You are on page 1of 27

รายวิชา ชีววิทยาเพิ่มเติม 3

ว30243 (ม.5 เทอม 2)


sperm (n) + polar nuclei (n,n) = endosperm (3n) โพรแคมเบียม คอร์ก แคมเบียม สเคลอเรงไคมา
การเกิดผล/เมล็ด sperm (n) + egg (n) = Zygote (2n) กราวด์เมอริสเต็ม วาสคิวลาร์ แคมเบียม เพริเดิร์ม คอลเรงไคมา
โพรโทเดิร์ม เอพิเดอร์มิส พาเรงไคมา
การถ่ายละอองเรณู การปฏิสนธิซ้อน
1.ส่วนปลาย / 2.เหนือข้อ 3. ด้านข้าง 1. เนื้อเยื่อผิว 2. เนื้อเยื่อพื้น
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย ระยะแรก ระยะที่สอง ถาวรเชิงเดี่ยว เอนโดเดอร์มิส
(พบเฉพาะราก)
สมบูรณ์เพศ/ไม่สมบูรณ์เพศ โครงสร้างของดอก ดอกเดี่ยว/ดอกช่อ เนื้อเยื่อเจริญ เนื้อเยื่อพืช เนื้อเยื่อถาวร

วัฏจักรชีวิตของพืช ถาวรเชิงซ้อน
3. เนื้อเยื่อลาเลียง
ระยะแกมีโทไฟต์ (n)
ระยะสปอโรไฟต์ (2n) รายวิชา ชีววิทยาเพิ่มเติม 3 ราก โฟลเอ็ม (อาหาร) ไซเล็ม (น้า)
ซีฟทิวบ์เมมเบอร์
ว30243 (ม.5 เทอม 2) ลาต้น คอมพาเนียน
เทรคีด
เวสเซล
ใบ โฟลเอ็มพาเรงไคมา ไซเล็มพาเรงไคมา
โฟลเอ็มไฟเบอร์ ไซเล็มไฟเบอร์

1. ลาเลียง 2. แลกเปลี่ยนแก๊ส 3. ลาเลียง 4. ลาเลียง สารสี/แสง/การทดลองของนักวิทยาศาสตร์


น้า /คายน้า ธาตุอาหาร อาหาร
จากสิ่งแวดล้อม ออสโมซิส/น้าเคลื่อนจาก กลไกการลาเลียง
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ฮอร์โมนพืช 5 ชนิด การตอบสนองของพืช
สู่รากพืช ชลศักย์สูงไปต่า อาหารของมึนซ์
ออกซิน สัมพันธ์กับสิ่งเร้า
ลาเลียงน้า 1. light reaction เกิดที่ไทลาคอยด์ สร้างพลังงาน tropic
ซิมพลาสต์ ทรานส์เมมเบรน อะโพพลาสต์ ไซโทไคนิน
สู่ไซเล็ม 2. Calvin cycle เกิดที่สโตรมา สร้างน้าตาล/ใช้พลังงาน
ผ่านพลาสโมเดสมาตา ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ผ่านช่องว่างระหว่างเซลล์ จิบเบอเรลลิน ไม่สัมพันธ์กับสิ่งเร้า
ลาเลียงน้า โฟโตเรสไพเรชัน เอทิลีน nastic
ซึมตามรูเล็ก /แรงดึงจากการคายน้า /ความดันราก
ภายในไซเล็ม ความเครียด
อาศัย Adhesion/Cohesion/ชลศักย์ กรดแอบไซซิค
บทที่ 8 การสืบพันธุข์ องพืชดอก
1. การสืบพันธุ์ของพืชดอกโดยทั่วไปมี 2 แบบ ได้แก่
1.1 การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction)
1.1.1 การแตกหน่อ (Budding) เช่น ขิง ข่า กล้วย ไผ่
1.1.2 การสร้างสปอร์ (sporulation) เช่น มอส เฟิน มีการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส ได้ลักษณะ
1.1.3 การสืบพันธุ์โดยใช้สโตลอน (Stolon) เช่น บัว สตรอเบอรี เหมือนต้นแม่ ไม่มีการกลายพันธุ์
1.1.4 การขาดออกเป็นท่อน (Fragmentation) เช่น มอส ไม่มีความหลากหลายทางพันธุกรรม
1.1.5 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (Tissue culture) เช่น กล้วยไม้
1.2 การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction)
มีการรวมกันของเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้กับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย กระบวนการทั้งหมดที่เกิดขึ้นในดอก มีดังนี้
- มีการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโอซิสเพื่อสร้างสปอร์
- สปอร์เจริญเป็นแกมีโทไฟต์
- แกมีโทไฟต์แบ่งเซลล์แบบไมโทซิสเพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์
- มีการปฏิสนธิของเซลล์สืบพันธุ์ ครูณฐกฤต ทรัพย์สิน
- มีการแปรผันทางพันธุกรรม ทาให้ลูกที่ได้สามารถปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ดี โรงเรียนเดชอุดม จ.อุบลราชธานี
อสอบ
โครงสร้างของดอก
.

1. กลีบเลี้ยง (sepal) ทาหน้าที่ ห่อหุ้มป้องกันอันตรายให้กับส่วนต่างๆ _


2. กลีบดอก (petal) ทาหน้าที่ ล่อแมลงให้มาผสมเกสร
3. เกสรตัวผู้ (stamen) ทาหน้าที่ สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ ประกอบด้วย อับเรณู และก้านชูอับเรณู
-

4. เกสรตัวเมีย (pistil) ทาหน้า ที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียหรือไข่ ประกอบด้วย ยอดเกสรตัวเมีย ก้านชูเกสรตัวเมีย และรังไข่


ยอดเกสรตัวเมีย (stigma)
เกสรตัวผู้ อับเรณู (anther)
เกสรตัวเมีย
ก้านชูเกสรตัวเมีย (style)
(stamen) (pistil หรือ carpel)
ก้านชูเกสรตัวผู้
รังไข่ (ovary)
(filament)

ะ . .

Egg
กลีบดอก (petal) " o

กลีบเลี้ยง (sepal)

โอวุล (ovule) เม ด
ฐานรองดอก (receptacle) ~ าน ดอก ( Peduncl e)
ข้
ก้
ล็
2. การจาแนกประเภทของดอก
2.1 ใช้ส่วนประกอบของดอกเป็นเกณฑ์ สามารถจาแนกได้ 2 ชนิด
2.1.1 ดอกครบส่วน (complete flower) หมายถึง ดอกที่มีส่วนประกอบครบทั้ง 4 อย่างคือ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้
และเกสรตัวเมีย เช่น ชบา กุหลาบ บัวหลวง อัญชัญ ผักบุ้ง เป็นต้น
2.1.2 ดอกไม่ครบส่วน (incomplete flower) หมายถึง ดอกที่มีส่วนประกอบไม่ครบ เช่น ตาลึง มะละกอ ฟักทอง เฟื่องฟ้า

1
ไ อ
5
e-ใ ก บ
วง
stigm "

style

และ

2
Fila ั

/ ตาลึง
Anther
(
pdlengrain)
ละออง
เร

ดอกชบา
Male Female
ตื๋
ณู
ลี
ข่
ต้
ยู่
2. การจาแนกประเภทของดอก (ต่อ)
2.2 ใช้อวัยวะสืบพันธุ์ของพืชเป็นเกณฑ์ สามารถจาแนกได้ 2 ชนิด
2.2.1 ดอกสมบูรณ์เพศ (perfect flower) หมายถึง ดอกที่มีทั้งอวัยวะเพศผู้และเพศเมียอยู่ในดอกเดียวกัน เช่น กุหลาบ ชบา
2.2.2 ดอกไม่สมบูรณ์เพศ (imperfect flower) หมายถึง ดอกที่มีอวัยวะเพศผู้และเพศเมียอยู่คนละดอก อาจอยู่ในต้นเดียวกัน
หรือแยกต้นก็ได้ เช่น หน้าวัว มะพร้าว มะละกอ ตาล ฟักทอง บวบ ข้าวโพด

มะละกอ ฟักทอง
2. การจาแนกประเภทของดอก (ต่อ)
2.3 ใช้จานวนดอกที่เกิดบนก้านดอกเป็นเกณฑ์ สามารถจาแนกได้ 2 ชนิด
2.3.1 ดอกเดี่ยว (solitary flower) หมายถึง ดอกที่เกิดเดี่ยวๆ บนก้านดอก ตามซอกใบ กิ่ง หรือลาต้น เช่น ดอกกุหลาบ จาปา
2.3.2 ดอกช่อ (inflorescence flower) หมายถึง ดอกที่เกิดเป็นกลุ่มอยู่บนก้านดอกใหญ่เดียวกัน เช่น บานไม่รู้โรย ทานตะวัน

tt อย
ดอกย่อย เป็นหมัน

จะ ดอก

ดอกย่อย สมบูรณ์เพศ

-
- ""
_

ทานตะวัน
ย่
มี
3. ประเภทของพืช
3.1 พืชไร้ดอก (Gymnosperm) คือ พืชที่ไม่มีดอกห่อหุ้มรังไข่แต่มีเมล็ด เรียกว่า เมล็ดเปลือย (naked seed) เป็นพืชที่มีท่อ
ลาเลียง ภายในท่อลาเลียงจะไม่มีเวสเซล (vessel) ในไซเลม ไม่มีเซลล์คอมพาเนียล (companion cell) ในโฟลเอม มีการสร้างสปอร์ที่ใบ
เรียกว่า สตรอบิลสั (strobilus) เป็นชั้นๆ หรือเรียกว่า โคน (cone) ตัวอย่างพืช เช่น สนสองใบ สนสามใบ ปรง แป๊ะก๊วย

3.2 พืชดอก (Angiosperm) จะมีการสร้างสปอร์ในดอก 2 แบบ คือ


1. เมกะสปอร์ (Megaspore) ซึ่งจะแบ่งตัวเจริญต่อไปเป็นเมกะแกมีโทไฟต์ (megagametophyte) หรือแกมีโทไฟต์เพศเมีย
(female gametophyte) ทาหน้าที่สร้างไข่ (Egg)
2. ไมโครสปอร์ (Microspore) ตัวผู้ ไมโครสปอร์จะแบ่งตัวเจริญต่อไปเป็น ไมโครแกมีโทไฟต์ (microgametophyte) หรือ
แกมีโทไฟต์เพศผู้ (male gametophyte) ทาหน้าที่สร้างสเปิร์ม

4. วัฏจักรชีวิตของพืช (Life cycle) #
-

พืชดอก (Angiosperm) หรือพืชไร้ดอกจะมีวัฏจักรชีวิตแบบสลับ (Alternation of generation) เกิดสลับกันไปมา ได้แก่


4.1 ระยะสปอโรไฟต์ (sporophyte) เซลล์มีโครโมโซมปกติ (2n) เ น ชเ น น ดเจน
4.2 ระยะแกมีโตไฟต์ (gametophyte) เซลล์มีโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่ง (n) ไ ดเจน / พบ ดอก

นไ 1 มา)
( มา )
sporophyte สปอโรไฟต์ ออกดอก
( 2 n) เซล "

Gametophyteln ) im


.

เอ็มบริโอ
( 2h) สปอร์มาเทอร์เซลล์ ,
น อน 2ท > ท
แบ่งเซลล์แบบไมโทซิส แบ่งเซลล์แบบไมโอซิส จาก
-

Megasporeen
)
E
ไซโกต ( 2ท ) สปอร์ G) ni
(ก)

แบ่งเซลล์แบบไมโทซิส icraspore

ทาง
จาก ก nt

การปฏิสนธิ แกมีโตไฟต์ ( ง เ มบ โอ )

£ Gmbryosac

a
{ละ
og, ts

G)
เซลล์สืบพันธุ์ .

pollengr ( ละออง เร 1
โทไฟ /
egg ⇐ &
G) Generatire/ * อ ระยะ แก
sperm ⇐ E
ข้
พื
ชั
ต้
ที่
ชั
ถุ
คื
ฮ๋
อ่
ต้
ม่
อ๋
ถุ่
ต้
มี
นี่คื
อ็
ห็
ป็
ม่
คึ
ม้
ณู
ญู่
ล์
ริ
ต้
ไร
กด 0 การสร้างเซลล์สบื พันธุเ์ พศผู้ ⑥
ใน
Anther (Microsporogenesis)

☒ อับเรณู (anther) ภายในประกอบด้วย


\ อับละอองเรณู (pollen sac) 4 อัน
.

แ เป ยน เ น
12ก) เซล จะ

Microspore
มีไมโครสปอร์มาเทอร์เซลล์จานวนมาก
(n) (n)
(microspore mother cell) (2n)
(ทา (
แ ง จาก 4 1 →
Meiosis ( ไมโล )
โดย ลดโครโมโซม
ก)

จาก มา -
> n
(n) (h)

ไมโครสปอร์ (microspore) (n) 4 เซลล์


(( ไง
เร !
ละออง Mitosis ส)
""
จะ กลาย
เ น เรละออง
จาก ท -) n

1 กลม)
/
malegametophyte นิวเคลียสค่อนข้างกลม (tube nucleus) ( ) ก
-

และนิวเคลียสรูปร่างยาว (generative nucleus) ln)

ละอองเรณู
(pollen grain หรือ male gametophyte)
(n)
ที่
ซิล์
ซิ
ป็
ป็
ม่
บ่
ณู
ณู
ลี่
ล์
ใน โอ ล
เ ด ภาย
การสร้างเซลล์สบื พันธุเ์ พศเมีย
0
(Megasporogenesis) +
12ก) ( 2n)
รังไข่มีออวุล (ovule)
ภายในออวุลประกอบด้วยเซลล์นิวเซลลัส ( Nucellus )
ovule
"

\
เซลล์ตรงกลางนิวเซลลัส เรียกว่า megaspore mother cell (2n)
Meiosis ( บท)

Nucellus
/ megasporemothercdl
( 2ท
)
\
เมกะสปอร์ (megaspore) (n) 4 เซลล์
3 เมกะสปอร์สลายไปเหลือเพียง 1 แ ง เซล อไป
( เมกะ สปอ )

นิวเคลียสของเมกะสปอร์แบ่งไมโทซิส 3 ครั้งได้ 8 นิวเคลียส n

t nt " n

Embrgosac /
< I

มี 7 เซลล์ มีการเรียงตัวกันใหม่ 3 กลุ่ม คือ n

/↳
n n n

< </ ↳ \ง dls


ท n n n n n n n \
Embryosac

1. แอนติโพดัล (Antipodals) 3 เซลล์ ._%ำe , egagametophyte๓

อยู่ตรงข้ามไมโครไพล์ (Micropyle) femalegametophgte


2. โพลาร์นิวคลีไอ (Polar Nuclei) ตรงกลาง 2 นิวเคลียส
3. ตรงรูไมโครไพล์ 3 เซลล์ ซึ่งมีนิวเคลียสตรงกลางใหญ่กว่าอันอื่นเป็น
เซลล์ไข่ อีก 2 เซลล์ที่อยู่ข้างๆ คือ ซินเนอร์จิด (Synergids)
วุ
ต่
กิ
บ่
ล์
ร์
ล้
การสร้างเซลล์สบื พันธุ์เพศเมีย
(Megasporogenesis)
1. กลุ่มที่อยู่ตรงข้ามไมโครไพล์ (Micropyle)
มีนิวเคลียส 3 เซลล์เรียกว่า แอนติโพแดล
(Antipodals)

2. กลุ่มบริเวณตรงกลางมีนิวเคลียส 2 เซลล์
เรียกว่า โพลาร์นิวคลีไอ (Polar Nuclei)

3. กลุ่มทางด้านไมโครไพล์มีนิวเคลียส 3 เซลล์
ซึ่งมีนิวเคลียสอันตรงกลางจะมีขนาดใหญ่กว่าอัน
อื่นเป็นเซลล์ไข่ (Egg Cell)
อีก 2 เซลล์ที่ขนาบข้างเรียกว่า ซินเนอร์จิด
micropyle (Synergids)
เมกะ สปอ
c)
/ ( Embrgosa
(n)

(n)
ร์
6. การผสมพันธุ์ของพืชดอก ประกอบด้ วย 2 ขั้นตอน
พอน ลาน
Pdlenttcstingia
6.1 การถ่ายละอองเรณู (Pollination) คือ การที่ละอองเรณูไปตกลงบนยอดเกสรตัวเมีย โดยอาศัยน้า ลม หรือแมลง เกิดได้ 2 แบบ คือ
-

6.1.1 การถ่ายละอองเรณูภายในดอกเดียวกัน (Self-pollination) เป็นการผสมตัวเองอาจจะเกิดจากการผสมภายในดอกเดียวกัน


r nr r n c. c-

หรือคนละดอกแต่ต้นเดียวกันก็ได้
6.1.2 การถ่ายละอองเรณูต่างดอกหรือข้ามดอกกัน (Cross-pollination) เป็นการถ่ายละอองเรณูของพืชชนิดเดียวกัน ต่างต้นกัน
s r z z zc e ctr fzce CTOZL

และมีคุณสมบัติทางพันธุกรรมต่างกันคือ มียีนไม่เหมือนกัน
ชั
6.2 การปฏิสนธิ (Fertilization) คือ การที่สเปิร์มนิวเคลียสเข้าไปผสมกับเซลล์ไข่ ละอองเรณูตกลงบนยอดเกสรตัวเมีย
ทิวบ์นิวเคลียส สร้าง pollen tube ลงไปในก้านชูยอด
เกสรตัวเมีย
Generative
Tubenucleus เจอเนอเรทีฟนิวเคลียส แบ่งแบบไมโทซิสได้ 2 นิวเคลียส
° ส าง จาก (male gametophyte)
Tlbe ( หลอด ละออง เร ) ทิวบ์นิวเคลียสและสเปิร์มเซลล์ 2 เซลล์ เคลื่อนไป
ตามหลอดละอองเรณู จนเข้าสู่แกมีโตไฟต์เพศเมีย
_
style
จาก
Nuc/
ส าง eus
Generatire ปลายของหลอดจะแตกออก (ทิวบ์นิวเคลียสสลาย)
1ไป หา ส)
( บท) และสเปิร์มเซลล์ (n) ตัวหนึ่งรวมกับเซลล์ไข่

ไซโกต (2n)
(ก,ก)
13ท ) อีกตัวหนึ่งจะเข้าผสมกับโพลานิวคลีไอ (2n)

เอนโดสเปิร์มเซลล์ชุดแรก (3n)

มีการปฏิสนธิ 2 ครั้งติดต่อกัน เรียกว่า


การปฏิสนธิซ้อน (Double Fertilization)
ศู่
ซิ
ร้
ร้
ณู
าน ออ ล

/
วุ
ก้
การ
ป สน อน
Double Fertilization

1 Generative nucleus + Egg Zygote →


Gmbryo
(n) (n) (2n) ( วท)

1 Generative nucleus + 2 polar nuclei Endosperm1


(n) (n),(n) (3n)
-
ถ้าพืชชนิดหนึ่งมีโครโมโซม 2n เท่ากับ 16 แท่ง เอนโดสเปิร์มจะมีโครโมโซมเท่าใด
_

= -24
ซ้
ฏิ
ธิ
การเปลีย่ นแปลงหลังการปฏิสนธิของพืชดอก

โครงสร้างภายในดอกเดิม โครงสร้างหลังการปฏิสนธิ
ไข่ (Egg) + สเปิร์ม (Generative) เอ็มบริโอ (Embryo) หรือ ต้นอ่อน
โพลาร์นิวคลีไอ (Polar nuclei) + สเปิร์ม (Generative) เอนโดสเปิร์ม (Endosperm) หรือ เนื้อในเมล็ด
รังไข่ (Ovary) ผล (Fruit)
ผนังรังไข่ (Ovary wall) เปลือกและเนื้อของผล (Pericarp)
ออวุล (Ovule) เมล็ด (Seed)
เยื่อหุ้มออวุล (Intergument) เปลือกหุ้มเมล็ด (Seed coat)

แอนติโพดัล (Antipodal) และซินเนอร์จิด (Synergid) จะสลายไป


การเกิดผล
- ภายหลังการปฏิสนธิ ออวุลจะเจริญไปเป็นเมล็ด ส่วนรังไข่จะเจริญไปเป็นผล
- ผลบางชนิดที่สามารถเจริญมาจากฐานรองดอก ได้แก่ สตรอเบอรี่ ชมพู่ แอปเปิ้ล สาลี่ ฝรั่ง
- ผลของพืชบางชนิดอาจเจริญเติบโตมาจากรังไข่โดยไม่มีการปฏิสนธิ แต่ออวุลไม่เจริญเติบโตเป็นเมล็ด ส่วนรังไข่สามารถเจริญเติบโต
เป็นผลได้ เช่น กล้วยหอม องุ่นไม่มีเมล็ด

นักพฤกษศาสตร์ได้แบ่งผลตามลักษณะของดอกและการเกิดผลออกเป็น 3 ชนิด ดังนี้


1. ผลเดี่ยว (simple fruit) เป็นผลที่เกิดจากดอกเดี่ยว หรือ ช่อดอกซึ่งแต่ละดอกมีรังไข่เพียงอันเดียวเช่น ลิ้นจี่ เงาะ
ลาไย ทุเรียน ตะขบ เป็นต้น
2. ผลกลุม่ (aggregate fruit) เป็นผลที่เกิดจากดอกหนึ่งดอกซึ่งมีหลายรังไข่อยู่แยกกันหรือติดกันก็ได้อยู่บน
ฐานรองดอกเดียวกัน เช่น น้อยหน่า กระดังงา สตรอเบอรี่ เป็นต้น
3. ผลรวม (multiple fruit) เป็นผลเกิดจากรังไข่ของดอกย่อยแต่ละดอกของช่อดอกหลอมรวมกันเป็นผลใหญ่ เช่น
ยอ ขนุน หม่อน สับปะรด เป็นต้น
ผลเดี่ยว ผลกลุ่ม ผลรวม
ลิ้นจี่ เงาะ ลาไย ทุเรียน น้อยหน่า กระดังงา สตรอเบอรี่ ยอ ขนุน หม่อน สับปะรด
การเกิดเมล็ด เมล็ด คือ ออวุลที่เจริญเติบโตเต็มที่ประกอบด้วยเอ็มบริโอที่อยูภ่ ายใน
ส่วนประกอบของเมล็ด
1. เปลือกหุม้ เมล็ดเป็นส่วนที่อยู่นอกสุดของเมล็ดเจริญเติบโตมาจากเนื้อเยื่อชั้นนอกสุดของออวุลทาหน้าที่ป้องกันอันตรายต่างๆ ให้แก่
เอ็มบริโอที่อยู่ภายในเมล็ด
2. เอ็มบริโอ จะเจริญไปเป็นต้นพืช ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้
2.1 ใบเลี้ยง (cotyledon) ช่วยสะสมอาหารให้ต้นอ่อน
2.2 เอพิคอทิล (epicotyl) อยูเ่ หนือตาแหน่งที่ติดกับใบเลี้ยง จะเจริญเติบโตไปเป็นลาต้น ใบ และดอก
2.3 ไฮโพคอทิล (hypocotyl) อยูใ่ ต้ตาแหน่งที่ติดกับใบเลี้ยง ในระหว่างการงอกจะช่วยดึงใบเลี้ยงให้ขึ้นเหนือดิน
2.4 แรดิเคิล (radicle) เป็นส่วนล่างสุดของเอ็มบริโออยู่ต่อจากไฮโพคอทิลลงมา จะเจริญเป็นราก
3. เอนโดสเปิรม์ เป็นเนื้อเยื่อที่มีอาหารสะสมไว้สาหรับการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอ อาหารส่วนใหญ่เป็นประเภทแป้ง โปรตีน และ
ไขมัน เมล็ดละหุ่ง เมล็ดละมุด มีเอนโดสเปิร์มหนามาก เมล็ดพืชบางชนิดไม่มีเอนโดสเปิร์มเนื่องจากสะสมอาหารไว้ที่ใบเลี้ยง

You might also like