางเซลล์อาจเปลี่ยนไปเป็นขนผิว
ด้านนอกของเซลล์ในชั้นนี้จะมีสารคิวทินเคลือบอยู่
STEM-โครงสร้าง

2. Cortex เป็นส่วนที่อยู่ถัดจากเอพิเดอร์มิสเข้ามาประกอบด้วยเซลล์หรือเนื้อเยื่อหลายชนิด
ส่วนใหญ่เป็นเนื้อเยื่อ parenchyma collenchyma อยู่ใต้ผิวหรืออยู่ตามสันของล้าต้น
3. สตีล ส้าหรับพืชใบเลี้ยงคู่จะกว้างมากและแยกจากชั้นคอร์เทกซ์ได้ไม่ชัดเจน ประกอบด้วย

3.1 มัดท่อล้าเลียง อยู่เป็นกลุ่มๆ ด้านในเป็นไซเล็ม ด้าน


นอกเป็นโฟลเอ็มเรียงตัวในแนวรัศมีเดียวกัน
3.2 วาสคิวลาร์เรย์ เป็นเนื้อเยื่อพาเรงคิมาที่อยู่ระหว่างมัด
ท่อล้าเลียง เชื่อมต่อระหว่างคอร์เทกซ์และพิท
3.3 พิธ อยู่ชั้นในสุดเป็นไส้ในของล้าต้นประกอบด้วยเนื้อเยื่อ
พาเรงคิมา ท้าหน้าที่สะสมแป้งหรือสารต่างๆ
STEM-โครงสร้าง
STEM-การเจริญเติบโต

STEM
การเจริญเติบโต
1. Primary GROWTH
โครงสร้างของล้าต้นพืช ตัดตามขวาง ในการเจริญเติบโตขั้นแรก (Primary Growth) ประกอบด้วย

DICOT
Protoderm → Epidermis
- อยู่ชั้นนอกสุด เซลล์รูปสี่เหลี่ยม เรียงตัวชั้นเดียว
- มี cutin เคลือบ เพื่อป้องกันการสูญเสียน้้า
STEM-การเจริญเติบโต

Ground meristem → Cortex


- อยูถ่ ัดจากชั้น epidermis เรียงตัวหลายชั้น (บางกว่าในราก)
- ประกอบด้วยเนื้อเยื่อพื้นฐาน เช่น collenchyma parenchyma chlorenchyma
sclerenchyma

Procambium → Stele (เนื้อเยือ่ เรียงตัวเป็นระเบียบ)


- มัดท่อล้าเลียง vascular bundle
- xylem
vascular cambium (fascicular cambium / interfascicular cambium)
- phloem
- fiber
STEM-การเจริญเติบโต

- Pith ray = parenchyma ที่สามารถเปลี่ยนเป็นเนื้อเยื่อเจริญได้ (interfascicular


cambium)
- ท้าให้ cambium เชื่อมเป็นวงรอบล้าต้น
- Pith
- อยูช่ ั้นในสุด เรียงตัวหลายชั้น
- ประกอบด้วย parenchyma ท้าหน้าที่สะสมอาหาร
STEM-การเจริญเติบโต

DICOT
STEM-การเจริญเติบโต

MONOCOT

Protoderm → Epidermis
- อยูช่ ั้นนอกสุด เซลล์รูปสี่เหลี่ยม เรียงตัวชั้นเดียว
- มี cutin เคลือบ เพื่อป้องกันการสูญเสียน้้า

Ground meristem → Cortex / ground tissue


- อยูถ่ ัดจากชั้น epidermis กระจายทั่วล้าต้น
- ประกอบด้วยเนื้อเยื่อพื้นฐาน เช่น collenchyma parenchyma chlorenchyma sclerenchyma
STEM-การเจริญเติบโต

Procambium → vascular bundle (เนื้อเยือ่ เรียงตัวไม่เป็นเป็นระเบียบ)


- พบมากบริเวณใกล้ epidermis
- เป็นกลุ่มเนื้อเยื่อ แทรกตัวใน ground tissue เรียงตัวไม่เป็นระเบียบกระจายรอบล้าต้น พบมาก
ใกล้เนื้อเยื่อพื้นผิว
ประกอบด้วย
- มัดท่อล้าเลียง
- xylem : ต้าแหน่งหันเข้าใจกลางล้าต้น
เห็นหน้าตัด vessel ชัดเจน เป็นวงขนาดใหญ่
- phloem : ต้าแหน่งหันออกสู่เนื้อเยื่อพื้นผิว
sieve tube member (cell ใหญ่ สีจาง) และ companion cell (cell เล็ก
สีเข้ม) เรียงตัวชิดกัน ไม่มีช่องว่างระหว่าง cell
- air space : เกิดจากการสลายตัวของ xylem ในระยะแรก เห็นหน้าตัดมีลักษณะเป็น
irregular
STEM-การเจริญเติบโต

- fiber / bundle sheath : ล้อมรอบ vascular bundle


- pith = parenchyma
: เกิดจากการสลายตัวของ ground tissue = pith cavity
พบในพืชกกลุ่มหญ้าและไผ่
STEM-การเจริญเติบโต

MONOCOT
STEM-การเจริญเติบโต

PRIMARY GROWTH
STEM-การเจริญเติบโต

STEM
การเจริญเติบโต
2. SECONDARY GROWTH
- การเจริญของVascular Cambium และCork Cambium
- เจอในใบเลี้ยงคู่ทุกชนิด,ใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น มะพร้าว,จันผา,จันแดง
- พืชมีเส้นผ่านศูนย์กลางมากขึ้น
- ท้าให้พืชอายุยืนยาว
STEM-การเจริญเติบโต

SECONDARY GROWTH

ขั้นตอน
1. สร้าง Vascular Cambium(สร้างจากFascicular Cambium +
Interfascicular Cambium)ขึ้นมาก่อน
2. Vascular Cambiumจะแบ่งเซลล์ แบ่งเซลล์ออกข้างนอกจะเรียก Secondary
Phloem
3. Secondary Xylem จะผนังหนากว่า Secondary Phloem มากพอสมควร
STEM-การเจริญเติบโต

SECONDARY GROWTH
STEM-การเจริญเติบโต

SECONDARY GROWTH
STEM-การเจริญเติบโต

SECONDARY GROWTH

การเจริญของCork Cambium(Phellogen)
Cork Cambium (Phellogen) จะแบ่งเซลล์ออกข้างนอก เรียก ‘Cork(Phellem)’
ถ้าแบ่งเซลล์เข้าข้างใน เรียก ‘Phelloderm’
STEM-การเจริญเติบโต

ลักษณะเนือ้ ไม้
- พืชแถบร้อน
Secondary Xylem จะมีขนาด
และ รูปร่างไม่ต่างกัน
STEM-การเจริญเติบโต

ลักษณะเนือ้ ไม้
- พืชในแถบของโลกที่มีฤดูกาลต่างกัน
ฤดูนา้ มาก secondary xylem จะขนาดใหญ่ ผนังบาง เพราะ เซลล์แบ่งตัวได้ดี = ‘Spring Wood’
ฤดูนา้ น้อย secondary xylem จะขนาดเล็ก ผนังหนา อยู่กันหนาแน่น ท้าให้เห็นเป็นเส้นๆ และมีสีเข้ม =
‘Summer Wood’
ทั้ง Spring Wood และ Summer Wood จะเกิดขึ้นใน 1ปี จึงรวมเรียกทั้งหมดว่า ‘Annual Ring’
STEM-การเจริญเติบโต

ถ้าไซเล็มมีสารอินทรีย์ เช่น พวกน้้ามัน เรซิน เทนนิน มาสะสมหรืออุดตันท้าให้ล้าเลียงสารไม่ได้


ไซเล็มที่ไม่ได้ล้าเลียงสารแล้ว เรียกว่า ‘Heart Wood(แก่นไม้)’
ส่ว นไซเล็มที่อ ยู่ด้า นนอกใกล้เคี ยงกับแคมเบียมและไม่มีส ารมาอุ ดตัน จึงท้ า ให้ส ามารถล้า เลียงสารได้
เรียกว่า ‘Sap Wood (กระพี้ไม้)’
STEM-การเจริญเติบโต

Lenticel
STEM-หน้าที่

STEM
หน้าที่
- ช่วยพยุงส่วนต่างๆที่อยู่เหนือดิน
- ช่วยล้าเลียงน้้า แร่ธาตุ และอาหาร
- ท้าให้เกิดเนื้อเยื่อส่วนต่างๆ
STEM-หน้าที่

MODIFIED STEM
(ล้าต้นทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปท้าหน้าทีพ่ เิ ศษ)
- Stolon (ไหล) – เจริญราบไปกับผิวดิน เช่น สตรอว์เบอร์รี บัวบก ผักตบชวา
STEM-หน้าที่

MODIFIED STEM
(ล้าต้นทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปท้าหน้าทีพ่ เิ ศษ)
- Climbing stem (ล้าต้นเลื้อย) - ล้าต้น - Thorny stem (ล้าต้นหนาม) - ล้าต้นที่
อ่อ น เจริ ญ พั น รอบวั ต ถุ ห รื อ ต้ น ไม้ อื่ น เช่ น เจริญไปเป็นหนาม เช่น เฟื่องฟ้า กุหลาบ
ฟักทอง พลูด่าง
STEM-หน้าที่

MODIFIED STEM
(ล้าต้นทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปท้าหน้าทีพ่ เิ ศษ)
- Cladode หรือ Cladophyll (ล้าต้นคล้ายใบ) - เจริญเหนือดิน แผ่แบนคล้ายใบ อวบน้้า มีคลอ
โรพลาสต์ เช่น กระบองเพชร
STEM-หน้าที่

MODIFIED STEM
(ล้าต้นทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปท้าหน้าทีพ่ เิ ศษ)
- Stem tendril (ล้าต้นมือเกาะ) – เปลี่ยนไปเป็นเกลียวเพื่อท้าหน้าที่ยึดเกาะ สามารถสังเคราะห์
ด้วยแสงได้ เช่น องุ่น แตงกวา
STEM-หน้าที่

MODIFIED STEM
(ล้าต้นทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปท้าหน้าทีพ่ เิ ศษ)
- Subteranean stem
1. Tuber - กลม รี สั้น อวบ มีตาอยู่รอบๆ 2. Corm - กลมสั้นอวบ กว้างมากกกว่าสูง
สะสมแป้งไว้มาก เช่น มันฝรั่ง มันมือเสือ ข้อปล้องชัดเจน มีการสะสมอาหาร เช่น เผือก
STEM-หน้าที่

MODIFIED STEM
(ล้าต้นทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปท้าหน้าทีพ่ เิ ศษ)
- Subteranean stem
3. Rhizome (เหง้า) - เจริญขนานกับพื้น มี 4. Bulb - ล่างของล้าต้นมีรากฝอยจ้านสน
ข้อ ปล้องสั้น และมีใบเกล็ด เช่น ขิง ข่า ขมิ้น มาก ตามปล้องมีใบเกล็ดซ้อนกัน เช่น หัวหอม
STEM-หน้าที่

MODIFIED STEM
(ล้าต้นทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปท้าหน้าทีพ่ เิ ศษ)
- Subteranean stem
5. Root stock – ส่วนที่เหนือดินคล้ายล้าต้นมีสีเขียว คือ กาบใบที่และซ้อนเป็นมัดกลมๆ
คล้ายล้าต้น เช่น เหง้าต้นกล้วย
LEAF-โครงสร้าง

LEAF
โครงสร้าง
โครงสร้างภายนอกใบ

โครงสร้างภายนอกใบ ประกอบด้วย แผ่นใบ (blade) ก้านใบ (petiole) หูใบ ; ใช้ปกป้องใบเมื่อยังอ่อน


(stipule) เส้นใบ (vein) แตกแขนงออกมาจากเส้นกลางใบ (midrib) การที่ใบพืชมีลักษณะแบนมี
ประโยชน์ช่วยเพิ่มพื้นที่ผิวในการรับแสงช่วยในการระบายความร้อน
LEAF-โครงสร้าง

โครงสร้างภายนอกใบ

ใบเลีย้ งเดีย่ ว
LEAF-โครงสร้าง

การเรียงตัวเส้นใบ
การเรียงตัวเส้นใบ ( venation ) ต่างจากพืชดอก คือ
- พืชใบเลี้ยงเดี่ยว เรียงแบบขนาน (parallel venation)
- พืชใบเลี้ยงคู่เรียงแบบร่างแห (reticulate venation)
LEAF-โครงสร้าง

โครงสร้างภายในใบ
LEAF-โครงสร้าง

โครงสร้างภายในใบ
1. ชั้น cuticle มีสาร cutin เคลือบป้องการน้้าระเหย <บางใบมี wax เคลือบ ท้าให้น้ากลิ้งไป
มาได้ ex.ใบบอน>

2. epidermis เนื้อเยือ่ ผิว มีทั้งด้านบน upper epidermis และด้านล่าง lower


epidermis ประกอบด้วยเซลล์ต่างๆ เช่น เซลล์ผิว เซลล์ขน(trichome) หรือเปลี่ยนเป็นเซลล์
คุม (guard cell) มี cutin เคลือบอยูท่ ี่ผนังเซลล์ ด้านนอกเพื่อป้องกันการระเหยของน้้าออก
จากใบ ภายในไม่ค่อยมี chloroplast ยกเว้นเซลล์คุม เซลล์คุมมีรูปร่างคล้ายไตหรือเมล็ดถั่ว 2
เซลล์ประกบกัน
LEAF-โครงสร้าง

โครงสร้างภายในใบ

พืชที่ใบลอยปริ่มน้้า เช่น บัวสาย จะมีปากใบ (Stoma) อยูเ่ ฉพาะทางต้นบนของใบเท่านั้น ส่วน


พืชที่จมอยู่ใต้ผิวน้้า เช่น สาหร่ายหางกระรอก จะไม่มีปากใบ (stoma) และไม่มี cutin ฉาบผิว
ใบพืชบางชนิดมีปากใบ (stoma) ท้ังด้านบนและด้านล่าง เช่น ใบข้าวโพด

Stoma ยังสามารถแบ่งจากบริเวณที่พบได้ คือ


1. พืชที่อยูใ่ นที่แห้งแล้ง จะมี stoma อยูใ่ นระดับต่้ากว่า epidermis (sunken stomata)
2. พืชที่อยู่ในที่ๆมีน้ามาก จะพบ stoma อยู่ในระดับสูงกว่า epidermis (raised stomata)
3. พืชที่อยู่บนบก ทั่วไปจะพบ stoma อยูใ่ นระดับเดียวกับ epidermis (typical stomata)
LEAF-โครงสร้าง
LEAF-โครงสร้าง
LEAF-โครงสร้าง

โครงสร้างภายในใบ
3. มี โ ซฟิ ล ล์ (mesophyll) เป็ น เนื้ อ เยื่ อ ที่ อ ยู่ ร ะหว่ า งชั้ น เอพิ เ ดอร์ มิ ส ทั้ ง 2 ด้ า น ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น
chlorenchyma ที่มีคลอโรพลาสต์จ้านวนมาก
1. palisade mesophyll พบอยู่ใต้ชั้น upper epidermis ประกอบด้วยเซลล์ยาว
2. spongy mesophyll อยูถ่ ัดจาก palisade mesophyll ลงมาจนถึงก่อน lower epidermis

4. มัดท่อล้าเลียง vascular bundle ประกอบด้วยxylem และ phloem เรียงต่อถึงกันอยู่ในเส้นใบ


พืชบางชนิดมัดท่อล้าเลียงจะล้อมรอบด้วยบันเดิลชีท
LEAF-ประเภท

LEAF
ประเภท
- แบ่งตามจ้านวนใบบนก้านใบ
LEAF-ประเภท
LEAF-ประเภท
LEAF-ประเภท

- แบ่งตามหน้าที่

1. ใบแท้ (Foliage leaf) ลักษณะเป็นแผ่นแบน หรือเรียวคล้ายเข็ม มีหน้าที่สังเคราะห์แสง


แลกเปลี่ยนแก๊ส คายน้้า
2. ใบเกล็ด (Scale leaf) ลักษณะแผ่นเล็กคล้านเกล็ด บางชนิดไว้หุ้มตาที่ยังอ่อน บางชนิดไว้
เก็บน้้า อาหาร
3. ใบดอก (Floral leaf) เปลี่ยนเป็นดอก ใบดอกใหญ่ดอกเดียว เรียก ใบประดับ (bract)
หลายใบเรียก (perianth) เช่น ใบดอกเฟื่องฟ้า
4. ใบเลี้ยง (Cotyledon) มีใบในเมล็ด เป็นส่วนประกอบของต้นอ่อน พบใน 1 ใบในใบเลี้ยง
เดี่ยว 2 ใบในใบเลี้ยงคู่
LEAF-ประเภท
LEAF-ประเภท
ROOT-การเจริญเติบโต

LEAF
หน้าที่

หน้าทีข่ องใบ คือ การ สังเคราะห์ด้วยแสง หายใจ คายน้้า แลกเปลี่ยนแก๊ส แต่ในบางครั้ง ใบเปลี่ยนหน้าที่ไปท้า
อย่างอื่น เราเรียกว่า “ใบเจริญไปท้าหน้าที่พิเศษ” (modified leaf)
ROOT-การเจริญเติบโต

MODIFIED STEM
(ใบทีเ่ จริญไปท้าหน้าทีพ่ เิ ศษ)
- Storage leaf ใบสะสมอาหาร น้้า ลักษระอวบหนา ใหญ่

ว่านหางจระเข้ aloe vera


ROOT-การเจริญเติบโต

MODIFIED STEM
(ใบทีเ่ จริญไปท้าหน้าทีพ่ เิ ศษ)
- Reproductive leaf ใบเปลี่ยนหน้าที่ไปขยายพันธุ์
ROOT-การเจริญเติบโต

MODIFIED STEM
(ใบทีเ่ จริญไปท้าหน้าทีพ่ เิ ศษ)
- Bud scale ใบเปลี่ยนไปเป็นเกล็ดหั้มตา หลุดร่วงไปเมื่อ ตา (bud) เจริญ
ROOT-การเจริญเติบโต

MODIFIED STEM
(ใบทีเ่ จริญไปท้าหน้าทีพ่ เิ ศษ)
- Leaf spine ใบเปลี่ยนเป็นหนาม
ROOT-การเจริญเติบโต

MODIFIED STEM
(ใบทีเ่ จริญไปท้าหน้าทีพ่ เิ ศษ)
- Phyllode ก้านใบที่เปลี่ยนแปลงมาคล้ายใบ มีสีเขียว
ROOT-การเจริญเติบโต

MODIFIED STEM
(ใบทีเ่ จริญไปท้าหน้าทีพ่ เิ ศษ)
- Buoyancy leaf ใบที่ปลี่ยนเป็นทุ่นลอยน้้า พองขยายโต ภายในมีช่องอากาศมาก ช่วยในการลอยตัว
ROOT-การเจริญเติบโต

MODIFIED STEM
(ใบทีเ่ จริญไปท้าหน้าทีพ่ เิ ศษ)
- Leaf tendril ใบที่เปลี่ยนไปยึดเกาะ พยุงล้าต้นให้เจริญขึ้นไปในที่สูง หรือ พันรอบวัตถุ ลักษณะเป็นเส้น
เรียวเล็ก ม้วนตัวเป็นวง
ROOT-การเจริญเติบโต

MODIFIED STEM
(ใบทีเ่ จริญไปท้าหน้าทีพ่ เิ ศษ)
- Scale leaf ใบที่เปลี่ยนเป็นเกล็ดเล็กๆ อาจมีขนาดใหญ่เพื่อกักเก็บอาหาร ( Storage leaf )

หัวหอม < พืชประเภทนี้ สามารถ จัดให้เป็น storage leaf ได้เช่นกัน >


ROOT-การเจริญเติบโต

MODIFIED STEM
(ใบทีเ่ จริญไปท้าหน้าทีพ่ เิ ศษ)
- Bract ใบเปลี่ยนแปลงมาคล้ายกลีบดอกมักเปรี้ยว ใบประดับ
ROOT-การเจริญเติบโต

MODIFIED STEM
(ใบทีเ่ จริญไปท้าหน้าทีพ่ เิ ศษ)
- Carnivorous leaf ใบเปลี่ยนไปเป็นกับดักแมลง
Q&A#1
การเจริญเติบโตของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและคู่ เหมือน
และแตกต่างกันอย่างไร
Q&A#2
จริงหรือไม่ท่ดี ้านบนของใบไม้โดยทั่วไปมีสีเขียวเข้มกว่า
ด้านล่าง เพราะเซลล์ผิวมีคลอโรพลาสต์มากกว่า
Q&A#3
แก่นไม้ และกระพี้ไม้ต่างกันอย่างไร
Q&A#4
cork cambium (phellogen) แบ่งตัวทั้งออกข้าง
นอก และเข้าข้างใน เพื่อสร้างอะไรบ้าง
Q&A#5
ถ้าน้าเนื้อเยื่อจากต้นถั่วเขียวมาตรวจสอบดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ จะพบว่าการ
จัดเรียงตัวของกลุ่มท่อล้าเลียงมีลักษณะอย่างไร
1. กลุ่มท่อล้าเลียงกระจายทัว่ ไป โดยมีโฟลเอ็มเรียงสลับกับไซเล็ม
2. กลุ่มท่อล้าเลียงจัดเรียงเป็นระเบียบ โดยมีโฟลเอ็มเรียงสลับกับไซเล็ม
3. กลุ่มท่อล้าเลียงกระจายทัว่ ไป โดยมีโฟลเอ็มเรียงในแนวรัศมีกับไซเล็ม
4. กลุ่มท่อล้าเลียงจัดเรียงเป็นระเบียบ โดยมีไซเล็มอยู่ดา้ นใน และโฟลเอ็มอยู่ด้าน
นอก เรียงตัวในแนวรัศมีเดียวกัน
G

MEMBER
R
O
U
P
2

▪ ศุภกาญจน์ สัมปทาภักดี เลขที่ 1 ชั้น ม. 5/2


▪ บุญญะธิดา บุญญาพิทักษ์ เลขที่ 4 ชั้น ม. 5/2
▪ กณิศา หวังศุภดิลก เลขที่ 6 ชั้น ม. 5/2
▪ รักจิรา จันทร์สุคนธ์ เลขที่ 11 ชั้น ม. 5/2

You might also like