You are on page 1of 214

เฉ จ
พา ก
สร้างอนาคตเด็กไทย ะค ฟ
รูผ
ู้สอ ร
น ี
ด้วยนวัตกรรมการเรียนรูร
้ ะดับโลก

คู่มือครู
˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ Á. ๒
คูม
่ อ
ื ครู อจท.
ใช้ประกอบการสอนคู่กับหนังสือเรียน

วิธีการสอนเพื่อยกผลสัมฤทธิ์
เพิ่ม ผ่านกระบวนการเรียนรู้ 5Es

ข้อสอบวัดความสามารถ

เพิ่ม
ด้านการเรียนตามแนวสอบ
O-NET ใหม่

ตัวอย่างข้อสอบ O-NET
เพื่อชี้แนะเนื้อหาที่เคย
เพิ่ม ออกข้อสอบ

กิจกรรมบูรณาการทักษะชีวิต

ใหม่
และการทำงานตามแนวคิด
เศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรมเสริมสร้างประสบการณ์
พร้อม การเรียนรู้สอ
ู่ าเซียน

>> ราคาเล่มนักเรียนโปรดดูจากใบสัง
่ ซือ
้ ของ อจท. ภาพปกนีม
้ ข
ี นาดเท่ากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน
คู่มือครู บร. ภาษาไทย วรรณคดีฯ ม.2

บริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด


142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
โทร. /แฟกซ์. 02 6222 999 (อัตโนมัติ 20 คูส
่ าย) 8 858649 121318
www.aksorn.com Aksorn ACT 350 .-
ราคานี้ เป็นของฉบับคูม
่ อ
ื ครูเท่านัน

เอกสารประกอบคูมือครู
กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย

ภาษาไทย
วรรณคดีและวรรณกรรม
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 สําหรับครู

ลักษณะเดน คูมือครู Version ใหม


ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน
เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ

กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate Engage Explore Explain Expand Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

สมรรถนะของผูเรียน

คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า หน า
โซน 1 หนั ง สื อ เรี ย น หนั ง สื อ เรี ย น โซน 1
กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขอสอบเนน การคิด ขอสอบเนน การคิด


แนว  NT  O-NE T แนว O-NET เกร็ดแนะครู

ขอสอบ O-NET
นักเรียนควรรู
บูรณาการเชื่อมสาระ
โซน 2 โซน 3 โซน 3 โซน 2
กิจกรรมสรางเสริม บูรณาการ
เศรษฐกิจพอเพียง
กิจกรรมทาทาย
บูรณาการอาเซียน

มุม IT

No. คูมือครู คูมือครู No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน


เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย
การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ
การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม
เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด กิจกรรมบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง และ กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ
มุม IT O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด
พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด
แถบสีและสัญลักษณ ที่ใชในคูมือครู

1. แถบสี 5Es แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม


แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด
สีแดง สีเขียว สีสม สีฟา สีมวง

กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล


Engage Explore Explain Expand Evaluate
เสร�ม
2 • เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช • เปนขั้นที่ผูสอน • เปนขั้นที่ผูสอน • เปนขั้นที่ผูสอน • เปนขั้นที่ผูสอน
เทคนิคกระตุน ใหผูเรียนสํารวจ ใหผูเรียนคนหา ใหผูเรียนนําความรู ประเมินมโนทัศน
ความสนใจ เพื่อโยง ปญหา และศึกษา คําตอบ จนเกิดความรู ไปคิดคนตอๆ ไป ของผูเรียน
เขาสูบทเรียน ขอมูล เชิงประจักษ

2. สัญลักษณ
สัญลักษณ วัตถุประสงค สัญลักษณ วัตถุประสงค

• แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน • ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ


ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ
ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น ขอสอบ O-NET O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ
พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ
เปาหมายการเรียนรู กับนักเรียน อยางละเอียด
(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET)
• แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน • เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน
ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ขอสอบเนน การคิด การคิดและเปนแนวขอสอบ
ตามตัวชี้วัด แนว  NT  O-NE T
หลักฐานแสดง NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา
ผลการเรียนรู ตอนตน มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย
(เฉพาะระดับชัน้
มัธยมศึกษาตอนตน) พรอมเฉลยอยางละเอียด
• แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ
ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด • เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน
กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ ขอสอบเนน การคิด การคิดและเปนแนวขอสอบ
เกร็ดแนะครู จัดการเรียนการสอน แนว O-NET O-NET ในระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย
(เฉพาะระดับชัน้
• ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให มัธยมศึกษาตอนปลาย)
พรอมเฉลยอยางละเอียด
ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน
ไดมีความรูมากขึ้น • แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม
นักเรียนควรรู
เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ
บูรณาการเชื่อมสาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่
• กิจกรรมเสริมสรางพฤติกรรมและปลูกฝง ทีเ่ กีย่ วของ
คานิยมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
บูรณาการ
เศรษฐกิจพอเพียง
• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม
• ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช กิจกรรมสรางเสริม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร
เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู
ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย
บูรณาการอาเซียน บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน
• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม
ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู
• แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให
กิจกรรมทาทาย ไดอยางรวดเร็ว และตองการ
ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ทาทายความสามารถในระดับ
ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ ทีส่ งู ขึน้
มุม IT

คูม อื ครู
5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es
ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ
วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย
ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้
ขั้นที่ 1 กระตุนความสนใจ (Engage)
เสร�ม
เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ
และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ 3
สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง
แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2 สํารวจคนหา (Explore)


เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง
วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน
ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ
เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3 อธิบายความรู (Explain)


เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล
ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน
เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห
อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4 ขยายความเขาใจ (Expand)


เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ
การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง
กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน
ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี
คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)


เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ
ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ
สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ
มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ
และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน


เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ
ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ
เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2
(พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ

คูม อื ครู
คําอธิบายรายวิชา
รายวิชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1-2
รหัสวิชา ท………………………………… เวลา 60 ชั่วโมง/ป

ฝกทักษะการอาน การเขียน การฟง การดูและการพูด การวิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรม โดยศึกษาเกี่ยวกับ


เสร�ม การอานออกเสียง การอานในใจความ การอานตามความสนใจ การอานจับใจความสําคัญของเรือ่ ง พิจารณาวิเคราะหวจิ ารณ
4 ลักษณะนิสัยของตัวละครในเรื่อง การพิจารณาจุดมุงหมายของผูเขียนวา มีทํานองหรือแนวคิดไปในทิศทางใด หรือชักชวน
ใหเชือ่ ถือในเรือ่ งใด ฝกทักษะการพูดแสดงความคิดเห็นอยางเปนเหตุเปนผล พูดวิเคราะหวจิ ารณจากเรือ่ งทีอ่ า น พูดรายงาน
การศึกษาคนควา และศึกษาเกีย่ วกับคําภาษาตางประเทศทีป่ ะปนในวรรณคดีและวรรณกรรมไทยวิเคราะหวถิ ไี ทย ประเมินคา
ความรูและขอคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม ทองจําบทอาขยานที่กําหนดในบทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและ
สามัคคีเสวก บทละครเรือ่ งรามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก โคลงสุภาษิตพระราชนิพนธพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา-
เจาอยูหัว กลอนดอกสรอยรําพึงในปาชา นิราศเมืองแกลง และบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ
โดยใชกระบวนการอานเพื่อสรางความรูความคิดนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต กระบวนการเขียน
เขียนสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพกระบวนการฟง การดู และการพูด สามารถเลือกฟงและดู และพูดแสดงความรูความคิด
อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค เพื่อใหเขาใจธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา พลังภาษา
ภูมปิ ญ ญาทางภาษาวิเคราะหวจิ ารณวรรณคดีและวรรณกรรมอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวติ จริง รักษาภาษาไทย
ไวเปนสมบัติของชาติ และมีนิสัยรักการอาน การเขียน มีมารยาทในการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด

ตัวชี้วัด
ส 5.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5
รวม 5 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

ภาษาไทย
วรรณคดีและวรรณกรรม ม.๒
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง
นางฟองจันทร สุขยิ่ง
นางกัลยา สหชาติโกสีย
นางสาวศรีวรรณ ชอยหิรัญ
นายภาสกร เกิดออน
นางสาวระวีวรรณ อินทรประพันธ
ผูตรวจ
นางประนอม พงษเผือก
นางจินตนา วีรเกียรติสุนทร
นางวรวรรณ คงมานุสรณ
บรรณาธิการ
นายเอกรินทร สี่มหาศาล

รหัสสินคา ๒๒๑๑๐๐๘

รหัสสินคา ๒๒๑๑๐๐๖

¾ÔÁ¾¤ÃÑ駷Õè 6 คณะผูจัดทําคูมือครู
ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ 2241017 ประนอม พงษเผือก
พิมพรรณ เพ็ญศิริ
สมปอง ประทีปชวง
เกศรินทร หาญดํารงครักษ
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

ภาษาไทย
วรรณคดีและวรรณกรรม ม.๒
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

หนังสือเลมนี้ไดรับการคุมครองตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ หามมิใหผูใด ทําซ้ํา คัดลอก เลียนแบบ ทําสําเนา จําลองงานจากตนฉบับหรือแปลงเปนรูปแบบอื่น


ตือน

ในวิธีตางๆ ทุกวิธี ไมวาทั้งหมดหรือบางสวน โดยมิไดรับอนุญาตจากเจาของลิขสิทธิ์ถือเปนการละเมิด ผูกระทําจะตองรับผิดทั้งทางแพงและทางอาญา


คําเ

พิมพครั้งที่ ๖
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹
หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน วรรณคดีและวรรณกรรมเลมนี้ สรางขึ้นเพื่อใหเปนสื่อสําหรับ
ใชประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒
โดยเนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและ
ชวยพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรและตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูตามโครงสรางรายวิชา
สะดวกแกการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอื่นๆ ที่จะชวยทําให
ผูเรียนไดรับความรูอยางมีประสิทธิภาพ
ºÍ¡àÅ‹Òà¡ŒÒÊÔº ໚¹àÃ×èͧ¹‹ÒÃÙŒà¾ÔèÁàµÔÁ¨Ò¡à¹×éÍËÒ
â´ÂÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ
µÑǪÕéÇÑ´áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ µÒÁ·ÕèËÅÑ¡Êٵà ẋ§à¹×Íé ËÒ໚¹ËÑÇ¢ŒÍà¾×Íè ÊÌҧ¤ÇÒÁࢌÒã¨
¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ ·Õè໚¹ÅíҴѺ¢Ñé¹
ºÍ¡àÅ‹Òà¡ŒÒÊÔº

๑ ¤ÇÒÁ໚¹ÁÒ
บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ เปนวรรณคดี

ที่ มี ค วามสํ า คั ญ เรื่ อ งหนึ่ ง และมี อิ ท ธิ พ ลต
ความคิดความเชือ่ ของคนไทย ในประวัตวิ รรณคดี
พบว า ไทยได รั บ เค า เรื่ อ งมาจากมห ากาพย

“รามายณ ะ” ของอิ น เดี ย ซึ่ ง เผยแพร ม ายั
ประเทศไท ยไม ตํ่ า กว า ๙๐๐ ป ดั ง ปรากฏ
าพ
หลักฐานสําคัญที่ปราสาทหินพิมาย ซึ่งมีภ
น-
สลักศิลาเรื่องรามเกียรติ์ ในศิลาจารึกพอขุ รู ป ป  น พระพิ ฆ เนศที่ วิ ท ยาลั ย นาฏศิ
ล ป กรุ ง เทพฯ รูปปนพระวิศวกรรมที่มหาวิทยาลั
ดา ออกแบบโดยศาสตราจารยศิลป
รามคําแหงมีการกลาวถึงถํ้าพระรามและถํ้าสี ในการจัดสรางวัตถุมงคลของกรมศิ
พีระศรี เปนตนแบบ ราชมงคลรัตนโกสินทร วิทยาเขตเพ
ยเทคโนโลยี-
เรื่องรามเกียรติ์ที่ปรากฏในวรรณคดีเดิมนั้นจะมี ลปากร าะชาง
ทย ภาพศิลาจําหลักบนทับหลังที่ปราสาทหินพิมายแสดงภาพ
หรือไม ไมพบหลักฐานแนชัดแตมีวรรณคดีไ พระพิฆเนศ
รติ์ รามเกียรติ์ ตอน พระลักษมณตองศรนาคบาศ
หลายเรื่องที่ยกเหตุการณจากเรื่องรามเกีย พระวิศวกรรม
า) พระพิฆเนศเปนเทพทีม่ รี ปู กายเป
ไปกลาวอาง เชน ราชาพิลาปคําฉันท (นิราศสีด อภายใน มีพระเศียรเปนชาง เปนเทพแห นมนุษย พระวิศวกรรมเปนเทวดานายช
ครวญของพ ระราม ตอนออกเดินทางติดตามหานางสีดาหรื างใหญ
มีเนื้อความที่เปนการพรรณนาครํ่า เปรื่ อ งในศิ ล ปะทุ ก แขนงแล
งความปราด ผูสรางเครื่องมือและสิ่งของทั
ื่องรามเกียรติ์ ดังบทประพันธ ะเป น เทพที่ อ ยู  ้งหลายใหเกิดขึ้น
โคลงทวาทศมาสก็มีการกลาวอางชื่อตัวละครจากเร และเปนแบบอยางใหแกมนุษ

ó
เหนืออุปสรรคหรือสามารถขจั ยสืบมา
ดความขัดของ ชางไทยใหความเคารพบูชาพระวิ
ทศรถ ทั้งมวลได ศ วกรรม
“ปางบุตรนคเรศไท เมื่ อ พิ จ ารณาค วามหม ายในทา ในฐานะครูชา ง ดังจะเห็นไดวา มี
การประดษิ ฐาน
หนวยที่ จากสีดาเดียวลี ลาศแลว”
พระวรกายที่อวนพี มีความหมา งสรี ร ะ รูปพระวิศวกรรมตามสถาบ
ันการศึกษาทาง
ยวา ความ การชาง โดยนิยมสรางอยูส
ศิลาจารึกหลักที่๑ งเกา บทละครรามเกียรติ์ครั้งกรุงเกาและบท อุดมสมบูรณ พระเศียรที่เปน องปาง คือ ปาง
นอกจากนี้ ยังมีบทพากยรามเกียรติ์ครั้งกรุ
ชาง (พระเศียร ประทับนั่งหอยพระบาท พระหั
ใหญ) หมายถึงมีปญญามาก ตถขางหนึ่งถือ
า กรุ ง ธนบุ ร ี ดั งบทประพันธ พระเนตรที่เล็ก “ผึง้ ” (จอบสําหรับขุดไม) อีกขางถื
ตัวชี้วัด พระราชนิ พ นธ ข องสมเด็ จ พระเจ คือ สามารถแยกแยะสิง่ ถูกผิด อ “ดิง่ ” และปาง
พระกรรณและ ประทับยืน พระหัตถขวาถือไม


สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน (ท
วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน พรอ
๕.๑ ม.๒/๑)
มยกเหตุผลประกอบ
พ อขุนรามคําแหงมหาราชกษตั ริยร าชวงศ “บัดนั้น นวลนางสีดามารศรี พระนาสิกที่ใหญ หมายถึง
สามารถพิจารณาสิง่ ตางๆ ได
มีสัมผัสที่พิเศษ พระหัตถซายถือลูกดิ่งหรือไม
เมตรหรือไมวา
ฉาก ซึ่ง
พระร ว ง แห ง อาณาจั ก รสุ โ ขทั ย ทรงประดิ ขานี้เปนเมียพระรามา” อยางดีเลิศและมี เครื่ อ งมื อ ช า งสํ า หรั บ วั ด ระยะแล ลวนเปน
(ท ๕.๑ ม.๒/๒)
■ อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ
าน (ท ๕.๑ ม.๒/๓) อักษรไทย เมือ่ พ.ศ. ๑๘๒๖ และโปรดเกลา
ษ ฐ
ฯ ใหจารึก
กมเกลากราบทูลทันที พระพาหนะเปนหนู ซึ่งอาจเปร
ียบไดกับความ ะวั ด ความ
■ สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพื่อประยุก
ตใชในชีวิตจริง พระราชประ วั ติ ข องพระองค ความเป คิดที่พุงพลาน รวดเร็ว เที่ยงตรงเปนการแฝงปรัชญาให
(ท ๕.๑ ม.๒/๔) น มาของ
ก ารณ เ สี ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาครั ้งที่ ๒ วรรณคดีของชาติถูกเผาทําลาย เปนผูมีความแมนยํา เที่ยงตรง
ชางทั้งหลาย
อาณาจักรสุโขทัย พระราชกรณียกิจที่สํา
คัญ วิถีชีวิต เมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐ ในเหตุ ไมเอนเอียงใน
และสภาพบานเมืองสมัยสุโขทัยไวในหลั งกอบกู เอกราชและตั้งกรุงธนบุรีเปนราชธานี ทางปฏิบัติและวิชาชีพ
เปนจํานวนมาก ครั้นสมเด็จพระเจาตากสินมหาราชทร
สาระการเรียนรูแกนกลาง กศิลาหรือที่
คนไทยเรียกวา “ศิลาจารึก”
การวิเคราะหคุณคาและขอคิดจากวรรณคดี
ราชนิพนธรามเกียรติ์ในตอน พระมงกุฎประลองศร
พระองคทรงฟนฟูวรรณคดีของชาติ โดยทรงพระ

และวรรณกรรม เรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ เปนหลักฐานทางโบราณ


คดีชิ้น
สําคัญที่ทําใหชาวไทยไดเรียนรูประวัติศาสตร
ของชาติและ
ม านเกี ย
้ วนางวานริ น ตอน ท า วมาลี ว ราชว าความและตอน ทศกัณฐตั้งพิธีทรายกรด (ที่มา: http://www. siamgan
วิวัฒนาการของภาษาไทย นับเปนภูมิปญ
ญาอันชาญฉลาด ตอน หนุ esh.com/index.html)
ของบรรพบุรุษไทยที่จารึกลงบนหลักศิล ๒๖
า ทําใหขอมูลทาง
ประวัตศิ าสตรและโบราณคดีสมัยสุโขทัย
ไดรบั การเก็บรักษาไว ๕๓

à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ
ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹
¤íÒÈѾ·¤ÇÃÃÙŒ ¨Ò¡à¹×éÍËÒà¾×Íè à¾ÔÁè ¾Ù¹áÅТÂÒÂ
¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙ㌠ˌ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä»
Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ ¤í Ò ¶ÒÁ»ÃШí Ò Ë¹‹ Ç Â¡ÒÃàÃÕ Â ¹ÃÙŒ á ÅÐ¡Ô ¨ ¡ÃÃÁÊÃŒ Ò §ÊÃä
µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãˌ͋ҹ·íÒ¤ÇÒÁࢌÒã¨ä´Œ§‹Ò ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒà¾×è;Ѳ¹Ò¼ÙŒàÃÕ¹ãËŒÁդسÀÒ¾µÒÁµÑǪÕéÇÑ´
�ย ล่าช้าง
คว�มหม ่า คือ เห
“ศรีวิไลวิลาสดีเป็นศรีเมือง” หารสี่เหล
ด้วยเหตุนี้นานาประเทศจึงต่างยกย่องศิลปะว่าเป็นสิ่ง ยถึง พลท
เสนา หมา
คือ ศิลปะเป็นสิง่ แสดงความเจรญ ิ ของบ้านเมือง เป็นสิง่ ทีส่ วยงามและเป็นเกียรติเป็นศรีแ
ก่ประเทศชาติ
คำ�ศัพท์ � า เต ม

มาจากค ล่าม้า เหล่า
จัตุรงค ราบ
นกยูง
ค�ำถำม ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้
ซึ่งหากชาติใดไม่มีความสงบสุข คนในชาติ แพนของ
นอกจากนี้ศิลปะยังเป็นสิ่งแสดงถึงความสงบสุขของชาติ เหล่ารถ เห งออกร�า
ผลงานศิลปะ แต่หากชาติใดบ้านเมือง จัตุรงค์ ผ่แพนหา
ก็จะมุ่งต่อสู้ทำาศึกสงครามจนไม่มีเวลาสนใจในการสร้างสรรค์ อาการแ ไหมห้อย ป
๑. ขณะนี้มีการส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ต่อกันแพร่หลาย (ที่เรียกว่า Forward Mail) นักเรียนจะน�า
านเมืองให้งดงาม ท�าเนียบ ชั้น มีสาย ม เป็นรู
สงบสุข คนในชาติก็ย่อมสร้างสรรค์ศิลปะเพื่อประดับประดาบ้
ข้อคิดจากโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการในข้อใดไปใช้เพื่อเป็นหลักในการพิจารณาข้อมูลที่ได้รับ
า แห น่ ง ต รส าม ว ดอกกล
ฉว
าง ต�
รื่องสูง เป
็นรูป ฉั ้ายใบแก้ ๒. นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดนิทานอีสปจึงเป็นที่รู้จักแพร่หลายไปทั่วโลก
หนึ่งในเค ้พุ่ม ใบคล
งระวาง าง เป็นไม
ช้า หร อ
ื ช้ อ งน ๓. “สามสิ่งควรเกลียด สามสิ่งควรรังเกียจติเตียน สามสิ่งควรสงสัย สามสิ่งควรละ” ที่กล่าวใน
สาย ซร้องนาง ม โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ และถ้าปฏิบัติตามจะเกิดผลดีอย่างไรบ้าง
ชุม ปากแตร ถึง ไม่แหล ้ม
้องนงพงา ทู่ หมาย ลเข ๔. ให้นักเรียนเลือกบทประพันธ์ในหน่วยการเรียนรู้นี้ ๑ บท มาถอดค�าประพันธ์และบอกข้อดีใน
ซร โทษของ ง สีน�้าตา
เป็นรูปโท นาดกลา การปฏิบัติตาม
าย ค ือ กวางข ๆ อยู่ทั่วไป
เนื้อ ทร วจาง ๕. นิทานอีสปแต่ละเรื่องที่น�ามาศึกษาให้ข้อคิดอย่างไรบ้าง จงอธิบาย
ถู้ ตา มล า
� ตั วมีจุดขา เนื้อทราย
าย าฝูง
ทร ญ่ที่เป็นจ่ สีทองแด

ช้างตัวให ีกายเป็น
ลหนึ่ง ส
ทอ ก ช้างตระกู ระ ที น
่ ั่ง ล้ า ย
ังเป็นช้างพ ีเกล็ด รูป
ร่างค ง
งแดง ชื่อช้างพ หนึ่ง ไม่ม บอก และครีบท้

ทอ �้าจืดชนิด รี
ีลา ชื่อปลาน แต่มีครีบหลัง ค ขาวเด่นอยู่เหนือ
เทพล ย
ปลาสวา ็นเส้น และมีจุดสี ้ม
จิตรกรรมฝาผนัง วิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพน- เท พา วเป
ยื่นยา ะหลังกระพ ง
ุ ้ แก
ร่างคล้าย เทพา กิจกรรม สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้
หน้าบันปูนปั้นตามแบบศิลปะพระราชนิยมในรัชกาล ครีบอกแล ีเกล็ด รูป
วิมลมังคลาราม ฝีมือช่างสมัยต้นรัตนโกสินทร์ ที่มี หนึ่ง ไม่ม ู่เหนือครีบอก
ที่ ๓ ที่ พ ระอุ โ บสถวั ด พิ ชั ย ญาติ ก าราม แสดงให้ �้าจืดชนิด อย
ความสามารถในการเขียนภาพและระบายสีให้เกิดเป็น ชื่อปลาน แต่มีจุดสีด�าเด่น ดตามยาว เดียว กิจกรรมที่ ๑ ใ ห้นักเรียนอ่านนิทานอีสปเรื่องอื่นๆ เพิ่มเติม น�ามาเล่าหน้าชั้นเรียน ระบุข้อคิดที่
เห็นถึงฝีมือและความสามารถของช่างปั้นในการใช้ ย กินอยู่ตัว
วั ส ดุ ป ระเภทปู น และอื่ น ๆ มาสร้ า งให้ เ ป็ น รู ป ทรง
ลวดลายต่างๆ ได้อย่างงดงาม
โพ ปลาสวา สีเรียบไม่มีลายพา แย กจ ากฝูงไปหา ได้รับจากเรื่อง
และลวดลายที่สวยงาม เท พื้นล�าตัว ถึงช้างท
ี่ชอบ
ญรุ่งเรืองของชาติและคน รือหมาย
ศิลปะจึงมีคุณค่าในฐานะที่เป็นเครื่องแสดงถึงความเจริ โดดเดี่ยว ห ัพ กิจกรรมที่ ๒ เ ขียนเรียงความแสดงความคิดเห็น โดยน�าหัวข้อจากโคลงสุภาษิตมาเป็นประเด็น
้ากองท
ค์ที่จะเห็นคนไทยให้ความสำาคัญ ธงน�าหน ยของชัย
ชนะ เช่นมิตรสหายที่ดี หนังสือดี อ�านาจปัญญา เป็นต้น
ในชาติ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงมีพระราชประสง โทน เครื่องหมา ท่าไก่บ้าน
บ สนุ น ศิ ล ปิ น และบำ า รุ ง ศิ ล ปะตลอดจน ธงซึ่งเป็น
กั บ ศิ ล ปะและวิ ช าช่ า งแขนงต่ า งๆ ด้ ว ยการช่ ว ยกั น สนั ธงฉา

ิดหนึ่ง ต
ัวใหญ่เ ยาวด�า ตาแดง
่ว่า “เราช่วยช่างเหมือนอย่างช่วยบ้านเมือง ชื่อนกชน ลแดง ตัวด�า หาง ปากงุ้ม
กิจกรรมที่ ๓ ใ ห้นักเรียนแต่งค�าขวัญที่มีเนื้อความสอดคล้องกับโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ โดยใช้
วิชาช่างของไทยให้มีความมั่นคงถาวรสืบไป ดังความที ธง ไช ย
่า นกตั้วหรือ
นกกระต
ั้ว
ค�าไม่เกิน ๒๐ ค�า แต่งให้มีสัมผัสคล้องจอง
ให้ประเทืองเทศไทยอันไพศาล” กด ปีกสีน�้าตา นก
ั้ว เป็นชื่อ ก้ว แต่ตัวโตกว 89
ัคคี บทเสภา ตอน สามัคคีเสวก มุ่งแสดง นก ือนกกระต กแ
๓) สะท้อนคุ ณ ธรรมหน้ า ที แ
่ ละความสาม นกตั้วหร นึ่ง ลักษณะคล้ายน

งพร้อมใจกันปฏิบัติหน้าที่ในตำาแหน่งของตน จ� า พว กห
ความคิดที่ว่า ชาติจะดำารงอยู่ได้อย่างมั่นคง ข้าราชการต้อ นก
ตั้ว
ความเคร่งครัดในระเบียบวินัย ซึ่งล้วนแต่
ด้วยความพยายาม ไม่คำานึงถึงความสุขส่วนตัว ตลอดจนมี
ง มี ต่ อ พระมหากษั ต ริ ย์ ผู้ ท รงเป็ น
เป็ น ความประพฤ ติ ที่ แ สดงถึ ง ความจงรั ก ภั ก ดี ที่ ข้ า ราชการพึ
คคีปรองดองให้สมกับเป็นข้าราชการ
“เหมือนบิดาบังเกิดหัว” และที่สำาคัญที่สุดคือต้องมีความสามั 139
เ ดี ย วกั น ดั ง บทประพั น ธ์
ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวองค์
30
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

สารบัญ
ตอนที่ ๕
วรรณคดีและวรรณกรรม
บทนํา (๑)
หนวยการเรียนรูที่ ๑ โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ๒
หนวยการเรียนรูที่ ๒ บทเสภาสามัคคีเสวก ๑๘
ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก
หนวยการเรียนรูที่ ๓ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๓๔
หนวยการเรียนรูที่ ๔ บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ๕๒
ตอน นารายณปราบนนทก
หนวยการเรียนรูที่ ๕ กาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง ๘๐
หนวยการเรียนรูที่ ๖ โคลงสุภาษิตพระราชนิพนธ ๑๐๒
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
หนวยการเรียนรูที่ ๗ กลอนดอกสรอยรําพึงในปาชา ๑๔๐
หนวยการเรียนรูที่ ๘ นิราศเมืองแกลง ๑๕๙
บทอาขยาน ๑๘๐
บรรณานุกรม ๑๘๔
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา
Engage Explore อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Explain Expand Evaluate
เปาหมายการเรียนรู
1. บอกความหมายวรรณคดีและวรรณกรรมได
บทนำ� 2. อธิบายคุณคาของวรรณคดี
• ดานเนื้อหา
วรรณคดีเป็นงานสร้างสรรค์อนั ล�า้ ค่า แสดงถึงภูมปิ ญ
ั ญาอันปราดเปรือ่ งของกวีทถี่ า่ ยทอดความรู้
• ดานวรรณศิลป
ความคิด แนวทางการด�าเนินชีวิตที่ดีงาม ถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก ความเข้าใจโลกและเข้าใจชีวิต
• ดานสังคม
ผ่านความคิด พฤติกรรมของตัวละคร สะท้อนภาพสังคม แสดงให้เห็นสัจธรรมและวิสัยหรือธรรมชาติ
ของมนุษย์ในสังคม การอ่านวรรณคดีจึงท�าให้ผู้อ่านได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลินใจจากเนื้อเรื่อง
3. บอกขอคิดทีน่ าํ ไปประยุกตใชในชีวติ ประจําวัน
ได้รับรสไพเราะจากการใช้ถ้อยค�า ส�านวนโวหาร ท่วงท�านองการประพันธ์และยังท�าให้ได้ความรู้ 4. นําหลักการวิเคราะหคุณคาวรรณคดี
ข้อคิด คติธรรม ซึ่งสามารถน�ามาปรับใช้ในชีวิตได้ ดังนั้น วรรณคดีไทยจึงเป็นสมบัติอันล�้าค่าของชาติ
ทีค่ นไทยควรอ่านอย่างวิเคราะห์และพิจารณา เพือ่ การอนุรกั ษ์และสืบทอดเป็นมรดกของลูกหลานต่อไป
กระตุน ความสนใจ Engage
๑ ความหมายของวรรณกรรมและวรรณคดี ครูยกตัวอยางวรรณคดีที่ไดรับการยกยองจาก
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๕๔ ให้ความหมายของ วรรณกรรม ไว้ว่า วรรณคดีสโมสรใหเปนยอดแหงวรรณคดี จากนั้น
หมายถึง งานหนังสือ งานประพันธ์ บทประพันธ์ทุกชนิด ทั้งที่เป็นร้อยแก้วและร้อยกรอง งานนิพนธ์ สอบถามนักเรียนเกี่ยวกับหลักการวิจารณคุณคา
ที่เรียบเรียงขึ้นทุกชนิด เช่น หนังสือ จุลสาร สิ่งเขียน สิ่งพิมพ์ ปาฐกถา ค�าปราศรัย สุนทรพจน์ วรรณคดีดา นเนือ้ หา ดานวรรณศิลป และดานสังคม
และหมายความรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (แนวตอบ ตัวอยางวรรณคดีที่ไดรับการยกยอง
วรรณคดี หมายถึง วรรณกรรมที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดี มีคุณค่า มีศิลปะในการประพันธ์
จากวรรณคดีสโมสรใหเปนยอดแหงวรรณคดี
มีทั้งวรรณคดีที่เป็นร้อยแก้วและร้อยกรอง เช่น สามก๊ก พระราชพิธีสิบสองเดือน รามเกียรติ์ อิเหนา
เชน ลิลิตพระลอ อิเหนา ขุนชางขุนแผน เปนตน
ขุนช้างขุนแผน พระอภัยมณี เป็นต้น
สวนหลักการวิจารณคุณคาวรรณคดีดานเนื้อหา
จากความหมายจะเห็นว่าวรรณกรรมมีความหมายกว้างกว่าวรรณคดี และวรรณคดีทุกเรื่อง
นับว่าเป็นวรรณกรรมแต่วรรณคดีต้องได้รับการยกย่องว่าแต่งดีและมีคุณค่า ค�าว่า “วรรณคดี” มีขึ้นใน คือ การคนหาคุณคาทางความรูที่ไดจากเนื้อเรื่อง
พ.ศ. ๒๔๕๗ เมื่อมีการก่อตั้งวรรณคดีสโมสรโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการแต่งหนังสือทั้งร้อยแก้ว ดานวรรณศิลป คือ ลีลา และความงดงามทางดาน
และร้อยกรอง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงแต่งตั้งนักปราชญ์ราชบัณฑิตทั้งหลาย การใชภาษา และดานสังคม คือ ภาพสะทอนดาน
ในสมัยนั้น ให้พิจารณาหนังสือที่แต่งขึ้นตั้งแต่เมื่อมีวรรณกรรมเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกใน สังคม วิถชี วี ติ ศาสนา ความเชือ่ การศึกษา ประเพณี
สมัยสุโขทัย เพื่อพระราชทานรางวัลแก่ผู้แต่งหนังสือได้ดีและยกย่องให้เป็นวรรณคดีที่เป็นสมบัติ วัฒนธรรมฯ ที่ปรากฏในเรื่อง)
อันมีค่าของชาติ ควรเป็นมรดกตกทอดถึงลูกหลานไทย
วรรณคดี คือ หนังสือที่แต่งดี ถูกต้องตามระเบียบกฎเกณฑ์ทางภาษา มีรูปแบบการแต่ง สํารวจคนหา Explore
เหมาะสมกับเนื้อหา มีสาระที่เป็นประโยชน์ ไม่ชักน�าไปในทางที่เสื่อมเสีย มีคุณค่าทางสังคมคือ
ให้ความรู้ ความคิด ให้คติสอนใจ เข้าใจโลกและเห็นสัจธรรมของมนุษย์ สะท้อนให้เห็นสภาพชีวิต 1. นักเรียนคนหาความหมายของคําวา “วรรณคดี”
ความคิด ความเชื่อของบรรพชน ผู้อ่านสามารถน�าความรู้ ข้อคิด คติธรรม ไปใช้ให้เป็นประโยชน์ 2. นักเรียนสืบคนประเภทของวรรณคดีไทย เชน
ในการด�ารงชีวิตและพัฒนาตนเองให้ก้าวหน้า รวมทั้งมีคุณค่าด้านวรรณศิลป์คือให้ผู้อ่านได้รับอรรถรส วรรณคดีศาสนา วรรณคดีประเพณี วรรณคดี
และเสี ย งเสนาะของถ้ อ ยค� า ท่ ว งท� า นองและลี ล าการประพั น ธ์ ใช้ ภ าษาที่ ไ พเราะทั้ ง ด้ า นเสี ย ง ยกยองเชิดชูเกียรติ เปนตน
และความหมาย มีความประณีตในการใช้ถ้อยค�า ท�าให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจตามเนื้อเรื่องที่อ่าน 3. นักเรียนศึกษาหลักการวิจารณคุณคาวรรณคดี
(1) ดานเนื้อหา ดานวรรณศิลป และดานสังคม
พรอมทั้งหลักการวิเคราะหขอคิดที่สามารถ
นําไปปรับใชในชีวิตประจําวัน

เกร็ดแนะครู
ครูทบทวนความรูเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรม การนํา
ความรูพื้นฐานไปใชเปนเครื่องมือในการศึกษาและเขาถึงวรรณคดีและวรรณกรรม
ไทยเรื่องตางๆ โดยครูอาจสรุปลักษณะของวรรณคดีใหนักเรียนเขาใจในเบื้องตน
แลวจัดกิจกรรมที่เนนสรางความเขาใจเปนรายบุคคล เปดโอกาสใหมีการซักถาม
ตั้งประเด็นและแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ครูแนะใหนักเรียนเรียนรูมารยาทของ
ผูพูดและผูฟงในระหวางการดําเนินกิจกรรม

คูมือครู (1)
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate
อธิบายความรู Explain
1. จากการศึกษาความหมายของวรรณคดีและ 1
วรรณกรรม นักเรียนชวยกันอธิบายความ โมสร เช่น
หนังสือที่ได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสร
แตกตางระหวางวรรณคดีกับวรรณกรรม • ลิลิตพระลอ เป็นยอดแห่งวรรณคดีประเภทลิลิต
(แนวตอบ วรรณคดีคือหนังสือที่แตงดี ถูกตอง • สมุทรโฆษค�ำฉันท์ เป็นยอดแห่งวรรณคดีประเภทฉันท์
ตามหลักเกณฑทางภาษา มีรูปแบบการแตง • มหำชำติกลอนเทศน์ เป็นยอดแห่งวรรณคดีประเภทกาพย์
เหมาะสมกับเนื้อหา มีสาระประโยชน มีคุณคา • ขุนช้ำงขุนแผน เป็นยอดแห่งวรรณคดีประเภทกลอนเสภา
ดานสังคม แฝงแงคิด สะทอนความคิดความเชื่อ • อิเหนำ เป็นยอดแห่งวรรณคดีประเภทกลอนบทละครร�า
ของคนยุคนั้นๆ และมีการใชภาษาที่ทําใหผูอาน
เกิดอรรถรส ถูกยกยองโดยวรรณคดีสโมสรใน ๒ คุณค่าของวรรณคดี
สมัย รัชกาลที่ 6 สวนวรรณกรรม คือ หนังสือที่ หนังสือทีไ่ ด้รบั การยกย่องเป็นวรรณคดีนนั้ ต้องเป็นหนังสือทีแ่ ต่งดี คือ มีศลิ ปะในการน�าเสนอเรือ่ ง
แตงดี มีกลวิธีการนําเสนอนาสนใจ อาจไมโดด มีความงามของการใช้ถ้อยค�าหรือที่เรียกว่าสุนทรียภาพ ท�าให้ผู้อ่านได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน
เดนดานวรรณศิลปและเปนวรรณกรรมที่เกิดขึ้น จรรโลงจิตใจ สามารถยกระดับจิตใจ ไม่ชกั น�าให้ประพฤติเสือ่ มลง มีคณ ุ ค่าทัง้ ด้านเนือ้ หา ด้านวรรณศิลป์
หลังวรรณคดีสโมสรลมเลิกไป) ด้านสังคม และข้อคิดที่สามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวันได้
2. นักเรียนรวมอภิปรายเกี่ยวกับการวิเคราะห ๒.๑ คุณค่าด้านเนือ้ หา
คุณคาดานเนื้อหาในวรรณคดี พรอมยกตัวอยาง ๑) ได้รับควำมรู้ควำมเข้ำใจในเรื่องต่ำงๆ มำกขึ้น ผู้อ่านจะได้รับความรู้ทั้ง
วรรณคดีที่ไดประโยชนตางๆ ดังนี้ เกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณี สภาพสังคม การเมืองการปกครอง การด�ารงชีวิตของคนในสมัยต่างๆ
• ไดรับความรู เชน ศิลาจารึก และความรู ้ อื่ น ๆ อี ก มากมายจากการอ่ า นวรรณคดี เช่ น การอ่ า นศิ ล าจารึ ก หลั ก ที่ ๑ ของ
• ไดรับประสบการณ เชน ไกลบาน พ่อขุนรามค�าแหงมหาราช ท�าให้เข้าใจพระราชประวัติของพ่อขุนรามค�าแหงมหาราช สภาพบ้านเมือง
• เกิดจินตนาการและพัฒนาความคิด เชน การปกครอง วัฒนธรรมประเพณี และการขยายอาณาเขตของกรุงสุโขทัย ดังตัวอย่าง
พระอภัยมณี
• พัฒนาจิตใจผูอาน เชน สุภาษิตสอนหญิง ...เมืองสุโขทัยนี้ มีสปี่ ากประตูหลวง เทีย้ รย่อมคนเสียดกัน เข้ามาดูทา่ นเผาเทียน
ท่านเล่นไฟ...
(ศิลาจารึกหลักที่ ๑: พ่อขุนรามค�าแหงมหาราช)

๒) ได้รับประสบกำรณ์ เช่น การอ่านพระราชนิพนธ์เรื่องไกลบ้าน พระราชนิพนธ์


ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ท�าให้ผู้อ่านได้รับความรู้เกี่ยวกับสภาพบ้านเมือง
สถานที่ วัฒนธรรมประเพณีต่างๆ เหมือนกับได้ตามเสด็จไปด้วย ดังตัวอย่าง

...เมืองตูรนิ นีเ้ ปนเมืองใหญ่โตมาก จ�านวนพลถึงสีแ่ สน ตึกรามเปนตึกอย่างใหญ่


ชั้นต�่าเดินได้ตลอด ผ่านถนนก็มีสะพานข้ามจากตึกฟากถนนข้างหนึ่งไปถึงฟากถนน
อีกข้างหนึ่ง ถ้าจะเดินไม่ให้ถูกฝนถูกแดดเลยก็อาจจะเดินได้หลายกิโลเมเตอ...
(ไกลบ้าน: พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว)
(2)

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
ใดใดในโลกลวน อนิจจัง
1 หนังสือที่ไดรับการยกยองจากวรรณคดีสโมสร ในสมัยพระบาทสมเด็จ-
คงแตบาปบุญยัง เที่ยงแท
พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 มี 10 เรื่อง ดังนี้
คือเงาติดตัวตรัง ตรึงแนน อยูนา
1. “ลิลิตพระลอ” เปนยอดแหงวรรณคดีประเภทลิลิต
ตามแตบาปบุญแล กอเกื้อรักษา
2. “สมุทรโฆษคําฉันท” เปนยอดแหงวรรณคดีประเภทฉันท
ขอใดเปนคุณคาดานเนื้อหาของบทประพันธขางตน
3. “มหาชาติกลอนเทศน” ยอดแหงวรรณคดีประเภทกาพย (รายยาว)
1. ไดรูเรื่องราวทางประวัติศาสตร
4. “สามกก” ยอดแหงวรรณคดีประเภทความเรียงนิทาน
2. ไดพัฒนาความคิดจิตนาการ
5. “เสภาเรื่องขุนชางขุนแผน” ยอดแหงวรรณคดีประเภทกลอนสุภาพ
3. ไดรูแงคิดคตินิยมของสังคม
6. “บทละครเรื่องอิเหนา” ยอดแหงวรรณคดีประเภทกลอนบทละคร
4. ไดรับประสบการณ
7. “พระราชพิธีสิบสองเดือน” เปนยอดแหงความเรียงอธิบาย
8. “หัวใจนักรบ” เปนเลิศประเภทบทละครพูด วิเคราะหคําตอบ เนื้อหาของบทประพันธขางตนเกี่ยวกับหลักธรรม
9. “พระนลคําหลวง” เปนหนังสือที่ไดรับยกยองวาแตงดีอีกเรื่องหนึ่งใน คําสอนเรื่องอนิจจัง ไมมีอะไรเที่ยงแท คุณคาดานเนื้อหาของบทประพันธ
กวีนิพนธประเภทคําหลวง จึงเปนการไดรูแงคิดคตินิยมของสังคมสมัยนั้น ตอบขอ 3.
10. “มัทนะพาธา” เปนยอดของบทละครพูดคําฉันท

(2) คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับประเด็นคุณคาดาน
๓) เกิดจินตนำกำรและพัฒนำควำมคิด จินตนาการเป็นภาพทีเ่ กิดขึน้ ในใจของผูอ้ า่ น เนื้อหาของวรรณคดี
จากค�าบรรยาย ค�าพรรณนา และค�าอุปมาอุปไมยเปรียบเทียบจนเห็นภาพได้ชัดเจน โดยจินตนาการ • วรรณคดีชวยพัฒนาความคิดและจิตใจของ
ของแต่ละคนไม่เหมือนกันแต่เป็นสิ่งที่สวยงามและมีคุณค่าที่สุดที่ได้รับจากการอ่าน เป็นจุดเริ่มต้นของ ผูอานอยางไร
การสร้างความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เช่น การอ่านวรรณคดีเรื่องพระอภัยมณี กวีกล่าวถึงม้านิลมังกร (แนวตอบ วรรณคดีคือเรื่องราวของมนุษย
ว่ามีลักษณะเขี้ยวเป็นเพชร เกล็ดเป็นนิล ลิ้นเป็นปาน ดังบทประพันธ์ วรรณคดีสะทอนเรื่องราวตางๆ ที่เกี่ยวกับ
มนุษยไดทุกเรื่อง ไมวาเปนความสูงสง เชน
พระนักสิทธิ์พิศดูเป็นครู่พัก หัวร่อคักรูปร่างมันช่างขัน
ความรัก ความเสียสละ ความกลาหาญ
เมื่อตัวเดียวเจียวกลายเป็นหลายพันธุ์ ก�าลังมันมากนักเหมือนยักษ์มาร
ความซื่อสัตย เปนตน หรือความตํ่าตอย
กินคนผู้ปูปลาหญ้าใบไม้ มันท�าได้หลายเล่ห์อ้ายเดรฉาน
เชน ความชัง ความชั่วราย ความเห็นแกตัว
เขี้ยวเป็นเพชรเกล็ดเป็นนิลลิ้นเป็นปาน ถึงเอาขวานฟันฟาดไม่ขาดรอน
ความอิจฉา พยาบาท เปนตน ซึง่ ลวนแลวแต
(พระอภัยมณี: สุนทรภู่)
เปนเรื่องของชีวิตมนุษย แตภาพที่สะทอน
1
ผู้ที่อ่านวรรณคดีจะเกิดจินตนาการไปตามเนื้อเรื่องและท�าให้เกิดผลงานด้านศิลปะ ออกมาจากวรรณคดีนั้น เพื่อสงเสริมความ
แขนงอื่นๆ เช่น จิตรกรรม (การวาดภาพ) ประติมากรรม (การปั้นและแกะสลัก) นาฏศิลป์ (การแสดง ดีงามใหคุณคาทางดานจิตใจ กลาวคือเมื่อ
ละครและฟ้อนร�า) เป็นต้น สะทอนความผิดของมนุษยออกมาก็เพื่อจะ
๔) พัฒนำจิตใจผูอ้ ำ่ น วรรณคดีตา่ งๆ และวรรณกรรมปัจจุบนั ทีไ่ ด้รบั การยกย่องว่าเป็น ใหหลีกเลี่ยง เตือนสติ พึงระวังไมปฏิบัติตาม
หนังสือดี มีเนื้อหาสาระ มีเรื่องราวที่สนุก อ่านแล้วสบายใจ คลายเครียด โดยกวีนิพนธ์สามารถ เปรียบเทียบใหเห็นความแตกตางระหวาง
กล่อมเกลาจิตใจให้อ่อนโยน ให้ข้อคิดคติธรรม อีกทั้งสอนให้ประพฤติดีประพฤติชอบ สร้างสรรค์ สิ่งดีงามและสิ่งชั่วราย)
จรรโลงใจให้เกิดก�าลังใจยามท้อแท้ ประกอบกับสามารถพัฒนาจิตใจ ยกระดับความรู้ ความคิดและ
สติปัญญาให้สูงขึ้น ดังบทประพันธ์ ขยายความเขาใจ Expand
อันนัยน์ตาพาตัวให้มัวหมอง เหมือนท�านองแนะออกบอกกระแส นักเรียนระดมความคิดชวยกันยกตัวอยาง
จริงมิจริงเขาก็เอาไปเล่าแซ่ คนรังแกมันก็ว่านัยน์ตาคม วรรณคดีที่มีความนาสนใจและใหคุณคาดาน
อันที่จริงหญิงชายย่อมหมายรัก มิใช่จักตัดทางที่สร้างสม เนื้อหาในวรรณคดีที่นักเรียนเคยไดอานหรือเรียน
แม้นจักรักรักไว้ในอารมณ์ อย่ารักชมนอกหน้าเป็นราคี มาแลว
ดังพฤกษาต้องวายุพัดโบก เขยื้อนโยกก็แต่กิ่งไม่ทิ้งที่ (แนวตอบ ตัวอยางเชน กาพยพระไชยสุริยา
จงยับยั้งชั่งใจเสียให้ดี เหมือนจามรีรู้จักรักษากาย เปนแบบฝกอาน เขียน ภาษาไทยและใหแนวปฏิบัติ
(สุภาษิตสอนหญิง: สุนทรภู่) เรื่องการบําเพ็ญตนถือศีล โคลงโลกนิติใหขอ คิด
คําสอนในการดําเนินชีวติ อาทิ ความพอเพียง การ
จากบทประพันธ์สะท้อนให้เห็นค่านิยมในการสอนบุตรหลานที่เป็นผู้หญิง ให้รู้จัก
คบเพื่อน นิราศภูเขาทอง ใหขอคิดวาชีวิตไมมีอะไร
รักนวลสงวนตัว ไม่ประพฤติตนให้มัวหมองหรือเกิดความเสื่อมเสีย
แนนอน เปนตน)
(3)

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ปลาราพันหอดวย ใบคา
1 ศิลปะ สามารถแบงตามลักษณะของสื่อในการแสดงออก สื่อในการแสดงออก
ใบก็เหม็นคาวปลา คละคลุง
หรือเรียกอีกนัยหนึง่ วา สือ่ สุนทรียภาพ (ซึง่ ไดแก เสน สี ปริมาตร เสียง ภาษา ฯลฯ)
คือคนหมูไปหา คบเพื่อน พาลนา
ของงานศิลปะแตละสาขา ยอมแตกตางกันไปตามธรรมชาติของการแสดงออก
ไดแตรายรายฟุง เฟองใหเสียพงศ ฯ
ซึ่งอาจแบงออกได 5 สาขา คือ
บทประพันธขางตนสะทอนคุณคาดานเนื้อหาในขอใดเดนชัดที่สุด
1. จิตรกรรม (Painting) เปนศิลปะที่แสดงออกดวยการใชสี แสง เงา และ
1. พัฒนาจิตใจผูอาน
แผนภาพที่แบนราบเปน 2 มิติ
2. ไดรับประสบการณ
2. ประติมากรรม (Sculpture) เปนศิลปะที่แสดงออกดวยการใชวัสดุ และ
3. เกิดจินตนาการและพัฒนาความคิด
ปริมาตรของรูปทรง
4. ไดรับความรูความเขาใจในเรื่องตางๆ
3. สถาปตยกรรม (Architecture) เปนศิลปะที่แสดงออกดวยการใชวัสดุ
วิเคราะหคําตอบ บทประพันธขางตนมีคุณคาดานเนื้อหา คือ ชวยพัฒนา โครงสราง และปริมาตรของที่วางกับรูปทรง
จิตใจผูอาน นําเสนอเนือ้ หาเกีย่ วกับการเลือกคบคน ซึง่ ถือเปนการนําเสนอ 4. วรรณกรรม (Literature) เปนศิลปะที่แสดงออกดวยการใชภาษา
ขอคิดเปนหลัก ฉะนั้น การพัฒนาจิตใจของผูอานจึงมีความเดนชัดที่สุด 5. ดนตรีและนาฏกรรม (Music and Drama) เปนศิลปะที่แสดงออกดวย
ตอบขอ 1. การใชเสียง (หรือภาษา) และความเคลื่อนไหวของรางกาย

คูมือครู (3)
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนรวมอภิปรายเกี่ยวกับความสําคัญของ
วรรณศิลปในวรรณคดีไทย อันค�าคมลมบุรุษนั้นสุดกล้า เขาย่อมว่ารสลิ้นนี้กินหวาน
(แนวตอบ วรรณศิลปเปนองคประกอบสําคัญที่ จงระวังตั้งมั่นในสันดาน อย่าลนลานหลงละเลิงด้วยเชิงชาย
บงชี้ความเปนวรรณคดี วรรณศิลปเปนทั้งหลักการ (สุภาษิตสอนหญิง: สุนทรภู่)
ประพันธหนังสือ และเปนทั้งหลักการประเมินคุณคา
ในขณะเดียวกัน กวีผูประพันธวรรณคดีจึงตองเขาใจ จากบทประพันธ์จะเห็นว่ากวีตงั้ ใจให้เป็นค�าสอนผูห้ ญิง ว่าอย่าหลงใหลกับค�าหวานของ
หลักวรรณศิลป) ผู้ชาย เพราะอาจเป็นค�าพูดที่ไม่มีความจริงใจ ปั้นแต่งขึ้น หากหญิงใดเชื่อฟังและปฏิบัติตามค�าสอน
ย่อมเป็นสตรีที่มีเกียรติ มีศักดิ์ศรี สมเป็นกุลสตรีที่ดีงามตามค่านิยมของสังคมไทย
1
ขยายความเขาใจ Expand ๒.๒ คุณค่าด้านวรรณศิลป์
หนังสือที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นวรรณคดีหรือวรรณกรรมดีเด่นต้องมีกลวิธีการเขียน
นักเรียนรวมกันคนหาขอความหรือบทประพันธ
ที่ดีและเหมาะสมกับรูปแบบของค�าประพันธ์แต่ละประเภท การน�าเสนอเรื่องราวไม่สับสน ชวนให้
จากวรรณคดีหรือวรรณกรรมเรื่องอื่นๆ ที่สะทอนให
น่าสนใจน่าติดตาม การใช้ภาษาสละสลวย ไพเราะ ทั้งถ้อยค�า เสียงและความหมาย ใช้ส�านวน
เห็นการใชโวหารบรรยายและโวหารพรรณนา พรอม
โวหารถูกต้อง เกิดความสนุกสนาน เกิดจินตนาการตามเนื้อเรื่อง ท�าให้เพลิดเพลิน ได้รสไพเราะจาก
ยกตัวอยางประกอบ
เสียงเสนาะและถ้อยค�า
(แนวตอบ ตัวอยางบรรยายโวหารและตัวอยาง
การที่ผู้อ่านจะเกิดจินตนาการตามเนื้อเรื่องได้จะต้องเข้าใจการใช้ส�านวนโวหารและ
พรรณนาโวหาร
ภาพพจน์เพื่อให้เห็นภาพ เกิดอารมณ์สะเทือนใจ และมีความรู้สึกคล้อยตาม
• ตัวอยางบรรยายโวหาร การบรรยายเกาะแกว ๑) กำรใช้โวหำร โวหารที่ใช้ในการประพันธ์ มีดังนี้
พิสดารในเรื่องพระอภัยมณี ๑.๑) บรรยำยโวหำร คือ การเขียนบรรยายเหตุการณ์ทเี่ ป็นข้อเท็จจริงของสิง่ ต่างๆ
“อันเกาะแกวพิสดารสถานนี้ อย่างตรงไปตรงมา ดังบทประพันธ์
โภชนาสาลีก็มีถม
แตคราวหลังครั้งสมุทรโคดม เมื่อนั้น เทวาสุราฤทธิ์ทุกทิศา
มาสรางสมสิกขาสมาทาน” สุบรรณคนธรรพ์วิทยา ต่างมาเฝ้าองค์พระศุลี
(พระอภัยมณี: สุนทรภู) ครั้นถึงซึ่งเชิงไกรลาส คนธรรพ์เทวราชฤๅษี
• ตัวอยางพรรณนาโวหาร การพรรณนาที่ให ก็ชวนกันย่างเยื้องจรลี เข้าไปยังที่อัฒจันทร์
อารมณความรูสึกของความหวัง นนทกก็ล้างเท้าให้ เมื่อจะไปก็จับหัวสั่น
“ชั่วเหยี่ยวกระหยับปกกลางเปลวแดด สัพยอกหยอกเล่นเหมือนทุกวัน สรวลสันต์เยาะเย้ยเฮฮา
รอนที่แผดก็ผอนเพลาพระเวหา (รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก: พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช)
พอใบไหวพลิกริกริกมา จากบทประพันธ์บรรยายให้เห็นภาพนนทกถูกเหล่าเทวดา ครุฑ และคนธรรพ์
ก็รูวาวันนี้มีลมวก แกล้งหยอกเย้าและหัวเราะเยาะเย้ยทุกวัน
เพียงกระเพื่อมเลื่อมรับวับวับไหว ๑.๒) พรรณนำโวหำร คือ การเล่ารายละเอียดของเรื่องราวเพื่อให้ผู้อ่านเกิด
ก็รูวานํ้าใสใชกระจก จินตภาพตามบทประพันธ์ของกวี ดังบทประพันธ์
เพียงแววตาคูนั้นหวั่นสะทก (4)
ก็รูวาในอกมีหัวใจ”
(เพียงความเคลื่อนไหว: เนาวรัตน พงษไพบูลย))

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ในการจัดการเรียนการสอนเกีย่ วกับกลวิธกี ารใชโวหารในการเรียบเรียงถอยคํานัน้ ผลเดื่อเมื่อสุกไซร มีพรรณ
ครูผูสอนควรเนนใหนักเรียนพิจารณาองคประกอบทางภาษาลักษณะตางๆ จากบท ภายนอกแดงดูฉัน ชาดบาย
ประพันธที่มีเนื้อหาหลากหลาย รวมถึงบทประพันธที่มีรูปแบบฉันทลักษณที่มีความ ภายในยอมแมลงวัน หนอนบอน
หลากหลาย โดยพิจารณาเปรียบเทียบลักษณะคําประพันธแตละประเภทกับโวหาร ดุจดั่งคนใจราย นอกนั้นดูงาม ฯ
แตละชนิด เพื่อใหนักเรียนเห็นลักษณะความแตกตางกันของโวหาร ในการจัดการ บทประพันธขางตนใชโวหารประเภทใดเดนชัดที่สุด
เรียนการสอนนั้น ครูควรใหนักเรียนคิดพิจารณาดวยตนเอง เพื่อนําไปปรับใชในการ 1. บรรยายโวหาร
ศึกษาบทประพันธเรื่องอื่นๆ ตอไป 2. พรรณนาโวหาร
3. สาธกโวหาร
4. เทศนาโวหาร
นักเรียนควรรู วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. เทศนาโวหาร เปนการใชโวหารเพื่อมุง
สั่งสอน ชักจูงจิตใจของผูอานใหคลอยตาม โวหารประเภทนี้มักมีโวหาร
1 คุณคาดานวรรณศิลป เปนความงดงามทางการใชภาษาที่แตกตางกันตาม
ประเภทอื่นเปนองคประกอบ จากบทประพันธขางตนใหขอคิดเกี่ยวกับ
ความสามารถของกวี การที่กวีเนนความงามทางวรรณศิลปมาก เนื่องจากตองการ
การพิจารณาบุคคล ไมควรพิจารณาเฉพาะภายนอกแตเพียงอยางเดียว
เนนอารมณความรูสึกของกวีถายทอดผานการใชภาษาที่งดงาม
(4) คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับประเด็นที่เคย
ต้นแคคางกร่างกระทุ่มชอุ่มออก ทั้งช่อดอกดูไสวเหมือนไม้เขียน มีผูกลาววา “วรรณคดีเปนกระจกสะทอนสังคม”
1
เจ้าพลายเพลินเดินพลางตามทางเกวียน ตลอดเลี่ยนลมเรื่อยเฉื่อยเฉื่อยมา (แนวตอบ วรรณคดีเปนเสมือนกระจกสะทอน
ถึงโคกฆ้องหนองสะพานบ้านกะเหรี่ยง เห็นโรงเรียงไร่ฝ้ายทั้งซ้ายขวา สังคม เนื่องจากวรรณคดีทําใหผูอานมองเห็น
พริกมะเขือเหลืองงามอร่ามตา สาลิกาแก้วกินแล้วบินฮือ สภาพสังคมในสมัยที่แตงวรรณคดีเรื่องนั้นๆ ได
เห็นไก่เตี้ยเขี่ยคุ้ยที่ขุยไผ่ กระโชกไล่ลดเลี้ยวมันเปรียวปรื๋อ อยางชัดเจน เชน วิถีชีวิต วัฒนธรรมประเพณี
พบนกยูงฝูงใหญ่ไล่กระพือ มันบินหวือโห่ร้องคะนองใจ ความเชื่อและคานิยม ฯลฯ)
(ขุนช้างขุนแผน ตอน ก�าเนิดพลายงาม: สุนทรภู่)
ขยายความเขาใจ Expand
จากบทประพันธ์กวีได้พรรณนาถึงเรื่องราวขณะที่พลายงามเดินทางกลางป่า
เพื่อไปพบนางทองประศรี พรรณนาถึงความงามของต้นแค คาง กร่าง กระทุ่ม พรรณนาถึงพฤติกรรม นักเรียนรวมกันคนหาขอความหรือบท
ของนกสาลิกา นกแก้ว ไก่ และฝูงนกยูง โดยกวีเลือกใช้กริยาแสดงอาการ คุณสมบัติ และภาพพจน์ ประพันธที่สะทอนใหเห็นการใชเทศนาโวหารและ
เปรียบเทียบเพื่อให้ผู้อ่านเกิดจินตภาพตามเนื้อเรื่องที่ได้อ่าน สาธกโวหาร พรอมยกตัวอยางประกอบ
๑.๓) เทศนำโวหำร คือ โวหารที่มุ่งในการสั่งสอน ชักจูงจิตใจผู้อ่านให้คล้อยตาม (แนวตอบ ตัวอยางเชน
ดังบทประพันธ์ • ตัวอยางเทศนาโวหาร ตอน โยคีสอน
สุดสาครในเรื่องพระอภัยมณี
แล้วสอนว่าอย่าไว้ใจมนุษย์ มันแสนสุดลึกล�้าเหลือก�าหนด
ถึงเถาวัลย์พันเกี่ยวที่เลี้ยวลด ก็ไม่คดเหมือนหนึ่งในน�้าใจคน
“บัดเดี๋ยวดังหงางเหงงวังเวงแวว
(พระอภัยมณี: สุนทรภู่)
สะดุงแลวเหลียวแลชะแงหา
เห็นโยคีขี่รุงพุงออกมา
จากบทประพันธ์เป็นตอนทีพ่ ระฤๅษีสอนสุดสาครว่า อย่าไว้ใจใครง่ายๆ เพราะจิตใจ ประคองพาขึ้นจนบนบรรพต
มนุษย์นั้นยากแท้หยั่งถึง แม้เถาวัลย์ที่คดเคี้ยว ก็ไม่คดเท่าใจคน แลวสอนวาอยาไวใจมนุษย
๑.๔) สำธกโวหำร คือ โวหารที่มีจุดมุ่งหมายให้ความชัดเจนด้วยการยกตัวอย่าง มันแสนสุดลึกลํ้าเหลือกําหนด
ประกอบ เพื่ออธิบายสนับสนุนความคิดเห็นให้ผู้อ่านเข้าใจและเกิดความเชื่อถือ ดังบทประพันธ์ ถึงเถาวัลยพันเกี่ยวที่เลี้ยวลด
ก็ไมคดเหมือนหนึ่งในนํ้าใจคน”
...อ�านาจความสัตย์เป็นอ�านาจศักดิ์สิทธิ์ ไม่เพียงแต่จับหัวใจคน แม้แต่สัตว์ก็ยัง
(พระอภัยมณี: สุนทรภู)
มีความรู้สึกในความสัตย์ซื่อ เมื่อกวนอูตายแล้ว ม้าของกวนอูก็ไม่ยอมกินหญ้า กินน�้าและ
• ตัวอยางสาธกโวหาร ตอน โยคีเทศนาทหาร
ตายตามเจ้าของไปในไม่ช้า ไม่ยอมให้หลังของมันสัมผัสกับผู้อื่นนอกจากนายของมัน...
(สามก๊ก: เจ้าพระยาพระคลัง (หน))
ทัพลังกาและเมืองผลึกในเรื่องพระอภัยมณี
“คือรูปรสกลิ่นเสียงไมเที่ยงแท
จากบทประพันธ์จะเห็นว่าข้อความแสดงความคิดหลักที่ต้องการเสนอ คือ อ�านาจ ยอมเฒาแกเกิดโรคโศกสงสาร
ความสัตย์เป็นอ�านาจศักดิ์สิทธิ์ บุคคลที่ตั้งอยู่ในความสัตย์เป็นผู้ประเสริฐ มีสิริมงคลแก่ตนเอง และ ความตายหนึ่งพึงเห็นเปนประธาน
เป็นที่นับถือของบุคคลอื่น ไม่เพียงแต่จับหัวใจคน แม้แต่สัตว์ก็ยังมีความรู้สึกในความสัตย์ซื่อ หวังนิพพานพนทุกขสุขสบาย
ซึ่งบานเมืองเคืองเข็ญถึงเชนนี้
(5)
เพราะโลกียตัณหาพาฉิบหาย
อันศีลหาวาอยาทําใหจําตาย
จะตกอบายภูมิขุมนรก”
ขอสอบเนน การคิด
(พระอภัยมณี: สุนทรภู))

แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู


พิศดูคางสระสม พิศศอกลมกลกลึง
1 ทางเกวียน หลักฐานการใชเกวียนในประเทศไทยไมปรากฏชัดวา เราเริ่ม
สองไหลพึงใจกาม อกงามเงื่อนไกรสร
ใชเกวียนในสมัยใดมีเพียงพงศาวดารสมัยสุโขทัยตอน “พระรวงสงสวยนํ้า” ได
พระกรกลงวงคช นิ้วสลวยซดเล็บเลิศ
กลาวถึงการใชเกวียน ความวา “...นักคุมขาหลวงขอมคุมมารับสวนนํ้าที่ทะเลชุบ
ประเสริฐสรรพสรรพางค แตงบาทางคสุดเกลา
ศร เมืองละโว...” ซึ่งขอความนี้พอจะเปนหลักฐานยืนยันไดวาถนนพระรวงไดสราง
บทประพันธขางตนใชโวหารประเภทใดเดนชัดที่สุด
ขึ้นมาในสมัยสุโขทัยตอนตน ซึ่งเปนถนนที่เชื่อมระหวางกําแพงเพชร (ชากังราว)
1. บรรยายโวหาร
กับสุโขทัย และในสมัยนั้นถนนเสนนี้ไดใชเปนทางเกวียนเพื่อบรรทุกสินคาไปขาย
2. พรรณนาโวหาร
“เกวียน” จึงเปนพาหนะที่เหมาะกับการเดินทางไกลโดยกลุมคนจํานวนมากที่ตองมี
3. สาธกโวหาร
เสบียงติดตัวไปดวย
4. เทศนาโวหาร
วิเคราะหคําตอบ กวีใชพรรณนาโวหาร กลาวชมโฉมความงามของพระลอ
พรรณนาโวหารเปนโวหารที่มุงใหความแจมแจง ละเอียดลออ เพื่อให มุม IT
ผูอานเกิดอารมณความรูสึกซาบซึ้ง ตอบขอ 2.
ศึกษาเกี่ยวกับวรรณศิลปในวรรณคดีไทยเพิ่มเติม ไดที่
http://literature.ocac.go.th/news-detail-222.html
คูมือครู (5)
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนอธิบายการใชอุปมาโวหารในวรรณคดี
และวรรณกรรมไทย ๑.๕) อุปมาโวหาร คือ โวหารเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่งหนึ่งเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจ
(แนวตอบ อุปมาโวหาร หมายถึง การเขียนเปน ชัดเจนยิ่งขึ้น มักมีค�าว่าเปรียบ ประดุจ ดุจ ดั่ง เหมือน ราวกับ เล่ห์ เพียง เพี้ยง ดังบทประพันธ์
สํานวนเปรียบเทียบที่มีความคลายคลึงกัน เพื่อใหผู สุวรรณหงส์ทรงพู่ห้อย งามชดช้อยลอยหลังสินธ์ุ
อานเกิดความเขาใจลึกซึ้งยิ่งขึ้น โดยการเปรียบเทียบ เพียงหงส์ทรงพรหมินทร์ ลินลาศเลื่อนเตือนตาชม
สิ่งของที่เหมือนกัน เปรียบเทียบโดยโยงความคิดไปสู (กาพย์เห่เรือ: เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร)
อีกสิ่งหนึ่ง หรือเปรียบเทียบขอความตรงกันขามหรือ จากบทประพันธ์เป็นการใช้โวหารเปรียบเทียบเรือพระทีน่ งั่ สุพรรณหงส์ทลี่ อยล�าอยู่
ขอความที่ขัดแยงกัน) ในแม่น�้าว่างามเหมือนหงส์ที่เป็นพาหนะของพระพรหม
๒) การใช้ภาพพจน์ คือ การใช้ส�านวนในการสร้างภาพในใจของผู้อ่านให้ชัดเจน
ขยายความเขาใจ Expand ตรงกับความคิด ความรู้สึกของกวี ประเภทของภาพพจน์ มีดังนี้
๒.๑) อุปมา คือ การเปรียบสิ่งหนึ่งให้คล้ายหรือเหมือนกับสิ่งหนึ่ง ดังบทประพันธ์
นักเรียนรวมกันคนหาขอความหรือบทประพันธ
จากวรรณคดี วรรณกรรมเรื่องอื่นๆ ที่สะทอนให ควรนึกว่าบรรดาข้าพระบาท ล้วนเป็นราชบริพารพระทรงศรี
เห็นการใชโวหารอุปมา พรอมยกตัวอยางประกอบ เหมือนลูกเรืออยู่ในกลางหว่างวารี จ�าต้องมีมิตรจิตสนิทกัน
(แนวตอบ ตัวอยางอุปมาโวหาร (บทเสภาสามัคคีเสวก: พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว)
“ปางพี่มาดหมายสมานสุมาลยสมร จากบทประพันธ์เป็นการเปรียบเทียบให้เห็นว่าข้าราชการเปรียบเสมือนลูกเรือ
ดังหมายดวงหมายเดือนดารากร การที่เรือจะเคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้ ต้องอาศัยความสามัคคีของลูกเรือบนเรือล�านั้น
อันลอยพื้นอําพรโพยมพราย” ๒.๒) อุปลักษณ์ คือ การเปรียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง ซึ่งแตกต่างจากอุปมา
(เพลงยาว: เจาฟาธรรมธิเบศร)) เพราะอุปมาเป็นการเปรียบว่าสิ่งหนึ่งเหมือนหรือคล้ายกับสิ่งหนึ่ง โดยอุปลักษณ์มักใช้ค�าว่า เป็น คือ
ในการเปรียบ ดังบทประพันธ์
ธรณินปรานีแก่เรานัก พร้อมจะให้ลูกรักได้พักผ่อน
ใจแผ่นดินคือมารดาผู้อาทร ให้ลูกหนุนตักนอนไปจนตาย
(แผ่นดินคือมารดา: ไพวรินทร์ ขาวงาม)

จากบทประพันธ์กล่าวถึงความปรานีของแผ่นดินทีม่ ตี อ่ มนุษย์และเปรียบว่าแผ่นดิน
คือ มารดาของมนุษย์ ให้มนุษย์ได้อยู่อาศัย
๒.๓) อติพจน์ คือ การใช้ถ้อยค�าเพื่อการกล่าวเกินจริง ดังบทประพันธ์
โฉมแม่จักฝากฟ้า ฤๅดิน ดีฤ ๅ
เกรงเทพไท้ธรณินทร์ ลอบกล�้า
ฝากลมเลื่อนโฉมบิน บนเล่า นะแม่
ลมจะชายชักช�้า ชอกเนื้อเรียมสงวน
(นิราศนรินทร์ค�าโคลง: นายนรินทรธิเบศร์ (อิน))
(6)

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ในการจัดการเรียนการสอนเกีย่ วกับการใชภาพพจนในบทประพันธ ครูควรเพิม่ เติม ขอใดใชภาพพจนอติพจน
ความรูค วามเขาใจเกีย่ วกับกลวิธกี ารใชโวหารภาพพจนวา การใชโวหารภาพพจนเปน 1. ระฤกชูแกวเกลื่อน ใจตาย แลแม
การพลิกแพลงภาษาทีใ่ ชในการพูดและการเขียนใหแปลกออกไปจากทีใ่ ชกนั อยูท วั่ ไป 2. เรียมรางเปนตนเลย นานอง
เมื่อมีการใชโวหารในบทประพันธที่มีความสอดคลองกันดานคุณคาทางวรรณศิลป 3. เลือดตายิ่งฝนพลาย ทุกยาน
ทั้งในดานภาษา เนื้อหา และรูปแบบของบทประพันธ จะกอใหเกิดจินตภาพ มีรส 4. อกพี่เพียงฟารอง เรียกศรี
อารมณความรูสึกของผูอาน ซึ่งตางจากการใชภาษาอยางตรงไปตรงมา วิเคราะหคําตอบ จากโคลงดั้นกําสรวลศรีปราชญบทนี้ กวีแสดงความคิดถึง
การใชโวหารภาพพจนนนั้ มีหลายลักษณะแตกตางกันไป แตลกั ษณะรวมของกลวิธี นางอันเปนที่รักอยางชัดเจน ขอ 1. ความคิดถึงของกวีแทบจะขาดใจ ขอ 2.
การใชโวหารภาพพจนที่มีรวมกันคือ การใชโวหารภาพพจนเปนการสื่อความหมาย ความคิดถึงของกวีแทบจะทําใหกวีไมเหลือชีวิต ขอ 3. กวีครํ่าครวญรองไห
โดยนัย ครูผูสอนสามารถเพิ่มเติมความรูความเขาใจเกี่ยวกับกลวิธีการใชโวหาร หานางจนนํ้าตาเปนเลือดมากกวาฝนที่ตกในที่ไหนๆ ขอ 4. เสียงครํ่าครวญ
ภาพพจนในการสื่อสาร ดวยการอานบทประพันธที่มีโวหารภาพพจนแตกตางกันให เรียกหานางในอกพี่ดังเหมือนฟารอง ขอที่มีการใชอติพจนกลาวเกินจริงเพื่อ
นักเรียนฟง จากนั้นใหนักเรียนบอกวาโวหารภาพพจนในแตละขอมีความแตกตาง เนนความรูสึกคิดถึงนางที่เดนชัดที่สุด “เลือดตายิ่งฝนพลาย ทุกยาน”
กันในดานใดบางอยางไร เพื่อใหนักเรียนสามารถนําความรูดังกลาวไปปรับประยุกต ตอบขอ 3.
ในการศึกษาบทเรียนเรื่องอื่นๆ ไดตอไป

(6) คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
ครูอธิบายการสังเกตลักษณะของโวหารภาพพจน
จากบทประพันธ์เป็นการเลือกสรรถ้อยค�าเพื่อให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ ความรู้สึก แตละชนิด ดังนี้ อุปมา อุปลักษณ อติพจน
คล้อยตามกวีและเกิดจินตภาพถึงความรัก ความหวงแหน ของกวีที่มีต่อนางอันเป็นที่รัก เมื่อจะน�า บุคคลวัต และสัทพจน
นางไปฝากกับฟ้า ฝากกับดิน ฝากกับเทวดา หวั่นเกรงจะถูกลอบเชยชม แม้จะฝากกับลมก็เกรงว่า (แนวตอบ ลักษณะของภาพพจนตางๆ
ลมจะพัดผิวกายของนางให้ชอกช�า้ ซึง่ ในความเป็นจริงสิง่ ทีก่ วีกล่าวถึงเป็นไปไม่ได้ แต่เป็นการใช้ถอ้ ยค�า อุปมา หมายถึง การเปรียบเทียบวาสิ่งหนึ่ง
ให้ฟังหนักแน่นยิ่งขึ้น เน้นย�้าเพื่อแสดงถึงความรักและหวงแหนที่มีต่อนางอันเป็นที่รัก
เหมือนกับอีกสิ่งหนึ่ง การเปรียบเทียบดวยวิธีนี้จะ
๒.๔) บุ ค คลวั ต หรื อ บุ ค ลำธิ ษ ฐำน คื อ การกล่ า วถึ ง สิ่ ง ที่ ไ ม่ มี ชี วิ ต จิ ต ใจให้ มี
การกระท�าและความรู้สึกนึกคิดอย่างมนุษย์ ดังบทประพันธ์
มีคําแสดงความหมายวา “เหมือน” ปรากฏอยูดวย
เชน เหมือน เสมือน ดุจ ประดุจ ดัง เพียง คลาย
เพชรน�้าค้างค้างหล่นบนพรมหญ้า เย็นหยาดฟ้ามาฝันหลงวันใหม่ ปูน ราว ฯลฯ
เคล้าเคลียหยอกดอกหญ้าอย่างอาลัย เมื่อแฉกดาวใบไผ่ไหวตะวัน อุปลักษณ หมายถึง การเปรียบเทียบของ
(วารีดุริยางค์: เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์) สิ่งหนึ่งเปนอีกสิ่งหนึ่ง
จากบทประพันธ์น�้าค้างท�ากิริยาเหมือนมนุษย์ คือ น�้าค้างที่ค้างอยู่บนใบหญ้าและ อติพจน หมายถึง การกลาวผิดไปจากที่
แสดงกิริยา “หลง” คือไม่ยอมจากใบหญ้าเฝ้าแต่เคล้าเคลียและหยอกกับดอกหญ้าด้วยความอาลัย เปนจริง เปนการกลาวเกินจริง โดยมีเจตนาเนน
ไม่อยากจากไปเมื่อพระอาทิตย์ขึ้น ขอความที่กลาวนั้นใหมีนํ้าหนักยิ่งขึ้น ใหความรูสึก
๒.๕) สัทพจน์ คือ การใช้คา� เลียนเสียงธรรมชาติ โดยใช้ตวั อักษรสะกดให้ออกเสียง เพิ่มขึ้น
คล้ายกับเสียงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือที่ได้ยินทั่วไปมากที่สุด ดังบทประพันธ์ บุคคลวัต หรือบุคลาธิษฐาน หมายถึง การ
เปรียบเทียบดวยการสมมุติใหสิ่งที่ไมมีชีวิตหรือสิ่ง
เกือบรุ่งฟุ้งกลิ่นเกลี้ยง เพียงสุคน
หึ่งหึ่งพึ่งเวียรวล ว่อนเคล้า มีชีวิตอื่นๆ ซึ่งมิใชคนแสดงกิริยาอาการ อารมณ
(โคลงนิราศสุพรรณ: สุนทรภู่) หรือความรูสึกนึกคิดเหมือนคน
สัทพจน หมายถึง การเลียนเสียงธรรมชาติ
จากบทประพันธ์กวีใช้ค�าเลียนเสียงธรรมชาติ คือ เสียงบินของผึ้งว่า มีเสียงดัง เพื่อใหเกิดภาพชัดเจน)
“หึ่ง หึ่ง” ซึ่งเป็นการใช้ภาษาในการสร้างภาพและเสียงให้แก่ผู้อ่านอย่างชัดเจน
๓) กำรใช้ภำษำให้เกิดเสียงเสนำะ คือ การเลือกใช้ถ้อยค�าให้เกิดเสียงเสนาะ ท�าให้ ขยายความเขาใจ Expand
บทประพันธ์เกิดความไพเราะ ดังนี้
๓.๑) กำรเล่นค�ำ คือ กลวิธที ใี่ ช้คา� ค�าเดียวกันซ�า้ ในบทประพันธ์แต่ความหมายของ นักเรียนจับคูกันยกตัวอยางบทประพันธจาก
ค�าจะแตกต่างกัน ดังบทประพันธ์ วรรณคดีเรื่องอื่นๆ ที่มีการใชภาพพจน
ลางลิงลิงลอดไม้ ลางลิง (แนวตอบ ตัวอยางการใชภาพพจนอุปมา ตอนที่
แลลูกลิงลงชิง ลูกไม้ นางรจนากลาวประชดเจาเงาะ เมื่อเจาเงาะคุยอวด
ลิงลมไล่ลมติง ลิงโลด หนีนา วาแตงกายงามแลว
แลลูกลิงลางไหล้ ลอดเลี้ยวลางลิง “เห็นแลววาประเสริฐเลิศมนุษย
(ลิลิตพระลอ: ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง) ราวกับเทพบุตรสุดปญญา
(7) งามแลวคะชะเจาอยาเฝาอวด
เพริศพริ้งยิ่งยวดเปนหนักหนา”
(สังขทอง: รัชกาลที่ 2))

กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
นักเรียนศึกษาและคนหาภาพพจนที่มีใชในวรรณคดีและวรรณกรรมไทย ครูควรเพิม่ เติมความรูเ กีย่ วกับการพิจารณาคุณคาทางวรรณศิลปของบทประพันธ
นอกเหนือจากที่กลาวในหนังสือเรียน อยางนอย 2 ประเภท การพิจารณาศิลปะในการประพันธหรือคุณคาทางวรรณศิลปของวรรณคดีไทยนั้น
นักเรียนควรเนนการพิจารณาความไพเราะของเสียงเปนสําคัญ เนื่องจากวัฒนธรรม
ทางภาษาของไทยเนนความไพเราะจากเสียงในบทประพันธ
กิจกรรมทาทาย นักเรียนควรพิจารณากลวิธีการใชคําใหเกิดความไพเราะ โดยเฉพาะอยางยิ่งใน
การพิจารณาบทรอยกรอง ซึ่งอาจเกิดจากรสคําที่กวีเลือกใช โดยความไพเราะที่เกิด
จากรสคํานัน้ เกิดจากการทีก่ วีเลือกใชคาํ ภาษากวี ซึง่ มีลกั ษณะพิเศษเปนคําทีม่ คี วาม
นักเรียนยกบทประพันธที่มีการใชภาพพจนที่นอกเหนือจากที่กลาวใน ไพเราะ เหมาะสมกับบทประพันธแตละบททั้งในดานเสียงและความหมาย
หนังสือเรียนมา 1 ตัวอยาง พรอมอธิบายใหเห็นวาเปนการใชภาพพจนใน นักเรียนควรพิจารณาความหมายของคําที่กวีสรรมาใชในบทประพันธดวยวา
ลักษณะใด คําที่ใชในบทประพันธนั้นแฝงคุณคาดานความหมายที่มีความลึกซึ้งทางดานอรรถรส
ของคําอยางไร อาจเปนการใชคํานอยกินความมาก หรือเปนการวางคําเพื่อใหเกิด
ความรูสึกอยางหลากหลายชวยใหผูอานสามารถตีความบทประพันธไดอยางหลาก
หลายอีกดวย

คูมือครู (7)
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนรวมกันคนควาและสรุปคํานิยามของ
ประโยคที่วา “คุณคาดานรูปธรรมและคุณคาดาน จากบทประพันธ์กวีใช้การเล่นค�าที่ออกเสียงเหมือนกันแต่ความหมายต่างกันว่า
นามธรรม’ ลิงบางตัวลอดเถาไม้ลางลิงเล่น ลูกลิงบางตัวลงชิงลูกไม้กนิ ส่วนลิงลมพอถูกลมพัดก็แล่นโลดหนีไปโดยเร็ว
(แนวตอบ คุณคาดานนามธรรม หมายถึง คุณคา เหมือนกับลมพัด ลูกลิงบางตัวก็เล่นไล่กัน บางตัวก็หนีโดยลอดเถาไม้ลางลิงไป (ไหล้ คือ ไล่ เป็นโทโทษ)
ที่เกี่ยวกับดานความรูสึก เชน ความรัก ความชั่ว ๓.๒) กำรใช้เสียงสัมผัส นอกจากสัมผัสนอกซึ่งเป็นสัมผัสบังคับแล้ว วรรณคดี
ความดี คานิยม สวนคุณคาดานรูปธรรม หมายถึง จะมีความไพเราะยิ่งขึ้นหากใช้สัมผัสใน คือ สัมผัสสระและสัมผัสอักษร ดังบทประพันธ์
คุณคาที่ประเมินไดดวยสายตา เชน วิถีชีวิต
อุศเรนเอนเอกเขนกสนอง ตามท�านององอาจไม่ปรารถนา
การแตงกาย วัตถุ สถานที่)
เราก็รู้ว่าท่านเจ้ามารยา หมายจะมามัดเชือดเอาเลือดเนื้อ
(พระอภัยมณี: สุนทรภู่)
ขยายความเขาใจ Expand
จากบทประพันธ์มีสัมผัสใน ได้แก่ สัมผัสสระ คือ (อุศ)เรน - เอน เอก - เขนก
นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ (อง)อาจ - ปรารถ(นา) เรา - เจ้า ว่า - (มาร)ยา ท่าน - มาร(ยา) เชือด - เลือด และมีสัมผัสอักษร
ความชื่นชอบในวรรณคดีที่มีคุณคาดานสังคม ได้แก่ อุศ(เรน) - เอน - เอก เ(ข)นก - (ส)นอง (ท�า)นอง - (ปรารถ)นา อง - อาจ เรา - รู้ หมาย - มา - มัด
คนละ 1 เรื่อง พรอมนําเสนอในรูปแบบผังมโนทัศน
(แนวตอบ ตัวอยางผังมโนทัศน ๒.๓ คุณค่าด้านสังคม
คุณค่าของวรรณคดีด้านสังคม แบ่งเป็น ๒ ลักษณะใหญ่ คือ
ธรรมะยอมชนะอธรรม ๑) คุณค่ำด้ำนนำมธรรม เป็นสิ่งที่จับต้องไม่ได้แต่สัมผัสได้ด้วยความรู้สึก เช่น
ความดี ความชั่ว ค่านิยม จริยธรรมของคนในสังคม ดังบทประพันธ์
เป็นธรรมเนียมไทยแท้แต่โบราณ ใครมาถึงเรือนชานต้องต้อนรับ
ดานนามธรรม อย่างดีเลิศตามมีและตามเกิด ให้เพลิดเพลินกายากว่าจะกลับ
(พระร่วง: พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว)

จากบทประพันธ์แสดงให้เห็นวัฒนธรรมในการต้อนรับแขกของคนไทยที่เต็มใจต้อนรับ
บทละครเรื่องรามเกียรติ์
แขกด้วยของที่ดีที่สุด ให้มีความสะดวกกาย สบายใจจนกว่าแขกจะเดินทางกลับ
ตอน นารายณปราบนนทก
๒) คุณค่ำด้ำนรูปธรรม เป็นสิ่งที่จับต้อง มองเห็นได้ สัมผัสด้วยกายได้ เช่น สภาพ
ความเป็นอยู่ วิถีชีวิต การแต่งกาย การก่อสร้างทางวัตถุ เป็นต้น ดังบทประพันธ์

ดานรูปธรรม บัดนั้น ฝูงคนชนบทน้อยใหญ่


ครั้นรู้ข่าวข้าศึกไม่ไว้ใจ บ้านช่องของใครก็ผ่อนครัว
พวกผู้หญิงวิ่งหาสาแหรกคาน ลนลานแบ่งเสบียงไว้ให้ผัว
เอาผ้าคาดอกมั่นพันพัว เตรียมตัวเก็บของใส่หาบคอน
ทารําแมบท เครื่องแตงกายโขน (อิเหนา: พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย)
)
(8)

ขอสอบเนน การคิด
บูรณาการอาเซียน แนว  NT  O-NE T
การศึกษาวรรณคดีครูแนะใหนักเรียนศึกษาในฐานะที่เปนภาพสะทอนของสังคม เปนทําเนียมไทยแทแตโบราณ ใครมาถึงเรือนชานตองตอนรับ
ในบางแงมุม หรือภาพโดยรวมของทุกสังคม โดยเฉพาะอยางยิ่งวรรณคดีในภูมิภาค อยางดีเลิศตามมีและตามเกิด ใหเพลิดเพลินกายากวาจะกลับ
เอเชียตะวันออกเฉียงใตที่มีความสอดคลองสัมพันธกับความเชื่อของคนในสังคม บทประพันธขางตนสะทอนคุณคาดานสังคมสอดคลองกับขอใดมาก
เชน ในสมัยที่ศาสนาพราหมณ-ฮินดูและพุทธศาสนาไดเขาไปเผยแผในอินโดนีเซีย ที่สุด
วรรณคดีของอินโดนีเซียมีความเจริญอยางรวดเร็ว หนังสือที่มีชื่อเสียงในระยะนั้นได 1. วิถีชีวิต
แกเรื่องเนการาเกอรตากามา ซึ่งเปนเรื่องเกี่ยวกับประวัติศาสตรความยิ่งใหญ และ 2. คานิยม
อํานาจของอาณาจักรมัชปาหิต 3. คุณธรรม
นอกจากนี้ยังมีเรื่องปาราราตัน เปนเรื่องเกี่ยวกับประวัติศาสตรของกษัตริย 4. พิธีกรรม
อินโดนีเซียในสมัยนั้น เขียนเปนภาษาชวาโบราณ แตตอมาเมื่อศาสนาอิสลามได วิเคราะหคําตอบ คานิยม หมายถึง สิ่งที่บุคคลหรือสังคมยึดถือเปน
แพรเขาไปในอินโดนีเซีย ก็ไดมีผูเขียนหนังสือเกี่ยวกับคําสอนของศาสนาอิสลาม เครื่องชวยตัดสินใจ และกําหนดการกระทําของตนเอง สอดคลองกับ
และตําราหมอดูไวหลายเลม โดยเขียนเปนภาษาชวา เปนตน ทั้งนี้นักเรียนควร บทประพันธมากที่สุด เนื่องจากบทประพันธกลาวถึงการตอนรับแขกของ
สืบคนวรรณคดีของประเทศตางๆ ในอาเซียนเพิ่มเติม เพื่อใหนักเรียนเขาใจแนวคิด คนไทยที่เต็มใจตอนรับดวยของที่ดีที่สุด ใหมีความสะดวกสบายจนกวา
โลกทัศนของกลุมประเทศเพื่อนบาน แขกจะเดินทางกลับ ดังนั้นจึงตอบขอ 2.

(8) คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
จากวรรณคดี 5 เรื่อง ไดแก อิเหนา
จากบทประพันธ์สะท้อนให้เห็นสภาพวิถีชีวิตของผู้คนในสมัยอดีต เมื่อเกิดศึกสงคราม รามเกียรติ์ ขุนชางขุนแผน พระอภัยมณี และ
จะเกิดความสับสน วุ่นวาย และตื่นตระหนก ผู้คนต่างเตรียมตัวเก็บข้าวของและทรัพย์สินเพื่อหลบหนี นิราศภูเขาทอง ใหนักเรียนบอกขอคิดที่ไดจาก
ข้าศึก สะท้อนให้เห็นถึงหน้าที่ของผู้ชายและผู้หญิง โดยผู้ชายเป็นเพศที่แข็งแรงกว่าจะต้องคอยป้องกัน วรรณคดีดังกลาว เรื่องใดเรื่องหนึ่งคนละ 1 ขอคิด
ครอบครัว ในขณะที่ผู้หญิงมีหน้าที่ในการเตรียมเสบียง ขนย้ายข้าวของต่างๆ และยังสะท้อนให้เห็นถึง (แนวตอบ ตัวอยางเชน
ความรัก ความผูกพัน สายใยของครอบครัว ที่ไม่มีใครหนีเอาตัวรอดแต่เพียงผู้เดียว หากแต่ทุกคนจะ อิเหนา ใหขอคิดวาอยาเอาชนะ
คอยช่วยเหลือดูแลกัน
ผูอื่นดวยการถืออารมณและความรูสึกของตนเอง
๒.๔ ข้อคิดที่สำมำรถน�ำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน เปนใหญ
วรรณคดีนอกจากจะให้ความบันเทิงเป็นหลักแล้ว ยังแฝงไปด้วยคติธรรม ค�าสอน และ รามเกียรติ์ ใหขอคิดที่สอดคลองกับคําสอน
ข้อคิดต่างๆ ที่สามารถน�ามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวัน โดยผู้เขียนน�าเสนอผ่านฉาก ตัวละคร หรือ ทางพระพุทธศาสนาเกีย่ วกับการระงับเวรดวยการ
องค์ประกอบส่วนอืน่ ของเรือ่ ง ในขณะทีเ่ ราอ่านวรรณคดี เราจะไม่รสู้ กึ ว่าก�าลังถูกสอนโดยตรง เนือ่ งด้วย ไมจองเวร
ผู้เขียนมีกลวิธีการน�าเสนอที่น่าติดตาม ท�าให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ความรู้สึกคล้อยตาม วรรณคดีทุกเรื่อง ขุนชางขุนแผน ใหขอคิดเกี่ยวกับความรักที่ควร
แฝงข้อคิดต่างๆ ทีผ่ อู้ า่ นสามารถน�าไปประยุกต์ใช้ได้ในชีวติ ประจ�าวัน โดยขึน้ อยูก่ บั วัยและประสบการณ์ ซื่อสัตยตอกันของชายหนุมและหญิงสาว
ของผู้อ่าน เช่น พระอภัยมณี ใหขอคิดเกี่ยวกับการครองเรือน
๑) ด้ำนกำรศึกษำ ในวรรณคดีหลายเรือ่ งมักสอดแทรกค่านิยมเกีย่ วกับการศึกษา คือ นิราศภูเขาทอง ใหขอคิดที่สอดคลองกับคําสอน
ชี้ให้เห็นคุณค่าและความส�าคัญของการศึกษาเล่าเรียน ดังบทประพันธ์ ทางพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับความไมแนนอน
ลูกผู้ชายลายมือนั้นคือยศ เจ้าจงอตส่าห์ท�าสม�่าเสมียน ไมเที่ยงแท)
แล้วพาลูกออกมาข้างทางเกวียน จะจากเจียนใจขาดอนาถใจ
1
(ขุนช้างขุนแผน ตอน พลายงามพบพ่อ: ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง) ขยายความเขาใจ Expand
จากบทประพันธ์กล่าวถึง ค�าสอนของนางวันทองที่สอนพลายงามว่าให้เห็นความส�าคัญ นักเรียนจัดทําสมุดบันทึก “ขอคิดดีๆ จาก
และขยันหมั่นเพียรต่อการศึกษาเล่าเรียน วรรณคดีไทย” เพื่อบันทึกขอคิดที่ไดจากการศึกษา
๒) ด้ำนกำรท�ำงำน 2 ในวรรณคดีหลายเรื่องจะสอนให้รู้จักการท�างานหรือหน้าที่ที่ วรรณคดีที่นักเรียนชื่นชอบคนละ 5 เรื่อง
ต้องรับผิดชอบ เช่น มงคลสู
มงคลสูตรค�าฉันท์ สอนเรื่องการท�างานให้มีความเรียบร้อย ไม่คั่งค้าง ในบทละคร
เรื่อง รามเกียรติ์ มีค�าสอนเกี่ยวกับเรื่องการท�างาน ส�าหรับผู้ที่มีอาชีพรับราชการว่าควรปฏิบัติตน
อย่างไร ดังบทประพันธ์
อย่าแต่งตัวโอ่อวดพระทรงชัย ที่ในพระโรงรัตนา
หมอบเฝ้าอย่าก้มเงยหงาย อย่าเตร่ตร่ายเหลือบแลซ้ายขวา
(รามเกียรติ์ ตอน พาลีสอนน้อง: พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช)

จากบทประพันธ์สะท้อนให้เห็นว่า ในฐานะข้าราชบริพาร เมือ่ จะเข้าเฝ้าพระเจ้าแผ่นดิน


หรือพบผู้ใหญ่ต้องแต่งกายให้เหมาะสมกับกาลเทศะ ตลอดจนรู้จักส�ารวมกิริยา
(9)

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
วรรณกรรมที่มีจุดมุงหมายเพื่อสอนใหผูอานเปนคนดีอยูในหลักศีลธรรมมี
1 ตอนพลายงามพบพอ เปนตอนทีพ่ ลายงามออนวอนใหยา พาไปหาขุนแผนทีใ่ นคุก
คุณคาดานสังคมอยางไร
พอลูกไดพบกัน ขุนแผนไดฝากพลายงามใหอยูในความดูแลของนางทองประศรี
แนวตอบ วรรณกรรมที่สอนใหผูอานเปนคนดีอยูในหลักศีลธรรมมีคุณคา โดยใหเรียนวิชาตางๆ กับผูเปนยา ทั้งดานวิชาการและคาถาอาคม เมื่อพลายงาม
ดานสังคมอยางเปนนามธรรม เปนเรื่องที่สรางสรรคขึ้นดวยตองการใหคนใน อายุได 13 ป นางทองประศรีไดทําพิธีโกนจุกให
สังคมกระทําความดี คือ เมื่อทุกคนเปนคนดีมีศีลธรรม ก็จะอยูรวมกันอยาง 2 มงคลสูตรคําฉันท เปนวรรณคดีคําสอน ผลงานพระราชนิพนธในพระบาท-
สงบสุข เปนสังคมที่นาอยู ซึ่งจะปรากฏเปนรูปธรรม สมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวที่ทรงนําหลักธรรมที่มีแนวคิดสําคัญ คือ ความเจริญ
รุงเรืองในชีวิต เกิดจากการประพฤติปฏิบัติของตนเองทั้งสิ้น หาไดเกิดจากผูอื่น
สิ่งอื่น หรือวัตถุโชคลางใดๆ จากภายนอก

คูมือครู (9)
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
1. นักเรียนแบงกลุมศึกษาเนื้อหาในหนังสือเรียน
เรื่อง หลักการวิเคราะหคุณคาวรรณคดี และ ๓) ด้ำนกำรด�ำรงชีวิตประจ�ำวัน ในวรรณคดีหลายเรื่อง ให้คติสอนใจ สามารถ
สรุปใจความสําคัญ ดังนี้ น�าความรู้ ความคิดไปใช้เตือนใจได้ ดังบทประพันธ์
• กลุมที่ 1 การวิเคราะหคุณคาวรรณคดี บัดเดี๋ยวดังหง่างเหง่งวังเวงแว่ว สะดุ้งแล้วเหลียวแลชะแง้หา
ดานเนื้อหา เห็นโยคีขี่รุ้งพุ่งออกมา ประคองพาขึ้นจนบนบรรพต
• กลุมที่ 2 การวิเคราะหคุณคาวรรณคดี แล้วสอนว่าอย่าไว้ใจมนุษย์ มันแสนสุดลึกล�้าเหลือก�าหนด
ดานวรรณศิลป ถึงเถาวัลย์พันเกี่ยวที่เลี้ยวลด ก็ไม่คดเหมือนหนึ่งในน�้าใจคน
• กลุมที่ 3 การวิเคราะหคุณคาวรรณคดี มนุษย์นี้ที่รักอยู่สองสถาน บิดามารดารักมักเป็นผล
ดานสังคม ที่พึ่งหนึ่งพึ่งได้แต่กายตน เกิดเป็นคนคิดเห็นจึงเจรจา
• กลุมที่ 4 การวิเคราะหขอคิดที่สามารถนํา (พระอภัยมณี: สุนทรภู่)
ไปปรับใชในชีวิตประจําวัน จากบทประพันธ์จะเห็นว่าค�าสอนของพระฤๅษีเป็นสัจธรรม ความจริงแท้ของชีวิต
2. จากนั้นนักเรียนสงตัวแทนกลุมออกมานําเสนอ โดยเปรียบเทียบให้เห็นชัดเจนว่า ถึงเถาวัลย์พนั เกีย่ วทีเ่ ลีย้ วลดก็ไม่คดเหมือนหนึง่ ในน�า้ ใจคน เพราะฉะนัน้
ดวยการอธิบายหนาชั้นเรียน อย่าไว้ใจใครง่ายๆ เพราะเรารู้หน้าแต่ไม่รู้ใจ คนที่รักเราจริงแท้คือ บิดา มารดา ให้รู้จักพึ่งตนเอง
3. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนซักถามขอสงสัย และให้คิดก่อนพูดทุกครั้ง

ขยายความเขาใจ Expand ๓ หลักการวิเคราะห์คุณค่าวรรณคดี


1. นักเรียนรวมกันอภิปรายในหัวเรื่องดังตอไปนี้ การอ่านวรรณคดีเพือ่ ให้ได้รบั ประโยชน์มากทีส่ ดุ ผูอ้ า่ นจะต้องรูจ้ กั วิเคราะห์คณ
ุ ค่าของวรรณคดี
• นักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันวา ซึ่งหลักการวิเคราะห์มีดังนี้
แตละคนมีความชื่นชอบวรรณคดีเรื่องใด ๓.๑ การวิเคราะห์คณ
ุ ค่าด้านเนือ้ หา
เพราะเหตุใด และวรรณคดีเรื่องนั้นมีคุณคา ผู้อ่านต้องอ่านเนื้อหาสาระให้เข้าใจตลอดเรื่อง โดยศึกษาตั้งแต่ที่มาของเรื่อง ประวัติ
ดีเดนในดานใด ผู้แต่ง ค�าศัพท์ ส�านวนโวหาร โครงเรื่อง ตัวละคร ฉาก บทสนทนา แก่นของเรื่อง หรือเจตนาของ
(แนวตอบ นักเรียนแสดงความคิดเห็นได ผูแ้ ต่งว่าต้องการสือ่ สารอะไรให้แก่ผอู้ า่ น และผูอ้ า่ นสามารถน�ามาประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจ�าวันได้อย่างไร
หลากหลายขึ้นอยูกับเหตุผลของนักเรียน เช่น 1
ครูชวยชี้แนะคุณคาอื่นๆ ของวรรณคดีเรื่อง บทละครนอกเรือ่ งสังข์ทอง อง จะเห็นว่าแม้พระสังข์ทองจะเอารูปเงาะเข้าสวมไว้ คนทัว่ ไป
ที่นักเรียนชื่นชอบเพิ่มเติม) มองว่าพระสังข์ทองเป็นเงาะป่า น่าหัวเราะเยาะ แต่นางรจนากลับมองเห็นสิ่งที่อยู่ภายใน ว่าเป็นคนดี
2. นักเรียนชวยกันยกตัวอยางวรรณคดีที่มีคุณคา มีน�้าใจ มีคุณธรรม มีความสามารถ และฉลาดหลักแหลม นางรจนาจึงเลือกคนที่รูปลักษณ์ภายนอก
ไม่งดงาม แต่ภายในเปีย่ มไปด้วยความสามารถ แม้จะถูกไล่ไปอยูท่ กี่ ระท่อมปลายนาแต่นางก็มคี วามสุข
ดานเนื้อหา ดานวรรณศิลป ดานสังคม และ
เมื่อได้อยู่กับคนที่ตนรัก 2
ขอคิดทีส่ ามารถนําไปปรับใชในชีวติ ประจําวัน กาพย์เรื่องพระไชยสุริยาา เนื้อหากล่าวว่า พระไชยสุริยาเป็นเจ้าเมืองที่ปล่อยปละละเลย
คนละ 1 เรื่อง ไม่ดูแล ตรวจสอบข้าราชการ เปิดโอกาสให้ข้าราชการทุจริต คิดมิชอบ อันเป็นเหตุให้บ้านเมืองปั่นป่วน
3. นักเรียนบันทึกความรูตามหัวขอที่รวมกัน และเกิดความล่มจมในที่สุด
อภิปราย (10)

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ครู ค วรเพิ่ ม เติ ม ความรู  เ กี่ ย วกั บ การพิ จ ารณาข อ คิ ด จากวรรณคดี เ รื่ อ งต า งๆ นาคีมีพิษเพี้ยง สุริโย
เนื่องจากวรรณคดีแตละเรื่องมักสอดแทรกขอคิดหรือคติธรรม นักเรียนควรพิจารณา เลื้อยบทําเดโช แชมชา
วรรณคดี โดยพิจารณารวมกับบริบทของยุคสมัยในบทประพันธ โดยไมยดึ ความคิดเห็น พิษนอยหยิ่งโยโส แมลงปอง
ของตนเองเปนศูนยกลาง แตควรมุง พิจารณาบริบททางสังคมและวัฒนธรรมรวมดวย ชูแตหางเองอา อวดอางฤทธี ฯ
เพื่อใหนักเรียนเขาใจสภาวะความเปนมนุษยของตัวละคร บทประพันธขางตนใหขอคิดสอดคลองกับขอใดมากที่สุด
1. ถอมตน
2. เชิดชูตน
3. ขมใจตน
นักเรียนควรรู 4. เชื่อมั่นในตนเอง
1 บทละครนอกเรื่องสังขทอง เปนผลงานพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จ วิเคราะหคําตอบ เนื้อหาของบทประพันธกลาวเปรียบเทียบระหวาง
พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว พญานาคซึ่งมีพิษมหาศาลแตมีความถอมตน ตางจากแมลงปองมีพิษนอย
2 กาพยเรื่องพระไชยสุริยา นอกจากจะสะทอนเกี่ยวกับการประพฤติมิชอบของ แตกลับชูหางแสดงอํานาจของตนไมรูจักถอมตน ตอบขอ 1.
เหลาขาราชบริพารแลว ยังเปนตนแบบของแบบเรียนมาตราตัวสะกดไดเปนอยางดี

(10) คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
1. นักเรียนอธิบายการวิเคราะหคุณคาดาน
การวิเคราะห์คุณค่าด้านเนื้อหา ผู้อ่านจะต้องอ่านเนื้อหาให้เข้าใจตลอดเรื่อง จึงจะ วรรณศิลปที่เกี่ยวกับรสคําและรสความ
สามารถเข้าใจเรื่องราวโดยตลอดและสามารถทราบได้ว่าแก่นของเรื่องคืออะไร ผู้แต่งสื่อสารแนวคิดใด (แนวตอบ การวิเคราะหรสคําและรสความ
แก่ผู้อ่าน นอกจากจะเกี่ยวของกับการใชถอยคําภาษา
๓.๒ การวิเคราะห์คณ
ุ ค่าด้านวรรณศิลป์ แลวยังหมายรวมถึงรสวรรณคดีที่ชวยเพิ่ม
ผู้อ่านจะต้องพิจารณาทั้งรสของถ้อยค�าและรสความ เพื่อให้เห็นความงดงามของภาษา อรรถรสทางการอานวรรณคดีดวย รสวรรณคดี
ดังบทประพันธ์ ไทย ไดแก เสาวรจนี (ชมโฉม ชมความงาม)
พระสุริยงลงลับพยับฝน ดูมัวมนมืดมิดทุกทิศา นารีปราโมทย (เกี้ยวพาราสี) พิโรธวาทัง (โกรธ
ถึงทางลัดตัดทางมากลางนา ทั้งแฝกคาแขมกกขึ้นรกเรี้ยว โมโห) สัลลาปงคพิสัย (ครํ่าครวญ โศกเศรา))
เป็นเงาง�้าน�้าเจิ่งดูเวิ้งว้าง ทั้งกว้างขวางขวัญหายไม่วายเหลียว 2. นักเรียนตอบคําถามเกี่ยวกับคุณคาดานสังคม
เห็นดุ่มดุ่มหนุ่มสาวเสียงกราวเกรียว ล้วนเรือเพรียวพร้อมหน้าพวกปลาเลย ที่ปรากฏในวรรณคดีและวรรณกรรมไทย ดังนี้
(นิราศภูเขาทอง: สุนทรภู่) • นักเรียนอภิปรายรวมกันวา ความรูที่ไดจาก
จากบทประพันธ์จะเห็นว่ารสของถ้อยค�า คือ การเลือกสรรค�า เพื่อให้เกิดเสียงเสนาะ วรรณคดีและวรรณกรรมเปนความรูเกี่ยวกับ
ที่สร้างอารมณ์ ความรู้สึก และบรรยากาศ เช่น สัมผัสสระ คือ (สุริ)ยง - ลง ลับ - พยับ ลัด - ตัด เรื่องใดบาง
ทาง - กลาง กก - รก ง�า้ - น�า้ เจิง่ - เวิง้ กว้าง - ขวาง หาย - วาย และสัมผัสอักษร คือ ลง - ลับ มัว - มน - มืด - มิด (แนวตอบ ความรูที่ไดมาจากการอานอยาง
คา - แขม รก - เรีย้ ว เงา - ง�า้ เวิง้ - ว้าง ขวาง - ขวัญ กราว - เกรียว เพรียว - พร้อม และยังสร้างบรรยากาศ พิจารณาซึ่งทําใหเห็นสภาพวิถีชีวิต คานิยม
รอบตัวยามพระอาทิตย์ตกดิน ท้องฟ้ามืดมัว ท้องทุ่งเต็มไปด้วยต้นแฝก คา แขม ทั้งรกและเวิ้งว้าง ความคิด และความเชื่อของคนในสังคม
เจิ่งนองไปด้วยน�้า จนเกิดความรู้สึกขวัญหาย เมื่อได้ยินเสียงหนุ่มสาว คนที่มาหาปลาจึงรู้สึกอุ่นใจขึ้น สมัยนั้น)
นอกจากความไพเราะอันเกิดจากรสของถ้อยค�าแล้ว รสของความนับเป็นสิ่งส�าคัญอีก
ประการหนึ่ง รสของความ คือ การกล่าวถ้อยค�าให้มีความหมายลึกซึ้งกว้างขวางกว่ 1 าถ้อยค�าธรรมดา ขยายความเขาใจ Expand
เกิดจากการใช้ความเปรียบหรือการกล่าวข้อความเกินจริง หรือใช้สัญลักษณ์ที่มุ่งให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์
ความรู้สึกมากกว่ารับทราบข้อเท็จจริง ดังบทประพันธ์ “พระเหลือบเล็งชลาสินธุ ในวารินทะเลวน
2 จึงเห็นรูปอสุรกล อันกลายแกลงเปนสีดา
เมื่อแรกเชื่อว่าเนื้อทับทิมแท้ มาแปรเป็นพลอยหุงไปเสียได้
กาลวงว่าหงส์ให้ปลงใจ ด้วยมิได้ดูหงอนแต่ก่อนมา ผวาวิ่งประหวั่นจิต ไมทันคิดก็โศกา
(ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนแผนบอกกล่าว: ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง) กอดแกวขนิษฐา ฤดีดิ้นอยูแดยัน”
(บทพากยโขนตอนนางลอย: รัชกาลที่ 2)
จากบทประพันธ์เป็นเนื้อความตอนหนึ่งที่ขุนแผนบริภาษนางวันทอง ซึ่งมีความโดดเด่น นักเรียนพิจารณารสคําและรสความของ
ในการใช้ถ้อยค�าเพื่อแสดงความหมายเปรียบเทียบและต้องอาศัยการตีความจากผู้อ่าน เช่น ทับทิม บทพากยโขน ตอนนางลอย
เป็นอัญมณีสีแดงที่มีราคาสูง มีค่ามาก ส่วนพลอยหุง คือ พลอยที่ท�าเทียมขึ้นมา จึงมีราคาถูก ส่วนกา
(แนวตอบ บทพากยโขนตอนที่ยกมานี้ กวี
และหงส์ เป็นสัตว์ที่ต่างสายพันธุ์กันและถูกให้ค่าต่างกัน ทั้งสองสิ่งจึงถูกน�ามาใช้เปรียบเทียบ
กับค่าของคน ดังที่ขุนแผนบริภาษนางวันทองว่าประพฤติตนไม่เหมาะสม เปรียบได้กับของไม่มีค่า
เลือกสรรคําที่ทําใหรูสึกถึงความตกใจและเศรา
หรือสัตว์ที่ปราศจากความงาม ใจ มีสัมผัสเสียงในวรรค คือ สัมผัสอักษร สวน
(11) รสความทําใหเห็นฉากเลหอ บุ ายของฝายทศกัณฐ เมือ่
พระรามเห็นรางนางเบญจกาย ซึง่ แปลงเปนนางสีดา
ลอยนํ้ามา ทําใหพระรามตกใจมากจนขาดสติ
รํ่าไหครํ่าครวญแทบจะสิ้นใจ)
ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ยางขาวขนเรียบรอย ดูดี
1 สัญลักษณ อาจเปนสิ่งมีชีวิตหรือไมมีชีวิต ใชแทนหรือเปนตัวแทนสิ่งอื่นที่มี
ภายนอกหมดใสสี เปรียบฝาย
คุณสมบัติรวมกัน เชน สีขาวเปนสัญลักษณของความบริสุทธิ์ ความไรเดียงสา
กินสัตวเสพปลามี ชีวิต
สัตวในวรรณคดีตางๆ พระยาครุฑเปนสัญลักษณของผูที่มีกําลังมาก ราชสีหเปน
เฉกเชนชนชาติราย นอกนั้นนวลงาม
สัญลักษณของเจาปามีความนาเกรงขาม เปนตน
บทประพันธตอไปนี้ขอใดมีการใชความเปรียบสอดคลองกับบทประพันธ
ขางตน 2 พลอยหุง คือ พลอยที่มีการปรับปรุงคุณภาพ สามารถทําไดหลายลักษณะ แตที่
1. ใจชนใจชั่วชา โฉงเฉง ทํากันมาก คือ การหุง หรือการเผาพลอยในอุณหภูมิสูงและความดันสูง เพื่อเปลี่ยน
2. ใจจักสอนใจเอง ไปได สีพลอยใหสุกสวยขึ้น ทั้งสามารถเผาตําหนิในเนื้อพลอยใหเลือนหายไป แมพลอย
3. ใจปราชญดัดตามเพลง พลันงาย ที่มีรอยแตกอยูขางใน ก็สามารถใชการเผาในทอ เพื่อหลอมรอยแตกใหสมานกัน
4. ดุจชางปนดัดไม แตงใหปนตรง เปนการยอมสีพลอยที่ไมมีคาใหกลายเปนพลอยที่สีธรรมชาติหายากราคาแพง
ดังนั้นการเปรียบวาเปนพลอยหุง จึงเปนการดูถูกตอวา วาไมดีจริง แตทําเนียนวาดี
วิเคราะหคําตอบ “ดุจชางปนดัดไม แตงใหปนตรง” เปนการใชโวหาร
ภาพพจนแบบอุปมาเพราะมีการใชคําแสดงความเปรียบเทียบคําวา “ดุจ”
ตอบขอ 4.

คูมือครู (11)
ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand Evaluate
Engage Explore Explain
ขยายความเขาใจ Expand
นักเรียนยกวรรณคดีหรือวรรณกรรมไทยมา
1 เรื่อง และรวมกันแสดงความคิดเห็น ๓.๓ การวิเคราะห์คณ
ุ ค่าด้านสังคม
• นักเรียนจะนําขอคิดมาประยุกตใชใน วรรณคดีและวรรณกรรม มักจะสอดแทรกความรู้ สะท้อนวัฒนธรรม สภาพวิถีชีวิต
ชีวิตประจําวันอยางไร ความคิด ค่านิยม ความเชื่อของผู้คนในสมัยที่แต่ง ผู้อ่านจะต้องอ่านอย่างพิจารณาว่าผู้อ่านได้รับ
(แนวตอบ นักเรียนสามารถยกวรรณคดีและ ความรู้เรื่องใดบ้าง และได้เห็นสภาพวิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ ที่แฝงอยู่ในงานประพันธ์อย่างไร
วรรณกรรมไทยไดหลากหลายขึ้นอยูกับ
ประสบการณและมุมมองของนักเรียน โดย ๓.๔ การวิเคราะห์ขอ้ คิดทีส่ ามารถนำาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำาวัน
ครูพิจารณาวาเรื่องที่ยกมาสามารถนํามา การอ่านวรรณคดีหรือวรรณกรรม เมื่อผู้อ่านสามารถวิเคราะห์ได้ว่าเรื่องที่อ่านมีคุณค่า
ประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดจริง) ด้านเนื้อหา ด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคมอย่างไร ผู้อ่านย่อมสามารถมองเห็นข้อคิดต่างๆ ที่สอดแทรกอยู่
ในวรรณคดีเรื่องนั้นและเห็นแนวทางในการน�าข้อคิดไปใช้ในชีวิตประจ�าวัน โดยเริ่มจาก
ตรวจสอบผล Evaluate ๑) พิจำรณำข้อคิด การอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมทุกเรื่อง ผู้อ่านจะได้รับข้อคิด
1. นักเรียนยกตัวอยางวรรณคดีที่มีความนาสนใจ ที่แตกต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับวัยและประสบการณ์ของผู้อ่าน ซึ่งผู้อ่านจะต้องพิจารณาว่าเป็นข้อคิดใน
และใหคุณคาดานเนื้อหาในวรรณคดีที่นักเรียน เรื่องใดและสามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวันได้อย่างไร
เคยอาน ๒) น�ำไปใช้ เมื่อพิจารณาข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณคดีแล้วว่า สามารถน�าไปใช้
2. นักเรียนรวมกันยกขอความหรือบทประพันธ ในชีวิตประจ�าวันและเกิดประโยชน์ทั้งต่อตนเองและสังคม จึงควรน้อมน�าข้อคิดที่ได้มาประพฤติปฏิบัติ
จากวรรณคดีหรือวรรณกรรมไทยเรื่องอื่นๆ ที่ โดยเริ่มที่ตนเองก่อน จากนั้นจึงขยายไปสู่บุคคลอื่น
สะทอนใหเห็นการใชพรรณนาโวหาร บรรยาย การอ่านวรรณคดีหรือวรรณกรรมจะเกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้อ่าน เมื่อผู้อ่านพิจารณา
โวหาร และอุปมาโวหาร คุณค่าของวรรณคดีครบรอบด้าน ทัง้ ด้านเนือ้ หา ด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคม และการน�าข้อคิดไปประยุกต์
3. นักเรียนจับคูยกตัวอยางบทประพันธจาก ใช้ในชีวิตประจ�าวัน วรรณคดีหรือวรรณกรรมบางเรื่องอาจจะให้คุณค่าไม่ครบตามที่ผู้อ่านคาดหวัง
วรรณคดีเรื่องตางๆ ที่มีการใชภาพพจนได แต่การอ่านอย่างพินิจพิเคราะห์ เป็นการฝึกกระบวนการคิดได้ดียิ่งวิธีหนึ่ง การวิเคราะห์ของผู้อ่าน
4. นักเรียนบอกขอคิดที่ไดจากการศึกษาวรรณคดี แต่ละคนอาจไม่เหมือนกัน เพราะความแตกต่างกันด้านความรู้ ความเข้าใจ เพศ และวัย แต่ผู้อ่าน
ที่นักเรียนชื่นชอบได จะเข้าใจได้ดียิ่งขึ้นหากผู้อ่านแต่ละคนได้มาเข้ากลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน
วรรณคดีเป็นผลงานสร้างสรรค์จากความรู้ ความคิด และภูมิปัญญาอันชาญฉลาดของ
ปราชญ์แห่งแผ่นดินและนับเป็นสมบัติที่เป็นมรดกตกทอดมาถึงลูกหลานไทยทุกคน เป็นหน้าที่ของ
หลักฐานแสดงผลการเรียนรู คนไทยที่จะต้องศึกษาวรรณคดีของชาติให้เข้าใจด้วยการอ่านอย่างพินิจพิจารณา วิเคราะห์คุณค่าของ
1. ผังมโนทัศนของวรรณคดีเรื่องที่สนใจ วรรณคดีที่อ่าน เมื่อเห็นคุณค่าย่อมมีความภูมิใจในภูมิปัญญาของบรรพชน ผู้อ่านที่มีวิจารณญาณจะ
2. บันทึกคุณคาทางวรรณคดีเรื่องตางๆ ที่เพื่อน สามารถน�าความรู ้ ความคิด ข้อเสนอแนะ คติธรรมทีไ่ ด้ไปปรับใช้ให้เป็นประโยชน์ในชีวติ เช่น น�าความรู้
นําเสนอ ไปใช้อ้างอิงในงานเขียนต่างๆ หรือน�าเอาแนวคิด คติธรรมที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจ�าวัน
3. สมุดบันทึก “ขอคิดดีๆ จากวรรณคดีไทย”

(12)

กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
ครูแนะแนวทางในการศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมไทยจากบทนําของหนังสือ นักเรียนเลือกบทประพันธที่นักเรียนชื่นชอบจากวรรณคดีเรื่องใดก็ได
เรียนภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม โดยพึงตระหนักวา ความเขาใจวรรณคดี มา 1-2 บท จากนั้นใหนักเรียนพิจารณาวา บทประพันธที่นักเรียนเลือกมามี
และวรรณกรรมของนักเรียนอาจมีไดตางๆ กันตามมุมมองและความคิดเห็น คุณคาวรรณคดีและมีความโดดเดนในดานใด บันทึกลงสมุด
ของนักเรียนแตละคน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับประสบการณการสั่งสมความรูจากการอาน
การดําเนินชีวิต ซึ่งสิ่งเหลานี้ทําใหนักเรียนมีระดับการเขาถึงเนื้อเรื่องในระดับ
ตางๆ ครูจึงควรมุงใหการอาน การศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมเปนการสั่งสม
ประสบการณชีวิตเพิ่มเติม สามารถพัฒนาจิตใจจากความเพลิดเพลินของวรรณคดี กิจกรรมทาทาย
และวรรณกรรมเรื่องตางๆ ได

นักเรียนเลือกบทประพันธที่นักเรียนชื่นชอบจากวรรณคดีเรื่องใดก็ไดมา
มุม IT 1-2 บท จากนั้นใหนักเรียนพิจารณาวาบทประพันธนั้นมีขอคิดที่นําไปปรับ
ไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดหรือไม อยางไร บันทึกลงสุมด
นักเรียนสามารถคนควาเกี่ยวกับความสําคัญของวรรณคดีกับสังคมไดจาก
http://www.mwit.ac.th/~saktong/learn5/60.pdf
(12) คูมือครู
กระตุน ความสนใจ
Engage สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Explore Explain Expand Evaluate
กระตุน ความสนใจ Engage

ตอนที่ õ วรรณคดีและวรรณกรรม ครูใหนักเรียนดูภาพหนาตอน ตอนที่ 5


วรรณคดีและวรรณกรรม แลวตอบคําถามตอไปนี้
• จากภาพหนาตอน นักเรียนบอกไดหรือไมวา
เปนวรรณคดีหรือวรรณกรรมเรื่องใด
(แนวตอบ นักเรียนอาจตอบไดมากนอย
แตกตางกัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับประสบการณ
การอานของนักเรียนแตละคน ครูควรแนะ
ใหนักเรียนดูผังมโนทัศนที่ดานในปกหนา
ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
• หนวยการเรียนรูที่ 1 โคลงภาพพระราช
พงศาวดาร
• หนวยการเรียนรูที่ 2 บทเสภาสามัคคีเสวก
ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก
• หนวยการเรียนรูที่ 3 ศิลาจารึกหลักที่ 1
• หนวยการเรียนรูที่ 4 บทละครเรื่อง
รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก
• หนวยการเรียนรูที่ 5 กาพยหอโคลง
ประพาสธารทองแดง
• หนวยการเรียนรูที่ 6 โคลงสุภาษิต
พระราชนิพนธ พระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
• หนวยการเรียนรูที่ 7 กลอนดอกสรอย
รําพึงในปาชา
• หนวยการเรียนรูที่ 8 นิราศเมืองแกลง)
• จากภาพหนาตอน นักเรียนรูจัก
ตัวละครใดบาง จากเรื่องใด
(แนวตอบ นักเรียนตอบไดหลากหลาย ขึ้นอยู
กับประสบการณการศึกษาวรรณคดีและ
วรรณกรรมของนักเรียนแตละคน)

เกร็ดแนะครู
ครูทบทวนความจําของนักเรียน โดยยกวรรณคดีเรื่องที่นักเรียนเคยเรียนมา
ในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โดยใหนักเรียนวิเคราะหองคประกอบตางๆ ของวรรณคดี
เรื่องนั้น เชน แนวคิดของเรื่อง ตัวละคร ลักษณะคําประพันธ ฉาก เปนตน หรือ
ใหนักเรียนเขียนโครงเรื่องของวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่นักเรียนจําได การจัด
กิจกรรมนี้อาจกําหนดเรื่องที่นักเรียนสนใจหรือมีประสบการณรวมกัน แลวให
นักเรียนชวยกันวิเคราะห ตั้งประเด็นคําถามตางๆ เพื่อทบทวนความรูทางวรรณคดี

คูมือครู 1
กระตุน ความสนใจ
Engage สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Explore Explain Expand Evaluate
เปาหมายการเรียนรู
1. สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน
2. วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน พรอม
ยกเหตุผลประกอบ
3. อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่
อาน
4. สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพื่อประยุกต
ใชในชีวิตจริง

สมรรถนะของผูเรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกปญหา
4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค


1. รักชาติ ศาสน กษัตริย
2. ใฝเรียนรู
3. รักความเปนไทย หน่วยที่
โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
กระตุน ความสนใจ Engage ตัวชี้วัด
■ สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน (ท ๕.๑ ม.๒/๑) โ คลงภาพพระราชพงศาวดารเป็ น
1. ครูถามนักเรียนเกี่ยวกับภาพหนาหนวย ■ วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน พร้อมยกเหตุผลประกอบ
(ท ๕.๑ ม.๒/๒)
วรรณคดี ที่ ถ ่ า ยทอดเรื่ อ งราวจากหลาย
เรื่องโคลงภาพพระราชพงศาวดาร ■ อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน (ท ๕.๑ ม.๒/๓) เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ชาติไทย ตั้งแต่
■ สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านเพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

• บุคคลที่ปรากฏในภาพเปนใครและกําลัง สมัยอยุธยาจนกระทั่งถึงสมัยรัตนโกสินทร์
(ท ๕.๑ ม.๒/๔)
โดยถ่ายทอดผ่านทางบทประพันธ์ประเภทโคลง
กระทําสิ่งใด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง ทีพ
่ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรง
(แนวตอบ พันทายนรสิงหกําลังกมกราบ พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เขียนขึ้นเพื่อประกอบ
พระเจาเสือ) ■ การวิเคราะห์คุณค่าและข้อคิดจากวรรณคดี
และวรรณกรรมเรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ภาพจิตรกรรม โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้คนไทย
2. ครูสนทนารวมกับนักเรียนเกี่ยวกับธรรมเนียม เกิดความภูมิใจในเกียรติคุณและวีรกรรมที่ควรค่า
ประเพณีการเสด็จประพาสของกษัตริย แก่การยกย่องของบรรพชน
ในสมัยอยุธยา เพื่อทบทวนพื้นความรู
ความเขาใจกอนเริ่มบทเรียน

เกร็ดแนะครู
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในหนวยการเรียนรูนี้ ครูชี้ใหนักเรียนเห็น
วัตถุประสงคของการเรียนโคลงประกอบภาพพระราชพงศาวดารวามีคุณคา
หลายดาน ทั้งทางดานประวัติศาสตร วรรณคดี และศิลปะ ซึ่งเกิดจากการศึกษา
เนื้อเรื่องและภาพประกอบควบคูกัน หากนักเรียนอานแตเพียงเนื้อเรื่องที่ปรากฏใน
โคลง ซึ่งในตอนๆ หนึ่งมีเพียง 4-6 บท อาจจะทําใหยากที่จะเขาใจประวัติศาสตร
ความเปนมาและเปนไปของเรื่อง การอานวรรณคดีจะขาดความซาบซึ้งในอรรถรส
ของบทประพันธ ครูจึงควรแนะใหนักเรียนศึกษาประวัติศาสตรเกี่ยวกับเหตุการณ
โคลงประกอบภาพทั้งสองเพิ่มเติม

2 คูมือครู
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา
Engage Explore อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Explain Expand Evaluate
กระตุน ความสนใจ Engage
ครูใหนักเรียนดูภาพรวมกันในโคลงภาพ
๑ ความเป็นมา 1
พระราชพงศาวดาร จากหนังสือเรียน หนา 3
โคลงภาพพระราชพงศาวดาร เกิดขึ้นโดยพระราชด�าริพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า แลวสอบถามนักเรียนดังนี้
เจ้าอยู่หัว ทรงเลือกสรรเรื่องในพระราชพงศาวดาร ให้ช่างเขียนที่มีฝีมือเขียนรูปภาพและให้มี • ภาพทั้ง 4 ภาพเปนภาพอะไร
โคลงบอกเรื่องพระราชพงศาวดารตรงที่เขียนรูปภาพติดประจ�าไว้ทุกกรอบ รูปขนาดใหญ่มีจ�านวน (แนวตอบ ภาพทั้ง 4 ภาพ ไดแก
โคลงรูปละ ๖ บท รูปขนาดกลางและขนาดเล็กมีจ�านวนโคลงรูปละ ๔ บท ภาพที่ 1 ภาพสรางกรุงศรีอยุธยา
การแต่ ง โคลงนั้ น พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ทรงพระราชนิ พ นธ์ บ ้ า ง ภาพที่ 2 ภาพสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
โปรดเกล้าฯ ให้พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการซึ่งสันทัดการประพันธ์แต่งถวายบ้าง ส่วนรูปภาพ ทํายุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชา
เรื่องพระราชพงศาวดารก็โปรดเกล้าฯ ให้จัดการประกวดเขียนภาพขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๓๐ แล้วสร้างขึ้น
ภาพที่ 3 ภาพพระนารายณยกเขาไปตี
จ�านวน ๙๒ ภาพ โคลงที่แต่งมีจ�านวน ๓๗๖ บท
เมื่อสร้างส�าเร็จใน พ.ศ. ๒๔๓๐ ได้โปรดเกล้าฯ ให้น�าภาพไปประดับพระเมรุท้องสนามหลวง พระราชวัง
เมื่อครั้งพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย2 สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ ภาพที่ 4 ภาพฉลองพระศรีศากยมุนี
เจ้าฟ้าตรีเพ็ชรุตม์ธ�ารง สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ และพระอัครชายาเธอ หนาพระตําหนักนํ้า)
พระองค์ เจ้ า เสาวภาคนารี รั ต น์ ในงานพระเมรุ ค รั้ ง นี้ ยั ง ได้ โ ปรดเกล้ า ฯ ให้ ร วบรวมโคลงเรื่ อ ง • ภาพที่นักเรียนไดดูมีคุณคาอยางไร
พระราชพงศาวดารให้พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) แต่งบานแผนกร่ายน�าโคลงภาพ (แนวตอบ เปนภาพที่ใชประกอบพระราช
พระราชพงศาวดารก�ากับ แล้วพิมพ์พระราชทานแจก พงศาวดาร ซึ่งนับวาเปนหลักฐานทาง
ตัวอย่างภาพในโคลงภาพพระราชพงศาวดาร ประวัติศาสตรได และยังทําใหคนรุนหลัง
ไดทราบเรื่องราวทางประวัติศาสตรที่แจมชัด
มากขึ้น)

สํารวจคนหา Explore
1. นักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับประวัติ
ภาพสร้างกรุงศรีอยุธยา ภาพสมเด็จพระนเรศวรมหาราชท�ายุทธหัตถี ความเปนมาของโคลงภาพพระราชพงศาวดาร
นายอิ้ม เขียน กับพระมหาอุปราชา หลวงพิศณุกรรม์ เขียน จากอินเทอรเน็ต หรือหองสมุด
2. นักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับพระราชประวัติ
ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
และพระราชประวัติของพระเจาบรมวงศเธอ
กรมพระนราธิปประพันธพงศ จากแหลง
เรียนรูตางๆ
3. นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับฉันทลักษณของ
ภาพพระนารายณ์ยกเข้าไปตีพระราชวัง ภาพฉลองพระศรีศากยมุนี หน้าพระต�าหนักน�า้ คําประพันธประเภทโคลงสี่สุภาพจากแหลง
นายอิ้ม เขียน นายวร เขียน เรียนรูตางๆ

บูรณาการเชื่อมสาระ
ครูบูรณาการความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตรไทยกับกลุมสาระการเรียนรู นักเรียนควรรู
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร โดยนําเนื้อหา
1 พระราชพงศาวดาร มาจากคําวา พระราช+พงศาวดาร หมายถึง เรื่องราว
เกี่ยวกับเรื่องราวของประวัติศาสตรสมัยอยุธยา ซึ่งอาจมีการเปลี่ยนแปลง
ทางประวัติศาสตรเกี่ยวกับประเทศชาติหรือกษัตริย เชน พระราชพงศาวดาร
ขอมูลความรูใหมในกรณีที่มีประเด็นปญหา มีการวินิจฉัย วิเคราะห ตีความ
กรุงศรีอยุธยา พระราชพงศาวดารเชียงแสน เปนตน
หรือครูเลือกนําเสนอขอมูล ขอสรุปหรือขอคิดเห็นใหม ที่เปนเรื่องราวทาง
ประวัติศาสตร มีประโยชนตอการเรียนวรรณคดี แตอยางไรก็ตามในฐานะ 2 เจาฟาศิริราชกกุธภัณฑ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา-
ที่นักเรียนเปนผูศึกษาวรรณคดี เปาหมายสําคัญจึงควรพิจารณาจุดประสงค เจาอยูหัวและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ เมื่อครั้งสมเด็จพระเจา
ของเรื่องกับการใชภาษาหรือวรรณศิลปมากกวามุงเนนไปที่ขอเท็จจริง ลูกยาเธอ เจาฟาศิริราชกกุธภัณฑสิ้นพระชนม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา-
แตเพียงอยางเดียว เจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางพระเมรุเปนพิเศษ โปรดเกลาฯ ให
พระบรมวงศานุวงศทําเรือนรูปตางๆ โดยใชสิ่งกอสรางเปนไมจริง ดวยมีพระราช
ประสงควา ครั้นเสร็จการใหรื้อพระเมรุไปสรางเรือนคนไขไดจํานวน 4 หลัง
ณ บริเวณวังหลัง ซึ่งตอมาคือโรงพยาบาลศิริราชในปจจุบัน

คูมือครู 3
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนรวมกันศึกษารายนําโคลงภาพ
พระราชพงศาวดารของพระยาศรีสุนทรโวหาร พระยาศรีสุนทรโวหารได้กล่าวไว้ในร่ายน�าโคลงภาพพระราชพงศาวดารว่า พระบาทสมเด็จ
(นอย อาจารยางกูร) จากนั้นใหนักเรียนรวมกัน พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้เขียนภาพและแต่งโคลงประกอบภาพพระราชพงศาวดาร
อธิบายความจากคําประพันธ ด้วยมีพระราชประสงค์ที่จะสรรเสริญพระเกียรติคุณของพระมหากษัตริย์ตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึง
(แนวตอบ พระมหากษัตริยตั้งแตสมัยอยุธยามาถึง รัตนโกสินทร์ที่มีต่อประเทศชาติและประชาชนชาวไทย ตลอดจนเชิดชูเกียรติและวีรกรรมของหมู่
รัตนโกสินทรที่ผลัดเปลี่ยนกันขึ้นครองเมือง เสวกามาตย์ที่มีความกล้าหาญ ความสุจริต และความกตัญญูต่อแผ่นดิน
ลวนมีพระมหากรุณาธิคุณ อีกทั้งเหลาเสนาอํามาตย นอกจากนี้ ยังมีพระราชประสงค์ที่จะบ�ารุงฝีมือช่างไทยและสนับสนุนกวีที่มีความสามารถ
ขาราชบริพารที่รวมทําศึกสงคราม มีความซื่อสัตย ในการประพันธ์ให้ปรากฏชื่อเสียงสืบไป
สุจริต ยอมถวายชีวติ แทนกษัตริย ลวนเปนผมู พี ระคุณ
...พระบาทบรมนรินทร์ ปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ มหิศรอิศรกระษัตริย์ เบญจมรัช
และควรยกยองเชิดชู พระบาทสมเด็จพระจุลจอม-
ถวัลยราช บรมนารถทรงอนุศร ถึงภูธรนฤบาล ครั้งโบราณอโยธยา สืบเนื่องมาถึงกรุง
เกลาเจาอยูหัวจึงมีพระราชประสงคจะทํานุบํารุง รัตนโกสินทร์ผลัดบูรี พระคุ1ณมีนานา
ชางฝมือในบานเมือง ที่มีความฉลาดและมีฝมือ รวม ...ยังมีหมู่เสวกามาตย์ ที่องอาจสงคราม แลมีความสุจริต ทอดชีวิตรแทนเจ้า ด้วย
ถึงทํานุบํารุงเหลานักปราชญ กาพยกลอน มูลเค้ากตัญญู ควรเชิดชูความชอบ
เพื่อยกยองเชิดชูใหมีเกียรติสืบไป) ...หนึ่งพระประสงค์จะบ�ารุงผดุงฝีมือช่างสยาม รจเรขงามเอี่ยมสอาด เชิงฉลาด
ลายประดิษฐ์ ล้วนวิจิตรพึงชม หนึ่งพระบรมราชประสงค์ จะใคร่ทรงท�านุก ปลุกปรีชา
ขยายความเขาใจ Expand เชิงฉลาด แห่งนักปราชญ์กาพย์โคลง เพื่อชระโลงชูเชิด เพื่อบรรเจิดเกียรติยศ ให้ปรากฏ
ยาววัน...
1. นักเรียนบอกจุดประสงคในการศึกษาโคลงภาพ (ร่ายน�าโคลงภาพพระราชพงศาวดาร: พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร))
พระราชพงศาวดาร
(แนวตอบ 1. เพื่อใหนักเรียนตระหนักถึงความ โคลงสองเรื่องที่คัดมาให้นักเรียนศึกษา ได้แก่ 2
สําคัญของการอนุรักษงานวรรณกรรมและ • โคลงประกอบภาพที่ ๑๐ แผ่นดินสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ภาพพระสุริโยทัยขาดคอช้าง
งานศิลป 2. เพื่อใหระลึกและสํานึกใน พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระมหากรุณาธิคุณของพระมหากษัตริย และ • โคลงประกอบภาพที่ ๕๖ แผ่นดินสมเด็จพระเจ้าเสือ ภาพพันท้ายนรสิงห์ถวายชีวิต
เหลาเสนาอํามาตย ขาราชบริพารที่เปน พระนิพนธ์ในพระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิป
บรรพชนผูมีคุณของไทย) ประพันธ์พงศ์)
2. นักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับประวัติความเปนมา ภาพพระสุริโยทัยขาดคอช้าง ได้รับรางวัลที่ ๓ เป็นภาพเขียนฝีพระหัตถ์สมเด็จพระเจ้า
ของเรื่องโคลงภาพพระราชพงศาวดารรวมกัน บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ส่วนภาพพันท้ายนรสิงห์ถวายชีวิต ได้รับรางวัลที่
จากนั้นครูสุมนักเรียน 2-3 คน แสดงความ ๑๑ เขี ย นโดยนายทอง (พระวรรณวาดวิ จิ ต ร) ปั จ จุ บั น ภาพทั้ ง สองประดั บ อยู ่ ณ พระที่ นั่ ง
คิดเห็นหรือความรูสึกที่มีตอวรรณคดีเรื่องนี้ วโรภาษพิมาน พระราชวังบางปะอิน
• นักเรียนคิดวาบุคคลตัวอยาง ไดแก สมเด็จ
พระสุริโยทัยและพันทายนรสิงห มีความ
เสียสละที่ยิ่งใหญอยางไร
4
(แนวตอบ บุคคลทั้งคูมีความเสียสละที่ยิ่งใหญ
แกประเทศชาติบานเมืองซึ่งเปนการเสียสละ
เพื่อสวนรวม)
ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
โคลงประกอบภาพพระราชพงศาวดารมีความสัมพันธกับงานศิลปะแขนงใด
1 เสวกามาตย มาจากคําวา เสวก (เส-วก) + อํามาตย อานวา เส-วะ-กา-มาด
1. จิตรกรรมเหมือนจริง
หมายถึง ขาราชการในราชสํานัก
2. จิตรกรรมแบบรูปธรรม
2 สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ทรงมีพระนามเต็มวา “พระศรีสรรเพชญ สมเด็จ 3. จิตรกรรมแบบเหนือจริง
พระบรมราชาธิราชรามาธิบดี ศรีสินทรบรมมหาจักรพรรดิวรรยราชาธิบดินทร 4. จิตรกรรมแบบนามธรรม
ธรณินทราธิราชรัตนกาศภาสกรวงศ องคบรมาธิเบศร ตรีภวู เนตรวรนาถนายกดิลกรัตน
ราชชาติอาชาวไสย สมุทัยตโรมนต สกลจักรวาฬาธิเบนทร สุริเยนทราธิบดินทร วิเคราะหคําตอบ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรง
หริหรินทราธาดาธิบดีศรีวิบูลยคุณรุจิตร ฤทธิราเมศวรธรรมิกราชเดโชไชย พรหม มีพระราชประสงคใหเขียนภาพและแตงโคลงประกอบภาพพระราชพงศาวดาร
เทพาดิเทพตรีภูวนาธิเบศร โลกเชษฐวิสุทธมงกุฎเทศคตาม หาพุทธางกุรบรมพิ ดังนั้นจึงมีการถายทอดเรื่องราวพระเกียรติยศของบุคคลสําคัญในสมัยอยุธยา
บพิตร พระพุทธเจาอยูหัว พระมหานครทวารวดีศรีอยุธยา มหาดิลกภพ นพรัตน ลงบนภาพเขียน ซึ่งเรียกวา “จิตรกรรม” โดยเรื่องราวดังกลาวมีระบุใน
ราชธานีบุรีรมย” พระราชพงศาวดาร จึงเชื่อวาเกิดขึ้นจริง ดังนั้นภาพที่เขียนจึงเปนศิลปะ
เหมือนจริง ตอบขอ 1.

4 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
1. นักเรียนศึกษาพระราชประวัติของพระบาท
๒ »ÃÐÇѵԼٌᵋ§ สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว และ
พระราชประวัติของพระเจาบรมวงศเธอ
พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว กรมพระนราธิปประพันธพงศจากหนังสือเรียน
พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล า เจ า อยู  หั ว เป น พระมหากษั ต ริ ย  รั ช กาลที่ ๕ แห ง หนา 5 จากนั้น ครูสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับ
กรุงรัตนโกสินทร เปนพระราชโอรสพระองคใหญในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา พระปรีชาสามารถดานวรรณกรรมของพระองค
เจาอยูหัวและสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี 2. ครูขออาสาสมัคร 2-3 คน ชวยกันอธิบาย
ตลอดระยะเวลา ๔๒ ป ที่ทรงครองราชย พระองคทรงประกอบ เกี่ยวกับผลงานดานวรรณกรรมรัชกาลที่ 5
พระราชกรณียกิจสําคัญมากมาย เชน การเลิกทาส การปฏิรูปประเทศ และพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระนราธิป-
ทั้งในดานการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และการศึกษา ดวยพระปรีชา ประพันธพงศ
สามารถ ประเทศไทยจึงรอดพนจากการเปนอาณานิคมของมหาอํานาจ
ชาติตะวันตก ขยายความเขาใจ Expand
งานพระราชนิพนธของพระองคมีทั้งรอยแกวและรอยกรอง เชน
พระราชพิธสี บิ สองเดือน ไกลบาน โคลงสุ 1. นักเรียนจัดปายนิเทศแสดงพระราชประวัติของ
1 ภาษิตพระราชนิพนธ กาพยเหเรือ
ลิลิตนิทราชาคริต บทละครเรื่องเงาะปา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวและ
พระราชประวัติของพระเจาบรมวงศเธอ
พระประวัติพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศ กรมพระนราธิปประพันธพงศ
พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศ พระนามเดิมวา พระองคเจาวรวรรณากร 2. นักเรียนจัดกลุม กลุมละ 3-4 คน เลือกศึกษา
เปนพระราชโอรสลําดับที่ ๕๖ ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวและเจาจอมมารดาเขียน งานพระราชนิพนธของพระบาทสมเด็จพระ
กรมพระนราธิปประพันธพงศเปนเจานายทีท่ รงเชีย่ วชาญดานศิลปศาสตร จุลจอมเกลาเจาอยูหัวและพระเจาบรมวงศเธอ
ทุกแขนงและมีความรอบรูทางอักษรศาสตร บทพระนิพนธของพระองค กรมพระนราธิปประพันธพงศ กลมุ ละ 1 เรือ่ ง
มี ทั้ ง สารคดี แ ละบั น เทิ ง คดี ทั้ ง ที่ ท รงนิ พ นธ ขึ้ น เองและที่ ท รงแปล จากนั้นนํามาสรุปเนื้อหาและคุณคาทาง
และดัดแปลงมาจากภาษาอั งกฤษ ทรงเปนนักเขียนเรื่องสั้น โดยใช วรรณคดีใหเพื่อนฟง
2
พระนามแฝงวา “ประเสริฐอักษร” 3
งานพระนิพนธที่เปนที่รูจัก เชน บทละครรองเรื่องสาวเครือฟา
บทละครรําเรื่องพระลอ บทละครรองเรื่องพระราชพงศาวดารไทย
ตอนพันทายนรสิงห รุไบยาต นิราศไทรโยค นิราศนราธิป เรื่องสั้น
เรื่องสรอยคอที่หาย เปนตน

กิจกรรมสรางเสริม
นักเรียนควรรู
นักเรียนอานประวัติผูแตงโคลงประกอบภาพพระราชพงศาวดาร 1 เงาะปา แมจะมีรูปแบบของกลอนบทละคร แตก็มิไดทรงมีพระราชประสงค
โคลงภาพที่ 10 และ 56 จากนั้นสรุปผลงานการประพันธ เพื่อใชเลนละครแตอยางใด หากแตทรงพระราชนิพนธขึ้นเพื่อเปนที่ผอนคลายและ
สําราญพระทัย ในระหวางการพักฟนหลังทรงพระประชวร โดยใชเวลาเพียง 8 วัน
เทานั้น
กิจกรรมทาทาย 2 พระนามแฝง หรือนามแฝงของนักเขียนทั่วไป เริ่มใชในรัชสมัยพระบาท
สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เนื่องจากเปนชวงเวลาที่มีเจานายชั้นสูงและ
ขุนนางไปศึกษาตอในตางประเทศกันมาก การอานและการแปลวรรณกรรม
นักเรียนพิจารณาผลงานการประพันธเรื่องอื่นๆ ของผูแตงโคลงประกอบ จากตางประเทศ จึงเปนแรงบันดาลใจใหนักเขียนริเริ่มแตงวรรณกรรมสมัยใหม
ภาพพระราชพงศาวดาร จากนั้นเขียนแนะนําผลงานเรื่องที่นักเรียนสนใจ แลวเริ่มใชนามแฝงหรือนามปากกาในการเขียนหนังสือเชนเดียวกับนักเขียน
1 เรื่อง ความยาวครึ่งหนากระดาษ ตางประเทศ
3 บทละครรองเรื่องสาวเครือฟา บทละครรองเรื่องแรก ทรงดัดแปลงมาจาก
ละครโอเปราเรื่อง “มาดามบัตเตอรฟาย” (Madame Butterfly) บอกเลาเรื่องราว
ความรักที่โศกเศราของสาวเชียงใหมกับชายเมืองกรุง
คูมือครู 5
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู Explain
1. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายแสดงความ
คิดเห็นเกี่ยวกับฉันทลักษณของคําประพันธ
ประเภทโคลงสี่สุภาพ โดยยกโคลงแบบหรือ
๓ ลักษณะคÓประพันธ์ 1
โคลงตัวอยางประกอบการอธิบาย โคลงภาพพระราชพงศาวดาร แต่
แต่งด้วยค�าประพันธ์ประเภทโคลงสี่สุภาพ
(แนวตอบ โคลงสี่สุภาพที่แตงใหถูกตอง แผนผังและตัวอย่าง โคลงสี่สุภาพ
ตามฉันทลักษณบงั คับคําเอก 7 แหง คําโท 4 แหง
โดยใชรูปวรรณยุกตครบทุกแหง เรียกวา
 
  
    ่ ้  
 ( )
โคลงแบบหรือโคลงตัวอยาง (ไมนับคําสรอย)    
  
 ่
     
่ ้
ดังที่ปรากฏในวรรณคดีเรื่องลิลิตพระลอ    
  
  
  ่  
  ่
( )
“เสียงฦๅเสียงเลาอาง อันใด พี่เอย    
  
 ่
 
  ้ ่ ้
 
  
เสียงยอมยอยศใคร ทั่วหลา
สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤๅพี่ พันท้ายตกประหม่าสิ้น สติคิด
โดดจากเรือทูลอุทิศ โทษร้อง
สองพี่คิดเองอา อยาไดถามเผือ”)
พันท้ายนรสิงห์ผิด บทฆ่2า เสียเทอญ
2. นักเรียนสรุปเรื่องยอโคลงภาพพระราช
หัวกับโขนเรือต้อง คู่เส้นท�าศาล
พงศาวดารทั้งภาพที่ 10 และ 56 เปนสํานวน
ภาษาของนักเรียนเอง
๔ เรื่องย่อ
ขยายความเขาใจ Expand โคลงประกอบภาพที่ ๑๐ ภาพพระสุริโยทัยขาดคอช้าง
เนื้อเรื่องกล่าวถึงพระเจ้าบุเรงนองกษัตริย์พม่ายกกองทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระมหา
นักเรียนแตงคําประพันธประเภทโคลงสี่สุภาพ จักรพรรดิทรงน�ากองทัพออกสู้รบ สมเด็จพระสุริโยทัยพระอัครมเหสีจึงทรงเครื่องเป็นชายตามเสด็จ
ในหัวขอ “บุญคุณบรรพชนไทย” คนละ 1 บท ไปรบ เมื่อสมเด็จพระมหาจักรพรรดิเสียที พระเจ้าแปรไสช้างไล่ตามมา สมเด็จพระสุริโยทัยจึงขับช้าง
(แนวตอบ ในเบื้องตนนักเรียนสามารถแตงได ออกรับช้างข้าศึกไว้ เป็นจังหวะเดียวกับที่พระเจ้าแปรจ้วงฟัน สมเด็จพระสุริโยทัยถูกพระแสงของ้าว
ถูกตองตามฉันทลักษณ สวนการใชสํานวนภาษา ฟันสิ้นพระชนม์ซบอยู่กับคอช้าง พระราชโอรสทั้งสองพระองค์ได้กันพระศพกลับเข้าพระนคร
และความไพเราะของคําประพันธ ขึน้ อยูก บั ดุลยพินจิ
โคลงประกอบภาพที่ ๕๖ ภาพพันท้ายนรสิงห์ถวายชีวิต
ของครูผูสอน)
เนื้อเรื่องกล่าวถึงสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ ๘ (สมเด็จพระเจ้าเสือ) เสด็จโดยเรือพระที่นั่งเอกไชย
ไปประพาสทรงเบ็ดที่ปากน�้า เมืองสาครบุรี (ปัจจุบันคือ จังหวัดสมุทรสาคร) เมื่อเรือพระที่นั่งถึงต�าบล
ตรวจสอบผล Evaluate
โคกขามซึ่งเป็นคลองคดเคี้ยว โขนเรือพระที่นั่งชนกิ่งไม้ใหญ่หักลง พันท้ายนรสิงห์นายท้ายเรือพระที่นั่ง
1. นักเรียนรวมกันวิเคราะหจุดประสงคในการนํา ตกใจมาก จึงกระโดดขึน้ ฝัง่ แล้วกราบบังคมทูลให้ทรงลงพระราชอาญา สมเด็จพระเจ้าเสือพระราชทาน
โคลงภาพพระราชพงศาวดารมาใหนักเรียน อภัยโทษ ด้วยเห็นว่าเป็นเหตุสุดวิสัย จึงโปรดเกล้าฯ ให้ตัดศีรษะหุ่นเหมือนแทน แต่พันท้ายนรสิงห์
ศึกษา ไม่เห็นด้วย 3เพราะเป็นการขัดพระราชประเพณี สมเด็จพระเจ้าเสือจึงรับสั่งให้ประหารชีวิต แล้วให้ตั้ง
2. นักเรียนรวมกันถอดคําประพันธโคลงภาพ ศาลเพียงตา
งตา น�าโขนเรือและศีรษะของพันท้ายนรสิงห์ตั้งเซ่นที่ศาลสืบเกียรติคุณมาตราบเท่าทุกวันนี้
พระราชพงศาวดารเปนรอยแกว 6
3. นักเรียนแตงคําประพันธประเภทโคลงสี่สุภาพ
หัวขอ “บุญคุณบรรพชนไทย”

กิจกรรมสรางเสริม
นักเรียนควรรู
1 คําประพันธประเภทโคลงสี่สุภาพ เปนคําประพันธที่มีการบังคับเสียง นักเรียนคนหาคําที่มีสัมผัสสระและอักษรในบทประพันธโคลงภาพ
วรรณยุกตเอก 7 แหงและวรรณยุกตโท 4 แหง ในวรรณคดีที่ปรากฏโคลงที่ใช พระราชพงศาวดาร แลวจดบันทึกลงสมุด
คําเอก คําโท ครบทุกแหงที่เรียกวา เปนโคลงแบบหรือโคลงตัวอยาง ซึ่งไมนับ
คําสรอยปรากฏในวรรณคดีเรื่องลิลิตพระลอ 2 บท โคลงนิราศนรินทร 1 บท โคลง
นิราศพระประโทน พระนิพนธกรมหลวงวงษาธิราชสนิท 5 บท รวม 8 บท ทั้งนี้ กิจกรรมทาทาย
ไมนับโคลงที่เจตนาแตงใหเปนโคลงแบบ
2 เสน เปนคําโทโทษ ปกติเขียนวา “เซน” เปนคํากริยา มีความหมายวา
เอาอาหารหรือเครื่องไหวอื่นๆ ไปไหวหรือสังเวยผีหรือเจา นักเรียนแตงโคลงสี่สุภาพในหัวขอที่ตนเองสนใจ โดยเลือกใชคําที่มี
เสียงสัมผัสสระและอักษรในบทประพันธ
3 ศาลเพียงตา คือ สถานจําลองชั่วคราวสําหรับใหผีเทวดาอารักษ เจาที่ เจาปา
เจาเขา เขามาสถิต แลวตั้งเครื่องบวงสรวงสังเวย ปกติสรางดวยไมไผหรือไมรวก
ทีพ่ บในไทยมักทําเปนชัน้ ลด ตัวศาลปกเสาสูงระดับสายตา จึงเรียกวา “ศาลเพียงตา”

6 คูมือครู
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู
Engage Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน ความสนใจ Engage
1. ครูอานบทประพันธจากโคลงภาพพระราช
๕ เนื้อเรื่อง พงศาวดาร ภาพที่ 10 ภาพพระสุริโยทัย
ขาดคอชาง เปนทํานองเสนาะใหนักเรียนฟง
โคลงประกอบภาพที่ ๑๐ ภาพพระสุริโยทัยขาดคอช้าง และถามเกี่ยวกับเนื้อเรื่อง
• เหตุการณในโคลงประกอบภาพทั้งสองภาพ
เกิดขึ้นในสมัยใด
(แนวตอบ สมัยอยุธยา)
2. นักเรียนสนทนารวมกันเกี่ยวกับกษัตริย
ที่มีความสามารถดานการรบในอดีต
(แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความ
คิดเห็นไดหลากหลาย ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ
ประสบการณและมุมมองของนักเรียน)

สํารวจคนหา Explore
นักเรียนคนหาความรูและเรื่องราวทาง
ประวัติศาสตรเกี่ยวกับเหตุการณที่เกิดกับ
พระสุริโยทัยและพันทายนรสิงหจากหนังสือและ

บุเรงนองนามราชเจ้า จอมรา มัญเฮย เว็บไซตตางๆ
ยกพยุหแสนยา 1 ยิ่งแกล้ว
มอญม่านประมวลมา สามสิบ หมื่นแฮ อธิบายความรู Explain
ถึงอยุธเยศแล้ว หยุดใกล้นครา 1. นักเรียนอานออกเสียงเรื่องยอโคลงประกอบ

พระมหาจักรพรรดิเผ้า ภูวดล สยามเฮย ภาพที่ 10 ภาพพระสุริโยทัยขาดคอชาง ใน
วางค่ายรายรี้พล เพียบหล้า หนา 7-8 โดยพรอมเพรียงกัน
ด�าริจักใคร่ยล แรงศึก 2. นักเรียนถอดคําประพันธเปนสํานวนภาษาของ
ยกนิกรทัพกล้า ออกตั้งกลางสมร นักเรียนเอง บันทึกลงสมุด

บังอรอัคเรศผู้ พิสมัย ท่านนา
นามพระสุริโยทัย ออกอ้าง
ทรงเครื่องยุทธพิไชย เช่นอุป ราชแฮ
เถลิงคชาธารคว้าง ควบเข้าขบวนไคล
7

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
คําประพันธในขอใดหมายถึงนักรบที่ไดรับสมญาวา “ผูชนะสิบทิศ”
ครูใหนักเรียนอานเนื้อเรื่องโคลงประกอบภาพที่ 10 พระสุริโยทัยขาดคอชาง
1. บุเรงนองนามราชเจา จอมรา มัญเฮย
และแนะนักเรียนเรื่องธรรมเนียมนิยมในการแตงโคลง คือ นิยมคําศัพทและ
2. ยกพยุหแสนยา ยิ่งแกลว
คําโบราณ นักเรียนจึงตองคนหาความหมายของถอยคําที่ใชในโคลง โดยศึกษาจาก
3. มอญมานประมวลมา สามสิบ หมื่นแฮ
หนังสือพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 และ พ.ศ. 2525 ตลอดจน
4. ถึงอยุธเยศแลว หยุดใกลนครา
หนังสือรวมศัพทตางๆ สวนเนื้อหาของโคลงนั้นขึ้นอยูกับความสามารถในการ
วิเคราะหคําตอบ ผูชนะสิบทิศ เปนสมญานามของพระเจาบุเรงนอง ซึ่งตรง ถอดความของแตละคน นักเรียนจึงควรฝกฝนการถอดคําประพันธโคลงสี่สุภาพ
กับคําประพันธในขอ 1. สวนขออื่นๆ ไมไดกลาวถึงชื่อผูใด ขอ 2. มีความวา
ยกกองทัพมาอยางยิง่ ใหญ ขอ 3. กําลังพลของมอญพมามีมากถึงสามสิบหมืน่
หรือประมาณ 3 แสนคน ซึ่งเปนการกลาวที่แสดงใหเห็นวากําลังพลมีจํานวน นักเรียนควรรู
มาก ขอ 4. มาใกลอยุธยาแลว ตอบขอ 1.
1 มอญมานประมวลมา หมายความวา กองทัพพมา มอญ ที่ยกมา
พระเจาตะเบ็งชะเวตี้กษัตริยพมาเปนจอมทัพในศึกครั้งนี้ ขณะนั้นพมามีอํานาจ
เหนือมอญ และยายเมืองหลวงมาอยูกรุงหงสาวดี จึงเรียกอีกพระนามวา
“พระเจาหงสาวดี”
คูมือครู 7
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
ครูสุมเรียกนักเรียน 6 คน มาถอดคําประพันธ
โคลงประกอบภาพที่ 10 ภาพพระสุริโยทัย ๔
พลไกรกองน่าเร้า โรมรัน กันเฮย
ขาดคอชาง คนละ 1 บท
ช้างพระเจ้าแปรประจัญ คชไท้
(แนวตอบ ถอดคําประพันธ ไดดังนี้
• บทที่ 1 พระเจาบุเรงนองยกทัพพมามีทหาร สารทรงซวดเซผัน หลังแล่น เตลิดแฮ
1
จํานวน 3 แสนคนมาอยุธยา เตลงขับคชไล่ใกล้ หวิดท้ายคชาธาร

• บทที่ 2 พระมหาจักรพรรดิตั้งคายและ นงคราญองค์เอกแก้ว กระษัตรีย์
เตรียมกําลังพล วางแผนการศึก แลวยกพล มานมนัสกัตเวที ยิ่งล�้า
ไปกลางสนามรบ เกรงพระราชสามี มลายพระ ชนม์เฮย
• บทที่ 3 พระสุริโยทัย ซึ่งเปนพระมเหสี ขับคเชนทรเข่นค�้า สะอึกสู้ดัสกร
แตงกายในชุดนักรบเสมือนเปนพระอุปราชา ๖
ขุนมอญร่อนง้าวฟาด ฉาดฉะ
ทรงชางเขารวมขบวนทัพ ขาดแล่งตราบอุระ หรุบดิ้น
• บทที่ 4 ไพรพลแตละฝายเขารบพุงใสกัน
โอรสรีบกันพระ ศพสู่ นครแฮ
ชางพระเจาแปรประจัญหนาไลตามหลังชาง
สูญชีพไป่สูญสิ้น พจน์ผู้สรรเสริญ
พระมหาจักรพรรดิ
(โคลงภาพพระราชพงศาวดารพระสุริโยทัยขาดคอช้าง: พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว)
• บทที่ 5 พระสุริโยทัยมีใจกตัญูในพระสวามี
เกรงวาพระสวามีจะพลาดพลั้งจึงขับชางเขาสู
ความรู้เสริม
กับศัตรู
• บทที่ 6 ฝายพระเจาแปรใชงาวฟาดลงที่ไหล สถานที่พระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระสุริโยทัย
กลางอกพระสุริโยทัยขาดสะพายแลง
พระโอรสรีบขับชางเขารับพระศพกลับสูเมือง เมื่อสมเด็จพระสุริโยทัยสิ้นพระชนม์บนคอช้างในการรบระหว่างกรุงศรีอยุธยากับกรุงหงสาวดี
ในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ หลังจากเสร็จศึกสงครามแล้ว ได้มกี ารจัดพระราชพิธพ ี ระราชทาน
พระสุริโยทัยสิ้นพระชนม ผูคนตางพากัน เพลิงพระศพของสมเด็จพระสุรโิ ยทัย ณ บริเวณสวนหลวง เขตพระราชวังหลังในสมัยนัน้ ซึง่ ต่อมาได้
สรรเสริญ) สถาปนาสถานที่บริเวณนี้ขึ้นเป็นวัดสวนหลวงสบสวรรค์ หรือวัดสบสวรรค์เดิม นอกจากนี้ ได้สร้าง
เจดีย์แบบย่อไม้มุมสิบสองขึ้นในบริเวณนั้นด้วย
ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการค้นหาสถานที่ที่ปรากฏใน
ขยายความเขาใจ Expand พงศาวดาร เพื่อเรียบเรียงหนังสือประชุมพงศาวดาร เป็นเหตุให้พบต�าแหน่งที่ตั้งวัดสบสวรรค์และ
นักเรียนสืบคนเพิ่มเติมเกี่ยวกับภาพที่ตั้งของ เจดีย์ย่อไม้มุมสิบสอง ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงขนานนามพระเจดีย์นี้ว่า
พระเจดีย์ศรีสุริโยทัย
สถานทีพ่ ระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระสุรโิ ยทัย จนกระทั่งใน พ.ศ. ๒๕๓๓ รัฐบาลมอบหมายให้กรมศิลปากรเป็นผู้บูรณะซ่อมแซม พระเจดีย์
และรวมกันอภิปรายความสําคัญของการกอสราง ศรีสุริโยทัย ท�าให้พบศิลปวัตถุโบราณหลายชนิด เช่น พระพุทธรูป พระเจดีย์จ�าลอง เป็นต้น
พระเจดียศรีสุริโยทัย ซึ่งโบราณวัตถุเหล่านี้ ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา
(แนวตอบ การกอสรางพระเจดียศรีสุริโยทัย (พระนครศรีอยุธยามรดกโลกล�้าค่า ภูมิปัญญาเลื่องลือ: กระทรวงศึกษาธิการ)
เพื่อใหคนไทยรุนหลังระลึกถึงความกลาหาญและ
ความเสียสละของบรรพบุรุษไทย เปนอนุสรณสถาน 8
คอยเตือนใจใหคนไทยรักชาติบานเมือง)

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
คําประพันธในขอใดที่เปนเหตุใหพระศรีสุริโยทัยตัดสินพระทัย
จากกิจกรรมที่ครูสุมนักเรียนออกมาถอดคําประพันธหนาชั้นเรียน ครูควรให
“ขับคเชนเขนคํ้า สะอึกสูดัสกร”
นักเรียนถอดคําประพันธเปนสํานวนภาษาของนักเรียนเอง จากนั้นครูและนักเรียน
1. นงคราญองคเอกแกว กระษัตรีย
ในหองชวยกันพิจารณาวา นักเรียนที่ครูสุมมานั้นถอดคําประพันธไดเหมือนกับ
2. มานมนัสกัตเวที ยิ่งลํ้า
เพื่อนคนอื่นในหองหรือไม ครูควรชวยเพิ่มเติมและแนะการถอดคําประพันธที่
3. เกรงพระราชสามี มลายพระ ชนมเฮย
ถูกตองใหนักเรียนจดบันทึกลงสมุด
4. ขุนมอญรอนงาวฟาด ฉาดฉะ
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. กลาวถึงพระศรีสุริโยทัย ขอ 2. มีความวา มีใจ
นักเรียนควรรู ตอบแทนบุญคุณยิ่งนัก ขอ 3. กลาวถึงความกลัววาพระราชสวามี คือ
พระมหาจักรพรรดิจะสิ้นพระชนม และขอ 4. พระเจาแปรฟาดงาวดังฉาดฉะ
1 เตลง หมายถึง ชนชาติมอญ โดยกลาวรวมถึงชนชาติพมา เนื่องจากมอญ ดังนั้นการที่พระศรีสุริโยทัยจะขับชางเขาใสศัตรูนั้น ก็เพราะทรงทอดพระเนตร
ตกเปนเมืองขึ้นของพมาในภายหลัง เห็นพระเจาแปรขับชางจะเขาฟนพระมหาจักรพรรดิ ทรงเกรงวาพระราชสวามี
จะไดรับอันตรายจึงขับชางเขาขวาง ตอบขอ 3.

8 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนและครูรวมกันถอดคําประพันธ
โคลงประกอบภาพที่ ๕๖ ภาพพันท้ายนรสิงห์ถวายชีวิต โคลงประกอบภาพที่ 56 ภาพพันทายนรสิงห
ถวายชีวิต จากหนังสือเรียน ในหนา 9 จากนั้นให
นักเรียนบันทึกความรูลงในสมุด
(แนวตอบ ถอดคําประพันธโคลงประกอบภาพที่
56 ภาพพันทายนรสิงหถวายชีวิต ไดดังนี้
• บทที่ 1 พระเจาสรรเพชญที่ 8 แหงอยุธยา
เสด็จประพาสทรงปลาบริเวณปากนํ้า
ลองเรือเอกไชยมาถึงโคกขาม ตรงบริเวณที่
เปนคลองคด เรือพุงเขาชนพุมไม
• บทที่ 2 พันทายนรสิงหตกใจขาดสติ
กระโดดลงจากเรือขอพระราชทานอภัย และ
ใหพระเจาเสือลงโทษตนดวยการประหาร
1 ชีวิต และนําศีรษะของตนกับหัวโขนเรือ

สรรเพชญที่แปดเจ้า อยุธยา เปนเครื่องเซนเพื่อตั้งศาล
เสด็จประพาสทรงปลา ปากน�้า • บทที่ 3 พระเจาเสือยกโทษใหเพราะเห็นแก
ล่องเรือเอกไชยมา ถึงโคก ขามพ่อ ความดีที่สั่งสมมา แตพันทายนรสิงหยืนยัน
คลองคดโขนเรือค�้า ขัดไม้หักสลาย จะใหลงโทษตน พระเจาเสือเลี่ยงโทษเปน

พันท้ายตกประหม่าสิ้น สติคิด ใหฟนรูปคนแทน พันทายนรสิงหอางถึง
โดดจากเรือทูลอุทิศ โทษร้อง โบราณราชประเพณีที่ไมควรละทิ้ง
พันท้ายนรสิงห์ผิด บทฆ่า เสียเทอญ • บทที่ 4 พระเจาเสือรับสั่งปลอบพันทาย
หัวกับโขนเรือต้อง คู่เส้นท�าศาล และจําใจทําตามที่พันทายตองการ คือสั่ง

ภูบาลบ�าเหน็จให้ โทษถนอม ใจนอ เพชฌฆาตประหารชีวิต และรับสั่งให
พันไม่ยอมอยู่ยอม มอดม้วย ตั้งศาลเพียงตา โดยใชศีรษะของพันทาย
พระโปรดเปลี่ยนโทษปลอม ฟันรูป แทนพ่อ นรสิงหและหัวโขนเรือเปนเครื่องเซน)
พันกราบทูลทัดด้วย ท่านทิ้งประเพณี

ภูมีปลอบกลับตั้ง ขอบรร ลัยพ่อ ขยายความเขาใจ Expand
จ�าสั่งเพชฌฆาตฟัน ฟาดเกล้า
โขนเรือกับหัวพัน เซ่นที่ ศาลแล นักเรียนแบงกลุม 5 กลุม ศึกษาบทประพันธ
ศาลสืบกฤติคุณเค้า คติไว้ในสยาม โคลงภาพพระราชพงศาวดารภาพที่ 56 ภาพ
(โคลงภาพพระราชพงศาวดารพันท้ายนรสิงห์ถวายชีวติ : พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร) พันทายนรสิงหถวายชีวิตอีกครั้งอยางละเอียด
พรอมกับชวยกันตั้งคําถามจากเนื้อเรื่องกลุมละ
9
5 คําถาม เพื่อใชสอบถามความรู ความเขาใจ
ของเพื่อนคนอื่นๆ

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
คําประพันธในขอใดมีคําโทโทษ
ครูแนะใหนักเรียนศึกษาเรื่องราวในบทประพันธ แลวนํามาจัดแสดงนิทรรศการ
1. พันทายตกประหมาสิ้น สติคิด
เกี่ยวกับวรรณคดีที่เชิดชูเกียรติของกษัตริยและวีรบุรุษไทยในอดีต โดยชี้ใหนักเรียน
2. โดดจากเรือทูลอุทิศ โทษรอง
เห็นคุณคาของการดํารงเกียรติยศของบรรพบุรุษที่มีความเสียสละและยึดมั่น
3. พันทายนรสิงหผิด บทฆา เสียเทอญ
ตอหนาที่ เพื่อใหนักเรียนและเยาวชนไทยยึดถือเปนแบบอยางในการดําเนินชีวิต
4. หัวกับโขนเรือตอง คูเสนทําศาล
และพึงตระหนักวาเปนหนาที่ที่จะตองรักษาเกียรติยศนี้ไวดํารงสืบไป
วิเคราะหคําตอบ โคลงสี่สุภาพมีลักษณะพิเศษ คือ บังคับคําเอก คําโท
โดยบังคับคําเอก 7 แหง คําโท 4 แหง การพิจารณาคําโทโทษจะพิจารณา
ความหมายของคําโทที่อยูตําแหนงบังคับ โดยความหมายตามรูปคําจะ นักเรียนควรรู
ไมสอดคลองกับเนื้อความ ขอที่ปรากฏคําโทที่มีความสอดคลองกับเนื้อความ
คือ ขอ 4. คําวา “เสน” ซึ่งในที่นี้คําที่ถูกตอง คือ คําวา “เซน” แตใชเปน 1 สรรเพชญที่แปด หรือสมเด็จพระเจาเสือ (สมเด็จพระพุทธเจาเสือ) ราชวงศ
คําโทโทษเพื่อใหถูกตองตามฉันทลักษณ ตอบขอ 4. บานพลูหลวง พระองคที่ 2 ทรงเปนพระมหากษัตริยพระองคที่ 29 แหงอยุธยา
สมเด็จพระเพทราชารับเปนโอรสบุญธรรมพรอมกับรับนางกุลธิดามารดาของ
สมเด็จพระเจาเสือเปนสนม (ราชธิดาพระเจาเชียงใหม ซึ่งสมเด็จพระนารายณ
มหาราชไดพระราชทานใหสมเด็จพระเพทราชา เมื่อครั้งที่ดํารงตําแหนง
เจากรมชาง) คูมือครู 9
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู Explain
1. จากการอานเนื้อเรื่อง โคลงประกอบภาพที่ 10
ภาพพระสุริโยทัยขาดคอชางและโคลงประกอบ บอกเล่าเก้าสิบ
ภาพที่ 56 ภาพพันทายนรสิงหถูกประหารชีวิต
นักเรียนตอบคําถาม ดังนี้ โขนเรือรูปสัตว์ 1
• นักเรียนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับความ เรือรูปสัตว์ เป็นเรือพระที่นั่งอีกรูปแบบหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษ คือ การท�าโขนเรือหรือ
กลาหาญและความเสียสละของสมเด็จ หัวเรือให้กว้างขึ้น และเจาะรูให้ปากกระบอกปืนสามารถโผล่ออกมาได้ เพื่อให้เหมาะส�าหรับใช้เป็น
พระสุริโยทัยและพันทายนรสิงหอยางไร เรือปืน และเพือ่ ให้เป็นทีเ่ กรงขามแก่ศตั รู ทัง้ ยังมีการแกะสลักรูปสัตว์ทดี่ รุ า้ ยน่ากลัวเป็นหัวเรือ เช่น
(แนวตอบ คําตอบอยูในดุลยพินิจของครู แต
ควรชี้ใหเห็นวาความกลาหาญและความเสีย
สละเปนคุณธรรมที่นายกยองนับถือ ควรคา
แกการเชิดชูเกียรติ)
2. นักเรียนอานเนื้อหาในหนา 10 จากนั้นครู
อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับพระราชประเพณี
การสรางโขนเรือรูปสัตว

ขยายความเขาใจ Expand
นักเรียนเลือกศึกษาคนควาเกี่ยวกับโขนเรือ เรือกระบี่ปราบเมืองมาร เรือครุฑเหินเห็จ (เรือครุฑ เรื อ ครุ ฑ เตร็ จ ไตรจั ก ร
รูปสัตวอื่นๆ ที่แตกตางจากในหนังสือเรียน คนละ หัวเรือแกะเป็นรูปขุนกระบีห่ รือ เหิรเห็จ) หัวเรือเหนือปืนแกะ หัวเรือเหนือปืนแกะเป็นรูปครุฑ
ลิงสีขาวก�าลังแสยะปาก เรือ เป็นรูปครุฑสีแดงก�าลังยุดนาค สีชมพูก�าลังยุดนาค เรือพระ
1 แบบ จากนั้นเขียนอธิบายลักษณะโขนเรือที่ พระที่ นั่ ง ล� า นี้ เ ดิ ม ถู ก ระเบิ ด เรื อ พระที่ นั่ ง ล� า เดิ ม สร้ า งขึ้ น ที่นั่งล�าเดิมถูกระเบิดเสียหาย
นักเรียนเลือกมา เสียหายเมื่อสมัยสงครามโลก ในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒
ครัง้ ที่ ๒ ส่วนล�าปัจจุบนั สร้างขึน้ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลก ส่วนล�าปัจจุบันสร้างใหม่ เมื่อ
ตรวจสอบผล Evaluate ใหม่ เมือ่ พ.ศ. ๒๕๑๐ มีนา�้ หนัก มหาราช แต่ถูกระเบิดเสียหาย พ.ศ. ๒๕๑๑ น�า้ หนัก ๕.๙๗ ตัน
๕.๖๒ ตัน กว้าง ๒.๑๐ เมตร ยาว ในสมั ย สงครามโลกครั้ ง ที่ ๒ กว้าง ๑.๙๐ เมตร ยาว ๒๗.๑๐
1. นักเรียนถอดคําประพันธจากเนื้อเรื่องโคลง ๒๖.๘๐ เมตร ลึก ๐.๕๑ เมตร ส่วนล�าปัจจุบนั สร้างขึน้ ใหม่ เมือ่ เมตร ลึก ๐.๕๒ เมตร กินน�้า
ประกอบภาพพระราชพงศาวดารภาพที่ 10 กินน�้าลึก ๐.๒๕ เมตร พ.ศ. ๒๕๐๕ มีน�้าหนัก ๗ ตัน ลึก ๐.๒๙ เมตร
และภาพที่ 56 เปนสํานวนภาษาของตนเองได กว้าง ๑.๕๙ เมตร ยาว ๒๗.๕๐
2. นักเรียนตั้งคําถามถามเพื่อนกลุมอื่นและ เมตร ลึก ๐.๕๙ เมตร กินน�า้ ลึก
๐.๓๒ เมตร
ตอบคําถามจากโคลงประกอบภาพที่ 10
ภาพพระสุริโยทัยขาดคอชางของเพื่อนกลุมอื่น
3. นักเรียนรายงานเรื่องโขนเรือรูปสัตว (น�าชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธี: กรมศิลปากร)
คนละ 1 แบบ
10

บูรณาการเชื่อมสาระ
นักเรียนควรรู ครูบูรณาการความรูเรื่องการแกะสลักโขนเรือเปนรูปสัตวเขากับกลุม
สาระการเรียนรูศิลปะ วิชาทัศนศิลป ที่มีขอมูลความรูเรื่องการสลัก ซึ่งถือวา
1 เรือพระที่นั่ง ลําเดิมถูกระเบิดเสียหายในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2
เปนศิลปะแขนงประติมากรรม ทีม่ ลี กั ษณะรูปทรงเฉพาะทีเ่ กิดขึน้ จากฝมอื
เดิมเก็บไวที่อูหรือโรงเก็บเรือพระราชพิธี โดยอยูในความดูแลรับผิดชอบของสํานัก
ความคิดและความสามารถของคนไทย โดยมีคุณคาทางสังคมและ
พระราชวังและกองทัพเรือ ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 บริเวณบางกอกนอยเปนจุด
วัฒนธรรมที่ไดอนุรักษและถายทอดมา เพราะรูปที่นํามาแกะสลักโขนเรือ
ยุทธศาสตรสาํ คัญทีต่ กเปนเปาโจมตี ระเบิดลูกแลวลูกเลาไดถกู ทิง้ ลงมายังบริเวณนี้
เปนรูปที่มาจากตัวละครในวรรณคดี หรือในเรื่องราวของพระพุทธศาสนา
และบางสวนไดสรางความเสียหายใหแกโรงเก็บเรือพระราชพิธี รวมไปถึงเรือ
มีประวัติความเปนมา และเปนรากเหงาทางวัฒนธรรมของชาติ
บางลําดวย (พ.ศ. 2487)
ตอมาในป พ.ศ. 2490 สํานักพระราชวังและกองทัพเรือไดมอบหมายให
กรมศิลปากรทําการซอมแซมตัวเรือที่ไดรับความเสียหายจากระเบิด จากความสําคัญ
ของโรงเก็บเรือพระราชพิธดี งั กลาวนีเ้ อง กรมศิลปากรจึงไดขนึ้ ทะเบียนเรือพระทีน่ งั่ ตางๆ
ไวเปนมรดกของชาติ พรอมทั้งยกฐานะของอูเก็บเรือขึ้นเปน “พิพิธภัณฑสถานแหง
ชาติ เรือพระราชพิธี” ในป พ.ศ. 2517 เพื่อสืบทอดวัฒนธรรมอันลํ้าคาสูชนรุนหลัง
สืบตอไป

10 คูมือครู
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

กระตุน ความสนใจ Engage


ครูใหนักเรียนเลนเกมชิงรางวัล เพื่อกระตุน
๖ คÓศัพท์ ความสนใจเรื่องคําศัพท โดยใหนักเรียนอาน
คําศัพทและความหมายของคําศัพทในหนังสือเรียน
คำาศัพท์ ความหมาย หนา 11 จากนั้นใหนักเรียนปดหนังสือเรียน แลว
กฤติคุณ กิตติคุณ หมายถึง ชื่อเสียง เกียรติยศ คุณงามความดี ครูยกคําศัพทมาใหนักเรียนทายความหมาย หรือ
ขุนมอญ พระเจ้าแปรซึ่งเป็นกษัตริย์พม่า เหตุที่เรียกว่า ขุนมอญ เพราะพม่า ยกความหมายมาใหนักเรียนทายคําศัพท 5-6 คํา
เกณฑ์ชาวมอญผู้อยู่ในปกครองมาเป็นไพร่พลในการรบ ใหนักเรียนแขงขันกันยกมือตอบ
โขนเรือ ไม้ที่ต่อเสริมหัวเรือหรือท้ายเรือให้งอนเชิดขึ้นไป
คชาธาร ช้างทรง ช้างพระที่นั่ง สํารวจคนหา Explore
คว้าง เคลื่อนลอยไปอย่างรวดเร็ว
คู่เส้น ค�าโทโทษ เช่น หมายถึง เครื่องเซ่นบูชาศาล 1. นักเรียนศึกษาความหมายของคําศัพทยาก
สองอย่าง คือ โขนเรือกับศีรษะของพันท้ายนรสิงห์ ทายบทเรียน
โคกขาม ชื่อคลองที่อยู่ในต�าบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร 2. นักเรียนจับคูกันเพื่อถามตอบความหมายของ
ไคล เดินไป เคลื่อนไป คําศัพทยากทายบทเรียน
ง้าว ของ้าว เป็นอาวุธด้ามยาว มีง้าวอยู่ตรงปลาย
ใต้คอของด้าม มีขอส�าหรับสับบังคับช้างได้
ราชาศัพท์ใช้ว่า พระแสงของ้าว ของ้าว อธิบายความรู Explain
เตลง ตะเลง เป็นชื่อใช้เรียกชนชาติมอญ 1. นักเรียนบันทึกคําศัพทและความหมายจาก
ทรงปลา ตกปลา การเลนเกมและการถามตอบคําศัพทยาก
นิกร หมู่ พวก 2. นักเรียนอธิบายความหมายของศัพทยากที่
ประจัญ ปะทะ ต่อสู้ ปรากฏในเนื้อเรื่อง โดยอาศัยบริบทแวดลอม
ประมวล รวบรวมให้เข้าระเบียบเป็นหมวดหมู่
เผ้าภูวดล เผ้า คือ ผม ส่วนที่สูงที่สุดของศีรษะ ภูวดล คือ แผ่นดิน เผ้าภูวดล
จึงหมายถึง พระเจ้าแผ่นดิน ขยายความเขาใจ Expand
เพชฌฆาต เจ้าหน้าที่ประหารชีวิตนักโทษ นักเรียนทําบัตรคําศัพทยากจากบทเรียน
พยุหแสนยา พยุหแสนยากร หมายความว่า มีทหารจ�านวนมาก คนละ 1 บัตรคํา พรอมอธิบายความหมาย
ม่าน พม่า
นําไปจัดปายนิเทศในหองเรียน
มาน มี
รามัญ มอญ
โรมรัน รบพุ่งกัน
ตรวจสอบผล Evaluate
สมร การรบ การสงคราม นักเรียนสามารถบอกความหมายของคําศัพท
สาร 1 ช้างใหญ่ ในบทเรียนได
เอกไชย ชื่อเรือพระที่นั่งของสมเด็จพระเจ้าเสือ
11

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
คําไวพจนในขอใดมีความหมายไม เขาพวก
ครูแนะนักเรียนวา การคนหาความหมายของคําศัพท รวมถึงการรูจักคําศัพท
1. นคร พารา ธานี
ที่เหมือนกันกับวรรณคดีในเรื่องอื่นๆ จะชวยใหนักเรียนมีความรูกวางขวางเรื่อง
2. คชา คชสาร กุญชร
การใชคําในวรรณคดีไทย มีประโยชนในการศึกษาและเขียนงาน
3. ภูวดล ภูวไนย ภูบดี
4. บังอร นงคราญ นงพะงา
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. ทุกคํา หมายถึง เมือง ขอ 2. ทุกคํา หมายถึง ชาง นักเรียนควรรู
ขอ 3. ภูวดล หมายถึง แผนดิน ภูวไนยและภูบดี หมายถึง กษัตริย และ
1 เอกไชย เปนเรือรบสมัยอยุธยา สรางขึ้นในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
ขอ 4. ทุกคํา หมายถึง นางผูเ ปนทีร่ กั หญิงงาม ดังนัน้ ขอทีม่ คี วามหมาย
นอกจากใชเปนเรือรบแลว ในยามสงบจะใชสําหรับเสด็จประพาส รวมทั้งใชใน
ไมเขาพวก คือ ขอ 3. เพราะภูวดล หมายถึง แผนดิน ไมไดหมายถึง
กระบวนแหงานพระราชพิธีตางๆ ที่เสด็จพระราชดําเนินทางนํ้า
กษัตริย ตอบขอ 3.

คูมือครู 11
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู
Engage Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน ความสนใจ Engage
ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเรื่อง
“หนาที”่ โดยใหนกั เรียนมาเลาเรือ่ งราวประสบการณ ๗ บทวิเคราะห์
ของนักเรียนในการปฏิบัติตามหนาที่
โคลงประกอบภาพที ่ ๑๐ ภาพพระสุรโิ ยทัยขาดคอช้างและโคลงประกอบภาพที ่ ๕๖ ภาพพันท้าย
นรสิงห์ถวายชีวิต มีคุณค่าในด้านต่างๆ ดังนี้
สํารวจคนหา Explore
๗.๑ คุณค่าด้านเนือ้ หา
1. นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับคุณคาดานเนื้อหา โคลงประกอบภาพที่ ๑๐ ภาพพระสุรโิ ยทัยขาดคอช้าง กล่าวถึงพระสุรโิ ยทัยต้องพระแสง
วรรณศิลป และสังคม ของ้าวของพระเจ้าแปรสิน้ พระชนม์บนคอช้าง เหตุทสี่ มเด็จพระสุรโิ ยทัยตัดสินพระทัยสละพระชนม์ชพี
2. นักเรียนคนหาขอคิดที่สามารถนําไปประยุกต ก็เพื่อช่วยปกป้องพระมหาจักรพรรดิ พระราชสวามีให้รอดพ้นจากอาวุธของข้าศึก ดังบทประพันธ์
ใชในชีวิตประจําวันจากโคลงภาพพระราช ๕
พงศาวดาร นงคราญองค์เอกแก้ว กระษัตรีย์
มานมนัสกัตเวที ยิ่งล�้า
อธิบายความรู Explain เกรงพระราชสามี มลายพระ ชนม์เฮย
ขับคเชนทรเข่นค�้า สะอึกสู้ดัสกร
1. นักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับบทวิเคราะห
คุณคาดานเนื้อหา โดยใหนักเรียนอาน พระสุริโยทัยทรงมี “มนัสกัตเวที ยิ่งล�้า” คือ ทรงมีความกตัญญูกตเวทีเป็นเลิศ ทั้งต่อ
บทวิเคราะหคุณคาดานเนื้อหาในหนังสือเรียน พระราชสวามีตามหน้าที่ภรรยาที่ดีและต่อพระมหากษัตริย์ในฐานะข้าแผ่นดิน ยอมสละชีวิตเพื่อ
หนา 12 ปกป้องผืนแผ่นดินมิให้อริราชศัตรูเข้ามารุกรานได้โดยง่าย พระวีรกรรมดังกล่าวนับเป็นแบบอย่างของ
2. ครูสุมนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ ความรักชาติและความเสียสละที่คนไทยพึงตระหนักและจดจ�ายึดถือเป็นแบบอย่างในการด�าเนินชีวิต
• พระสุริโยทัยทรงมี “มนัสกัตเวที ยิ่งลํ้า” โคลงประกอบภาพที่ ๕๖ ภาพพั น ท้ า ยนรสิ ง ห์ ถ วายชี วิ ต กล่ า วถึ ง วี ร กรรมของ
อยางไร พันท้ายนรสิงห์ซึ่งเป็นแบบอย่างของข้าราชส�านักที่มีความรับผิดชอบ แสดงให้เห็นถึงความจงรักภักดี
(แนวตอบ มีความกตัญูตอพระจักรพรรดิ ใน ความซื่อสัตย์ ความกตัญญูต่อพระเจ้าแผ่นดิน ยอมสละชีวิตเพื่อรักษาความศักดิ์สิทธิ์ของกฎหมาย
ฐานะที่ทรงเปนพระสวามีและในฐานะกษัตริย และพระเกียรติยศของสมเด็จพระเจ้าเสือ เพื่อไม่ให้ผู้คนครหาดู1หมิ่นพระองค์ได้ในภายภาคหน้า
จึงยอมเสียสละชีวิตทดแทนบุญคุณ) และเพื่อรักษาราชประเพณีไว้สืบต่อไป ซึ่งตามพระราชก�าหนดอันมีมาแต่โบราณกาลระบุไว้ว่า
• ลักษณะที่ควรนํามาเปนแบบอยางของ “ถ้าแหละพันท้ายผู้ใดถือท้ายเรือพระที่นั่งให้ศีรษะเรือพระที่นั่งนั้นหัก ท่านว่าพันท้ายนั้นถึงมรณโทษ
พระสุริโยทัยคืออะไร ให้ ตั ด ศี ร ษะเสี ย ” สมเด็ จ พระเจ้ า เสื อ จึ งจ� า ต้ อ งโปรดให้ ประหารชี วิ ต และทรงให้ ตั้ ง ศาลเพี ย งตา
(แนวตอบ ความรักชาติจนยอมเสียสละชีวิต) สืบเกียรติคุณพันท้ายนรสิงห์ไว้สืบไป ดังบทประพันธ์
• พันทายนรสิงหมีความซื่อสัตยและความ ๔
ภูมีปลอบกลับตั้ง ขอบรร ลัยพ่อ
กตัญูตอแผนดินอยางไร
จ�าสั่งเพชฌฆาตฟัน ฟาดเกล้า
(แนวตอบ ซื่อสัตยและเคารพกฎประเพณี
โขนเรือกับหัวพัน เซ่นที่ ศาลแล
ของบานเมือง ยอมเสียสละชีวิตเพื่อรักษา
ศาลสืบกฤติคุณเค้า คติไว้ในสยาม
เกียรติของพระเจาแผนดิน)
• ลักษณะที่ควรนํามาเปนแบบอยาง 12
ของพันทายนรสิงหคืออะไร
(แนวตอบ ความรับผิดชอบในหนาที่ของตน)

กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
ครูนําสื่อตางๆ เชน วีดิทัศน ภาพยนตร หรือสารคดีที่เกี่ยวกับการเชิดชูเกียรติ นักเรียนศึกษาบทวิเคราะหคุณคาดานเนื้อหาของโคลงประกอบภาพ
ของกษัตริยไทยมาจัดแสดงใหนักเรียนชม และใหนักเรียนจัดทํารายงานประวัติและ พระราชพงศาวดาร ภาพที่ 10 และ 56 แลวหาแนวคิดสําคัญที่เหมือนกัน
พระเกียรติคุณของพระมหากษัตริยในราชวงศจักรี 1 พระองค จากนั้นรวบรวม ของโคลงภาพทั้งสอง
ผลงานทั้งหมดนํามาจัดนิทรรศการเทิดพระเกียรติพระมหากษัตริยราชวงศจักรี

นักเรียนควรรู กิจกรรมทาทาย
1 พระราชกําหนด เปนกฎหมายในสมัยอยุธยาหรือกฎมณเฑียรบาลที่เกี่ยวกับ
การปกครอง แบงเปนพระตํารา พระธรรมนูญ และพระราชกําหนด นักเรียนศึกษาบทวิเคราะหคุณคาดานเนื้อหาของโคลงประกอบภาพ
พระราชพงศาวดารภาพที่ 10 และ 56 แลวยกบทประพันธที่เห็นวามี
แนวคิดสําคัญเหมือนกัน

12 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
1. นักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับบทวิเคราะห
¤ÇÒÁÃÙŒàÊÃÔÁ คุณคาดานวรรณศิลป โดยใหนักเรียนอานบท
วิเคราะหคุณคาดานวรรณศิลปในหนังสือเรียน
คลองโคกขามและคลองมหาชัย หนา 13 - 14
2. นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับการเลือกใชถอยคํา
“คลองโคกขาม” เปนคลองในเขตอําเภอเมือง จ.สมุทรสาคร ที่ทําใหเกิดอารมณรวมกับเนื้อเรื่องโคลงภาพ
ทีม่ คี วามคดเคีย้ วมาก ลักษณะเปนโคงขอศอก กระแสนํา้ เชีย่ วมาก
ทําใหการเดินเรือมีความลําบาก เมื่อครั้งที่พระเจาเสือหรือ พระราชพงศาวดารภาพที่ 10 และ 56
สมเด็จพระสรรเพชญที่ ๘ พระมหากษัตริยแหงกรุงศรีอยุธยา (แนวตอบ โคลงภาพพระราชพงศาวดารภาพที่
เสด็จประพาสตนตามลําคลองโคกขามดวยเรือพระที่นั่งเอกไชย 10 ปรากฏความงามทางวรรณศิลป คือ
ไดเกิดอุบัติเหตุเรือพระที่นั่งชนกิ่งไมหัก ทําใหพันทายนรสิงห การเลือกใชถอยคําที่ทําใหเกิดเสียงและภาพ
ถูกประหารชีวติ บริเวณทีป่ ระหารชีวติ พันทายนรสิงห พระเจาเสือ บรรยากาศคลองโคกขาม
โปรดฯ ใหสรางศาลพันทายนรสิงหขึ้น และโปรดฯ ใหขุดคลอง เสมือนอยูในเหตุการณจริง เชน ฉาดฉะ
ตั ด ทางคดเคี้ ย วของคลองโคกขามให ต รง โดยให เ จ า พระยา หรุบดิ้น สวนโคลงภาพพระราชพงศาวดาร
ราชสงครามเปนแมกองคุมไพรพลจํานวน ๓,๐๐๐ คน ขุดคลอง ภาพที่ 56 มีลักษณะทางวรรณศิลปคือ การเลน
ตัดจากคลองโคกขามตั้งแต พ.ศ. ๒๒๔๘ มาเชื่อมกับแมนํ้าทาจีน สัมผัสพยัญชนะ เชน ภูบาล-บําเหน็จ
ขนาดคลองกวาง ๕ วา ลึก ๖ ศอก เสร็จใน พ.ศ. ๒๒๕๒ ในสมัย
ของพระเจาอยูห วั ทายสระ เมือ่ ขุดเสร็จจึงไดพระราชทานนามวา โทษ-ถนอม มอด-มวย เปนตน)
“คลองสนามไชย” ตอมาเปลี่ยนเปน “คลองมหาชัย” แตบางครั้ง
ชาวบานก็เรียกวา “คลองถาน” คลองมหาชัยในปจจุบัน ขยายความเขาใจ Expand
(ที่มา: เสนทางสุขภาพ สถานที่ทองเที่ยว ตลาดนํ้าวัดไทร)
นักเรียนรวบรวมถอยคําที่ทําใหผูอานมีอารมณ
๗.๒ คุณคาดานวรรณศิลป รวมกับบทประพันธโคลงประกอบภาพที่ 10
โคลงประกอบภาพทั้ง ๒ เรื่อง มีความโดดเดนดานการเลือกสรรถอยคําที่ทําใหผูอาน ภาพพระสุริโยทัยขาดคอชาง
เกิดจินตนาการอยางเดนชัด เนื้อความกระชับ ใชคํานอยแตกินความมาก กอใหเกิดอารมณสะเทือนใจ (แนวตอบ ถอยคําที่ทําใหมีอารมณรวมกับ
ทําใหผูอานชื่นชมในความกลาหาญ ซาบซึ้งในความกตัญู ความจงรักภักดี และความเสียสละของ บทประพันธ คือ คําที่ทําใหเห็นฉากการรบ
บรรพชนไทย
การเคลื่อนไหว ดังนี้
โคลงประกอบภาพที่ ๑๐ ภาพพระสุริโยทัยขาดคอชาง กวีไดเลือกสรรถอยคําที่ใหทั้ง
เสียงและภาพ ทําใหผูอานสามารถจินตนาการถึงภาพของกองทัพที่ยิ่งใหญเกรียงไกรที่เขาตอสูกัน
• เถลิงคชา ธารควาง ควบเขาขบวนไคล
อยางชุลมุนและภาพชางศึกที่ไสตามอยางกระชั้นชิด ทําใหรูสึกราวกับไดรวมอยูในเหตุการณจริง • เตลงขับคชไลใกล หวิดทายคชา ธาร
ดังบทประพันธ • ขับคเชนทรเขนคํ้า สะอึกสูดัสกร

1 • ขุนมอญรอนงาวฟาด ฉาดฉะ
ขุนมอญรอนงาวฟาด ฉาดฉะ • ขาดแลงตราบอุระ หรุบดิ้น
ขาดแลงตราบอุระ หรุบดิ้น
• จําสั่งเพชฌฆาตฟน ฟาดเกลา)
โอรสรีบกันพระ ศพสู นครแฮ
สูญชีพไปสูญสิ้น พจนผูสรรเสริญ
๑๓

บูรณาการเชื่อมสาระ
ครูแนะนําความรูเกี่ยวกับสภาพทางภูมิศาสตรเสนทางการคมนาคม เกร็ดแนะครู
ทางนํ้าในสมัยอยุธยาที่เปนอุปสรรคตอการเดินทางทางนํ้า จนเปนเหตุให
ครูแนะใหนักเรียนดูภาพคลองโคกขามและคลองมหาชัยเพิ่มเติมจากเว็บไซต
พันทายนรสิงหมีความผิด มาบูรณาการเชื่อมกับกลุมสาระการเรียนรู
และสืบคนความรูเกี่ยวกับคลองโคกขามและคลองมหาชัย เพื่อเปรียบเทียบลักษณะ
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตรและภูมิศาสตร
ทางกายภาพในอดีตกับปจจุบัน และใหนักเรียนมาอธิบายเกี่ยวกับลักษณะทาง
เพื่อใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับเหตุการณที่พันทายนรสิงห
กายภาพของคลองโคกขามและคลองมหาชัย ซึ่งเปนสาเหตุที่ทําใหพันทายนรสิงห
ตองถวายชีวิต และเขาใจบทบาทความสําคัญของผูทําหนาที่เปนผูบังคับเรือ
บังคับเรือพระที่นั่งไมไดทําใหโขนเรือปะทะกิ่งไมจนหัก
พระที่นั่ง

นักเรียนควรรู
1 ฉาดฉะ เปนเสียงของการฟาดงาวอยางรวดเร็วและรุนแรงฝาอากาศ จนทําให
เกิดเสียงดังฉาดฉะ การใชคําลักษณะนี้เปนภาพพจนชนิดหนึ่ง เรียกวา ภาพพจน
สัทพจน

คูมือครู 13
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนอธิบายการเลือกใชคําและการ
ดําเนินเรื่องจากโคลงภาพพระราชพงศาวดารภาพ จากบทประพันธ์จะเห็นว่ากวีเลือกใช้ค�าที่ให้เสียง คือเสียงของง้าวที่กระทบกันดัง
ที่ 10 และ 56 “ฉาดฉะ” และสรรค�าที่ให้ภาพ “หรุบดิ้น” ค�าว่า หรุบ หมายถึง อาการของสิ่งของที่ร่วงพรูลงมา ดิ้น
(แนวตอบ การเลาเรื่องกวีเรียงลําดับเหตุการณได หมายถึง อาการที่สะบัดหรือฟาดตัวไปมาอย่างแรง ร่างของพระสุริโยทัยทรุดลงซบกับคอช้าง สร้าง
กระชับ เนื้อเรื่องนาติดตาม ดังนี้ ความสะเทือนใจอย่างยิ่ง
• โคลงภาพพระราชพงศาวดารภาพที่ 10 โคลงประกอบภาพที่ ๕๖ ภาพพันท้ายนรสิงห์ถวายชีวิต กวีได้ถ่ายทอดเรื่องราว
วีรกรรมความกล้าหาญเด็ดเดี่ยวของพันท้ายนรสิงห์ เรีย1งตามล�าดับเหตุการณ์ได้อย่างกะทัดรัด
กวีเลือกใชคําที่มีความหมายเหมาะกับการ
โดยใช้โคลงสี่สุภาพเพียง ๔ บท ทั้งที่พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยากล่าวถึงเหตุการณ์ตอนนี้
ดําเนินเรื่อง คือ เปนคําที่สั้น กระชับ แต ไว้ค่อนข้างยาวและมีบันทึกค�าสนทนาระหว่างสมเด็จพระเจ้าเสือกับพันท้ายนรสิงห์อย่างละเอียด
สามารถสื่อความหมายไดครบถวนชัดเจน จึงกล่าวได้ว่าโคลงพันท้ายนรสิงห์ถวายชีวิตมีความดีเด่นในด้านการใช้ค�าน้อยแต่กินความมาก
เชน การกลาวถึงจํานวนของกองทัพพมาวามี กวีสามารถเก็บรายละเอียดเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ได้ด้วยโคลงเพียง ๔ บท นอกจากนี้โคลงบางบท
ถึงสามแสนคน กวีใชคําวา “สามสิบ หมื่นแฮ” ยังมีการเล่นสัมผัสพยัญชนะ ท�าให้โคลงมีความไพเราะยิ่งขึ้น ดังบทประพันธ์
คําที่กวีเลือกใชคํานึงถึงเสียงที่ตองลงเสียง ๓
ภูบาลบำาเหน็จให้ โทษถนอม ใจนอ
หนักกระชับ เปนตน พันไม่ยอมอยู่ยอม มอดม้วย
• โคลงภาพพระราชพงศาวดารภาพที่ 56 พระโปรดเปลี่ยนโทษปลอม ฟันรูป แทนพ่อ
กวีเลือกใชคําสั้นกะทัดรัด กินความมาก พันกราบทูลทัดด้วย ท่านทิ้งประเพณี
เหมาะสําหรับการเลาเรื่องที่มีรายละเอียดและ
จากบทประพั น ธ์ ป รากฏค� า สั ม ผั ส อั ก ษร คื อ (ภู ) บาล - บ� า (เหน็ จ ) โทษ - ถนอม
มีการเลนสัมผัสพยัญชนะ ดังบทประพันธ
ยอม - อยู่ - ยอม มอด - ม้วย เปลี่ยน - ปลอม ทูล - ทัด ท่าน - ทิ้ง
“ภูบาลบําเหน็จให โทษถนอม ใจนา
พันไมยอมอยูยอม มอดมวย
๗.๓ คุณค่าด้านสังคม
โคลงประกอบภาพพระราชพงศาวดารทั้ง ๒ ภาพ มีความโดดเด่นในด้านการให้คุณค่า
พระโปรดเปลี่ยนโทษปลอม ฟนรูป แทนพอ ทางสังคม ดังนี้
พันกราบทูลทัดดวย ทานทิ้งประเพณี”) ๑) แสดงให้เห็นสภาพเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ คือ แสดงสภาพสังคม และ
การท�าสงครามในสมัยโบราณ ที่ยกก�าลังพลจ�านวนมากมาต่อสู้กัน แม่ทัพทั้งสองฝ่ายต่างเป็นผู้น�าใน
การออกรบด้วยความกล้าหาญ ดังบทประพันธ์
ขยายความเขาใจ Expand ๑
บุเรงนองนามราชเจ้า จอมรา มัญเฮย
ครูสุมนักเรียน 10 คน แบงเปน 2 กลุม คือ ยกพยุหแสนยา ยิ่งแกล้ว
กลุมโคลงประกอบภาพที่ 10 ภาพพระสุริโยทัย มอญม่านประมวลมา สามสิบ หมื่นแฮ
ขาดคอชาง และกลุมโคลงประกอบภาพที่ 56 ถึงอยุธเยศแล้ว หยุดใกล้นครา

พระมหาจักรพรรดิเผ้า ภูวดล สยามเฮย
ภาพพันทายนรสิงหถวายชีวิต ใหนักเรียนแตละ
วางค่ายรายรี้พล เพียบหล้า
กลุมมาเลาเรื่องเรียงลําดับตอกันจนจบ ด�าริจักใคร่ยล แรงศึก
ยกนิกรทัพกล้า ออกตั้งกลางสมร
14

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
พระมหาจักรพรรดิเผา ภูวดล สยามเฮย
ครูใหนกั เรียนฝกถอดคําประพันธเพือ่ ใหนกั เรียนเขาใจเนือ้ เรือ่ ง จากนัน้ ใหพจิ ารณา
วางคายรายรี้พล เพียบหลา
การใชคําที่มีความไพเราะ เหมาะสม คือ สามารถเลือกใชคําไดเหมาะสมกับรูปแบบ
ดําริจักใครยล แรงศึก
คําประพันธซึ่งเปนโคลงสี่สุภาพ แลวทําใหเนื้อหาหรือการดําเนินเหตุการณในเรื่อง
ยกนิกรทัพกลา ออกตั้งกลางสมร
เปนไปอยางราบรื่นและอานไดเขาใจ แจมแจง ครูควรยกบทประพันธมาถอดความ
ขอใดไมสอดคลองกับคําประพันธในขางตน
เปนตัวอยางใหนักเรียนเห็นการเรียบเรียงถอยคําภาษาที่ไพเราะ เขาใจงาย
1. ความหวาดกลัวทอถอย
2. ความรูทางประวัติศาสตร
นักเรียนควรรู 3. ความเปนนักรบผูกลาหาญ
4. นําทัพออกสูขาศึกเพื่อหยั่งเชิงขาศึก
1 พระราชพงศาวดาร ในเมืองไทยมีหลายเลม เลมที่จัดวาเกาที่สุดคือ
วิเคราะหคําตอบ พระมหาจักรพรรดิกษัตริยแหงสยามทรงยกพล
พงศาวดารกรุงเกา หลวงประเสริฐอักษรนิติ์ เหตุที่เรียกพงศาวดารฉบับนี้วาเปน
ออกไปดูกําลังของศัตรู แลวจึงยกกองทัพออกตั้งกลางสนามรบ ขอที่ไมได
ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ เพราะตองการจะใหเกียรติแกหลวงประเสริฐอักษรนิติ์
ชี้ใหเห็นในบทประพันธ คือ ขอ 1. ความหวาดกลัวทอถอย เพราะมีความ
หรือ พระยาปริยัติธรรมธาดา (แพ เปรียญ) ซึ่งเปนผูคนพบเอกสารสําคัญชิ้นนี้
วา “ยกนิกรทัพกลา” แสดงถึงความกลาหาญไมใชความหวาดกลัว
โดยเมื่อครั้งที่ยังคงเปน หลวงประเสริฐอักษรนิติ์
ตอบขอ 1.
14 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนสรุปความรูเกี่ยวกับคุณคาดานตางๆ
จากบทประพันธ์แสดงให้เห็นถึงภาพของการท�าสงคราม โดยมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็น ที่ปรากฏในบทประพันธ โดยนักเรียนทํากิจกรรม
ผู้น�าในการออกรบและตามด้วยกองก�าลังทหารที่มีความกล้าหาญเด็ดเดี่ยว กวีเลือกสรรการใช้ถ้อยค�า ตามตัวชี้วัด กิจกรรมที่ 1.2 จากแบบวัดฯ
เพื่อให้ผู้อ่านเกิดจินตภาพ มองเห็นกองก�าลังทหารจ�านวนมาก ภาษาไทย ม.2
๒) แสดงให้เห็นถึงคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมของคนไทย คือ แสดงให้เห็นถึง
ความกล้าหาญของพระสุริโยทัย ที่แต่งพระองค์ดังพระมหาอุปราชเสด็จไปรบในกองทัพ ด้วยพระทัย ใบงาน ✓แบบวัดฯ แบบฝกฯ
ที่กล้าหาญ เด็ดเดี่ยว ด้วยความรักและเสียสละที่มีต่อองค์พระมหากษัตริย์ซึ่งเป็นพระราชสวามี ภาษาไทย ม.2 กิจกรรมที่ 1.2
ทรงไสช้างพระทีน่ งั่ เข้าขวางพระคชาธารของพระเจ้าแปร จนถูกจ้วงฟันด้วยพระแสงของ้าวสิน้ พระชนม์ เร�่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
อันนับเป็นวีรกรรมที่ควรค่าแก่การยกย่องสรรเสริญอย่างยิ่ง
ส่วนโคลงประกอบภาพพันท้ายนรสิงห์ถวายชีวิต แสดงให้เห็นถึงการเคารพกฎหมาย กิจกรรมที่ ๑.๒ ใหนักเรียนวิเคราะหและสรุปคุณคาที่ไดรับจากวรรณคดีใน
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
ñð
ระเบียบ ประเพณีของบ้านเมือง ยอมเสียสละชีวิตเพื่อด�ารงไว้ซึ่งความศักดิ์สิทธิ์ของกฎหมาย ขณะ รูปแบบผังมโนทัศน (ท ๕.๑ ม.๒/๓)

เดียวกันก็แสดงให้เห็นถึงคุณธรรมของพระเจ้าแผ่นดินทีท่ รงมีพระเมตตาต่อข้าราชบริพารของพระองค์ โคลงภาพพระราชพงศาวดารพระสุริโยทัยขาดคอชาง

คุณคาดานเนือ้ หา คุณคาดานวรรณศิลป คุณคาดานสังคม



ภูบาลบ�าเหน็จให้ โทษถนอม ใจนอ ไดความรูท างประวัตศิ าสตร การเลือกสรรถอยคําทีท่ าํ ให ทําใหเห็นภาพเหตุการณทาง
พันไม่ยอมอยู่ยอม มอดม้วย
....................................................................... ....................................................................... .......................................................................
เกีย่ วกับพระสุรโิ ยทัยผูท รงมี
....................................................................... เกิดเสียงและภาพ ชวยให
....................................................................... ประวัติศาสตรดานการทํา
.......................................................................
ความกตัญูกตเวทีเปนเลิศ
....................................................................... ผูอานเกิดจินตภาพ และมี
....................................................................... สงครามและสะทอนใหเห็น
.......................................................................

พระโปรดเปลี่ยนโทษปลอม ฟันรูป แทนพ่อ ตามหนาทีข่ องภรรยาทีด่ แี ละ


.......................................................................
ประชาชนผูจงรักภักดี นับ
.......................................................................
อารมณ ร  ว มเสมื อ นอยู  ใ น
.......................................................................
เหตุการณจริง
.......................................................................
ถึงคุณธรรม จริยธรรม และ
.......................................................................
คานิยมของคนไทย
.......................................................................

พันกราบทูลทัดด้วย ท่านทิ้งประเพณี เปนวีรกรรมที่ยิ่งใหญ


.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
.......................................................................
....................................................................... ฉบับ
๔ เฉลย
ภูมีปลอบกลับตั้ง ขอบรร ลัยพ่อ
จ�าสั่งเพชฌฆาตฟั
1 น ฟาดเกล้า โคลงภาพพระราชพงศาวดารพันทายนรสิงห

โขนเรือกับหัวพัน เซ่นที่ ศาลแล คุณคาดานเนือ้ หา คุณคาดานวรรณศิลป คุณคาดานสังคม

ศาลสืบกฤติคุณเค้า คติไว้ในสยาม ไดความรูท างประวัตศิ าสตร


.......................................................................
เกีย่ วกับวีรกรรมของพันทาย-
.......................................................................
เรี ย งลํ า ดั บ เหตุ ก ารณ ไ ด
.......................................................................
กะทัดรัด ดีเดนดานการใช
.......................................................................
แสดงใหเห็นถึงการเคารพ
.......................................................................
ต อก ฎ หมา ย ระเ บี ยบ
.......................................................................
นรสิ ง ห ที่ เ ป น แบบอย า ง
....................................................................... คํานอย กินความมาก ใช
....................................................................... ประเพณี ข องบ า นเมื อ ง
.......................................................................
ของข า ราชสํ า นั ก ผู  มี ค วาม ถอยคําไพเราะ มีการเลน และคุ ณ ธรรมของพระเจ า
จากบทประพันธ์จะเห็นได้วา่ “พัน” คือ พันท้ายนรสิงห์ไม่ยอมมีชวี ติ อยู ่ ด้วยความตัง้ ใจ .......................................................................
รั บ ผิ ด ชอบ จงรั ก ภั ก ดี
.......................................................................
.......................................................................
เสียงสัมผัสพยัญชนะ
.......................................................................
.......................................................................
แผนดิน
.......................................................................
ซื่อสัตย ยอมสละชีวิตเพื่อ
ที่จะรักษาความศักดิ์สิทธิ์ของกฎหมายและรักษาพระเกียรติยศของพระมหากษัตริย์ แม้พระเจ้าเสือ
....................................................................... ....................................................................... .......................................................................
รักษากฎหมายบานเมือง
....................................................................... ....................................................................... .......................................................................

จะทรงพระเมตตา แต่พันท้ายนรสิงห์ยังคงยืนกรานที่จะรับโทษ ดังนั้น พระเจ้าเสือจึงรับสั่งประหาร ๘๕


พันท้ายนรสิงห์
๗.๔ ข้อคิดทีส่ ามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจ�าวัน
การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและเหตุการณ์ส� าคัญของชาติ ท�าให้ผู้เรียนได้เห็น
สภาพสังคม ความคิด ความเชือ่ ของบรรพบุรษุ ได้เห็นแบบอย่างพฤติกรรมอันดีงามทีส่ ามารถน�ามาเป็น ขยายความเขาใจ Expand
แนวทางในการด�าเนินชีวิตประจ�าวัน ดังนี้
๑) ความเสียสละเพื่อชาติบ้านเมือง คือ หน้าที่ของคนไทยทุกคนที่ควรยึดถือเป็น นักเรียนเลือกคุณธรรมที่เปนคุณคาดานสังคม
แบบอย่างและน�ามาปฏิบัติ ประเทศชาติบ้านเมืองจะด�ารงอยู่ได้ย่อมต้องอาศัยความเสียสละของคน ที่ไดรับจากโคลงภาพพระราชพงศาวดารมา 1 ขอ
ในชาติ ไม่คิดเห็นแต่ประโยชน์ส่วนตัว ถ้าทุกคนในชาติมองเห็นความส�าคัญของการเสียสละ จะท�าให้ นํามาเปนหัวขอในการเขียนความเรียงที่แสดงวา
ประเทศชาติพัฒนาไปได้อย่างต่อเนื่อง สามารถนํามาประยุกตใชในชีวิตประจําวันของ
15 นักเรียนได ความยาวไมนอยกวา 15 บรรทัด

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
คําประพันธในขอใดเปนตัวอยางที่นายกยอง
1 โขนเรือ เรือพระที่นั่งบางลํามีโขนเรือเปนรูปสัตว ตามพระราชลัญจกรเชนกัน
พันทายตกประหมาสิ้น สติคิด
เชน เรือครุฑ มีพระราชลัญจกร “พระครุฑพาห” หัวเรือแตเดิม ก็ทาํ เปนรูปครุฑเทานัน้
โดดจากเรือทูลอุทิศ โทษรอง
ในสมัยอยุธยามีเรือครุฑซึ่งมีชื่อวา “เรือมงคลสุบรรณ” ซึ่งก็มิไดมีองคพระนารายณ
พันทายนรสิงหผิด บทฆา เสียเทอญ
อยูดวย แตทําเปน “ครุฑยุดนาค” ดังปรากฏในบทเหเรือของเจาฟาธรรมธิเบศรไชย
หัวกับโขนเรือตอง คูเสนทําศาล
เชษฐสรุ ยิ วงศ (เจาฟากุง ) ทีว่ า “เรือครุฑยุดนาคหิว้ ” นัน่ เอง และตอมามีเรือนารายณ
1. ความเสียสละเพื่อคนรัก
ทรงสุบรรณ ซึ่งเดิมก็มีเพียงรูปครุฑ สรางขึ้นในรัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จ-
2. ความยุติธรรมของทหาร
พระนั่งเกลาเจาอยูหัว ตอมาในรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว
3. ความกลาหาญเด็ดเดี่ยว
โปรดใหทาํ องคพระนารายณเติมเขาไปดวย เรือพาลีรงั้ ทวีป และเรือสุครีพครองเมือง
4. ความผิดตองไดรับการใหอภัยเสมอ
ซึ่งเปนเรือของกองอาสา กรมเขนทองซาย กรมเขนทองขวา ก็มีตราเปนรูปลิง
วิเคราะหคําตอบ เมื่อพันทายนรสิงหทําผิดกฎมณเฑียรบาลที่วา ถาใครทํา ซึ่งเรียกวา “กระบี่ธุช”
โขนเรือพระที่นั่งหักจะตองโทษถึงประหารชีวิต จึงขอรับโทษซึ่งเปนการแสดง
ความกลาหาญเด็ดเดี่ยว ทั้งนี้เพราะพันทายนรสิงหรูดีวาหากไมรับโทษ
จะทําใหกฎมณเฑียรบาลไมศักดิ์สิทธิ์ และเปนตัวอยางที่ไมดีตอผูอื่นใน
ภายหนา ตอบขอ 3.
คูมือครู 15
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
1. นักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับขอคิดจาก
โคลงภาพพระราชพงศาวดารที่สามารถนําไป ๒) ความกตัญญูกตเวที เป็นคุณธรรมอันประเสริฐ บุคคลใดที่มีความกตัญญู ผู้นั้น
ประยุกตใชในชีวติ ประจําวันได จากหนังสือเรียน ย่อมประสบแต่ความสุขความเจริญและได้รับการยกย่องจากผู้อื่น
หนา 15 และ 16 ๓) การทำาหน้าที่พลเมืองดี เป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคนต้องรู้กฎหมายและปฏิบัติ
2. ครูสุมเรียกนักเรียน 2-3 คน อธิบายเกี่ยวกับ ตามกฎหมายอย่างเคร่งครัดเพื่อรักษาไว้ซึ่งความสงบสุขของบ้านเมือง
ขอคิดทีส่ ามารถนําไปประยุกตใชในชีวติ ประจําวัน ๔) การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ คนไทยทุกคนควรศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์
ที่ปรากฏในเรื่อง ไดแก ความเสียสละเพื่อชาติ และความเป็นมาของชาติเพื่อเป็นข้อคิดเตือนใจให้คนไทยภูมิใจในความกล้าหาญ ความกตัญญู และ
บานเมือง ความกตัญูกตเวที การทําหนาที่ ความเสียสละของบรรพบุรุษที่ช่วยธ�ารงรักษาผืนแผ่นดินไทยจนตกทอดมาถึงเราในทุกวันนี้
พลเมืองที่ดี และการเรียนรูประวัติศาสตร
โคลงประกอบภาพพระราชพงศาวดารทั้ง ๒ เรื่อง คือ โคลงภาพพระสุริโยทัย
ขยายความเขาใจ Expand ขาดคอช้างและโคลงภาพพันท้ายนรสิงห์ถวายชีวิต แม้จะตัดตอนเรื่องราวในพงศาวดาร
นักเรียนยกตัวอยางพฤติกรรม/การกระทํา มาเพียงสั้น แต่ก็เปี่ยมด้วยคุณค่าครบถ้วน เป็นบทร้อยกรองที่แสดงให้เห็นถึงศิลปะ
ของตนเองที่สอดคลองกับขอคิดที่สามารถนําไป ในการเลือกสรรถ้อยคÓที่ไพเราะ ใช้คÓน้อยแต่กินความมาก ใช้คÓที่ก่อให้เกิดอารมณ์
ประยุกตใชในชีวิตประจําวันที่ปรากฏในเรื่อง สะเทือนใจ ใช้ภาษาที่ทÓให้เกิดจินตภาพ อีกทั้งยังสะท้อนให้เห็นถึงคุณธรรมของ
ดังตาราง บรรพบุรุษไทยที่แสดงความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ อันเป็นแง่คิดที่ควรยึดถือ
ปฏิบัติและนÓมาประยุกต์ใช้ในการดÓรงชีวิตต่อไป
ขอคิดที่สามารถนํา
พฤติกรรม/การกระทํา
ไปประยุกตใชในชีวิต
ของตนเอง
ประจําวันที่ปรากฏ
ในเรื่อง
ความเสียสละเพื่อชาติ
บานเมือง
ความกตัญูกตเวที
การทําหนาที่พลเมือง
ที่ดี
การเรียนรู
ประวัติศาสตร

16

บูรณาการเชื่อมสาระ
เกร็ดแนะครู ครูบูรณาการความรูเรื่องคุณคาดานเนื้อหาของโคลงภาพพระราช-
พงศาวดารกับกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
นอกจากความกลาหาญเด็ดเดี่ยวและความเสียสละของพันทายนรสิงหแลว
วิชาประวัติศาสตร เพื่อศึกษาเกี่ยวกับพระราชพงศาวดาร และเหตุการณ
ครูแนะวายังมีคุณธรรมขออื่นที่กวีมุงเนนในเนื้อเรื่อง คือ คุณธรรมเรื่องความกตัญู
สําคัญทางประวัติศาสตร คือ การทํายุทธหัตถีจากโคลงภาพพระสุริโยทัย
กตเวที เปนคุณธรรมพื้นฐานของคนดี เพราะบุคคลที่รูจักกตัญูตอผูมีพระคุณ ขาดคอชาง และพระราชประเพณีกฎมณเฑียรบาลในสมัยอดีตจากโคลงภาพ
หมายถึง การเปนคนคิดดี มีใจซื่อสัตย และเปนที่รักใครของคนทั่วไป นักเรียนจึง พันทายนรสิงหถวายชีวิต
ควรนําไปเปนแบบอยางในการปฏิบัติตน ทั้งนี้โคลงพระราชพงศาวดารเพียง 4-6 บท อาจพรรณนาใหเห็นภาพ
เหตุการณตางๆ ไมชัดเจน นักเรียนจึงควรศึกษาคนควา สืบเสาะ จากแหลง
ขอมูลทางประวัติศาสตร ทั้งจากหนังสือเรียนประวัติศาสตร และแหลงเรียนรู
มุม IT อื่นๆ โคลงภาพพระราชพงศาวดารมีประโยชนอยางยิ่ง ในแงที่จะชวยบันทึก
สืบทอดภาพประวัติศาสตรใหชนรุนหลังไดศึกษาและจดจํา
ศึกษาเกี่ยวกับ “ประวัติพันทายนรสิงห ผูรักษากฎระเบียบ กฎมณเฑียรบาล
ยิ่งกวาชีวิตตน” เพิ่มเติม ไดที่ http://www.navy22.com/smf/index.
php?topic=15654.0

16 คูมือครู
ตรวจสอบผล
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Evaluate
Engage Explore Explain Expand
ตรวจสอบผล Evaluate
1. นักเรียนรวบรวมถอยคําที่ทําใหผูอานเกิด
อารมณรวมกับบทประพันธได
ค�าถาม ประจ�าหน่วยการเรียนรู้
2. นักเรียนเลาเรื่องเรียงลําดับเหตุการณในโคลง
ประกอบภาพที่ 10 ภาพพระสุรโิ ยทัยขาดคอชาง
๑. สมเด็จพระสุริโยทัย มีบทบาทส�าคัญอย่างไรในการต่อสู้กับข้าศึก และโคลงภาพประกอบที่ 56 ภาพพันทายนรสิงห
๒. “สูญชีพไป่สูญสิ้น พจน์ผู้สรรเสริญ” บทประพันธ์นี้มีความหมายว่าอย่างไรและสอดคล้องกับวีรกรรม ถวายชีวิต
ของสมเด็จพระสุริโยทัยหรือไม่ จงอธิบายพร้อมทั้งแสดงเหตุผลประกอบ 3. นักเรียนเขียนความเรียงจากขอคิดที่ไดจาก
๓. “พันท้ายนรสิงห์เป็นตัวอย่างของข้าราชการที่มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่” นักเรียนเห็นด้วยกับ เรื่องโคลงภาพพระราชพงศาวดารที่สามารถ
ค�ากล่าวนี้หรือไม่ จงอธิบายพร้อมทั้งแสดงเหตุผลประกอบ นํามาประยุกตใชในชีวิตประจําวันได
๔. สมเด็จพระสุริโยทัยและพันท้ายนรสิงห์มีคุณธรรมที่ควรเป็นแบบอย่างในการปฏิบัติอย่างไรบ้าง 4. นักเรียนยกตัวอยางพฤติกรรม/การกระทําของ
๕. นักเรียนได้รับประโยชน์อย่างไรบ้างจากการอ่านเรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
ตนเองที่สอดคลองกับขอคิดที่สามารถนําไป
ประยุกตใชในชีวิตประจําวันที่ปรากฏใน
เรื่องได

กิจกรรม สร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้
หลักฐานแสดองผลการเรียนรู
กิจกรรมที่ ๑ ใ ห้ นัก เรี ย นเขี ย นแสดงความคิ ด เห็ นว่ าข้ อ ความที่ ป รากฏในโคลงประกอบภาพ
พระราชพงศาวดารตอนใดที่นักเรียนประทับใจมากที่สุด ให้เหตุผล พร้อมทั้งอธิบาย 1. การถอดคําประพันธโคลงภาพพระราช
คุณค่าด้านวรรณศิลป์ให้ชัดเจน พงศาวดาร
กิจกรรมที่ ๒ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม อภิปรายแสดงความคิดเห็นตามหัวข้อต่อไปนี้ 2. การแตงคําประพันธประเภทโคลงสี่สุภาพ
• เหตุใดสมเด็จพระสุริโยทัยจึงตัดสินพระทัยขับช้างเข้าต่อสู้กับข้าศึก 3. บัตรคําศัพทจากบทเรียน
• หากนักเรียนเป็นพระเจ้าแปร เมื่อทราบว่าทรงชนช้างกับสตรีจะรู้สึกอย่างไร 4. ความเรียงเกี่ยวกับขอคิดที่ไดจากการอานเรื่อง
• หากนักเรียนเป็นพันท้ายนรสิงห์ เมือ่ ได้รบั พระราชทานอภัยโทษไม่ตอ้ งถูกประหาร โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
นักเรียนจะรู้สึกอย่างไร ท�าไมจึงรู้สึกเช่นนั้น

กิจกรรมที่ ๓ ใ ห้นักเรียนแบ่งกลุ่ม เลือกท�ากิจกรรมกลุ่มตามประเด็นที่นักเรียนมีความถนัดและ


สนใจ ดังนี้
• แสดงบทบาทสมมติตามเนื้อเรื่องตอนสมเด็จพระสุริโยทัยสิ้นพระชนม์
• แสดงบทบาทสมมติตามเนื้อเรื่องตอนพันท้ายนรสิงห์ถวายชีวิต
• ฝ ึกแต่งค�าประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพ โคลงสี่สุภาพ และอ่านท�านองเสนาะ
ประกอบเรือ่ ง จากนัน้ ให้แต่ละกล่มุ น�าเสนอผลงานหน้าชัน้ เรียน และจัดป้ายนิเทศ

17

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู
1. พระสุริโยทัยทรงขับชางเขาชวยและสละชีวิตแทนพระสวามีอยางกลาหาญ
2. การสูญเสียชีวิตไมไดหมายความวาจะสูญเสียชื่อเสียงและคุณความดีที่ไดกระทําไว การกระทําของพระสุริโยทัยนับเปนวีรกรรมที่แสดงออก
ซึ่งความรักชาติที่คนไทยรุนหลังไดเชิดชูสรรเสริญพระเกียรติของพระองค
3. เห็นดวย เพราะหนาที่ของพันทายนรสิงหคือบังคับควบคุมทิศทางเรือ เมื่อเรือประสบอุบัติเหตุผูทําหนาที่นี้จึงตองรับผิดชอบตามกฎหมายบานเมือง
โดยไมมีขอยกเวน
4. ความกตัญูและความจงรักภักดีตอพระเจาแผนดินและประเทศชาติ
5. ไดรับความรูทางประวัติศาสตรและขอคิดที่สามารถนําไปปรับใชกับตนเองได ตัวอยางเชน การยอมเสียสละชีวิตเพื่อปกปองบานเมืองใหรอดพนจากอริราชศัตรู
เปนตน

คูมือครู 17
กระตุน ความสนใจ
Engage สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Explore Explain Expand Evaluate
เปาหมายการเรียนรู
1. สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน
2. วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน
พรอมยกเหตุผลประกอบ
3. อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม
ที่อาน
4. สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพื่อประยุกต
ใชในชีวิตจริง
5. ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนดและ
บทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ

สมรรถนะของผูเรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค
1. ใฝเรียนรู
2. มุงมั่นในการทํางาน
3. รักความเปนไทย
หนวยที่ ò
บทเสภำสำมัคคีเสวก
ตอน วิศวกรรมำและสำมัคคีเสวก
วิ
ตัวชี้วัด
ศวกรรมาและสามัคคีเสวกเปนบทประพันธ
กระตุน ความสนใจ Engage ■


สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน (ท ๕.๑ ม.๒/๑)
วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน พรอมยกเหตุผลประกอบ ตอนหนึ่งในบทเสภาสามัคคีเสวก พระราชนิพนธ
(ท ๕.๑ ม.๒/๒) ในพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล า เจ า อยู  หั ว
ครูใหนักเรียนดูภาพหนาหนวยแลวใหนักเรียน ■


อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน (ท 5.1 ม.2/3)
สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพื่อประยุกตใชในชีวิตจริง บทวิศวกรรมากลาวถึงความสําคัญของศิลปะแขนง
รวมกันตอบคําถาม (ท ๕.๑ ม.๒/๔) ตางๆ เพื่อใหประชาชนตระหนักและอนุรักษศิลปะ
• เรือที่อยูในรูปเปนเรือประเภทใด ■ ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทรอยกรองที่มีคุณคาตาม เหลานั้นไว สวนสามัคคีเสวกเนนยํ้าใหเห็นถึงพลังแหง
ความสนใจ (ท ๕.๑ ม.๒/๕) ความสามัคคี เพื่อเปนคติเตือนใจขาราชบริพารใหมี
(แนวตอบ เรือสําเภา) ความสามัคคีและมีความจงรักภักดีตอพระมหากษัตริย
• เมื่อเห็นภาพเรืออยูทามกลางพายุและ สาระการเรียนรูแกนกลาง ประเทศชาติจึงจะเจริญรุงเรือง
การวิเคราะหคุณคาและขอคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม ด ว ยกลวิ ธี ท างวรรณศิ ล ป ที่ ป ระณี ต งดงามทํ า ให
คลื่นลม นักเรียนนึกถึงอะไร

เรื่องบทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก กลอนเสภาเรื่องนี้มีความไพเราะ คมคาย สื่อความหมายได


(แนวตอบ อุปสรรคในการดําเนินชีวิต ■ บทอาขยานตามที่กําหนดและบทรอยกรองที่มีคุณคา
กระทบใจผูอ า น สามารถปลุกเราใหผอู า นเห็นถึงพลังของศิลปะ
ความรวมมือ การชวยเหลือซึ่งกันและกัน) และพลังของความสามัคคีไดเปนอยางดี

เกร็ดแนะครู
ครูจัดกิจกรรมทัศนศึกษาใหนักเรียนไดชมศิลปะของไทยหลากหลายแขนง
จากสถานที่ที่มีความสําคัญทางศิลปกรรม โดยเปนสถานที่ที่อยูใกลโรงเรียน อาจ
เปนวัด โบสถ ตึกรามบานชองที่ไดรับการอนุรักษ หรือพิพิธภัณฑที่เก็บวัตถุสิ่งของ
ที่มีความงดงามนาสนใจ อีกทั้งใหนักเรียนไดศึกษาความเปนมาของผลงานที่มี
เอกลักษณโดยครูใหนักเรียนจดบันทึกความรูระหวางการเยี่ยมชมและศึกษา

18 คูมือครู
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา
Engage Explore อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Explain Expand Evaluate
กระตุน ความสนใจ Engage
ครูใหนักเรียนอานเรื่องที่พระบาทสมเด็จ-
๑ ความเป็นมา พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงอธิบายสาเหตุของ
บทเสภาสามัคคีเสวก (อ่านว่า เส - วก = ข้าราชการในราชส�านัก) เป็นบทพระราชนิพนธ์ พระราชนิพนธบทเสภาสามัคคีเสวก จากนั้นให
ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชนิพนธ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๗ บทเสภาสามัคคีเสวก นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นและความรูสึก
เป็นบททีใ่ ช้สา� หรับขับอธิบายน�าเรือ่ งในการฟอนร�าตอนต่างๆ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั ที่มีตอเนื้อความในหนา 19 โดยครูเปดประเด็น
ทรงอธิบายสาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาชุดนี้ไว้ ดังนี้ คําถามในการอภิปราย ดังนี้
เมื่อข้าพเจ้าไปพักผ่อนอิริยาบถอยู่ที่พระราชวังสนามจันทร์ ได้มีข้าราชบริพารใน
• นักเรียนคิดวาการขับเนื้อรองเสภา
ราชส�านัก ผลัดเปลีย่ นกันจัดอาหารเลีย้ งกันทุกๆ วันเสาร์ และเมือ่ เลีย้ งแล้วมักจะมีอะไรดูกนั มีความสําคัญอยางไร
เล่นอย่าง ๑ ครัน้ เมือ่ จวนจะถึงคราวทีเ่ จ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดีจดั เลีย้ ง เจ้าพระยาธรรมา (แนวตอบ ในระหวางการจัดเลี้ยง การขับ
ได้ขอให้ข้าพเจ้าคิดหาการเล่นสักอย่าง ๑ ข้าพเจ้าจึงได้คิดผูกระบ�า “สามัคคีเสวก” ขึ้น1 เนื้อรองเสภาชวยลดกําลังของพิณพาทยที่
ระบ�าที่กล่าวนี้ได้เล่นตามแบบใหม่เป็นครั้งแรก กล่าวคือ ไม่มีบทร้องเลย มีแต่หน้าพาทย์ บรรเลงเพลงอยูตลอดเวลาใหมีเวลาไดพัก
ประกอบกับท่าระบ�าเท่านัน้ คราวนีร้ า� พึงขึน้ ว่า ในเวลาพักระหว่างตอนแห่งระบ�านัน้ ครัน้ จะ หายเหนื่อยบาง)
ให้พิณพาทย์บรรเลง พิณพาทย์นั้นก็ได้ตีเหน็ดเหนื่อยตลอดเวลาที่เล่นระบ�า ควรที่ให้
พิณพาทย์นั้นได้พักหายเหนื่อยบ้าง ข้าพเจ้าจึงตกลงแต่งบทเสภาขึ้นส�าหรับขับระหว่างตอน สํารวจคนหา Explore
จากค�าอธิบายนี้ จะเห็นได้ว่า บทเสภาสามัคคีเสวก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงพระราชนิ พ นธ์ ขึ้ น ตามค� า กราบบั ง คมทู ล ขอพระราชทานของเจ้ า พระยาธรรมาธิ ก รณาธิ บ ดี
1. นักเรียนสืบคนความเปนมาของบทเสภา
โดยครั้งแรกพระองค์ทรงคิดการแสดงชื่อว่า “ระบำาสามัคคีเสวก” ซึ่งเป็นการร�าตามเพลงหน้าพาทย์ สามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคี
ไม่มีบทร้อง และต่อมาได้แต่งบทเสภาขึ้นขับระหว่างเวลาพักตอนเพื่อให้พิณพาทย์ได้พักเหนื่อยบ้าง เสวก พรอมทั้งศึกษาเกี่ยวกับพระราช-
บทเสภาสามัคคีเสวกเป็นบทเสภาขนาดสั้น มี ๔ ตอน เนื้อหาในแต่ละตอนเป็นการเสนอ อัจริยภาพดานอักษรศาสตรในพระบาทสมเด็จ
แนวคิด โดยแนวคิดส�าคัญคือความสมานสามัคคี และความจงรักภักดีของข้าราชการที่มีต่อชาติ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว
และพระมหากษัตริย์ 2. นักเรียนศึกษาลักษณะคําประพันธประเภท
บทเสภาตอนที่ ๑ กิจการแห่งพระนนที กล่าวถึงพระนนที 2 ซึ่งเป็นเทพเสวกของพระอิศวร กลอนเสภา
เมื่อพระอิศวรจะเสด็จที่ใด พระนนทีจะแปลงกายเป็นโคอุสุภราชพาหนะทรงของพระอิศวรและท�า 3. นักเรียนอานเรื่องยอของบทเสภาสามัคคีเสวก
หน้าที่ด้วยความขยันขันแข็ง นับเป็นตัวอย่างของเสวกที่ดี เมื่อเสร็จเทวกิจก็จะกลับมาเป็นเทพดังเดิม ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก
เมื่อขับเสภาจบจะเป็นการแสดงจับระบ�า ตอน พระอิศวรและพระอุมาเสด็จออกให้เหล่าเทพเข้าเฝา
มียักษ์กาลเนมีเข้ามาไล่จับนางฟา พระนนที3บัญชาให้เหล่าเทพเสวกไล่จับและลงอาญาตียักษ์กาลเนมี
แล้วขับไป จากนั้นพระอินทร์และจัตุโลกบาลเสด็จเข้ามาเฝาพระอิศวร
บทเสภาตอนที่ ๒ กรีนิรมิต กล่าวสรรเสริญพระคเณศ ผู้เป็นเทพแห่งศิลปวิทยาต่างๆ
และเป็นผู้สร้างช้างตระกูลต่างๆ เพื่อเป็นเครื่องเฉลิมพระยศของพระมหากษัตริย์ การแสดงระบ�า
เริ่มด้วยระบ�าช้าง ๘ ตระกูล ยักษ์กาลเนมีออกมาไล่จับช้าง พระคเณศต่อสู้และขับไล่ยักษ์ไปได้
จากนั้นจึงมอบช้างให้ท้าวโลกบาลทั้ง ๘ ไว้ประจ�าแต่ละทิศ ร่ายมนตร์สร้างพระยาช้างเผือก แล้วบัญชา
ให้หมอเฒ่าจับช้างและจัดกระบวนแห่พระยาช้างเผือก
19

บูรณาการเชื่อมสาระ
จากการกลาวถึงเพลงหนาพาทยในเนื้อความของหนังสือเรียนสามารถ นักเรียนควรรู
บูรณาการความรูเขากับกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ วิชาดนตรี-นาฏศิลป
1 หนาพาทย เปนการเรียกเพลงประเภทที่ใชบรรเลงในการแสดงกิริยา
เรื่องการขับรองและบรรเลงเครื่องดนตรีประกอบเพลง หลักการบรรเลง
อาการเคลื่อนไหวของตัวโขนละคร เปนตน หรือสําหรับอัญเชิญเทพเจา ฤๅษีหรือ
ดนตรีไทยประกอบการแสดง ที่ใชสําหรับการบรรเลงในการแสดงที่สําคัญ
บูรพาจารย ใหมารวมชุมนุมในพิธีไหวครูหรือพิธีมงคลตางๆ หรือหมายถึง
และการแสดงโขน เชน ตอนยกทัพของพระราม เปนตน เพื่อใหนักเรียน
การรําหนาพาทย บอกหนาพาทย
เขาใจจุดมุงหมายของการแตงเนื้อขับเสภาตามที่รัชกาลที่ 6 ทรงอธิบาย
สาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธบทเสภาสามัคคีเสวกนี้ 2 โคอุสุภราช มีลักษณะเปนโคเผือกไดรับการบูชาดุจเทพเจาองคหนึ่งในศาสนา
พราหมณ-ฮินดู นอกจากนี้ตราสัญลักษณประจําจังหวัดนาน ยังปรากฏมีรูป
พระธาตุแชแหงบนหลังโคอุสุภราช
3 จัตุโลกบาล คือ เทวดาที่รักษาโลกทั้ง 4 ทิศ เปนทาวจตุโลกบาล ไดแก
ทาวธตรฐ รักษาโลกดานตะวันออก ทาววิรูปกษ รักษาโลกดานตะวันตก ทาวกุเวร
รักษาโลกดานทิศเหนือ และทาววิรุฬหก รักษาโลกดานใต

คูมือครู 19
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
1. นักเรียนอธิบายจุดมุงหมายในพระราชนิพนธ
บทเสภาสามัคคีเสวก บทเสภาตอนที่ ๓ วิศวกรรมา กล่าวสรรเสริญพระวิศวกรรม เทพแห่งงานศิลป์ การก่อสร้าง
(แนวตอบ บทเสภาสามัคคีเสวกเปนบทพระราช และการช่างนานา กล่าวถึงความส�าคัญของศิลปะของชาติ การแสดงระบ�าเริ่มด้วยพระวิศวกรรม
นิพนธในรัชกาลที่ 6 ทรงพระราชนิพนธขึ้นตาม ออกมาร่ายร�า ต่อจากนั้นนางวิจิตรเลขาออกมาร�าท�าท่าวาดภาพถวาย หลังจากนั้น พระรูปการ
คํากราบบังคมทูลขอพระราชทานของเจาพระยา ออกมาร่ า ยร� า ท� า ท่ า ปั ้ น รู ป ถวาย จากนั้ น เป็ น การแสดงอาวุ ธ ต่ า งๆ และจบด้ ว ยระบ� า นพรั ต น์
ธรรมาธิกรณาธิบดี ซึ่งเดิมมีเพียงหนาพาทย ซึ่งเป็นอัญมณีทั้ง ๙ ชนิด มาจับระบ�าร�าโคม
ประกอบทาระบํา ทรงเห็นวาผูบรรเลงพิณพาทย บทเสภาตอนที่ ๔ สามัคคีเสวก กล่าวถึงความสมานสามัคคีของหมู่ราชเสวก ให้มีความมั่นคง
ควรไดพักบาง จึงทรงคิดเนื้อรองบทเสภาขึ้น) จงรักภักดี ซื่อตรง ขยันขันแข็งในการท�างาน รักษาเกียรติของข้าราชการ การแสดงเริ่มด้วยราชเสวก
2. นักเรียนอธิบายที่มาของคําประพันธประเภท ๒๘ หมู่ ออกมาสวนสนามหมู่ละ ๑ คู่ จบแล้วทุกคนร้องเพลงแสดงความจงรักภักดีพร้อมกัน
กลอนเสภา
(แนวตอบ กลอนเสภามาจากการเลานิทานที่เปน ๒ ประวัติผู้แต่ง
รอยแกว ตอมาจึงแตงเปนกลอนเพื่อเพิ่มความ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๖ แห่งราชวงศ์จักรี
สนุกสนาน ไพเราะ โดยใชกรับเปนเครื่องกํากับ
ตลอดระยะเวลา ๑๕ ปี ที่ครองราชย์ (พ.ศ. ๒๔๕๓ - ๒๔๖๘) ทรงประกอบพระราชกรณียกิจ
จังหวะขับรอง)
นานัปการ ทรงพระปรีชาสามารถทั้งด้านการทหาร การปกครอง การต่างประเทศ โดยเฉพาะด้าน
อักษรศาสตร์ พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์งานประพันธ์หลายประเภท อาทิ บทละคร บทความ สารคดี
ขยายความเขาใจ Expand
นิทาน นิยาย เรื่องสั้น พระบรมราโชวาท พระราชหัตถเลขา และทรงใช้พระราชนิพนธ์เป็นสื่อ
1. นักเรียนรวบรวมผลงานพระราชนิพนธใน แสดงแนวพระราชด�าริในเรื่องต่างๆ เป็นจ�านวนมาก 1
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว และ บทพระราชนิพนธ์หลายเรื่องได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดของวรรณคดี
อธิบายเกี่ยวกับผลงานเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือเป็นหนังสือที่แต่งดี อาทิ หัวใจนักรบ เป็นยอดของบทละครพูดร้อยแก้ว มัทนะพาธา เป็นยอด
พอสังเขป บันทึกลงสมุด ของบทละครพูดค�าฉันท์
(แนวตอบ ตัวอยางผลงานพระราชนิพนธใน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงได้รับการถวายพระราชสมัญญาว่า “สมเด็จ
รัชกาลที่ 6 เชน บทละครพูดคําฉันทเรื่อง พระมหาธีรราชเจ้า” ซึ่งมีความหมายว่า “นักปราชญ์ผู้ยิ่งใหญ่” นอกจากนี้พระองค์ยังทรงได้รับ
มัทนะพาธา เปนบทละครพูดคําฉันท 5 องก การประกาศยกย่องจากองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO)
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรง ให้ทรงเป็น ๑ ใน ๕ ของนักปราชญ์ไทย ใน พ.ศ. ๒๕๑๕ อีกด้วย
พระราชนิพนธขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2466 เลาเรื่องวา
ดวยตํานานเกี่ยวกับดอกกุหลาบ และความรักที่ ๓ ลักษณะคÓประพันธ์
ไมสมหวัง)
บทเสภาสามัคคีเสวกนี้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิ 2 พนธ์ด้วย
2. ครูสุมนักเรียน 3-4 คน มาแนะนําผลงาน
บทประพันธ์ประเภท กลอนเสภา ซึ่งเป็นกลอนที่แต่งขึ้นส�าหรับการขับเสภา โดยพัฒนามาจาก
พระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระ-
การเล่านิทาน เมือ่ การเล่านิทานเป็นร้อยแก้วท�าให้ผฟู้ งั เบือ่ หน่าย จึงได้มผี คู้ ดิ แต่งนิทานให้เป็นบทกลอน
มงกุฎเกลาเจาอยูห วั คนละ 1 เรือ่ ง โดยเรือ่ งที่
ที่มีสัมผัสคล้องจองและขับเป็นท�านอง โดยใช้กรับเป็นเครื่องประกอบจังหวะ
นักเรียนยกมาตองไมซํ้ากัน จากนั้นครูขออาสา
20
สมัครที่มีเรื่องราวเกี่ยวกับผลงานเรื่องอื่นๆ
นอกเหนือจากเรื่องที่ครูสุมใหเพื่อนเลา
มานําเสนอเพิ่มเติม
กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
ในปจจุบนั ประเทศไทยปกครองประเทศในระบอบประชาธิปไตย พระมหากษัตริย นักเรียนศึกษาและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับพระราชสมัญญาของ
จึงมิไดเปนเหมือนกัปปตันหรือกัปตันดังเชนในอดีต แตประชาชนสามารถรวมกัน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวเปนนักปราชญผูยิ่งใหญ
ปฏิบัติตามพระบรมราโชวาทและแนวพระราชดําริตางๆ ได รวมทั้งตอง ลงในใบงานสงครู
เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิเสรีภาพ และทําหนาที่พลเมืองไทยใหดีที่สุด

นักเรียนควรรู กิจกรรมทาทาย
1 วรรณคดีสโมสร เปนสโมสรที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรง
ตั้งขึ้น เพื่อกําหนดประเภทของหนังสือ และหลักเกณฑในการพิจารณายกยอง นักเรียนศึกษาและคนหานามปากกาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา-
หนังสือทีแ่ ตงดี ในรัชสมัยของพระองคถอื ไดวา เปนยุคทีว่ รรณคดีและวรรณกรรมรุง เรือง เจาอยูหัวที่ทรงใชในการพระราชนิพนธเรื่องตางๆ ซึ่งนักเรียนจะไดชื่นชม
ในพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย ทั้งนี้เพราะพระองคทรงใช
2 การขับเสภา เปนการละเลนพื้นเมืองที่มีทํานองเฉพาะ ผูขับเสภาจะใชกรับ พระราชนิพนธเปนสื่อแสดงพระราชดํารัสในเรื่องตางๆ แกประชาชน
ที่ทําจากไม เชน ไมชิงชัน ไมพะยูง ขยับเปนจังหวะประกอบเวลาขับเสภา คนไทย จัดทําเปนใบงานสงครู

20 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู Explain
1 1. นักเรียนอธิบายการสงและรับสัมผัสของ
กลอนเสภามีลักษณะ ดังนี้ คําประพันธประเภทกลอนเสภา
๑. เนื้อความตอนหนึ่งๆ จะยาวกี่ค�ากลอนก็ได้ (แนวตอบ การสงและรับสัมผัสของกลอนเสภา
๒. จ�านวนค�าในแต่ละวรรคอาจไม่เท่ากัน คือ มีได้ตั้งแต่ ๖ ค�า ถึง ๑๐ ค�า ตามความเหมาะสม คําสุดทายในวรรคแรก (วรรคสดับ) จะสง
เพื่อความชัดเจนของเนื้อความในแต่ละวรรค สัมผัสไปยังคําที่ 1 ,2, 3, 4 หรือ 5 ของวรรค
๓. การส่งและการรับสัมผัส คือ ค�าสุดท้ายของวรรคหน้า (วรรคสดับและวรรครอง) นิยมส่งสัมผัส ที่สอง (วรรครับ) ซึ่งคําสุดทายของวรรคนี้จะ
ไปยังค�าที่ ๑ - ๕ ค�าใดค�าหนึ่งของวรรคหลัง (วรรครับและวรรคส่ง) และค�าสุดท้ายของวรรคส่งของ สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่สาม (วรรครอง)
กลอนบทแรกส่งสัมผัสไปยังค�าสุดท้ายของวรรครับในกลอนบทต่อไปด้วย และสัมผัสกับคําที่ 1 ,2, 3, 4 หรือ 5 ของวรรคที่
แผนผังและตัวอย่าง กลอนเสภา สี่ (วรรคสง) สวนสัมผัสระหวางบท คําสุดทาย
ของวรรคที่ 4 ในบทแรกสัมผัสกับคําสุดทาย
 
  
  
  
   
  
  
  
 ของวรรคที่ 2 ในบทถัดไป)
 
  
  
  
    
  
  
  
 2. จากการอานเรื่องยอและความเปนมาของเรื่อง
บทเสภาสามัคคีเสวก นักเรียนสรุปขอคิดที่ได
 
  
  
  
    
  
  
  
 ในแตละตอน
 
  
  
  
    
  
  
  
 (แนวตอบ สรุปขอคิดจากบทเสภาสามัคคีเสวก
ที่มี 2 ตอน ไดดังนี้
ประการหนึ่งพึงคิดในจิตมั่น ว่าทรงธรรม์เหมือนบิดาบังเกิดหัว • ตอน วิศวกรรมา กลาวถึงความสําคัญของ
ควรเคารพย�าเยงและเกรงกลัว ประโยชน์ตัวนึกน้อยหน่อยจะดี งานศิลปะวาเปนมรดกของชาติ
ควรนึกว่าบรรดาข้าพระบาท ล้วนเป็นราชบริพารพระทรงศรี • ตอน สามัคคีเสวก กลาวถึงหนาที่ของ
เหมือนลูกเรืออยู่ในกลางหว่างวารี จ�าต้องมีมิตรจิตสนิทกัน ขาราชบริพารที่ดีตองรักษาชาติ จงรักภักดี
(บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวก: พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) ตอกษัตริย และมีความสามัคคี)
ขยายความเขาใจ Expand
๔ เรื่องย่อ นักเรียนเลือกบทประพันธ บทเสภา
บทเสภาสามั ค คี เ สวก ตอน วิ ศ วกรรมา กล่ า วถึ ง ประเทศชาติ ใ ดที่ ไ ม่ มี ค วามสงบสุ ข สามัคคีเสวกที่นักเรียนเห็นวานาสนใจมา 1 บท
ประชาชนย่อมไม่มเี วลาสร้างสรรค์งานศิลปะและกล่าวว่า ศิลปะนัน้ มีคณ
ุ ค่าแสดงถึงอารยธรรมของชาติ บันทึกลงสมุด จากนั้นโยงเสนสัมผัสบังคับในบท
ประเทศไทยก็เป็นเมืองที่มีความเจริญรุ่งเรืองเพราะมีช่างศิลป์ที่มีความช�านาญในศิลปะทุกแขนง ใหถูกตอง
คนไทยจึงควรส่งเสริมให้ศิลปะของชาติคงอยู่สืบไป
บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวก กล่าวถึงหน้าที่ของข้าราชบริพารที่ดี คือ จะต้อง ตรวจสอบผล Evaluate
จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ มีความสามัคคี มีวินัย เปรียบเสมือนลูกเรือที่จะต้องเชื่อฟังกัปตัน
1. นักเรียนอธิบายความเปนมาของบทเสภา
มิฉะนั้นเรือที่บังคับก็จะล่มลงในที่สุด
สามัคคีเสวกได
21 2. นักเรียนเลือกบทประพันธจากบทเสภาสามัคคี
เสวกมาโยงเสนสัมผัสในบทไดถูกตอง

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมามีสาระสําคัญเกี่ยวกับอะไร
ครูใหนักเรียนรวบรวมคําประพันธประเภทบทเสภาจากวรรณคดีเรื่องอื่น เชน
1. ความสําคัญของวิศวกร
เสภาขุนชางขุนแผน ซึ่งนิยมนํามาขับเสภา บทเสภาเปนกลอนลํานําสําหรับขับรอง
2. หนาที่ของขาราชการที่ดี
ใชทํานองขับไดหลายทํานอง โดยมีกรับเปนเครื่องประกอบสําคัญ ผูขับจะตองขยับ
3. การสงเสริมศิลปะของชาติ
กรับใหเขากับทํานองดวยในบางครั้งอาจใชขลุยประกอบดวย ลํานําเสภานี้เดิมนิยม
4. งานออกแบบทางวิศวกรรม
ขับรองเปนเรื่องราว
วิเคราะหคําตอบ บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา สาระกลาวถึง
ศิลปะแสดงถึงความมีอารยธรรมของชาติ ประเทศที่สงบสุข ประชาชนก็จะ
สามารถสรางงานศิลปะไดหลายแขนง ดังนั้นคนไทยจึงควรสงเสริมใหมีการ นักเรียนควรรู
สรางสรรคผลงานศิลปะ เพื่อแสดงใหเห็นถึงความเจริญรุงเรืองของชาติ
ตอบขอ 3. 1 กลอนเสภา มีการใชคําขึ้นตนที่แตกตางจากกลอนเลาเรื่องทั่วๆ ไป คือ เมื่อ
ขึ้นตอนใหมที่กลาวถึงตัวละคร นอกจากจะขึ้นตนโดยกลาวชื่อตัวละครแลว มักใช
คําวา “มาจะกลาว” หรือ “ฝาย” และการใชคําวา “ครานั้น” เปนคําขึ้นตนที่มีใช
เฉพาะในกลอนเสภา

คูมือครู 21
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู
Engage Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน ความสนใจ Engage
“อันชาติใดไรชางชํานาญศิลป
เหมือนนารินไรโฉมบรรโลมสงา
ใครใครเห็นไมเปนที่จําเริญตา
๕ เนื้อเรื่อง
เขาจะพากันเยยใหอับอาย” บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา
ครูอานบทประพันธขางตนใหนักเรียนฟง
แลวใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นในประเด็น
ตอไปนี้
• จากบทประพันธกวีใหความสําคัญกับอะไร
เพราะเหตุใด
(แนวตอบ จากบทประพันธกวีใหความสําคัญ
กับชางศิลป เพราะบานเมืองที่ไมมีชางศิลป
ฝมือดี เมืองอื่นมาเห็นจะดูถูกใหอับอายได)

สํารวจคนหา Explore
1. นักเรียนอานเนื้อเรื่องบทเสภาสามัคคีเสวก
ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก
2. นักเรียนศึกษาความสําคัญของศิลปะไทยจาก จะกล่าวบทพจนาเสภาแถลง ต่อส�าแดงบทกลอนตอนที่สาม
บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา กล่าวถึงเทพศิลปีศรีเรืองราม อันมีนามว่าวิศวกรรมา
3. นักเรียนศึกษาเรื่องความสามัคคีจาก ตามต�ารับไสยศาสตร์ประกาศไว้ ว่าในหมู่เทพไททุกทิศา
บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวก ผู้ช�านาญหัตถกรรมศิลปา สุดจะหาเทียมพระวิศวกรรม
เธอฉลาดช�านิช�านาญในการช่าง ถ้วนทุกอย่างเอื้อเฟ้อเพื่ออุปถัมภ์
อธิบายความรู Explain บ�ารุงแดนดินด้วยศิลปกรรม ให้แลล�้าล้วนอร่
1 ามและงามงอน
นักเรียนอานเนื้อเรื่องเปนทํานองเสนาะ สอนช่างเขียนให้เพียรเขียนวาดสี แบบกระหนกนารีศรีสมร
ใหพรอมเพรียงกัน และนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ อีกกระบี่คชะสง่างอน แบบสุนทรจิตรการสมานรงค์
• จากบทประพันธในตนเรื่องกวีกลาวถึงงาน เริ่มผูกลายลวดเลิศประเสริฐก่อน อรชรก้านกิ่งยิ่งประสงค์
ศิลปะแขนงใด และกลาวถึงอยางไร สลับสีเพียบเพ็ญเบญจรงค์ จัดประจงเป็นภาพพิไลตา
(แนวตอบ กวีกลาวถึงงานจิตรกรรมไทยวา อนึ่งปั้นเป็นรูปเทวฤทธิ์ ดูประหนึ่งนิรมิตวิเลขา
เขียนลวดลายแบบตางๆ อยางงดงาม งาน ทั้งรูปคนรูปสัตว์นานา ประหนึ่งว่ามีชีวิตพิศเพลินใจ
ประติมากรรมที่สรางทั้งรูปคน รูปสัตว และ อีกสถาปนะการชาญฉลาด ปลูกปราสาทเคหฐานทั้งน้อยใหญ่
ตึกรามที่อยูรายลอมกรุง) ก่อก�าแพงก�าแหงรอบกรุงไกร ท้าประยุทธ์ชิงชัยแห่งไพรี
22

บูรณาการเชื่อมสาระ
นักเรียนควรรู การเรียนรูและตระหนักในคุณคาความสําคัญของศิลปะแขนงตางๆ
จากบทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา สามารถบูรณาการเขากับกลุม
1 กระหนก เปนหมวดลายพืน้ ฐานหนึง่ ทีส่ าํ คัญของลายไทยในงานจิตรกรรมไทย
สาระการเรียนรูศิลปะ วิชาทัศนศิลป ที่วาดวยผลงานศิลปะที่เราสามารถ
เรียก “ลายกระหนก” หรือ “ลายกนก” มีพื้นฐานจากสามเหลี่ยมชายธง
สัมผัสซึ่งความงามไดจากการมองเห็น โดยพิจารณาจากเนื้อเรื่องที่กลาวถึง
(สามเหลี่ยมมุมฉาก) อาจมีตัวเดียว หรือหลายตัวก็ได มักมีฐานมุมแหลมหันไป
งานทัศนศิลป ไดแก ภาพวาด รูปปน อาคาร ปราสาท ซึ่งลวนแลวแตเปน
ทางเดียวกัน โดยมีขนาดและสัดสวนที่แตกตางกันไป ลายกระหนกที่สําคัญ ไดแก
งานศิลปะที่มีความสวยงามเปนเอกลักษณของไทย
กระหนกสามตัว กระหนกเปลว กระหนกใบเทศ จากนั้นก็เปนกระหนกผักกูด
ตนแบบของลายกระหนก มาจากหางไหล ซึ่งเปนลายที่มาจากลักษณะของเปลวไฟ
กระหนกสามตัวเปนแมลาย ถือเปนแมแบบของกระหนกทั้งหลาย
นอกจากหมวดกระหนกแลว ลายไทยสมัยโบราณยังมีอีก 3 หมวด คือ หมวด
นารี เปนการเขียนภาพคน เชน ภาพพระ ภาพนาง ภาพเทวดา เปนตน หมวดกระบี่
เปนการเขียนภาพลิง ภาพยักษ ภาพอสูร และพวกอมนุษยตางๆ โดยมากจะยึดเอา
ยักษและลิงเปนตัวเอกในเรื่องรามเกียรติ์เปนหลัก และหมวดคชะ เปนการเขียน
ภาพสัตวตางๆ ที่อยูตามธรรมชาติ และสัตวในวรรณคดีที่เกิดจากจินตนาการของ
ชางเขียน หรือสัตวในหิมพานต เชน ราชสีห คชสีห กินรี ครุฑ เปนตน

22 คูมือครู
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate
อธิบายความรู Explain
จากที่นักเรียนอานเนื้อเรื่องบทเสภาสามัคคี
สร้างศาสตราอาวุธรุทธ์ก�าแหง เพื่อใช้แย้งยุทธากรสมรศรี ตอน วิศวกรรมา หนา 22-23 ใหนักเรียน
ทวยทหารได้ถือเครื่องมือดี ก็สามารถราวีอรีลาน ถอดบทประพันธ
อนึ่งเครื่องประดับสลับแก้ว วะวับแววแก้วทองสองสมาน (แนวตอบ นักเรียนถอดบทประพันธ ไดดังนี้
ช่างประดิษฐ์คิดประจงคงตระการ เครื่องส�าราญนัยนาน่าพึงใจ • ชวงที่ 1 จะกลาวถึงเทพศิลปนที่ชื่อวา วิศว
อันชาติใดไร้ศานติสุขสงบ ต้องมัวรบราญรอนหาผ่อนไม่ กรรมา ตามตําราเกากอนวาไวเกี่ยวกับเทพ
ณ ชาตินั้นนรชนไม่สนใจ ในกิจศิลปะวิไลละวาดงาม ผูชํานาญและมีฝมือดานงานศิลป สอนชาง
แต่ชาติใดรุ่งเรืองเมืองสงบ ว่างการรบอริพลอันล้นหลาม ใหวาดเขียนลายกระหนก ลวดลายตางๆ
ย่อมจ�านงศิลปาสง่างาม เพื่ออร่ามเรืองระยับประดับประดา การใชสีเบญจรงค การปนรูปคนและสัตว
อันชาติใดไร้ช่างช�านาญศิลป์ เหมือนนารินไร้โฉมบรรโลมสง่า และมีความฉลาดในการสรางที่อยูอาศัย
ใครใครเห็นไม่เป็นที่จ�าเริญตา เขาจะพากันเย้ยให้อับอาย โดยกอกําแพงรอบเมือง อีกทั้งสรางอาวุธให
ศิลปกรรมน�าใจให้สร่างโศก ช่วยบรรเทาทุกข์ในโลกให้เหือดหาย ทหารใช ประดิษฐตกแตงดวยแกวสลับสี
จ�าเริญตาพาใจให้สบาย อีกร่างกายก็จะพลอยสุขสราญ • ชวงที่ 2 ถาชาติใดไรความสงบ มัวแตรบกับ
แม้ผู้ใดไม่นิยมชมสิ่งงาม เมื่อถึงยามเศร้าอุราน่าสงสาร ขาศึก คนในชาตินั้นก็ไมสนใจศิลปะ
เพราะขาดเครื่องระงับดับร�าคาญ โอสถใดจะสมานซึ่งดวงใจ เมื่อใดที่วางจากการรบจึงจะมองเห็นศิลปะ
เพราะการช่างนี้ส�าคัญอันวิเศษ ทุกประเทศนานาทั้งน้อยใหญ่ วางดงาม
จึงยกย่องศิลปกรรม์นั้นทั่วไป ศรีวิไลวิลาสดีเป็นศรีเมือง • ชวงที่ 3 ชาติใดไมมีชางดานงานศิลป ก็
ใครดูถูกผู้ช�านาญในการช่าง ความคิดขวางเฉไฉไม่เข้าเรื่อง เหมือนผูห ญิงทีไ่ มสวย ใครๆ เห็นก็นา อับอาย
เหมือนคนป่าคนไพรไม่รุ่งเรือง จะพูดด้วยนั้นก็เปลืองซึ่งวาจา ศิลปะชวยบรรเทาความโศกเศราได มอง
แต่กรุงไทยศรีวิไลทันเพื่อนบ้าน จึงมีช่างช�านาญวิเลขา แลวสบายตา สบายใจ ถาใครไมเห็นความ
ทั้งช่างปั้นช่างเขียนเพียรวิชา อีกช่างสถาปนาถูกท�านอง งามของศิลปะ ชางเปนคนนาสงสาร เพราะ
ทั้งช่างรูปพรรณสุวรรณกิจ ช่างประดิษฐ์รัชดาสง่าผ่อง ขาดเครื่องชวยดับความทุกขเสมือนไมมียา
อีกช่างถมลายลักษณะจ�าลอง อีกช�่าชองเชิงรัตนประกร สมานแผลใจ งานดานชางสําคัญมากใน
ควรไทยเราช่วยบ�ารุงวิชาช่าง เครื่องส�าอางแบบไทยสโมสร ทุกประเทศ ทุกคนจึงยกยองความงามดาน
ช่วยบ�ารุงช่างไทยให้ถาวร อย่าให้หย่อนกว่าเขาเราจะอาย งานชาง ใครไมเห็นความสําคัญงานดานนี้
อันของชาติไพรัชช่างจัดสรร เป็นหลายอย่างต่างพรรณเข้ามาขาย ก็เสมือนคนปา ไมมีความเจริญ การที่ไทย
เราต้องซื้อหลากหลากและมากมาย ต้องใช้ทรัพย์สุรุ่ยสุร่ายเป็นก่ายกอง เจริญกาวหนาทันเพื่อนบาน ก็เพราะมีชางที่
แม้พวกเราชาวไทยตั้งใจช่วย เอออ�านวยช่างไทยให้ท�าของ มีความเกงเกือบทุกดาน เชน ชางวาด ชาง
ช่างคงใฝ่ใจผูกถูกท�านอง และท�าของงามงามขึ้นตามกาล กอสราง ชางทอง เปนตน เราคนไทยควร
เราช่วยช่างเหมือนอย่างช่วยบ้านเมือง ได้ประเทืองเทศไทยอันไพศาล อนุรักษงานชางของไทย จะไดไมเสียทรัพย
สมเป็นเมืองใหญ่โตมโหฬาร พอไม่อายเพื่อนบ้านจึ่งจะดี ไปซื้อของที่ทํามาจากชางชาวตางชาติ หาก
23 เราชวยกันสนับสนุนของของไทยที่ทําโดย
คนไทยก็เสมือนชวยชาติบานเมืองใหเจริญ)

ขอสอบ O-NET
ขอสอบป ’ 51 ออกเกี่ยวกับการใชคําแสดงนํ้าเสียงของกวีจากบทประพันธ บูรณาการอาเซียน
อันชาติใดไรชางชํานาญศิลป เหมือนนารินไรโฉมบรรโลมสงา
แนวคิดหลักของเรื่องบทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา ใหความสําคัญ
ใครใครเห็นไมเปนที่จําเริญตา .......................................................
กับศิลปะของชาติที่แสดงใหเห็นความเปนชาติที่เจริญ และแนะใหชวยกันบํารุง
ศิลปกรรมนําใจใหสรางโศก ชวยบรรเทาทุกขในโลกใหเหือดหาย
รักษา ประเทศตางๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีความโดดเดนทางดาน
จําเริญตาพาใจใหสบาย อีกรางกายก็จะพลอยสุขสราญ
ศิลปะ ศิลปะในแตละประเทศแสดงถึงความรูสึก ชีวิตจิตใจ สะทอนและบงบอกถึง
จงเติมเนื้อความที่หายไปใหสมบูรณ
ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ประวัติศาสตรที่มีการสรางสรรคสืบตอกันมา
1. เขาจะมาเยาะเยยใหละอาย 2. เขาจะวาเยยหยันกันใหอาย
ตั้งแตอดีต ทั้งนี้ครูอาจใหนักเรียนชวยกันหาภาพตัวอยางผลงานศิลปะที่เดนๆ
3. เขาจะดาติฉินจนสิ้นอาย 4. เขาจะพากันเยยใหอับอาย
ของประเทศสมาชิกอาเซียน แลวนํามาอภิปรายรวมกันวา ภาพนั้นเปนผลงานของ
วิเคราะหคําตอบ การเติมเนื้อความที่ขาดหายไปนั้น ควรตีความเนื้อหา
ประเทศใด มีความงามหรือสะทอนเอกลักษณของชาตินั้นๆ อยางไร
โดยรวม และพิจารณาการใชคําที่แตกตางกัน ดังที่แตละขอคํากริยาตางกัน
ดังนี้ “เยาะเยย” “เยยหยัน” “ดาติฉิน” และ “เยย” ทําใหรูสึกถึงนํ้าเสียงของ
กวี จากเนื้อความกวีไมไดตองการประชดประชัน หรือตอวา แตตองการชี้ให
เห็นขอเท็จจริงวาหากประเทศชาติไมมีชางชํานาญศิลป ไมมีผลงานที่งดงาม
แลวจะทําใหไดรับการดูถูก จึงควรเปน “เขาจะพากันเยยใหอับอาย”
ตอบขอ 4.
คูมือครู 23
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู Explain
1. จากที่นักเรียนอานเนื้อเรื่องบทเสภาสามัคคี
เสวก หนา 24 ใหนักเรียนถอดบทประพันธ
ตอน สามัคคีเสวก
(แนวตอบ สิ่งหนึ่งที่ควรยึดมั่นในใจคือ กษัตริย
เปรียบเหมือนพอบังเกิดเกลา ควรใหความ
เคารพ ยําเกรง นึกถึงประโยชนของตนเอง
ใหนอยที่สุด ควรนึกวาขาราชบริพารก็เปรียบ
เหมือนลูกเรือที่อยูกลางทะเลที่ตองสนิทชิดใกล
กัน แมลูกเรือจะเชื่อฟงเจานายแลวยังตองมี
ความสามัคคีแข็งขัน เรือจึงจะแลนไดตลอด
รอดฝง หากลูกเรืออวดดี ฉลาดแกมโกง เมื่อมี พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวกับบรรดาราชเสวก
พายุคลื่นลมแรงเรือก็จะควํ่า หากมัวแตเถียงกัน
แกงแยงชิงดีกัน เรือคงลมกลางทะเล ขาราชการ บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวก
ก็เชนกันไมควรขาดความสามัคคี ราชสํานักก็ ประการหนึ่งพึงคิดในจิตมั่น ว่าทรงธรรม์เหมือนบิดาบังเกิดหัว
เหมือนเรือที่ลอยกลางทะเล เหลาขาราชการควร ควรเคารพย�าเยงและเกรงกลัว ประโยชน์ตัวนึกน้อยหน่อยจะดี
นึกถึงหนาที่เปนใหญ รักษาระเบียบวินัย จงรัก ควรนึกว่าบรรดาข้าพระบาท ล้วนเป็นราชบริพารพระทรงศรี
ภักดีตอพระเจาแผนดิน สามัคคีปรองดองกัน เหมือนลูกเรืออยู่ในกลางหว่างวารี จ�าต้องมีมิตรจิตสนิทกัน
ดวยถือวามีพระเจาแผนดินองคเดียวกัน) แม้ลูกเรือเชื่อถือผู้เป็นนาย ต้องมุ่งหมายช่วยแรงโดยแข็งขัน
2. นักเรียนเลือกทองจําบทประพันธบทเสภา คอยตั้งใจฟังบังคับกัปปิตัน นาวานั้นจึ่งจะรอดตลอดทะเล
สามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา หรือตอน แม้ลูกเรืออวดดีมีทิฐิ และเริ่มริเฉโกยุ่งโยเส
สามัคคีเสวก ที่กําหนดใหเปนบทอาขยาน เมื่อคลื่นลมแรงจัดซัดโซเซ เรือจะเหล่มระย�าคว�่าไป
แม้ต่างคนต่างเถียงเกี่ยงแก่งแย่ง นายเรือจะเอาแรงมาแต่ไหน
ขยายความเขาใจ Expand แม้ไม่ถือเคร่งคงตรงวินัย เมื่อถึงคราวพายุใหญ่จะครวญคราง
นายจะสั่งสิ่งใดไม่เข้าจิต จะต้องติดตันใจให้ขัดขวาง
นักเรียนยกบทประพันธที่ขาราชบริพารตองมี จะยุ่งแล้วยุ่งเล่าไม่เข้าทาง เรือก็คงอับปางกลางสาคร
ความจงรักภักดีตอพระเจาแผนดิน ถึงเสวีที่เป็นข้าฝ่าพระบาท ไม่ควรขาดความสมัครสโมสร
(แนวตอบ บทประพันธที่เนนวาตองจงรักภักดีตอ ในพระราชส�านักพระภูธร เหมือนเรือแล่นสาครสมุทรไทย
พระมหากษัตริยมีความวา “วาทรงธรรมเหมือนบิดา เหล่าเสวกตกที่กะลาสี ควรคิดถึงหน้าที่นั้นเป็นใหญ่
บังเกิดหัว ควรเคารพยําเยงและเกรงกลัว”) รักษาตนเคร่งคงตรงวินัย สมานใจจงรักพระจักรี
ไม่ควรเลือกที่รักมักที่ชัง สามัคคีเป็นก�าลังพลังศรี
ตรวจสอบผล Evaluate ควรปรองดองในหมู่ราชเสวี ให้สมที่ร่วมพระเจ้าเราองค์เดียว
1. นักเรียนสรุปสาระสําคัญและขอคิดที่ไดจาก 2๔
บทประพันธเรื่องบทเสภาสามัคคีเสวกได
2. นักเรียนทองจําบทเสภาสามัคคีเสวกได

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ครูจัดใหมีการประกวดวาดภาพระบายสีภาพของพระวิศวกรรมา จากกลอนบท แมลูกเรือเชื่อถือผูเปนนาย ตองมุงหมายชวยแรงโดยแข็งขัน
เสภาสามัคคีเสวก หรืออาจจัดหาวิทยากรทองถิ่นที่มีความรูดานงานชางแขนงตางๆ คอยตั้งใจฟงบังคับกัปปตัน นาวานั้นจึ่งจะรอดตลอดทะเล
มาบรรยายและสาธิตใหนักเรียนดู เพื่อสรางแรงบันดาลใจในการสรางงานศิลปะที่ จากคําประพันธนี้ใหขอคิดในขอใด
นักเรียนมีความสนใจหรือความสามารถเฉพาะตัว แลวอยากฝกหัดเปนทางเลือก 1. ขาราชบริพารจะตองไมเอารัดเอาเปรียบผูอื่น
ของอาชีพในอนาคต 2. ลูกเรือจะนําเรือออกทะเลตองเชื่อฟงคําสั่งของกัปตัน
3. ขาราชบริพารจะตองเชื่อในคําสั่งของนาย ทั้งมีความสามัคคี
ในการทํางาน
มุม IT 4. ขาราชบริพารจะตองปฏิบัติหนาที่ดวยความมุงมั่นไมหาเวลา
ไปเที่ยวสถานที่อื่น
ศึกษาเกี่ยวกับศิลปะลายไทยเพิ่มเติม ไดที่ http://www.maepalocal.go.th/ วิเคราะหคําตอบ จากบทประพันธขางตน ลูกเรือ ในที่นี้ หมายถึง
webboard_detail.php?hd=1&id=1948&start=1021 ขาราชบริพารที่ตองเชื่อถือ เชื่อมั่นในคําสั่งของกัปตันเรือหรือผูเปนนาย
และตองรวมใจกันเปนหนึง่ เดียวกัน เพือ่ ไปใหถงึ ทีม่ งุ หมาย คือ ตองเชือ่ มัน่
ในคําสัง่ ของนายและมีความสามัคคีเปนหนึง่ เดียวกัน เรือหรือประเทศชาติ
จึงจะไปรอด ตอบขอ 3.
24 คูมือครู
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู
Engage Explore อธิบExplain
ายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Explain Expand Evaluate
กระตุน ความสนใจ Engage
ครูใหนักเรียนเลนเกมคําศัพท โดยใหนักเรียน
๖ คÓศัพท์ บอกคําศัพทใหตรงกับเงื่อนไขที่ครูกําหนด ดังนี้
• นักเรียนสรางคําศัพท โดยมีคําวา “ชาง”
คำาศัพท์ ความหมาย ประสมอยูหนาคําศัพทนั้น
กะลาสี ลูกเรือ (แนวตอบ นักเรียนตอบไดหลากหลาย เชน
กัปปิตัน มาจากค�าภาษาอังกฤษว่า captain แปลว่า นายเรือ ปัจจุบนั เขียนว่า กัปตัน ชางไม ชางปูน ชางแกะสลัก ชางทาสี
จ�านง มุ่งประสงค์ ชางยนต ชางกล ชางถายรูป เปนตน)
เฉโก ฉลาดแกมโกง ไม่ตรงไปตรงมา
ช่างเขียน ช่างวาดภาพ ปัจจุบันใช้ จิตรกร สํารวจคนหา Explore
ช่างประดิษฐ์รัชดา ช่างเงิน นักเรียนคนหาและรวบรวมคําศัพทจาก
ช่างรูปพรรณสุวรรณกิจ ช่างทอง บทเรียนที่มีความหมายตรงกับคําวา “งาม”
ช่างสถาปนา ช่างก่อสร้าง (แนวตอบ คําศัพทที่มีความหมายวา “งาม” เชน
ชาติไพรัช ต่างชาติ ต่างประเทศ คําวา ละวาด วิลาส วิเลขา สําอาง เปนตน)
ทรงธรรม์ พระเจ้าแผ่นดิน
ทิฐิ ความเห็น ความอวดดี ความถือดี อธิบายความรู Explain
นรชน คน
นาริน ผู้หญิง สตรี นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับคําศัพทตอไปนี้
บรรโลม ประโลม ท�าให้พึงพอใจ คําวา วิลาส วิเลขา สําอาง คําศัพทที่ยกมานี้มี
โยเส มาจากค�าว่า โยโส หมายถึง โหยกเหยก อวดดี ในบทเสภาเปลี่ยน ความหมายวา “งาม” นักเรียนอธิบายวามีการใช
จากสระโอเป็นสระเอเพื่อให้รับสัมผัสกับค�าว่า ทะเล คําศัพทแตละคําอยางไร โดยยกคําประพันธที่มี
รัตนประกร ค�าว่า ประกร แปลว่า ท�าขึ้น ประดิษฐ์ขึ้น รัตนประกร จึงหมายถึง คําศัพทนั้นประกอบการอธิบาย
ท�าเพชรนิลจินดา (แนวตอบ การใชคําศัพทที่มีความหมายวา
ละวาด งามอย่างภาพวาด “งาม” ดังบทประพันธตอไปนี้
วิลาส งามมีเสน่ห์ งามสดใส • “อนึ่งปนเปนรูปเทวฤทธิ์
วิเลขา งามยิ่ง ดูประหนึ่งนิรมิตวิเลขา”
ศรีวิไล คือ ศิวิไลซ์ มาจากค�าภาษาอังกฤษว่า civilized แปลว่า มีความเจริญ กลาวถึงงานปนรูปเทพผูมีอิทธิฤทธิ์วาสราง
มีอารยธรรม มีวัฒนธรรม
ไดงาม
ศานติ หรือสันติ แปลว่า ความสงบ
• “จึงยกยองศิลปกรรมนั้นทั่วไป
ส�าอาง งามสะอาดหมดจด
ศรีวิไลวิลาศดีเปนศรีเมือง”
เสวก อ่านว่า เส - วก แปลว่า ข้าราชการในราชส�านัก บางครั้งใช้ เสวี
หมายความวา งานศิลปะนั้นควรยกยองใหเปน
อริพล ข้าศึก
ความงามของบานเมือง
25 • “ควรไทยเราชวยบํารุงวิชาชาง
เครือ่ งสําอางแบบไทยสโมสร”
หมายความวา คนไทยควรชวยกันสงเสริมงาน
ชางใหคงอยูคูความเปนไทยตลอดไป)
ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ทั้งชางรูปพรรณสุวรรณกิจ ชางประดิษฐรัชดาสงาผอง
ครูแนะใหนักเรียนวิเคราะหและตีความพระราชดํารัสในรัชกาลที่ 6
อีกชางถมลายลักษณะจําลอง อีกชํ่าชองเชิงรัตนประกร
ตอนหนึ่งที่ตรัสถึงความศิวิไลซวา “...ความเจริญ (ซิวิไลเซชั่น) ของชาวยุโรปเปน
คําประพันธที่ยกมาไมเกี่ยวของกับชางใด
สิ่งที่ฆาชาติที่ออนแอมามากแลว...เราก็กลัวโรค “ซิวิไลซ” นี้ ยิ่งกวาโรคอื่น...” ทั้งนี้
1. ชางปน 2. ชางถม
ครูวิเคราะหเปนแนวทางใหนักเรียนฟงวา ในสมัยรัชกาลที่ 6 เกิดการเปลี่ยนแปลง
3. ชางแกะ 4. ชางเขียน
ในหลายดาน เพราะไทยรับอิทธิพลจากชาติตะวันตกเขามาหลายดาน เชน
วิเคราะหคําตอบ จากบทประพันธกลาวถึงชางทําเครื่องถมที่ดี ซึ่งมีชาง ดานวัฒนธรรม ดานการเมือง การปกครอง ดานสังคม เปนตน พระองคจึงทรงเปน
สาขาตางๆ รวมอยู 3 สาขา ซึ่งประกอบไปดวย ชางขึ้นรูปหรือชางเขียนแบบ หวงศิลปวัฒนธรรมของไทย วาจะเปลี่ยนแปลงและสูญหายไปจากบานเมือง
ชางแขนงนี้มาจากชางเงิน ชางทอง ที่จะทํารูปทรงภาชนะหรือเครื่องประดับ จึงทรงมีพระราชดํารัสดังกลาว
ตางๆ ใหไดสัดสวน ชางแกะสลัก คือผูบรรจง สลักเสลา ลวดลายใหมีความ
ออนชอยงดงามตามแบบนิยม และชางถม ซึ่งเปนชางที่ตองใชความชํานาญ
ในการผสมและลงยาถมบนพื้นที่ซึ่งแกะสลักลวดลายไวแลว ชางที่ไม
เกี่ยวของกับเนื้อความในบทประพันธ คือ ชางปน ตอบขอ 1.

คูมือครู 25
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู Explain
นักเรียนรวมกันอภิปรายการนับถือสักการบูชา
เทพในความเชื่อของศาสนาพราหมณ-ฮินดู บอกเล่าเก้าสิบ
(แนวตอบ ในปจจุบันมีคนไทยจํานวนมากที่
สักการบูชาเทพเจาในศาสนาพราหมณ-ฮินดู และ
มีเทพเจาหลายองคที่คนไทยนิยมบูชา ซึ่งเทพเจา
แตละองคลวนแลวแตมีคุณลักษณะที่ทําใหคน
ศรัทธา ไมวาจะเปนความรํ่ารวย อุดมสมบูรณ การ
ประสบความสําเร็จ เทพเจาที่คนไทยนับถือเปน
ที่ยึดมั่นทางใจ ซึ่งมีความสําคัญตอการดําเนินชีวิต
การตัดสินใจเลือกหรือทําการตางๆ ในชีวิต)

ขยายความเขาใจ Expand
รู ป ปั ้ น พระพิ ฆ เนศที่ วิ ท ยาลั ย นาฏศิ ล ป กรุ ง เทพฯ รู ป ปั ้ น พระวิ ศ วกรรมที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี
นักเรียนเลาเกี่ยวกับสถานที่หรือเรื่องราวที่มี ออกแบบโดยศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี เป็นต้นแบบ ราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตเพาะช่าง
ความเกี่ยวของกับพระพิฆเนศหรือพระวิศวกรรมที่ ในการจัดสร้างวัตถุมงคลของกรมศิลปากร
นักเรียนรูจักหรือสนใจ 1
พระพิฆเนศ พระวิศวกรรม
(แนวตอบ ตัวอยางเชน วัดสมานรัตนาราม
พระพิฆเนศเปนเทพทีม่ รี ปู กายเปนมนุษย พระวิศวกรรมเปนเทวดานายชางใหญ
ตั้งอยูระหวางอําเภอบางคลา และอําเภอคลองเขื่อน มีเศียรเปนชาง เปนเทพแหงความปราดเปรื่อง ผูสรางเครื่องมือและสิ่งของทั้งหลายใหเกิดขึ้น
ริมแมนํ้าบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา เปนวัดที่ ในศิ ล ปะทุ ก แขนงและเป น เทพที่ อ ยู  เ หนื อ และเปนแบบอยางใหแกมนุษยสืบมา
มีองคพระพิฆเนศปางนอนเสวยสุขที่ใหญที่สุดใน อุปสรรคตางๆ หรือสามารถขจัดความขัดของ ชางไทยใหความเคารพบูชาพระวิศวกรรม
ประเทศไทย สูง 16 เมตร ยาว 22 เมตร เนื้อชมพู ทั้งมวลได ในฐานะครูชา ง ดังจะเห็นไดวา มีการประดิษฐาน
เมื่ อ พิ จ ารณาความหมายในทางสรี ร ะ รูปพระวิศวกรรมตามสถาบันการศึกษาทาง
ลักษณะกึ่งนั่งกึ่งนอนตะแคง โดยพระหัตถซายถือ พระวรกายที่อวนพี มีความหมายวา ความ การชาง โดยนิยมสรางอยูสองปาง คือ ปาง
งาที่หัก พระหัตถขวาถือดอกบัว มีความหมายคือ อุดมสมบูรณ พระเศียรที่เปนชาง (พระเศียร ประทับนั่งหอยพระบาท พระหัตถขางหนึ่งถือ
ความสุขสบาย ความสุขบริบรู ณ มัง่ คัง่ พรอมทุกดาน ใหญ) หมายถึง มีปญญามาก พระเนตรที่เล็ก “ผึง่ ” (จอบสําหรับขุดไม) อีกขางถือ “ดิง่ ” และปาง
จะนําความความสุขสบายมาสูผูบูชา เปนตน) คือ สามารถแยกแยะสิง่ ถูกผิด พระกรรณและ ประทับยืน พระหัตถขวาถือไมเมตรหรือไมวา
พระนาสิกที่ใหญ หมายถึง มีสัมผัสที่พิเศษ พระหัตถซายถือลูกดิ่งหรือไมฉาก ซึ่งลวนเปน
สามารถพิจารณาสิ่งตางๆ ไดอยางดีเลิศและ เครื่ อ งมื อ ที่ ช  า งใช สํ า หรั บ วั ด ระยะและวั ด
ตรวจสอบผล Evaluate มีพระพาหนะเปนหนู ซึ่งสามารถเปรียบไดกับ ความเที่ยงตรง เปนการแฝงปรัชญาแกชางให
ความคิดที่พลุงพลาน รวดเร็ว เปนผูมีความแมนยํา เที่ยงตรง ไมเอนเอียงใน
1. นักเรียนอธิบายการใชคําศัพท โดยยกคํา ทางปฏิบัติและวิชาชีพ
ประพันธที่มีคําศัพทนั้นประกอบการอธิบายได
2. นักเรียนเลาเรื่องเกี่ยวกับความเชื่อของศาสนา (ที่มา: http://www. siamganesh.com/index.html)
พราหมณ-ฮินดู ในการบูชาเทพพระพิฆเนศหรือ
พระวิศวกรรมาได 2๖

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
อีกสถาปนะการชาญฉลาด ปลูกปราสาทเคหฐานทั้งนอยใหญ
1 พระวิศวกรรม มี 2 ปาง ซึ่งมีที่มาพอขยายความไดวา หากสถาบันใดเปด
กอกําแพงกําแหงรอบกรุงไกร ทาประยุทธชิงชัยแหงไพรี
สอนวิชาชีพชางกอสราง มักอยูในทายืนมือถือลูกดิ่งและไมเมตรหรือไมวา อันเปน
คําประพันธที่ยกมาเปนงานศิลปะที่จัดอยูในประเภทใด
เครื่องมือของชางกอสรางมาแตสมัยโบราณ ซึ่งชางทั้งหลายทราบดีวาเปนเครื่องมือ
1. วิจิตรศิลป
สําหรับวัดระยะ วัดความเที่ยงตรง แตสิ่งที่นอกเหนือไปจากนั้นยังแฝงไปดวย
2. วรรณศิลป
ปรัชญาในการดําเนินชีวิต คือ ความแมนยํา เที่ยงตรง ไมเอนเอียงในทางปฏิบัติ
3. ประติมากรรม
ซึ่งเปนที่มาของชางที่ดี คือ ความมีคุณธรรมประจําใจ หากสถาบันใดเปดสอน
4. สถาปตยกรรม
วิชาชีพสาขาอื่นๆ ที่ไมใชชางกอสรางอยูดวย มักจะใชทานั่ง
วิเคราะหคําตอบ คําประพันธที่ยกมากลาวถึงการกอสรางอาคารบานเรือน
สรางกําแพงรอบลอมกรุง ซึ่งจัดวาเปนงานศิลปะในแขนงสถาปตยกรรม
ตอบขอ 4.

26 คูมือครู
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู
Engage Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน ความสนใจ Engage
ครูถามทบทวนจากการอานเนื้อเรื่องบทเสภา
๗ บทวิเคราะห์ สามัคคีเสวก โดยใหนักเรียนชวยกันตอบคําถาม
ตอไปนี้
บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก มีคุณค่าในด้านต่างๆ ดังนี้
• ในบทประพันธบทเสภาสามัคคีเสวก
๗.๑ คุณค่าด้านเนือ้ หา กลาวถึงเทพองคใด
บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา แก่นของเรื่อง คือ การเตือนใจให้เห็นคุณค่า (แนวตอบ พระวิศวกรรมา)
ของศิลปกรรมท�าให้จิตใจมีความสุข ซึ่งจะส่งผลให้ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ ความส�าคัญของศิลปิน
• นักเรียนพบชางอะไรบางในบทประพันธ
ในฐานะเป็นผู้สร้างสรรค์งานศิลปะและผู้ประพันธ์มีจุดมุ่งหมายให้คนไทยช่วยกันสนับสนุนผลงาน
(แนวตอบ ชางกอสราง ชางทอง ชางเงิน ชาง
ของศิลปิน เพื่อให้ศิลปินมีรายได้พอเลี้ยงชีพและเกิดก�าลังใจในการสร้างสรรค์งานศิลปะ
ทําเครื่องถม ชางเขียน ชางสลักเพชรพลอย)
บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวก แก่นของเรื่อง คือ ข้าราชการเป็นกลไกส�าคัญ
ในการบริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปตามระบบด้วยความเรียบร้อย ข้าราชการจึงต้องตั้งใจปฏิบัติ
หน้าที่ เสียสละและมีความสามัคคี ไม่แก่งแย่งชิงดีชิงเด่น เชื่อฟังค�าสั่งของผู้บังคับบัญชา ตระหนัก
สํารวจคนหา Explore
ในหน้าที่และส�านึกว่าเป็นข้าของพระเจ้าองค์เดียวกัน 1. นักเรียนศึกษาและคนหาแกนของเรื่องบทเสภา
๗.๒ คุณค่าด้านวรรณศิลป์ สามัคคีเสวก
บทเสภาสามัคคีเสวก มีคุณค่าและความดีเด่นด้านวรรณศิลป์ ดังนี้ 2. นักเรียนศึกษาการใชภาพพจน การหลากคํา
๑) การใช้ ภ าพพจน์ บทเสภาสามั ค คี เ สวก มี ค วามดี เ ด่ น ด้ า นการใช้ ภ าพพจน์ และการแตกคํา ซึ่งเปนคุณคาดานวรรณศิลป
แบบอุปมา โดยเฉพาะบทเสภาตอน สามัคคีเสวก ที่รัชกาลที่ ๖ ทรงเปรียบเทียบประเทศชาติกับ ของบทเสภาสามัคคีเสวก
เรือล�าใหญ่ที่ก�าลังแล่นอยู่ในทะเล โดยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้น�าประเทศเปรียบได้กับกัปตันเรือ 3. นักเรียนศึกษาคุณคาทางดานสังคมและขอคิด
หรือนายเรือและเหล่าเสวกหรือข้าราชการทั้งหลายเปรียบได้กับกะลาสีเรือ ที่สามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
การที่ ท รงเปรี ย บเที ย บเช่ น นี้ ท� า ให้ ผู้ อ่ า นหรื อ ผู้ ฟั ง สามารถเข้ า ใจความสั ม พั น ธ์ จากบทเสภาสามัคคีเสวก
ระหว่างประเทศชาติ พระมหากษัตริย์และข้าราชการได้อย่างชัดเจน เนื่องด้วยรัชกาลที่ ๖ ทรงแสดง
ให้เห็นว่าพระมหากษัตริย์จะทรงน�าประเทศชาติหรือ “รัฐนาวา” ให้เคลื่อนที่หรือก้าวหน้าต่อไปได้ อธิบายความรู Explain
ต้ อ งอาศั ย ความร่ ว มมื อ ร่ ว มใจกั น ตลอดจนการปฏิ บั ติ ง านด้ ว ยความแข็ ง ขั น และด้ ว ยความมี
ระเบียบวินยั ของบรรดาข้าราชการ จึงจะสามารถฝ่าคลืน่ ลมหรืออุปสรรคทัง้ หลายไปได้ ดังบทประพันธ์ นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับคุณคาดานเนื้อหาใน
ประเด็นตอไปนี้
ควรนึกว่าบรรดาข้าพระบาท ล้วนเป็นราชบริพารพระทรงศรี • แกนของเรื่องบทเสภาสามัคคีเสวก ตอน
เหมือนลูกเรืออยู่ในกลางหว่างวารี จ�าต้องมีมิตรจิตสนิทกัน วิศวกรรมา และสามัคคีเสวกคืออะไร
แม้ลูกเรือเชื่อถือผู้เป็นนาย ต้องมุ่งหมายช่วยแรงโดยแข็งขัน (แนวตอบ ตอน วิศวกรรมา แกนของเรื่องคือ
คอยตั้งใจฟังบังคับกัปปิตัน นาวานั้นจึ่งจะรอดตลอดทะเล
การเตือนใหเห็นคุณคาของศิลปะที่ทําใหใจ
บทเสภาตอน วิศวกรรมา รัชกาลที่ ๖ ยังทรงใช้ภาพพจน์แบบอุปมา อาทิ ทรง และกายมีสุข และความสําคัญของศิลปน
เปรียบเทียบศิลปะกั บ “โอสถ” หรื อยาที่ สามารถบรรเทาความทุ ก ข์ ใ นยามที่ ใจต้ อ งประสบกั บ ผูสรางสรรคผลงาน สงเสริมใหชวย
ความเศร้าให้เบาบางลงได้ ดังบทประพันธ์ สนับสนุนศิลปน ตอน สามัคคีเสวก
27 แกนของเรื่องคือ ขาราชการเปนกลไกสําคัญ
ในการบริหารประเทศ ขาราชการควร
มีระเบียบวินัย มีความเสียสละ ความ
สามัคคี ไมแกงแยงชิงดีกัน)
ขอสอบ O-NET
ขอสอบป ’51 ออกเกีย่ วกับการเสนอขอเท็จจริงในคําประพันธประเภทรอยกรอง เกร็ดแนะครู
คําประพันธในขอใดมุงเสนอขอเท็จจริง ไมใช การแสดงความคิดเห็น
ครูใหนักเรียนคนควาวาตราสัญลักษณของหนวยงานใดบางใชรูปของ
1. อันชาติใดไรศานติสุขสงบ ตองมัวรบราญรอนหาผอนไม
พระพิฆเนศและพระวิศวกรรมาเปนสัญลักษณประจําหนวยงาน ใหนักเรียน
2. แมผูใดไมนิยมชมสิ่งงาม เมื่อถึงยามเศราอุรานาสงสาร
วิเคราะหที่มาและความสําคัญของการใชตราสัญลักษณพระพิฆเนศและ
3. ใครดูถูกผูชํานาญในการชาง ความคิดขวางเฉไฉไมเขาเรื่อง
พระวิศวกรรมกับสถานที่แหงนั้น
4. ควรไทยเราชวยบํารุงวิชาชาง เครื่องสําอางแบบไทยสโมสร
วิเคราะหคําตอบ การเสนอขอเท็จจริงตองกลาวอยางตรงไปตรงมา
ไมแสดงความคิดเห็นหรือความรูสึกสวนตัว แมจะเปนการกลาวอยางเปนเหตุ
เปนผลก็ตาม ขอ 1. กวีกลาวถึงชาติที่ไมมีความสงบสุขเพราะมีการรบ ขอ 2.
มุม IT
กวีเห็นวาผูที่ไมชอบสิ่งสวยงาม เมื่อยามเศราก็ไมมีสิ่งใดมาปลอบประโลมได ศึกษาเกี่ยวกับความเปนมาของงานศิลปะและการสรางสรรคเพิ่มเติม ไดที่
ขอ 3. กวีเห็นวาผูที่ดูถูกชางที่ชํานาญฝมือเปนคนชอบขวางไมเขาเรื่อง และ http://www.prc.ac.th/newart/webart/creation.html
ขอ 4. กวีแนะใหคนไทยชวยกันดูแลรักษาผลงานที่งดงามของไทย ดังนั้น
ขอที่กลาววาการรบกันจะทําใหประเทศไมสงบสุขจึงเปนขอเท็จจริง
ตอบขอ 1.

คูมือครู 27
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนตอบคําถามเกี่ยวกับลักษณะทาง
วรรณศิลปของบทเสภาสามัคคีเสวก ศิลปกรรมน�าใจให้สร่างโศก ช่วยบรรเทาทุกข์ในโลกให้เหือดหาย
• การใชภาพพจนในบทเสภาสามัคคีเสวก จ�าเริญตาพาใจให้สบาย อีกร่างกายก็จะพลอยสุขสราญ
มีลักษณะอยางไร แม้ผู้ใดไม่นิยมชมสิ่งงาม เมื่อถึงยามเศร้าอุราน่าสงสาร
(แนวตอบ บทเสภาสามัคคีเสวกมีความโดดเดน เพราะขาดเครื่องระงับดับร�าคาญ โอสถใดจะสมานซึ่งดวงใจ
ดานการใชโวหารในการประพันธ ดังที่มีการ
ใชอุปมาโวหาร เปรียบขาราชการเหมือน ๒) การหลากคำาและการแตกศัพท์ บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและ
ลูกเรือ เปรียบศิลปะเปนโอสถรักษาความเศรา ตอน สามัคคีเสวกมีการหลากค�า คือ มีการใช้ค�าที่มีความหมายเหมือนกันในบทประพันธ์เดียวกัน
เปรียบเรือที่ลอยกลางทะเลเปนราชสํานัก) เพื่อให้เกิดเสียงสัมผัสใน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการเลือกสรรถ้อยค�าที่หลากหลายมาใช้
ในการแต่งบทประพันธ์ตอนเดียวกันได้อย่างเหมาะสมและมีการแตกศัพท์ คือ การน�าศัพท์ค�าหนึ่งมา
• เหตุใดผูแตงจึงตองใชกลวิธีการแตกศัพทใน
แตกให้เป็นหลายค�า โดยมีการเปลี่ยนแปลงรูปเล็กน้อยและยังมีความหมายใกล้เคียงกับความหมาย
บทประพันธ
เดิมมากที่สุด
(แนวตอบ เพื่อใหมีการใชคําที่หลากหลายและ
บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา มีการแตกศัพท์ ค�าว่า ศิลป์ ให้เป็นค�าศัพท์
เกิดความงดงามทางภาษา)
หลายๆ ค�า เช่น ศิลปี ศิลปะ ศิลปา ศิลปกรรม ศิลปกรรม์ ซึ่งมีความหมายว่า ศิลปะ เหมือนกัน
ทุกค�า เป็นการแตกค�าศัพท์มาใช้อย่างประณีต เพื่อให้เกิดความไพเราะงดงาม โดยที่ความหมาย
ขยายความเขาใจ Expand ไม่เปลี่ยนแปลง ดังนี้
1. นักเรียนรวมกันอภิปรายความเปรียบ “กล่าวถึงเทพศิลปีศรีเรืองราม”
• เพราะเหตุใดพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา “ในกิจศิลปะวิไลละวาดงาม”
เจาอยูหัวจึงเปรียบประเทศชาติเปน “รัฐ “ย่อมจ�านงศิลปาสง่างาม”
นาวา” เปรียบพระเจาแผนดินเปนกัปตันเรือ “อันชาติใดไร้ช่างช�านาญศิลป์”
และเปรียบขาราชการเปนกะลาสีเรือ “ศิลปกรรมน�าใจให้สร่างโศก”
(แนวตอบ เพราะเรือที่ลอยกลางทะเลตองพบ “จึงยกย่องศิลปกรรม์นั้นทั่วไป”
อุปสรรคมากมายเหมือนกับประเทศที่ตอง
เผชิญปญหาและตองชวยกันหาแนวทางแกไข บทเสภาสามั
1 ค คี เ สวก ตอน สามั ค คี เ สวก มี ก ารหลากค� า ที่ มี ค วามหมายว่ า
กัปตันเรือเสมือนผูคุมเรือ ดังนั้นมีหนาที่ในการ “พระมหากษัตริย์” โดยใช้ค�าว่า ทรงธรรม์ พระทรงศรี พระภูธร พระจักรี แสดงให้เห็นถึงพระปรีชา
บริหารเรือเหมือนกับพระเจาแผนดินตองบริหาร สามารถในการพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ทรงสามารถเลือกใช้ค�า
ประเทศชาติ สวนกะลาสีเรือเปนผูรับคําสั่ง ที่หลากหลายเพื่อสื่อความหมายเดียวกันได้อย่างไพเราะงดงาม ดังนี้
มาปฏิบัติจึงเปรียบเหมือนขาราชการของพระเจา “ว่าทรงธรรม์เหมือนบิดาบังเกิดหัว”
แผนดิน) “ล้วนเป็นราชบริพารพระทรงศรี”
2. นักเรียนยกตัวอยางการแตกคําศัพทจากคํา “ในพระราชส�านักพระภูธร”
ที่กําหนดให คําวา “ชีวิต” “สมานใจจงรักพระจักรี”
(แนวตอบ การแตกศัพทของคําวา “ชีวิต” ไดแก
ชีวา ชีวัน ชีวะ ชีวี ชีพ ชีวาตม ชีวาลัย) 28
3. นักเรียนบันทึกความรูลงในสมุด

กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
ครูเนนความรูความเขาใจเกี่ยวกับคุณคาวรรณศิลปเรื่องการหลากคําหรือ นักเรียนประยุกตขอคิดจากบทเสภาสามัคคีเสวก โดยใหนักเรียนแสดง
แตกคําศัพท โดยใหนักเรียนศึกษาพิจารณาบทวิเคราะหคุณคาดานวรรณศิลปจาก ความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการแกปญหาความปรองดองในชาติ จากขาวและ
หนังสือเรียนหนา 28 เพือ่ เปนแนวทางในการจดจําคําศัพททมี่ คี วามหมายเหมือนกัน เหตุการณที่ปรากฏในหนังสือพิมพ
หรือที่เรียกวา “คําไวพจน” จากนั้นครูกําหนดคําศัพทในบทเรียนที่นอกเหนือจากที่
ปรากฏในบทวิเคราะหหนา 28 ใหนักเรียนคนหาคําที่มีความหมายเหมือนกัน หรือ
นําหลักการการแตกคําศัพทไปใชในการแตกคําที่ครูกําหนดให
กิจกรรมทาทาย
นักเรียนควรรู
นักเรียนเขียนเรียงความที่แสดงแนวทางการแกปญหาสังคมที่นักเรียน
1 พระมหากษัตริย สามารถหลากคําที่มีความหมายเหมือนกันไดหลายคํา เชน อานพบในขาวหนังสือพิมพ อินเทอรเน็ต มา 1 ปญหา
กษัตรา กษัตรีย กษัตราธิราช กษัตริยราช กษิตร กษิตลบดี ขัตติยะ ขัตติยา
พระราชาธิราช ราชา ภูมิบดี ภูวนาถ ภูวไนย ภูวเนตร ภูธร ภูธเรศวร นริศวร
นรังสรรค นรินทร จักรี จักริน เปนตน

28 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับบทวิเคราะห
ค�าที่มีความหมายว่า ข้าราชบริพาร มีการหลากค�าโดยใช้ค�าว่า ข้าพระบาท เสวี ดานสังคม
ข้าฝ่าพระบาท เสวก ราชเสวี ซึ่งนับเป็นความงดงามและลักษณะอันโดดเด่นของภาษาไทยที่มีค�า • บทเสภาสามัคคีเสวกสะทอนสังคมดานใด
ให้เลือกใช้หลากหลายตามแต่บริบทและสัมผัสของบทกลอน ดังนี้ และอยางไรบาง
(แนวตอบ บทเสภาสามัคคีเสวกสะทอนสังคม
“ควรนึกว่าบรรดาข้าพระบาท” ดังนี้
“ถึงเสวีที่เป็นข้าฝ่าพระบาท” • สะทอนความงามทางดานศิลปะ โดย
“เหล่าเสวกตกที่กะลาสี” ผลงานดานศิลปะและการชางนํามาซึ่ง
“ควรปรองดองในหมู่ราชเสวี” ความสุขกาย สบายใจ
๗.๓ คุณค่าทางด้านสังคม • สะทอนความรุงเรืองของบานเมือง
บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก เป็นวรรณคดีที่ให้คุณค่า
โดยผลงานดานศิลปะและการชาง
ทางด้านสังคม ดังนี้
แสดงถึงความเจริญรุง เรืองของประเทศชาติ
• สะทอนคุณธรรมและความสามัคคี โดย
๑) สะท้อนความงามทางด้านศิ1ลปะ คือ ศิลปะย่อมท�าให้ผู้คนเกิดความเพลินตา
เห็นไดวาประเทศชาติจะอยูรอดไดตอง
เพลินใจจากการที่ได้พบเห็น ซึ่งเป็นผลงานที่ศิลปินหรือช่างแขนงต่างๆ ตามที2 ่รัชกาลที่ ๖ ทรงกล่าวถึง อาศัยคุณธรรมและความสามัคคีของ
เป็นตัวอย่าง คือ ช่างปั้น ช่างเขียน ช่างก่อสร้าง ช่างทอง ช่างเงิน ช่างถม ช่างท
งท�าอัญมณี ได้บรรจง
คนในชาติดวย)
สร้างสรรค์อย่างประณีตสวยงามและเมื่อเกิดความสบายใจแล้วร่างกายก็จะเป็นสุข ซึ่งหมายความถึง
การมีก�าลังที่จะท�าประโยชน์และความเจริญให้แก่ตนเองและประเทศชาติต่อไป ดังบทประพันธ์
ขยายความเขาใจ Expand
ศิลปกรรมน�าใจให้สร่างโศก ช่วยบรรเทาทุกข์ในโลกให้เหือดหาย
1. นักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับบทวิเคราะห
จ�าเริญตาพาใจให้สบาย อีกร่างกายก็จะพลอยสุขสราญ ขอคิดจากบทเสภาสามัคคีเสวกในประเด็น
๒) สะท้อนความรุ่งเรืองของบ้านเมือง คือ ผลงานที่ศิลปินและช่างทั้งหลาย ตอไปนี้
ได้ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นย่อมเป็นเครื่องมือที่ช่วย “บำารุงแดนดิน” หรือแสดงให้เห็นถึงความเจริญรุ่งเรือง • เราสามารถแสดงความรักและความ
ของบ้านเมือง อีกทั้งยังแสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาและเกียรติภูมิของชาติ ดังบทประพันธ์ ภาคภูมิใจในศิลปะของชาติไดอยางไร
(แนวตอบ เราสามารถแสดงความรักและ
บ�ารุงแดนดินด้วยศิลปกรรม ให้แลล�้าล้วนอร่ามและงามงอน ความภาคภูมิใจในศิลปะของชาติ ดวยการ
.................................................................... ........................................................................ อนุรักษ สนับสนุน เรียนรูเกี่ยวกับศิลปะของ
อีกสถาปนะการชาญฉลาด ปลูกปราสาทเคหฐานทั้งน้อยใหญ่ ไทย เพื่อที่จะสามารถเผยแพรความรูและ
ก่อก�าแพงก�าแหงรอบกรุงไกร ท้าประยุทธ์ชิงชัยแห่งไพรี ถายทอดงานศิลปสูชนรุนหลัง)
สร้างศาสตราอาวุธรุทธ์ก�าแหง เพื่อใช้แย้งยุทธากรสมรศรี 2. นักเรียนบันทึกความรูจากการรวมกันอภิปราย
ทวยทหารได้ถือเครื่องมือดี ก็สามารถราวีอรีลาน ลงในสมุด
29

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ขอใดตางจากขออื่นในเรื่องการหลากคํา
1 ศิลปน คือ กลุมผูคนที่เสนอความคิดสรางสรรคออกมา เพื่อแสดงออกเปน
1. กลาวถึงเทพศิลปศรีเรืองราม อันมีนามวาวิศวกรรมา
ผลงานที่เปนรูปธรรม ไมวาจะใชสัญลักษณ การแสดงออกทางรางกาย การใชเสียง
2. ตามตํารับไสยศาสตรประกาศไว วาในหมูเทพไททุกทิศา
การใชอุปกรณ และมีผลงานเปนที่ยอมรับนับถือจากสถาบันทางศิลปะแหงชาติ
3. ผูชํานาญหัตถกรรมศิลปา สุดจะหาเทียมพระวิศวกรรม
4. บํารุงแดนดินดวยศิลปกรรม ใหแลลํ้าลวนอรามและงามงอน 2 ชางถม ทีถ่ อื กันวาฝมอื ดีทสี่ ดุ คือ ชางถมเมืองนครศรีธรรมราช เราจึงมักไดยนิ
ชือ่ เสียงของเครือ่ งถมในนาม “ถมนคร” ชางถมจะทําการทับหรือถมรอย โดยใชนาํ้ ยา
วิเคราะหคําตอบ บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา มีความโดดเดน ถมที่ผสมผสานกันระหวาง เงิน ทองแดง ตะกั่ว และกํามะถัน เมื่อหลอมละลาย
ดานวรรณศิลปเรื่องการหลากคํา พิจารณาจากตัวเลือกจะเห็นไดวามีการ รวมกันเปนแทงถมสีดํา ก็นํามาละเลงบนลวดลายที่แกะสลัก ดวยความวิจิตรบรรจง
หลากคําวา “ศิลป” ขอ 1. ใชคําวา “ศิลป” ขอ 3. ใชคําวา “ศิลปา” และ อยางยิ่งยวดจึงควรคาแกการถายทอด สืบสาน อนุรักษ หัตถศิลปนี้ไว
ขอ 4. ใชคําวา “ศิลปกรรม” ซึ่งขอ 2. แตกตางจากขออื่น เพราะไมปรากฏ
การใชคําดวยวิธีการหลากคําวา “ศิลป” ตอบขอ 2.
มุม IT
ศึกษาเกี่ยวกับชางฝมือของไทยเพิ่มเติม ไดที่ http://www.changsipmu.com/

คูมือครู 29
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
จากคุณคาดานสังคมในบทเสภาสามัคคีเสวก
ไดสะทอนคุณธรรมหนาที่และความสามัคคี ให ด้วยเหตุนี้นานาประเทศจึงต่างยกย่องศิลปะว่าเป็นสิ่ง “ศรีวิไลวิลาสดีเป็นศรีเมือง”
นักเรียนอธิบายความสําคัญของความสามัคคี คือ ศิลปะเป็นสิง่ แสดงความเจริญของบ้านเมือง เป็นสิง่ ทีส่ วยงามและเป็นเกียรติเป็นศรีแก่ประเทศชาติ
ปรองดองกันในหมูขาราชบริพาร นอกจากนี้ศิลปะยังเป็นสิ่งแสดงถึงความสงบสุขของชาติ ซึ่งหากชาติใดไม่มีความสงบสุข คนในชาติ
(แนวตอบ เพราะการมีคุณธรรมในหนาที่ ก็จะมุ่งต่อสู้ท�าศึกสงครามจนไม่มีเวลาสนใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ แต่หากชาติใดบ้านเมือง
จะกอใหเกิดประโยชนแกสวนรวมและประเทศ สงบสุข คนในชาติก็ย่อมสร้างสรรค์ศิลปะเพื่อประดับประดาบ้านเมืองให้งดงาม
ชาติ และความสามัคคีจะทําใหการบริหารจัดการ
การปกครองประเทศดําเนินไปไดดวยความเจริญ
กาวหนา ทั้งนี้ขึ้นอยูกับหมูขาราชการจะมีสวนสําคัญ
ในการชวยใหประเทศชาติพัฒนาเจริญกาวหนา)

ขยายความเขาใจ Expand
1. นักเรียนเขียนบันทึกกิจวัตรประจําวันในการ
ปฏิบัติหนาที่ประจําวันของตนเองในแตละวัน
เปนระยะเวลา 1 สัปดาห จากนั้นใหนักเรียน
เขียนประเมินการปฏิบัติหนาที่วา นักเรียน 1
สามารถทําหนาที่ไดประสบความสําเร็จมาก หน้าบันปูนปัน้ ตามแบบศิลปะพระราชนิยมในรัชกาลที่ ๓ จิตรกรรมฝาผนัง วิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพน
นอยเพียงใด ที่พระอุโบสถวัดพิชยญาติการาม แสดงให้เห็นถึงฝีมือ วิ ม ลมั ง คลาราม ฝี มื อ ช่ า งสมั ย รั ต นโกสิ น ทร์ ต อนต้ น
และความสามารถของช่างปั้นในการใช้วัสดุประเภทปูน ที่มีความสามารถในการเขียนภาพและระบายสีให้เกิด
2. นักเรียนทําแบบประเมินตนเองในแตละภารกิจ และอื่นๆ มาสร้างให้เป็นรูปทรงและลวดลายที่สวยงาม เป็นลวดลายต่างๆ ได้อย่างงดงาม
ที่นักเรียนรับผิดชอบ
ศิลปะจึงมีคุณค่าในฐานะที่เป็นเครื่องแสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองของชาติและคน
ในชาติ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงมีพระราชประสงค์ที่จะเห็นคนไทยให้ความส�าคัญ
กั บ ศิ ล ปะและวิ ช าช่ า งแขนงต่ า งๆ ด้ ว ยการช่ ว ยกั น สนั บ สนุ น ศิ ล ปิ น และบ� า รุ ง ศิ ล ปะตลอดจน
วิชาช่างของไทยให้มีความมั่นคงถาวรสืบไป ดังความที่ว่า “เราช่วยช่างเหมือนอย่างช่วยบ้านเมือง
ให้ประเทืองเทศไทยอันไพศาล”
๓) สะท้อนคุณธรรมหน้าที่และความสามัคคี บทเสภา ตอน สามัคคีเสวก มุ่งแสดง
ความคิดที่ว่า ชาติจะด�ารงอยู่ได้อย่างมั่นคง ข้าราชการต้องพร้อมใจกันปฏิบัติหน้าที่ในต�าแหน่งของตน
ด้วยความพยายาม ไม่ค�านึงถึงความสุขส่วนตัว ตลอดจนมีความเคร่งครัดในระเบียบวินัย ซึ่งล้วนแต่
เป็ น ความประพฤติ ที่ แ สดงถึ ง ความจงรั ก ภั ก ดี ที่ ข้ า ราชการพึ ง มี ต่ อ พระมหากษั ต ริ ย์ ผู้ ท รงเป็ น
“เหมือนบิดาบังเกิดหัว” และที่ส�าคัญที่สุดคือต้องมีความสามัคคีปรองดองให้สมกับเป็นข้าราชการ
ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระองค์เดียวกัน ดังบทประพันธ์
30

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
“ผูใดไมนิยมชมสิ่งงาม เมื่อถึงยามเศราอุรานาสงสาร” ทําไมจึงกลาว
1 หนาบัน คือบริเวณครึ่งวงกลม หรือเกือบสามเหลี่ยมเหนือประตูทางเขาที่อยู เชนนั้น
ระหวางทับหลังและโคง ซึ่งจะมีรูปสลักตกแตงหรือเครื่องตกแตงอื่นๆ
เปนองคประกอบอาคารที่ใชอิฐหรือไม กอหรือปดทับบริเวณสวนที่เปนโพรงของ แนวตอบ เพราะของสวยงามเมื่อไดเห็นเปนที่ชื่นชมแลวก็จะชวยใหคลาย
โครงจั่วหลังคา เพื่อปองกันไมใหแดดหรือฝนสาดเขาไปภายในอาคาร นิยมแกะ ความทุกขเศราลงได เพราะไดชมสิ่งที่ดีมีความสวยงามนาหลงใหล แตหาก
สลักหรือปนปูนประดับตกแตงเปนลวดลายตางๆ เริ่มจากที่ออกลายซึ่งอยูตรง การที่ไมนิยมชมชอบของสวยงามแลว เมื่อมีเรื่องทุกขเศราหมองใจก็ขาด
กลางมีรูปแบบตางๆ เชน ลายพุมขาวบิณฑ หนาขบ เทพรํา นารายณทรงครุฑ เครื่องระงับดับรําคาญ นับไดวาคลายความเศราดวยของสวยงามเปนเรื่องที่
งายและไดผลโดยทั่วไป หากคนที่ไมชอบของสวยงามแลวเปนเรื่องยากที่จะ
สัตวในหิมพานต เปนตน จากนั้นจึงรางเถาลายออกจากที่ออกลายใหออนโคงได
ขจัดปญหาความทุกขเศราไปได
รูปทรง แลวจึงเติมตัวกระหนก กาบ และลูกเลนตางๆ ใหสวยงามยิ่งขึ้น

30 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับขอคิดที่สามารถนําไป
เหล่าเสวกตกที่กะลาสี ควรคิดถึงหน้าที่นั้นเป็นใหญ่
ประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
“แมตางคนตางเถียงเกี่ยงแกงแยง
รักษาตนเคร่งคงตรงวินัย สมานใจจงรักพระจักรี
นายเรือจะเอาแรงมาแตไหน
ไม่ควรเลือกที่รักมักที่ชัง สามัคคีเป็นก�าลังพลังศรี
แมไมถือเครงคงตรงวินัย
ควรปรองดองในหมู่ราชเสวี ให้สมที่ร่วมพระเจ้าเราองค์เดียว เมื่อถึงคราวพายุใหญจะครวญคราง”
• บทประพันธขางตนใหขอคิดกับนักเรียน
๗.๔ ข้อคิดทีส่ ามารถนำาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำาวัน อยางไรบาง
จากการศึกษาคุณค่าของบทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก (แนวตอบ จากบทประพันธขางตนให
สามารถน�าข้อคิดที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวันได้ ดังนี้ ขอคิดวา การทํางานรวมกันหรืออยูรวมกัน
1 ๑) ให้มีความรักและภูมิใจในศิลปะของชาติ กล่าวคือ ศิลปะเป็นสิ่งที่มนุษย์ ตองชวยเหลือซึ่งกันและกัน ปฏิบัติหนาที่
สร้างสรรค์ขึ้น มีการสั่งสม ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นจนกระทั่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรม เกิดเป็นความงาม ของตนเองใหดีที่สุด แตก็ตองมีความ
ทีม่ เี อกลักษณ์ของชนชาติ ทัง้ ด้านจิตรกรรม ประติมากรรม หัตถกรรม ได้รบั การยอมรับจากต่างประเทศ สามัคคีกัน เมื่อเกิดปญหาก็จะสามารถ
การสร้างเจตคติที่ดีต่อศิลปะ ปลูกฝังจิตส�านึกให้เยาวชนรักในศิลปะย่อมจะท�าให้ศิลปะของชาติธ�ารง ผานพนไปไดดวยดี)
อยู่ได้
๒) ให้ตระหนักในหน้าที่ของตนเอง ประเทศชาติจะพัฒนาได้ย่อมต้องอาศัยบุคคล ขยายความเขาใจ Expand
ภายในชาติเป็นกลไกส�าคัญ เนื่องด้วยแต่ละบุคคลจะด�ารงสถานภาพและแสดงบทบาททางสังคม
1. นักเรียนยกกิจกรรมหรือโครงการสรางสรรคที่
ทีแ่ ตกต่างกัน โดยทีท่ กุ สถานภาพล้วนมีความส�าคัญเท่าเทียมกัน หากบุคคลขาดความตระหนักในหน้าที่ นักเรียนเคยเขารวมมาหนึ่งกิจกรรม จากนั้น
ของตนเอง บ่ายเบี่ยงหน้าที่ความรับผิดชอบย่อมไม่สามารถสร้างความเจริญรุ่งเรืองให้กับชาติได้ ใหนักเรียนพิจารณาวา กิจกรรมที่นักเรียนยก
๓) ให้เห็นความสำาคัญของความสามัคคี ประเทศชาติประกอบด้วยบุคคลจ�านวน มามีประโยชนใดบางที่ตรงกับขอคิดที่สามารถ
มาก การจะท�าให้ประเทศพัฒนาไปข้างหน้า ความสามัคคีของคนในชาติเป็นสิ่งส�าคัญ ต้องไม่คิดร้าย นํามาประยุกตใชในชีวิตประจําวันจากเรื่อง
แก่งแย่งชิงดีหรือเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนเป็นที่ตั้ง เพราะการมองเห็นผลประโยชน์ของประเทศชาติ บทเสภาสามัคคีเสวก
เป็นเรื่องรองลงมาจากผลประโยชน์ส่วนตัว ย่อมท�าให้ประเทศชาติเกิดความเสียหายได้ ความสามัคคี (แนวตอบ นักเรียนสามารถยกกิจกรรม
จะเป็นเครื่องผูกรวมจิตใจของคนในชาติ หรือโครงการไดหลากหลายทั้งนี้ขึ้นอยูกับ
๔) ให้เกิดความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ เนื่องจากพระมหากษัตริย์ทรงมี ประสบการณของนักเรียน เชน กิจกรรม
พระมหากรุณาธิคณ ุ ต่อบ้านเมืองและข้าราชบริพาร ทรงเป็นเหมือน “กัปปิตนั ” ทีน่ า� พาเรือฝ่าคลืน่ พายุ สงเสริมศิลปหัตถกรรมทองถิ่น โครงการ
ที่รุนแรงไปยังจุดมุ่งหมาย นั่นคือ ความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมืองและความผาสุกของราษฎรทั้งมวล ปลูกตนไมเฉลิมพระเกียรติ เปนตน)
ดังนัน้ ประชาชนทุกคนจึงควรประพฤติปฏิบตั ติ ามพระบรมราโชวาท รูจ้ กั หน้าทีข่ องตนเองและปฏิบตั งิ าน
2. ครูสุมนักเรียน 4-5 คนมานําเสนอหนาชั้นเรียน
ในหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ พร้อมทั้งมีระเบียบวินัยและมีความสมัครสมานสามัคคีกัน บ้านเมือง
ก็จะมีความสงบสุขและมีความเจริญรุ่งเรือง
31

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ขอใดสอดคลองกับขอคิดเรื่องการตระหนักในหนาที่ของตน
1 ศิลปะเปนสิ่งที่มนุษยสรางสรรคขึ้น จากในอดีตศิลปะมีความหมายถึง
1. อนึ่งปนเปนรูปเทวฤทธิ์ ดูประหนึ่งนิรมิตวิเลขา
ทักษะฝมือ ความชํานาญในเชิงชางหรือการลอกแบบธรรมชาติเปลี่ยนแปลงสูการ
2. อันชาติใดไรชางชํานาญศิลป เหมือนนารินไรโฉมบรรโลมสงา
แสดงออกซึ่งอารมณความรูสึกภายใน พัฒนาสูความงามของรูปทรง
3. แมนไมถือเครงคงตรงวินัย เมื่อถึงคราวพายุใหญจะครวญคราง
ซึ่งตอมาในภายหลังก็ไดเกิดทฤษฎีความงามที่แตกตางออกไปอีกมากมาย
4. ในพระราชสํานักพระภูธร เหมือนเรือแลนสาครสมุทรไทย
จนทําใหเกิดรูปแบบของศิลปะที่เกินความคาดหมายและแปลกใหมอีกเรื่อยๆ บาง
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. และขอ 2. กลาวถึงความสําคัญของศิลปะของชาติ ครั้งสิ่งที่ไมสวยงามก็เปนศิลปะ หรืองานที่สวยงามบางชิ้นก็ไมใชศิลปะ สิ่งสําคัญ
ขอ 3. ใหขอคิดเรื่องการตระหนักในหนาที่ของตน คือ “แมนไมถือเครงคง คือเจตนาของผูสรางที่จะกอใหผูรับรูหรือสัมผัสผลงานนั้นเกิดความรูสึกและไดคิด
ตรงวินัย เมื่อถึงคราวพายุใหญจะครวญคราง” การไมรักษาวินัยในตนเองจะ สิ่งใดออกมา ซึ่งการคิดและรูสึกของแตละคนก็เปนอิสระไมจําเปนที่จะตองเหมือน
สงผลเสียตอหนาที่ที่รับผิดชอบ เมื่อเกิดปญหาก็จะสงผลกระทบกับงานที่ กันตามประสบการณและความเขาใจที่แตกตาง ซึ่งนี่คือเสนหอยางหนึ่งที่ศิลปะให
ตองทํารวมกับผูอื่น ขอ 4. กลาวเปรียบพระราชสํานักเหมือนเรือที่แลนใน กับมนุษย
มหาสมุทร ตอบขอ 3.

คูมือครู 31
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนตอบคําถามจากบทเสภาสามัคคีเสวก
• บทเสภาสามัคคีเสวกกลาวถึงความสําคัญ บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและตอนสามัคคีเสวก แม้จะมีความยาว
ของศิลปะกับชีวิตมนุษยอยางไร ไม่มากนัก แต่ก1เ็ ป็นบทประพันธ์ทมี่ คี ณ
ุ ค่าครบถ้วนทุกด้าน ในขณะทีเ่ รากÓลังหลงชืน ่ ชม
(แนวตอบ ชวยยกระดับและพัฒนาจิตใจของ ศิลปวัฒนธรรมต่างประเทศ
งประเทศ หลงลืมคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมไทย มีการแบ่งพรรค
มนุษยใหสูงขึ้น เพราะศิลปะเปนการถายทอด แบ่งพวก ทั้งยังขัดแย้งแตกสามัคคีกัน ข้าราชการไม่ส�านึกในหน้าที่ บทประพันธ์นี้
ความคิด ความรูสึกจากภายในของมนุษยที่ ได้ให้ข้อคิดเตือนใจชาวไทยทั้งหลายว่า ชาติอาจล่มสลายหากคนไทยขาดจิตส�านึก
ไดรับอิทธิพลจากสิ่งแวดลอมภายนอกเปน ในความเป็นไทยและขาดความสามัคคี ข้าราชการทั้งหลายเป็นข้าในพระบาทสมเด็จ
เครื่องหมายแสดงถึงความเจริญรุงเรืองของ พระเจ้าอยูห ่ วั พระองค์เดียวกัน จึงต้องส�านึกในหน้าที ่ มีความรักสามัคคีกน
ั ซึง่ เป็นปัจจัย
สังคมมนุษยที่ถึงพรอมดวยความบริบูรณ ส�าคัญที่ช่วยให้งานต่าง บรรลุเป้าหมาย
ทั้งทางกายและใจ)

ขยายความเขาใจ Expand
นักเรียนทบทวนความเขาใจในคุณคาดานตางๆ
ของบทเสภาสามัคคีเสวก โดยทํากิจกรรมตามตัวชีว้ ดั
กิจกรรมที่ 1.5 จากแบบวัดฯ ภาษาไทย ม.2

ใบงาน ✓ แบบวัดฯ แบบฝกฯ


ภาษาไทย ม.2 กิจกรรมที่ 1.5
เร�่อง คุณคาของบทเสภาสามัคคีเสวก
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๑.๕ ใหนักเรียนบอกคุณคาที่ไดรับจากบทเสภาสามัคคีเสวกใน ñð
รูปแบบผังมโนทัศน (ท ๕.๑ ม.๒/๓)

คุณคาดานวรรณศิลป

• การใชภาพพจน เชน การเปรียบเทียบเหตุการณในราชสํานักกับเรือใหญ


..............................................................................................................................................................................................
ที่อยูกลางทะเล
..............................................................................................................................................................................................
• การใชอุปมาโวหาร เชน เปรียบศิลปะกับโอสถ
..............................................................................................................................................................................................
• การหลากคํา เชน พระมหากษัตริย เปน ทรงธรรม พระทรงศรี พระภูธร
..............................................................................................................................................................................................
พระจักรี
..............................................................................................................................................................................................
• การแตกศัพท เชน คําวา ศิลป เปน ศิลป ศิลปะ ศิลปา ศิลปกรรม
..............................................................................................................................................................................................

คุณคาดานเนือ้ หา

• เตือนใจใหเห็นคุณคาของงานศิลปและ
............................................................................................................
ศิลปน
............................................................................................................
ฉบับ
เฉลย
บทเสภาสามัคคีเสวก • ขาราชการควรตัง้ ใจปฏิบตั หิ นาที่ เสียสละ
............................................................................................................
ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก ไมชิงดีชิงเดน เชื่อฟงผูบังคับบัญชา
............................................................................................................
............................................................................................................
............................................................................................................
............................................................................................................
............................................................................................................

คุณคาดานสังคม

• สะทอนความงามดานศิลปะ
..............................................................................................................................................................................................
• สะทอนความรุงเรืองของบานเมือง
..............................................................................................................................................................................................
• สะทอนคุณธรรม หนาที่ และความสามัคคี
32
..............................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................

๘๗

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
เพราะเหตุใดในบทสามัคคีเสวกที่กลาววา ทั้งประเทศใหญนอยจึงยกยอง
1 ศิลปวัฒนธรรม ที่เขมแข็งยอมสะทอนใหเห็นถึงความมีเอกราชของชาติ ใน งานศิลปะวาเปนสิ่งมีคา
ทางกลับกันการมีเอกราชของชาติใดชาติหนึ่งอาจเปนผลมาจากความเขมแข็ง
ทางศิลปวัฒนธรรมของประเทศชาตินั้น การมีเอกราชหรือการมีศิลปวัฒนธรรม แนวตอบ เพราะงานศิลปะเปนงานที่อุดมไปดวยความคิด การถายทอด
ที่เขมแข็งมั่นคง มิใชสิ่งที่กอใหเกิดความหยิ่งทระนงจนเกิดการปดกั้นทางปญญา ความรูภูมิปญญาจากรุนหนึ่งไปสูอีกรุนหนึ่งเปนระยะเวลานาน ไดรับการ
และปดกั้นการพัฒนาทางดานศิลปะและวัฒนธรรมของตนเองใหเจริญกาวหนา ปรับปรุง พัฒนา สรางสรรคงานอยูเรื่อยมา จึงเปนวัฒนธรรมที่มีคุณคายิ่ง
การอนุรักษหวงแหนเปนสิ่งดีงาม แตการอนุรักษหวงแหนตองพัฒนาปรับปรุง เปนผลผลิตทางความคิด จิตใจ และการถายผานประสบการณ การฝกฝน
เปลี่ยนแปลงใหเจริญกาวหนาและจําเปนตองมีวิสัยทัศน มีวิจารณญาณที่ดีวาสิ่งใด จนเชี่ยวชาญ เปนชิ้นงานศิลปะแสดงถึงความเจริญและเกียรติภูมิของชาติ
ควรอนุรักษใหถูกตองแบบแผนตามมรดกตกทอดอยางดีที่สุด ถูกตองชัดเจนที่สุด
และสิ่งใดควรไดรับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงใหสอดคลองกับสถานการณของสังคม

32 คูมือครู
ตรวจสอบผล
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Evaluate
Engage Explore Explain Expand
ตรวจสอบผล Evaluate
1. นักเรียนเขียนเรียงความ หัวขอ “เราจะใช
งานศิลปพัฒนาตนเองและประเทศชาติ”
ค�ำถำม ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้
2. นักเรียนเขียนบันทึกประจําวันประเมิน
ความรับผิดชอบในหนาที่ได
๑. แนวคิดส�ำคัญของบทเสภำสำมัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมำ คืออะไร จงอธิบำยพร้อมทั้ง 3. นักเรียนยกกิจกรรมหรือโครงการที่เคยทํา
แสดงเหตุผลประกอบ สอดคลองกับขอคิดในบทเสภาสามัคคีเสวก
๒. แนวคิดส�ำคัญของบทเสภำสำมัคคีเสวก ตอน สำมัคคีเสวก คืออะไร จงอธิบำยพร้อมทั้ง
แสดงเหตุผลประกอบ
๓. พลังของควำมสำมัคคีก่อให้เกิดผลดีต่อตนเองและประเทศชำติอย่ำงไร หลักฐานแสดงผลการเรียนรู
๔. กำรแตกควำมสำมัคคีก่อให้เกิดผลเสียต่อตนเองและประเทศชำติอย่ำงไร
๕. นักเรียนคิดว่ำกำรปฏิบัติตนอย่ำงไรที่สำมำรถสร้ำงควำมเจริญรุ่งเรืองให้ประเทศชำติได้ 1. ปายนิเทศผลงานพระราชนิพนธในรัชกาลที่ 6
2. ตัวอยางผลงานพระราชนิพนธในรัชกาลที่ 6
3. ทองจําบทอาขยานที่กําหนดได
4. บันทึกการปฏิบัติงานตามหนาที่
5. การยกกิจกรรมหรือโครงการที่สอดคลองกับ
ขอคิดในเรื่อง

กิจกรรม สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้
กิจกรรมที่ ๑ ใ ห้นักเรียนแบ่งกลุ่มเพื่อศึกษำค้นคว้ำเกี่ยวกับงำนช่ำงแขนงต่ำงๆ ตำมที่ปรำกฏใน
บทเสภำสำมัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมำ แล้วเล่ำสรุปผลกำรศึกษำหน้ำชัน้ เรียน โดยน�ำ
ภำพมำประกอบกำรอธิบำยเพื่อสร้ำงควำมเข้ำใจ

กิจกรรมที่ ๒ ให้นกั เรียนเขียนเรียงควำมทีม่ เี นือ้ หำเกีย่ วกับผลงำนศิลปะหรืองำนช่ำงในท้องถิน่ ต่ำงๆ


ของไทยที่นักเรียนประทับใจ

กิจกรรมที่ ๓ ให้นักเรียนแต่งนิทำนที่มีเนื้อหำแสดงถึงพลังของควำมสำมัคคี

33

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู
1. แนวคิดสําคัญตอน วิศวกรรมา คือ ควรอนุรักษงานศิลปะเพราะเปนผลงานที่ทรงคุณคา เปนมรดกของชาติที่แสดงใหเห็นความเจริญรุงเรืองของชาติ
บานเมืองสมัยกอน
2. แนวคิดสําคัญตอน สามัคคีเสวก คือ ความสามัคคีของขาราชบริพารในราชสํานักจะสงผลใหประเทศชาติเจริญ เพราะเหลาขาราชบริพารมีสวน
ในการบริหารประเทศ เปนผูสนองพระราชประสงคของพระมหากษัตริยในการปกครองประเทศ
3. พลังของความสามัคคีจะทําใหไมเกิดความวุนวายในชาติ และหากประเทศชาติจะทําการใดยอมไดรับการสนับสนุนในทิศทางเดียวกัน เกิดความเปน
ปกแผน ไมมีชาติใดทําลายได
4. ขาดการสนับสนุน ชวยเหลือกัน เกิดความวุนวายในสังคม และประเทศชาติไมพัฒนา
5. ประพฤติปฏิบัติตนตามกฎระเบียบและกฎหมายของบานเมือง

คูมือครู 33
กระตุน ความสนใจ
Engage สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Explore Explain Expand Evaluate
เปาหมายการเรียนรู
1. สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน
2. วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน
พรอมยกเหตุผลประกอบ
3. อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม
ที่อาน
4. สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพื่อประยุกต
ใชในชีวิตจริง

สมรรถนะของผูเรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค
1. มีวินัย


2. ใฝเรียนรู
3. มุงมั่นในการทํางาน
4. รักความเปนไทย หน่วยที่
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ตัวชี้วัด
กระตุน ความสนใจ Engage ■ สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน (ท ๕.๑ ม.๒/๑)
วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน พร้อมยกเหตุผลประกอบ
พ่ อขุนรามค�าแหงมหาราชกษัตริยร์ าชวงศ์
ครูใหนักเรียนดูภาพหนาหนวย จากนั้นให

พระร่ ว ง แห่ ง อาณาจั ก รสุ โ ขทั ย ทรงประดิ ษ ฐ์
(ท ๕.๑ ม.๒/๒)
อักษรไทย เมือ่ พ.ศ. ๑๘๒๖ และโปรดเกล้าฯ ให้จารึก
นักเรียนรวมกันตอบคําถาม ■


อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน (ท ๕.๑ ม.๒/๓)
สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านเพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง พระราชประวั ติ ข องพระองค์ ความเป็ น มาของ
• จากภาพนี้สะทอนใหเห็นสภาพวิถีชีวิต (ท ๕.๑ ม.๒/๔) อาณาจักรสุโขทัย พระราชกรณียกิจที่ส�าคัญ วิถีชีวิต
อยางไร และอยูในชวงยุคสมัยใด และสภาพบ้านเมืองสมัยสุโขทัยไว้ในหลักศิลาหรือที่
สาระการเรียนรู้แกนกลาง คนไทยเรียกว่า “ศิลาจารึก”
(แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบไดหลากหลาย ■ การวิเคราะห์คุณค่าและข้อคิดจากวรรณคดี ศิลาจารึกหลักที่ ๑ เป็นหลักฐานทางโบราณคดี
เชน ความอิสระในการคาขาย ความสุขกาย และวรรณกรรม เรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ชิ้นส�าคัญที่ท�าให้ชาวไทยได้รู้ประวัติศาสตร์ของชาติและ
สบายใจของประชาชน เปนตน วิวัฒนาการของภาษาไทย นับเป็นภูมิปัญญาอันชาญฉลาด
ของบรรพบุรุษไทยที่จารึกลงบนหลักศิลา ท�าให้ข้อมูลทาง
ซึ่งเปนชวงสมัยสุโขทัย) ประวัตศิ าสตร์และโบราณคดีสมัยสุโขทัยได้รบั การเก็บรักษาไว้

เกร็ดแนะครู
ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเนนใหนักเรียนไดแสดงความคิดเห็น
ที่มีตอการอานศิลาจารึกหลักที่ 1 จากนั้นครูและนักเรียนจึงรวมกันอภิปรายแสดง
ความคิดเห็นอยางเต็มที่และเปดกวาง เพื่อสรางบรรยากาศการเรียนการสอนที่มี
ความเปนประชาธิปไตย คือ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นตอประเด็นคําถาม
ไดอยางหลากหลาย และรวมอภิปรายแลกเปลี่ยนกัน เปนการฝกใหนักเรียนเกิด
ความใจกวางยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น กระตุนทักษะการคิดและ
การแสดงออก

34 คูมือครู
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา
Engage Explore อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Explain Expand Evaluate
กระตุน ความสนใจ Engage
ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับศิลาจารึก
๑ ความเป็นมา จากนั้นครูใชคําถามนํานักเรียนเขาสูบทเรียน
ศิ ล าจารึ ก คื อ จารึ ก บนแท่ ง ศิ ล าที่ ค นในสมั ย ก่ อ น • นักเรียนรูจักหรือเคยเห็นศิลาจารึกหรือไม
สร้างขึ้น เพื่อถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆ ด้วยลายเส้นหรือภาพ
อยางไร
• นักเรียนคิดวาหลักศิลาจารึกคืออะไร
เป็นสื่อแทนการบอกเล่า ท�าให้ได้เรียนรู้สิ่งที่เกิดขึ้นในอดีต
(แนวตอบ แทงหินที่นํามาตัดเปนแทงสี่เหลี่ยม
ในช่วงเวลาทีม่ กี ารจารึกศิลานัน้ ๆ เช่น จารึกของพ่อขุนรามค�าแหง
แลวมนุษยก็บันทึกเรื่องราวเหตุการณตางๆ
มหาราชในสมัยสุโขทัย
โดยการใชภาษาเขียนในการถายทอด)
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ จัดเป็นวรรณคดีลายลักษณ์อักษร • นักเรียนรูหรือไมวาใครเปนผูประดิษฐ
ฉบับแรกของไทย โดยบันทึกลงในแท่งศิลาสี่เหลี่ยม ๔ ด้าน ศิลาจารึกหลักที่ 1
มีถอ้ ยค�าจารึกทัง้ ๔ ด้าน ด้านที ่ ๑ และ ๒ มีขอ้ ความด้านละ (แนวตอบ พอขุนรามคําแหงมหาราช)
๓๕ บรรทั ด ด้ า นที่ ๓ และ ๔ มี ข ้ อ ความด้ า นละ
๒๗ บรรทัด ตัวอักษรทีใ่ ช้เป็นตัวอักษรไทยทีพ่ อ่ ขุนราม สํารวจคนหา Explore
ค� า แหงมหาราชทรงประดิ ษ ฐ์ ขึ้ น เมื่ อ พ.ศ. ๑๘๒๖
โดยพระองค์ทรงประดิษฐ์ขึ้นจากตัวอักษรขอมหวัด ศิลาจารึกหลักที่ ๑ เป็นหินชนวนสีเขียว ยอดแหลมปลายมน 1. นักเรียนแบงกลุมคนควาเกี่ยวกับประวัติ
และอักษรไทยเดิมซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรมอญ
สูง ๑ เมตร ๑๑ เซนติเมตร กว้าง ๓๕ เชนติเมตร ความเปนมาของศิลาจารึกหลักที่ 1 จากแหลง
โบราณ สันนิษฐานว่าศิลาจารึกหลักนี้น่าจะจารึกเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๑๘๓๕ เรียนรูตางๆ เชน เว็บไซต พิพิธภัณฑแสดง
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เมือ่ ครัง้ ยังทรงผนวชอยู ่ ณ วัดราชาธิวาส (พ.ศ. ๒๓๗๖) ศิลาจําลอง
ได้เสด็จไปหัวเมืองฝ่ายเหนือจนถึงเมืองสุโขทัย และทรงพบศิลาจารึก ๒ หลัก และแท่นหินแห่งหนึ่ง
2. นักเรียนศึกษาวา เพราะเหตุใดคําขึ้นตนของ
พระนามกษัตริยในสมัยสุโขทัยจึงใชคําวา
ที่เนินปราสาทเมืองเก่า พระองค์ทรงเห็นว่าเป็นวัตถุส�าคัญทางโบราณคดี จึงโปรดเกล้าฯ ให้ชะลอมาไว้
“พอ”
ทีก่ รุงเทพฯ เมือ่ อ่านศิลาจารึกจึงทราบว่าหลักหนึง่ เป็นศิลาจารึกหลักที ่ ๑ ของพ่อ1ขุนรามค�าแหงมหาราช
(แนวตอบ เพราะสมัยสุโขทัยมีการปกครองแบบ
ส่วนอีกหลักหนึ่งนั้นเป็น2จารึกภาษาขอมของพระมหาธรรมราชาที่ ๑ (ลิไทย) แท่นหินที่พบนั้น คือ
พอปกครองลูก ความสัมพันธระหวางกษัตริย
พระแท่นมนังคศิลาบาตร กับประชาชนมีความใกลชิดกันมาก จึงเรียก
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ นี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระราชอุตสาหะอ่าน พระนามของกษัตริยขึ้นตนดวยคําวา “พอ”)
และน�าออกเผยแพร่เป็นพระองค์แรกและทรงอธิบายถ้อยค�าในศิลาจารึกเป็นภาษาอังกฤษด้วย ต่อมา 3. นักเรียนศึกษาลักษณะตัวอักษรและหลัก
ศาสตราจารย์ยอร์ช เซเดส์ ชาวฝรั่งเศสผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาตะวันออก และอาจารย์ฉ�่า ทองค�าวรรณ การเขียนในศิลาจารึกและอานเรื่องยอของ
ได้พยายามตรวจสอบค�าอธิบายเพิม่ เติมและแปลจารึกนัน้ เป็นภาษาฝรัง่ เศสเพือ่ เผยแพร่ให้แก่ผทู้ สี่ นใจ ศิลาจารึกหลักที่ 1
ปัจจุบนั ศิลาจารึกหลักนีจ้ ดั แสดงไว้ทหี่ อ้ งประวัตศิ าสตร์ชาติไทย ภายในพระทีน่ งั่ ศิวโมกขพิมาน
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

35

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ขอใดเปนความสําคัญในดานภาษาศาสตรของศิลาจารึกหลักที่ 1
1 พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) ทรงเปนกษัตริยองคที่ 6 แหงสุโขทัย
1. ศิลาจารึกหลักที่ 1 ทําดวยหินชนวนสีเขียว
เปนพระราชโอรสของพระยาเลอไทย กอนที่จะเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ พระองคได
2. เปนตนแบบของการใชอักษรไทย
ไปปกครองดูแลเมืองศรีสัชนาลัย ซึ่งอยูในฐานะเมืองลูกหลวง และทรงทํานุบํารุง
3. เลาเหตุการณสมัยสุโขทัย
พระพุทธศาสนาใหเจริญรุงเรือง โดยพระองคทรงผนวชและจําพรรษาอยูที่วัด
4. เนื้อหากลาวถึงพระรวง
ปามะมวง และยังทรงพระราชนิพนธไตรภูมิพระรวง หรือเตภูมิกถา ซึ่งมีเนื้อหา
วิเคราะหคําตอบ ศิลาจารึกหลักที่ 1 ที่พอขุนรามคําแหงมหาราชทรง เกี่ยวของกับพระพุทธศาสนา และนับวาเปนวรรณคดีเรื่องแรกของไทย
ประดิษฐขึ้น เนื้อหาบอกเลาเหตุการณตางๆ ที่เกิดขึ้นในสมัยสุโขทัย 2 พระแทนมนังคศิลาบาตร เปนพระแทนที่พอขุนรามคําแหงมหาราชโปรด
แตความสําคัญในทางภาษาศาสตร คือ เปนหลักฐานที่สื่อถึงการประดิษฐ เกลาฯ ใหสรางขึ้น เพื่อใชประทับออกวาราชการ และสําหรับพระสงฆแสดงธรรม
ตัวอักษรไทยและนํามาใชอยางเปนทางการครั้งแรก ตอบขอ 2. เทศนาแกราษฎรในวันธรรมสวนะ (วันพระ)

คูมือครู 35
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
1. นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับความเปนมาของศิลา
จารึกหลักที่ 1 จากนั้นครูและนักเรียนรวมกัน
สนทนาและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความ
๒ ประวัติ¼ู้แต่ง 1
สําคัญของศิลาจารึกหลักที่ 1 พ่อขุนรามค�าแหงมหาราชเป็นกษัตริยอ์ งค์ท ี่ ๓ ในราชวงศ์พระร่วง แห่งอาณาจักร
• ศิลาจารึกหลักที่ 1 มีความสําคัญตอ สุโขทัย พระองค์ทรงเป็นพระราชโอรสของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ พระราชมารดา
ภาษาไทยอยางไร ชื่อนางเสือง พระองค์ทรงมีพี่น้อง ๕ พระองค์ เป็นชาย ๓ พระองค์ เป็นหญิง
(แนวตอบ ศิลาจารึกหลักที่ 1 คือหลักฐาน ๒ พระองค์ พระเชษฐาองค์โตสิ้นพระชนม์ตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ เมื่อพ่อขุนศรี
อินทราทิตย์สิ้นพระชนม์ พระเชษฐาคือพ่อขุนบานเมืองเสด็จขึ้นครองราชย์
สําคัญทางประวัติศาสตรและภาษา เปน
เป็นกษัตริย์องค์ที่ ๒ ต่อจากพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ ส่วนพระองค์
สิ่งที่แสดงใหเห็นประวัติความเปนมาของ
ทรงด�ารงต�าแหน่งอุปราชครองเมืองเชลียง และสืบราชสมบัติ
ตนกําเนิดภาษาไทย สภาพบานเมืองในสมัย
ต่อจากพ่อขุนบานเมือง เมื่อ พ.ศ. ๑๘๒๒
สุโขทัย และยังทําใหเห็นพัฒนาการของ
ระหว่างทีพ่ ระราชบิดาทรงครองราชย์ พ่อขุนรามค�าแหง
อักขระไทยที่มีมานานกวา 700 ป)
มีพระชนมายุได้ ๑๙ พรรษา ทรงช่วยพระราชบิดากระท�า
2. นักเรียนรวมกันสนทนาเกี่ยวกับประวัติของ ยุทธหัตถีกบั ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอดจนได้รบั ชัยชนะ พระราชบิดา
พอขุนรามคําแหงมหาราช ในประเด็นตางๆ
พระบรมราชานุสาวรียพ่อขุนรามค�าแหง จึงพระราชทานพระนามว่า พระรามค�าแหง และพระองค์เสด็จ
ดังนี้ มหาราชประดิ ษ ฐานอยู ่ ณ อุ ท ยาน ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระเชษฐา เป็นกษัตริย์องค์ที่ ๓ แห่ง
• ชีวิตครอบครัว ประวัติศาสตรสุโขทัย อาณาจักรสุโขทัย จากศิลาจารึก ท�าให้ทราบว่า พระองค์ทรง
(แนวตอบ พระองคเปนโอรสของพอขุนศรี- เป็นพระมหากษัตริย์ทไี่ ด้รบั การยกย่องเป็น “มหาราช” เพราะพระปรีชาสามารถ ทัง้ ในด้านการรบและ
อินทราทิตยกับนางเสือง มีพี่นอง 5 คน เปน ด้านการปกครอง ทรงท�านุบ�ารุงพระพุทธศาสนาและบ้านเมืองให้เจริญรุ่งเรืองทั้งในด้านการค้าขาย
ชาย 3 คน หญิง 2 คน พระเชษฐาองคโต การเกษตร และการอุตสาหกรรม ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพ ท�ามาหากินอุดมสมบูรณ์ พระราชกรณียกิจ
สิ้นพระชนมตั้งแตยังทรงพระเยาว) ทีส่ า� คัญอีกประการหนึง่ คือ เมือ่ พ.ศ. ๑๘๒๖ ทรงประดิษฐ์อกั ษรไทยและโปรดเกล้าฯ ให้จารึกอักษรไทย
• บทบาทและหนาที่ ลงไว้บนแท่งศิลา เมือ่ ประมาณ พ.ศ. ๑๘๓๕ นอกจากนี ้ ยังโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระแท่นมนังคศิลาบาตร
(แนวตอบ ขึ้นครองราชยเปนกษัตริยองคที่ 3 เมื่อ พ.ศ. ๑๘๓๕ พ่อขุนรามค�าแหงมหาราชสวรรคตใน พ.ศ. ๑๘๖๐
แหงอาณาจักรสุโขทัย ชวยพระราชบิดารบ
กับเมืองฉอดจนชนะ) ๓ ลักษณะคÓประพัน¸์
• พระปรีชาสามารถ ลั ก ษณะค� า ประพั น ธ์ เ ป็ น ร้ อ ยแก้ ว มี สั ม ผั ส เป็ น บางตอน ใช้ ค� า ไทยแท้ แ ละค� า ภาษา
(แนวตอบ เปนนักรบ นักอักษรศาสตร ถิ่นเหนือเป็นส่วนมาก มีค�าเขมร บาลีและสันสกฤตปนบ้างเล็กน้อย แต่งเป็นประโยคสั้นๆ ง่ายๆ
นักปราชญ) ไม่ซับซ้อน ได้ใจความชัดเจน บางตอนมีเสียงสัมผัสไพเราะ ท�าให้จ�าได้ง่ายและมีการซ�้าค�า เน้นย�้า
เพื่อเพิ่มน�้าหนักของค�าให้กระชับ หนักแน่น และช่วยให้ใจความกระจ่างยิ่งขึ้น เช่น
ขยายความเขาใจ Expand
“ในน�้ามีปลา ในนามีข้าว”
นักเรียนนําขอมูลจากกิจกรรมอธิบายความรู “ใครจักใคร่ค้าม้า ค้า ใครจักใคร่ค้าเงือนค้าทองค้า”
ขางตนมาทําแผนผังมโนทัศนพระราชประวัติของ
พอขุนรามคําแหงมหาราช ซึ่งประกอบไปดวย 36
ชีวิตครอบครัว บทบาทหนาที่ และพระปรีชา
สามารถของพระองค
บูรณาการเชื่อมสาระ
นักเรียนควรรู การเรียนรูพระราชประวัติของพอขุนรามคําแหง รวมถึงผลงานทรงคา
ของพระองคในการประดิษฐอกั ษรไทย เพือ่ ใหทราบเกีย่ วกับศิลาจารึกมากยิง่ ขึน้
1 ราชวงศพระรวง เปนราชวงศที่สถาปนาขึ้นเมื่อคราวพอขุนบางกลางหาว
สามารถบูรณาการเขากับกลุม สาระการเรียนรูส งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ทรงราชาภิเษกเปนพอขุนศรีอินทราทิตย คําวา “พระรวง” เปนคํากลางๆ ที่ใชเรียก
วิชาประวัติศาสตร ดังขอมูลการวิพากษทางประวัติศาสตร ศาสตราจารย
กษัตริยหรือผูนําแหงรัฐสุโขทัย โดยคําวา “รวง” แปลวา รุง (โรจน) ในสําเนียง
ยอรช เซเดยไดกลาวไววา
ไทยกลางจึงตรงกับคําวา “รุง” ซึ่งไปพองกับสําเนียงลานชางที่อานวา “ฮุง” ซึ่งอาจ
“การทีพ่ ระองคไดทรงแกไขตัวอักษรของชาวสุโขทัยใหเรียงเปนแนวเดียวกัน
จะสืบเนื่องกับตํานานทาวฮุง-ทาวเจือง อันเปนวีรบุรุษในตํานานสองฝงโขง อยางไร
ไดนั้นเปนการสําคัญยิ่ง แลควรที่ชาวสยามในปจจุบันนี้ จะรูสึกพระคุณ และ
ก็ตาม คําวา “พระรวง” เปนคําที่คิดขึ้นใหมเมื่อครั้งสถาปนาราชวงศ มิใชราชวงศ
มีความเคารพนับถือที่พระองคไดทรงจัดแบบอักษรไทยใหสะดวกขึ้น ขอนี้ให
เดิมที่ติดตัวพอขุนบางกลางหาวมาแตตน
มาก อนึ่ง ในสยามประเทศทุกวันนี้การคิดแบบเครื่องพิมพดีดและการพิมพ
หนังสือไดเจริญรุงเรือง เปนประโยชนยิ่งในวิชาความรูแลทางราชการ นับ
วาเพราะพอขุนรามคําแหงไดทรงพระราชดําริเปลี่ยนรูปอักษรขอมและเรียง
มุม IT พยัญชนะเปนแนวเดียวกันใหสะดวกไว สวนบรรดาประเทศที่ยังใชวิธีซอนตัว
ศึกษาเกี่ยวกับกําเนิดลายสือไทสมัยพอขุนรามคําแหงเพิ่มเติม ไดที่ พยัญชนะ เชน ประเทศเขมรและประเทศลาว การพิมพหนังสือของประเทศ
http://www.sukhothai.go.th/history/hist_07.htm เหลานั้นเปนการยาก”

36 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนสังเกตและอภิปรายเกี่ยวกับหลัก
เปรียบเทียบตัวอักษรไทยสมัยพ่อขุนรามค�าแหงมหาราชกับตัวอักษรไทยปจจุบัน การเขียนในศิลาจารึกรวมกัน ดังนี้
ก ข ฃ ค ฅ -ะ -า -ิ -ี -ึ
• นักเรียนวิเคราะหลักษณะการเขียนตัว
_
อักขระในศิลาจารึก แลวสรุปลงในตาราง
ฆ ง จ ฉ ช -ื -ุ -ู เ-ะ เ- (แนวตอบ ลักษณะการเขียนตัวอักขระ
_
ซ ฌ ญ ฎ ฏ แ-ะ _ แ- โ-ะ _ โ- เ-าะ _ ในศิลาจารึก
_
• พยัญชนะ
ฐ ฑ ฒ ณ ด -อ เ-อะ เ-อ เ-ีย เ-ือ
_ _ _ - รูปพยัญชนะบางตัวมีเคาเหมือน
ต ถ ท ธ น -ัว ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ปจจุบัน บางตัวเปลี่ยนไปมาก
_ _ _ _
- ไมมีพยัญชนะ ฌ ฑ ฒ ฬ ฮ
บ ป ผ ฝ พ -ำ ไ- ใ- เ-า -่
• สระ
ฟ ภ ม ย ร -้ -๊ -๋ -ั -� - สระสวนใหญเขียนไวหนาพยัญชนะ
_ _ _
- สระอะ เมื่อมีตัวสะกดใหเขียนตัวสะกด
ล ว ศ ษ ส ๐ ๑ ๒ ๓ ๔
_ ซอนกัน เชน ขบบ เปนตน
ห ฬ อ ฮ อย ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ - สระเอีย เมื่อมีตัวสะกดเขียน -ย- เชน
_ _ _ _ _ _
พยง อานวา เพียง เมื่อไมมีตัวสะกด
ลักษณะการเขียนในศิลาจารึก เขียน -ียย เชน มียย อานวา เมีย
๑. ตัวอักษรเขียนจากซ้ายไปขวาและอ่านจากซ้ายไปขวา - สระอัว เมื่อไมมีตัวสะกดใช -วว เชน
๒. การวางต�าแหน่งพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ มีหลักเกณฑ์ ดังนี้ หวว อานวา หัว
- เขียนพยัญชนะและสระอยู่บนบรรทัดเดียวกัน - ใชนฤคหิตแทนสระอํา เมื่อ ม เปนตัว
- วรรณยุกต์และนฤคหิตอยู่บนพยัญชนะ ถ้ามีทั้งนฤคหิตและวรรณยุกต์ให้เขียนต่อกัน สะกด เชน พนํ อานวา พนม
- สระส่วนใหญ่เขียนไว้หน้าพยัญชนะ เว้นแต่สระอะ อา และ อ�า เขียนไว้หลังพยัญชนะ • วรรณยุกต
- สระอะ เมื่อมีตัวสะกดใช้ตัวสะกดซ้อนกัน เช่น ขบบ อ่านว่า ขับ วงง อ่านว่า วัง - วรรณยุกตมีใชเพียงรูปเอกกับโทเทานั้น
- สระเอียใช้ ย เมื่อมีตัวสะกด เช่น รยง อ่านว่า เรียง พยง อ่านว่า เพียง ถ้าไม่มีตัวสะกด โดยวรรณยุกตรูปโทใชเปน + เชน
ใช้ -ยย เช่
ี น มียย อ่านว่า เมีย ได อานวา ได และวรรณยุกตรูปเอก
- สระอือ และสระออ ไม่ใช้ อ เคียง เช่น ชื่ อ่านว่า ชื่อ พ่ อ่านว่า พ่อ ใชเหมือนปจจุบัน
- สระอัว เมื่อไม่มีตัวสะกด ใช้ -วว เช่น หวว อ่านว่า หัว
- ใช้ นฤคหิต แทนสระอ�า เช่น บ�เรอ อ่านว่า บ�าเรอ
- นฤคหิต ใช้แทน ม เมื่อเป็นตัวสะกด เช่น พน� อ่านว่า พนม ขยายความเขาใจ Expand
- ไม้ไต่คู้ไม่มีใช้ ให้ใช้รูปเอกแทน เช่น ก่ดี อ่านว่า ก็ดี นักเรียนฝกเขียนลายสือไทของพอขุน
๓. วรรณยุกต์ที่ใช้มีเพียงรูปเอกกับรูปโทเท่านั้น วรรณยุกต์รูปเอกใช้เหมือนปัจจุบันและใช้ รามคําแหงเปนชื่อและนามสกุล พรอมประวัติของ
รูป + แทนวรรณยุกต์รูปโท เช่น พ่ อ่านว่า พ่อ ได อ่านว่า ได้
ตนเองโดยสังเขป
37

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
การเรียนรูตัวอักษรไทยในศิลาจารึกหลักที่ 1 มีความสําคัญอยางไร
ครูเพิ่มเติมความรูใหนักเรียนเรื่องลายสือไทของพอขุนรามคําแหงมหาราชวา
แนวตอบ การเรียนรูตัวอักษรไทยสมัยสุโขทัยในศิลาจารึกหลักที่ 1 มีความ มีลักษณะพิเศษกวาตัวอักษรของชาติอื่น ซึ่งไดรับอิทธิพลมาจากอินเดีย กลาวคือ
สําคัญในแงที่ทําใหทราบพัฒนาการของตัวอักษรไทย จนมาเปนอยางที่ใชใน ชาติอื่นขอยืมตัวอักษรของอินเดียมาใชโดยมิไดประดิษฐพยัญชนะ และสระเพิ่มขึ้น
ปจจุบัน ขณะเดียวกันก็จะทําใหเกิดความสํานึกในผลงานของบรรพบุรุษไทย ใหพอกับเสียงพูดของคนที่ใชภาษา
ที่ไดคิดสรางสรรคผลงาน จนทําใหเราไดมีตัวอักษรของตนเองใชอยางเปน วิวัฒนาการทางอักษรไทยมีแมแบบมาจากตัวอักษรของฟนีเซีย ซึ่งเปนอักษร
เอกลักษณ ซึ่งทําใหเกิดความรูสึกภาคภูมิในชาติและวัฒนธรรมไทย เกาแกที่สุด ขยายอิทธิพลสูอินเดียตอนเหนือ คือ อักษรพราหมี และอินเดียตอนใต
คือ อักษรสันสกฤตของราชวงศปลลวะ จากนั้นชาติตางๆ นําไปใชและดัดแปลง
อาทิ ดัดแปลงไปเปนอักษรขอมหวัดและอักษรมอญ และพัฒนามาเปนลายลือไท

คูมือครู 37
ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand Evaluate
Engage Explore Explain
ขยายความเขาใจ Expand
นักเรียนเขียนสรุปความสําคัญของการมีศิลา
จารึกหลักที่ 1 เปนขอๆ ๔. ตัวพยัญชนะสมัยพ่อขุนรามค�าแหงมหาราช มีไม่ครบ ๔๔ ตัว ตัวที่ไม่มี ได้แก่ ฌ ฑ ฒ ฬ ฮ
(แนวตอบ ความสําคัญของศิลาจารึกสรุปเปน ๕. ตัวเลขไทยมีไม่ครบ ๑๐ ตัว ตัวที่ไม่มี ได้แก่ ๓ ๖ ๘ ๙
ขอๆ ได ดังนี้ ๖. ตั ว อั ก ษรไทยสมั ย พ่ อ ขุ น รามค� า แหงมหาราชมี ก ารเปลี่ ย นแปลงแก้ ไขรู ป และวิ ธี เขี ย น
1. ศิลาจารึกเปนสมบัติของชาติ และเปน หลายครั้ง บางรูปอาจเปลี่ยนไปมาก บางรูปยังมีเค้ารูปเดิมอยู่จนเป็นรูปอักษรปัจจุบัน
หลักฐานทางประวัติศาสตรชิ้นสําคัญ
2. สะทอนความเจริญทางภาษาของชาติ และ
๔ เรื่องย่อ
เปนประโยชนดานการศึกษาวิจัย เนื้อหาจากศิลาจารึก บันทึกเรื่องราวเป็น ๓ ตอน คือ
ตอนที่ ๑ ตัง้ แต่บรรทัดที ่ ๑ - ๑๘ ด้านที ่ ๑ กล่าวถึงพระราชประวัตพิ อ่ ขุนรามค�าแหงมหาราช
3. สรางความภาคภูมิใจในชาติไทยและคนไทย
ตอนที่ ๒ เริ่มจากบรรทัดที่ ๑๘ ด้านที่ ๑ รวมด้านที่ ๒ ทั้งหมด จนถึงบรรทัดที่ ๑๑ ของ
ไดรับการถายทอดเรื่องราวความเปนมาของ
ด้านที ่ ๓ เนือ้ หาเล่าเหตุการณ์ตา่ งๆ ขนบธรรมเนียมของอาณาจักรสุโขทัย การสร้างวัดพระศรีรตั นมหาธาตุ
ชาติไทยผานตัวอักษรตั้งแตบรรพบุรุษจนถึง เมืองศรีสัชนาลัย การสร้างพระแท่นมนังคศิลาบาตร และการประดิษฐ์ตัวอักษรไทยสมัยพ่อขุนราม
ลูกหลาน โดยเฉพาะเรื่องพัฒนาการของ ค�าแหงมหาราช
วรรณกรรมไทย) ตอนที่ ๓ เริ่มจากบรรทัดที่ ๑๒ ด้านที่ ๓ จนจบด้านที่ ๔ กล่าวสรรเสริญพระเกียรติของ
พ่อขุนรามค�าแหงมหาราช และกล่าวถึงการขยายอาณาเขต
ตรวจสอบผล Evaluate ของอาณาจักรสุโขทัยที่แผ่ไพศาล
ตอนที่ ๑ จากการสันนิษฐานคาดว่าน่าจะเป็น
1. ปายนิเทศและนิทรรศการเกี่ยวกับประวัติของ
พระราชนิ พ นธ์ ข องพ่ อ ขุ น รามค� า แหงมหาราช
พอขุนรามคําแหงมหาราชและศิลาจารึก
เพราะใช้สรรพนามว่า กู ส่วนตอนที่ ๒ และ
หลักที่ 1 ตอนที่ ๓ น่าจะมีผู้อื่นมาช่วยแต่งต่อ เพราะใช้
2. นักเรียนสรุปความสําคัญของศิลาจารึก สรรพนามแทนพระองค์ว่าพ่อขุนรามค�าแหง
หลักที่ 1 ได
3. นักเรียนฝกเขียนลายสือไทเปนชื่อและนามสกุล
พรอมประวัติของตนเองโดยสังเขปได

วัดพระพายหลวง เป็นวัดส�าคัญอีกแห่งหนึ่งในสมัยสุโขทัย ซึ่งได้ระบุไว้ในศิลาจารึกหลักที่ ๑ ด้านที่ ๓


38

ขอสอบเนน การคิด
บูรณาการอาเซียน แนว  NT  O-NE T
ภาษา นอกจากจะเปนเครือ่ งมือในการสือ่ สารกันระหวางคนในสังคมแลว ยังเปน ขอใดเปนขอสันนิษฐานที่สมเหตุสมผล สําหรับความแตกตางของรูปภาษา
เครือ่ งมือในการสะสมความรูทั้งทางศิลปะ วัฒนธรรม และวิชาการตางๆ ที่สามารถ ในสมัยพอขุนรามคําแหง จากคําวา “หีน กดึง ปตู” ตรงกับคําในปจจุบันวา
ชวยใหถายทอดความรูเหลานั้นสืบตอกันมาได ดังนั้นทุกชาติจึงรักษาสืบทอด “หิน กระดิ่ง ประตู” ตามลําดับ
องคความรูตางๆ ผานทางภาษา 1. คนสมัยสุโขทัยออกเสียงคําตางกันกับคนสมัยปจจุบนั จึงมีรปู ภาษาตางกัน
ชาติอาเซียนมีความหลากหลายทั้งชาติพันธุ วัฒนธรรม รวมทั้งภาษา เมื่อพูดคุย 2. ในสมัยสุโขทัยยังไมมีภาษาใชจึงไมมีการกําหนดกฎเกณฑในการใช
กับคนจากชาติสมาชิกอาเซียนอืน่ สวนใหญจะไมสามารถสือ่ สารกันได หากไมใชภาษา 3. สมัยสุโขทัยยังไมมกี ารรวบรวมคําศัพทไวในพจนานุกรม จึงเขียนตางกัน
อังกฤษ ยกเวนกรณีภาษาไทยกับภาษาลาว และภาษามาเลเซียกับภาษาอินโดนีเซีย 4. การจารึกอักษรบนหินยากกวาการเขียน จึงตองสะกดคําใหงาย เพื่อให
ซึ่งมีความใกลเคียงกันอยูพอสมควร แตกระนั้น แมแตในประเทศอินโดนีเซียเอง ยัง จารึกไดงาย
มีภาษาที่แตกตางกันกวา 100 ภาษา การสื่อสารกันในหมูชาวอาเซียนไมใชเรื่องงาย วิเคราะหคําตอบ สมัยสุโขทัยมีกฎเกณฑลักษณะการเขียนที่ชัดเจน และ
เพราะแตละชาติในอาเซียนมีภาษาประจําชาติ ถาไมใชภาษาอังกฤษ แตกําหนดให การจารึกเปนวิธีการบันทึกลายลักษณอักษรอยางหนึ่งที่ทําใหรูปอักขระเปน
ใชภาษาของชาติอาเซียนชาติใดชาติหนึง่ เปนภาษากลาง ก็เปนเรือ่ งยากวาจะกําหนด รองลึกลงไป แมขั้นตอนจะยากกวาการเขียนแตมีหลักการอยางเดียวกัน คือ
ใหเปนภาษาใด โดยไมเปนการลดความสําคัญของภาษาชาติอื่นในอาเซียน ดังนั้น ถอดคําพูดมาจารึกรูปภาษา ดังนั้นหากพูดหรือออกเสียงตางกัน แมจะใช
อาเซียนจึงตองใชภาษาอังกฤษเปนภาษากลางอยางหลีกเลี่ยงไมได อักขระชุดเดียวกันก็ทําใหรูปภาษาตางกัน ตอบขอ 1.

38 คูมือครู
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู
Engage Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน ความสนใจ Engage
ครูสนทนารวมกับนักเรียนเกี่ยวกับความ
๕ เนืéอเรื่อง นาสนใจของลายสือไทและความนาภาคภูมิใจที่
ไทยมีตัวอักษรใชเปนของตนเอง แลวนําภาพ
ตัวอักษรและภาษาทีใ่ ช้ในสมัยสุโขทัยและปัจจุบนั มีความแตกต่างกัน จึงต้องมีการเทียบตัวอักษร
สถานที่ที่ปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ 1 มาให
แล้วแปลความหมาย ดังตัวอย่างอักษรในศิลาจารึก ด้านที่ ๑ ดังนี้
นักเรียนดูจากนั้นรวมกันแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับภาพดังกลาว

สํารวจคนหา Explore
นักเรียนคนควาบทความทางการศึกษา
ที่กลาวถึงความสําคัญและสาระของศิลาจารึก
หลักที่ 1 จากหนังสือและเว็บไซตตางๆ

อธิบายความรู Explain
นักเรียนอานออกเสียงศิลาจารึกหลักที่ 1
ดานที่ 1 บรรทัดที่ 1-20 พรอมเพรียงกัน จากนั้น
รวมสรุปสิ่งที่กลาวไวในศิลาจารึกหลักที่ 1 เปน
สํานวนภาษาในปจจุบัน บันทึกลงสมุด
(แนวตอบ สาระสําคัญของศิลาจารึกหลักที่ 1
เบื้องตนเปนการบอกเลาเรื่องราว พระราชประวัติ
พอขุนรามคําแหง ซึ่งทรงบอกเลาดวยพระองคเอง
ตั้งแตทรงพระเยาวจนถึงขึ้นครองราชย แสดงให
เห็นถึงความอุดมสมบูรณของสุโขทัย และวิถีชีวิต
ของคนไทยในสมัยสุโขทัย ที่อยูรวมกันดวยนํ้าใจ
ไมตรี)

39

บูรณาการเชื่อมสาระ
ครูสามารถศึกษาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับขอมูลประวัติความเปนมาของ เกร็ดแนะครู
ศิลาจารึกไดจากการบูรณาการความรูเขากับกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา
ครูจัดกิจกรรมเสริมทักษะในการเรียนรูเกี่ยวกับศิลาจารึกหลักที่ 1 นอกเหนือ
ศาสนา และวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร โดยนักเรียนพิจารณาความสัมพันธ
จากความรูเกี่ยวกับวิชาการดานภาษาศาสตร อักษรศาสตร และนิรุกติศาสตร โดย
ระหวางประวัติศาสตรกับการประดิษฐอักษรในศิลาจารึก ทั้งนี้ควรพิจารณา
ใหนักเรียนไดพัฒนาทักษะในดานภาษา โดยครูจัดใหนักเรียนทําบันทึกขนาดสั้นที่มี
ความสําคัญของศิลาจารึกในแงที่เปนหลักฐานทางประวัติศาสตรที่มีความ
ลักษณะการใชภาษาสื่อความไดอยางเรียบงาย และมีสัมผัสไพเราะคลองจอง
สําคัญตอการศึกษาสภาพสังคมของคนในสมัยสุโขทัย เปนยุคที่เริ่มมีการ
เชนเดียวกับที่ปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ 1 ซึ่งบันทึกเรื่องราวเหตุการณตางๆ
บันทึกเรื่องราวทางประวัติศาสตรไทยอยางเปนทางการ เพราะมีการประดิษฐ
ในสมัยพอขุนรามคําแหง
อักษรไทยขึ้นใชเปนครั้งแรก

มุม IT
ศึกษาเกี่ยวกับอักษรศิลปในศิลาจารึกพอขุนรามคําแหงเพิ่มเติม ไดที่
http://shalawan.www2.50megs.com/jaruk-discuss.htm

คูมือครู 39
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู Explain
จากการอานจารึกพอขุนรามคําแหงดานที่ 1
บรรทัดที่ 1-20 นักเรียนตอบคําถาม ตอไปนี้
• ภายหลังการสวรรคตของพอขุนศรีอนิ ทราทิตย
พอขุนรามคําแหงทรงปฏิบัติพระองคอยางไร
(แนวตอบ เมื่อพอขุนศรีอินทราทิตยผูเปน
พระราชบิดาสวรรคต พอขุนรามคําแหงทรง
ปฏิบัติตอพระเชษฐา คือ พอขุนบานเมือง
ดวยความจงรักภักดี จนกระทั่งพระเชษฐา
สวรรคต พระองคก็เสด็จขึ้นครองราชย)
2. นักเรียนบันทึกความเขาใจลงในสมุด

ขยายความเขาใจ Expand
1. นักเรียนจับคูใชดินสอเขียนขอความลายสือไท
พรอมคําแปล จากศิลาจารึกหลักที่ 1 ลงใน
บัตรคํา คูละ 1 ขอความ จากนั้นนําไปติดเรียง
ตอกันบริเวณปายนิเทศที่จัดแสดงไว
2. นักเรียนนําบัตรคําที่ตนเองเขียนมาแลกเปลี่ยน
รวมกันกับผลงานของเพื่อนจนครบ จากนั้นรวม
ชื่นชมในความสามารถของตนเองและเพื่อน

ตรวจสอบผล Evaluate
1. นักเรียนอานและเขียนลายสือไทในศิลาจารึก
หลักที่ 1 ได
2. นักเรียนแปลเนื้อเรื่องศิลาจารึกหลักที่ 1 ที่เปน
ลายสือไทได

(ที่มา: หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร)

40

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ครูเพิ่มเติมความรูใหนักเรียนเกี่ยวกับคําที่ปรากฏในหลักศิลาจารึกวา ขอใดสะทอนคานิยมเรื่องความกตัญู
พอขุนรามคําแหงมหาราชทรงประดิษฐรูปวรรณยุกตขึ้น ทําใหสามารถอาน 1. พอกูจึ่งขึ้นชื่อกูชื่อรามคําแหง เพื่อกูพุงชางขุนสามชน
ความหมายของคําไดถูกตองโดยไมตองดูขอความประกอบทั้งประโยค และ 2. กูบหนี กูขี่ชางเบกพล กูขับเขากอนพอกู
คําบางคําที่พบในศิลาจารึกหลักที่ 1 สวนใหญเปนคําโบราณ ปจจุบันคําเหลานี้ 3. กูพรํ่าบําเรอแกพี่กู ดั่งบําเรอแกพอกู
เปลี่ยนแปลงไปบาง เลิกใชไปบาง หรือไมเปนที่นิยมนํามาใชในปจจุบัน เชน 4. พี่กูตาย จึ่งไดเมืองแกกูทั้งกลม
คําวา “เงือน” ปจจุบันออกเสียงวา “เงิน” คําวา “ขึ้นชื่อ” ปจจุบันมีความหมายวา วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. เปนการเลาที่มาของชื่อผูบันทึกวาชื่อ “รามคําแหง”
เปนที่รูจักกันดี ลือชื่อถูกเอยถึงบอยๆ ไมไดมีความหมายวา ตั้งชื่อหรือเรียกชื่อ ขอ 2. เมื่อเกิดศึกผูบันทึกก็ขี่ชางพุงชนศัตรูกอนพอ ซึ่งแสดงใหเห็นความ
เหมือนแตกอน เปนตน กลาหาญ ขอ 3. ผูบันทึกดูแลและสนับสนุนพี่ดั่งที่ปฏิบัติกับพอ แสดงใหเห็น
ความกตัญูกับผูที่อาวุโสกวาในครอบครัว สวนขอ 4. เมื่อพี่สิ้นแลวจึงได
ขึ้นครองเมืองแทน ขอที่สะทอนคานิยมเรื่องความกตัญูเดนชัดที่สุด คือ
การปฏิบัติตอพี่เชนเดียวกับปฏิบัติตอพอ ตอบขอ 3.

40 คูมือครู
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู
Engage Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน ความสนใจ Engage
ครูยกสํานวนจากศิลาจารึกหลักที่ 1
ค�าอ่านศิลาจารึกหลักที่ ๑ “ในนํ้ามีปลา ในนามีขาว” แลวใหนักเรียนรวมกัน
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพสังคมในสมัย
สุโขทัยจากสํานวนที่ครูยกมา
ด้านที่ ๑ (แนวตอบ สังคมในสมัยสุโขทัยมีขาวปลาอาหาร
พ่อกูชื่อศรีอินทราทิตย์ แม่กูชื่อนางเสือง พี่กูชื่อบานเมือง ตูพี่น้องท้องเดียวห้าคน ผู้ชายสาม อุดมสมบูรณ ทําใหประชาชนอยูดีมีสุข)
ผู้ญีงโสง พี่เผือผู้อ้ายตายจากเผือเตียมแต่ยังเล็ก เมื่อกูขึ้นใหญ่ได้สิบเก้าเข้า ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอด
มาท่เมืองตาก พ่อกูไปรบขุนสามชน หัวซ้ายขุนสามชนขับมา หัวขวาขุนสามชนเกลื่อนเข้า ไพร่ฟ้า สํารวจคนหา Explore
หน้าใสพ่อกู หนีญญ่ายพายจแจ้น กูบ่หนี กูขี่ช้างเบกพล กูขับเข้าก่อนพ่อกู กูต่อช้างด้วยขุนสามชน
ตนกูพุ่งช้างขุนสามชนตัวชื่อมาสเมือง แพ้ ขุนสามชนพ่ายหนี พ่อกูจึ่งขึ้นชื่อกูชื่อพระรามค�าแหง นักเรียนแบงกลุมเปน 4 กลุม แตละกลุม
เพื่อกูพุ่งช้างขุนสามชน เมื่อชั่วพ่อกู กูบ�าเรอแก่พ่อกู กูบ�าเรอแก่แม่กู กูได้ตัวเนื้อตัวปลา กูเอามาแก่ รับผิดชอบการศึกษาคนควาสาระสําคัญของ
พ่อกู กูได้หมากส้มหมากหวาน อันใดกินอร่อยกินดี กูเอามาแก่พ่อกู กูไปตีหนังวังช้างได้ กูเอามาแก่ ศิลาจารึกแตละดาน
พ่อกู กูไปท่บ้านท่เมือง ได้ช้างได้งวง ได้ปั่วได้นาง ได้เงือนได้ทอง กูเอามาเวนแก่พ่อกู พ่อกูตายยังพี่กู
กูพร�่าบ�าเรอแก่พี่กูดั่งบ�าเรอแก่พ่อกู พี่กูตาย จึ่งได้เมืองแก่กูทั้งกลม เมื่อชั่วพ่อขุนรามค�าแหง อธิบายความรู Explain
เมืองสุโขทัยนีด้ ี ในน�า้ มีปลา ในนามีขา้ ว เจ้าเมืองบ่เอาจกอบในไพร่ ลูทา่ งเพือ่ นจูงวัวไปค้า ขีม่ า้ ไปขาย นักเรียนกลุมที่ 1 รวมกันศึกษาเนื้อเรื่อง
ใครจักใคร่ค้าช้าง ค้า ใครจักใคร่ค้าม้า ค้า ใครจักใคร่ค้าเงือนค้าทองค้า ไพร่ฟ้าหน้าใส ลูกเจ้าลูกขุน ศิลาจารึกดานที่ 1 ในหนังสือเรียน หนา 41 และ
ผูใ้ ดแล้ ล้มตายหายกว่า เหย้าเรือนพ่อเชือ้ เสือ้ ค�ามัน ช้างขอลูกเมียเยียข้าว ไพร่ฟา้ ข้าไท ป่าหมากป่าพลู ชวยกันตอบคําถามในประเด็น ดังนี้
พ่อเชื้อมัน ไว้แก่ลูกมันสิ้น ไพร่ฟ้าลูกเจ้าลูกขุน ผิแลผิดแผกแสกว้างกัน สวนดูแท้แล้ จึ่งแล่งความ • สาระสําคัญในศิลาจารึกดานที่ 1 มีอะไรบาง
แก่ขาด้วยซื่อ บ่เข้าผู้ลักมักผู้ซ่อน เห็นข้าวท่านบ่ใคร่พีน เห็นสินท่านบ่ใคร่เดือด คนใดขี่ช้างมาหา (แนวตอบ ดานที่ 1 กลาวถึงพระราชประวัติ
พาเมืองมาสู่ช่อยเหนือเฟื้อกู้ มันบ่มีช้างบ่มีม้า บ่มีปั่วบ่มีนาง บ่มีเงือนบ่มีทอง ให้แก่มัน ช่อยมันตวง พอขุนรามคําแหงมหาราช สภาพวิถีชีวิต
เป็นบ้านเป็นเมือง ได้ข้าเสือกข้าเสือ หัวพุ่งหัวรบก็ดี บ่ฆ่าบ่ตี ในปากประตูมีกะดิ่งอันณื่งแขวนไว้หั้น ความเปนอยูของประชาชน เชน การคาขาย
ไพร่ฟ้าหน้าปก กลางบ้านกลางเมือง มีถ้อยมีความ เจ็บท้องข้องใจ มันจักกล่าวเถิงเจ้าเถิงขุนบ่ไร้ กฎหมาย การสงคราม เปนตน)
ไปลั่นกะดิ่งอันท่านแขวนไว้ พ่อขุนรามค�าแหงเจ้าเมืองได้ • ในหลักศิลาจารึกกลาวถึงบุคคลใดบาง
(แนวตอบ พอขุนศรีอินทราทิตย
ด้านที่ ๒ นางเสือง พอขุนบานเมือง ขุนสามชน
พอขุนรามคําแหง)
ยินเรียกเมือถาม สวนความแก่มันด้วยซื่อ ไพร่ในเมืองสุโขทัยนี้จึ่งชม สร้างป่าหมากป่าพลู
ทั่วเมืองนี้ทุกแห่ง ป่าพร้าวก็หลายในเมืองนี้ ป่าลางก็หลายในเมืองนี้ หมากม่วงก็หลายในเมื
1 องนี้
หมากขามก็หลายในเมืองนี้ ใครสร้างได้ไว้แก่มัน กลางเมืองสุโขทัยนี้ มีน�้าตระพังโพยสี ใสกินดี...
ดั่งกินน�้าโขงเมื่อแล้ง รอบเมืองสุโขทัยนี้ ตรีบูร ได้สามพันสี่ร้อยวา คนในเมืองสุโขทัยนี้ มักทาน
มักทรงศีล มักโอยทาน พ่อขุนรามค�าแหงเจ้าเมืองสุโขทัยนี้ ทั้งชาวแม่ชาวเจ้า ท่วยปั่วท่วยนาง
4๑

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
“เมืองสุโขทัยนี้ดี ในนํ้ามีปลาในนามีขาว เจาเมืองบเอาจกอบในไพร
ครูควรใหนักเรียนอานออกเสียงคําอานหลักศิลาจารึกพรอมเพรียงกัน ใหถูกตอง
ลูทางเพื่อนจูงวัวไปคา ขี่มาไปขาย”
ตามอักขรวิธี ทั้งตัว ร ล ตัวควบกลํ้า อานออกเสียงใหตรงตามเสียงวรรณยุกต
ขอใดเปนขอสรุปของขอความขางตน
ครูแนะใหนักเรียนระมัดระวังการอานใหถูกจังหวะวรรคตอน เพราะหากอานผิด
1. เปนหลักฐานทางประวัติศาสตร ที่ใชภาษาไทยจารึกไวในหลักศิลา
วรรคตอนจะทําใหเสียความ ผอู า นตองทําความเขาใจเนือ้ หาทีอ่ า น ศึกษาความหมาย
จารึกของพอขุนรามคําแหง
ของคํา กลุมคํา และสํานวนในเรื่องใหเขาใจ เพื่อใหการอานไมติดขัด จากนั้นให
2. เปนหลักฐานใหคนไทยไดรูวาประเทศไทยมีอักษรไทยใชมาตั้งแต
นักเรียนทบทวนความรูความเขาใจเกี่ยวกับเรื่องที่อาน โดยใหสรุปเนื้อเรื่องเปน
สมัยพอขุนรามคําแหง
สํานวนภาษาของนักเรียนเอง
3. เปนหลักฐานวาในสมัยสุโขทัยมีการปกครองแบบพอปกครองลูก
4. บอกสภาพบานเมืองที่เจริญรุงเรืองคาขายโดยอิสรเสรี
วิเคราะหคําตอบ จากขอความที่จารึกไวในศิลาจารึก กลาวถึงสภาพ นักเรียนควรรู
ความเปนอยูของเมืองสุโขทัย ที่ขาวปลาอาหารมีความอุดมสมบูรณ มีการ
คาขายที่เจริญ ขอสรุปตามขอความดังกลาว คือ บานเมืองมีความเจริญ 1 ตระพังโพยสี เปนสระนํ้าในอดีตของสุโขทัยมีสระนํ้าสําคัญ 4 แหง ไดแก
ทั้งดานสภาพความเปนอยูและการคาขาย ตอบขอ 4. ตระพังเงิน ตระพังทอง ตระพังตะกวน และตระพังโพยสี

คูมือครู 41
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
1. นักเรียนกลุมที่ 2 รวมกันศึกษาเนื้อเรื่อง
ศิลาจารึกดานที่ 2 ในหนังสือเรียน หนา 42 ลูกเจ้าลูกขุน ทัง้ สิน้ ทัง้ หลาย ทัง้ ผูช้ ายผูญ
้ งี ฝูงท่วยมีศรัทธาในพระพุทธศาสน ทรงศีลเมือ่ พรรษาทุกคน
และรวมกันตอบคําถาม ประเด็น ดังนี้ เมื่อออกพรรษากรานกฐิน เดือนณื่งจึ่งแล้ว เมื่อกรานกฐิน มีพนมเบี้ย มีพนมหมาก มีพนมดอกไม้
• สาระสําคัญในศิลาจารึกดานที่ 2 มีอะไรบาง มีหมอนนั่งหมอนโนน บริพารกฐินโอยทานแล่ปีแล้ญิบล้าน ไปสูดญัติกฐินเถิงอไรญิกพู้น เมื่อจัก
(แนวตอบ ความอุดมสมบูรณดานพืชพันธุ เข้ามาเวียงเรียง กันแต่อไรญิกพูน้ เท้าหัวลาน ดงบงคมกลองด้วยเสียงพาดเสียงพิณ เสียงเลือ้ นเสียงขับ1
ธัญญาหาร นํ้ากินนํ้าใช อุปนิสัยชาวสุโขทัย ใครจักมักเล่น เล่น ใครจักมักหัว หัว ใครจักมักเลื้อน เลื้อน เมืองสุโขทัยนี้ มีสี่ปากประตูหลวง
ที่ใฝทางการทําบุญทําทานและความศรัทธา เทีย้ รย่อมคนเสียดกัน เข้ามาดูทา่ นเผาเทียน ท่านเล่นไฟ เมืองสุโขทัยนี ้ มีดงั่ จักแตก กลางเมืองสุโขทัย
ในพระพุทธศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี นี้ มีพิหาร มีพระพุทธรูปทอง มีพระอัฏฐารศ มีพระพุทธรูป มีพระพุทธรูปอันใหญ่ มีพระพุทธรูป
เชน การทอดกฐิน การเผาเทียนเลนไฟ ความ อันราม มีพิหารอันใหญ่ มีพิหารอันราม มีปู่ครูนิสัยมุตก์ มีเถร มีมหาเถร เบื้องตะวันตก เมืองสุโขทัย
เจริญรุงเรืองทางศาสนา เชน มีการสราง นี้ มีอไรญิก พ่อขุนรามค�าแหงกระท�า โอยทานแก่มหาเถร สังฆราชปราชญ์ เรียนจบปิฎกไตรหลวัก
พระพุทธรูป วิหาร เปนตน) กว่าปู่ครูในเมืองนี้ ทุกคนลุกแต่เมืองศรีธรรมราชมา ในกลางอรัญญิก มีพิหารอันณื่งมนใหญ่ สูงงาม
2. นักเรียนกลุมที่ 3 รวมกันศึกษาเนื้อเรื่อง แก่กม มีพระอัฏฐารศอันณื่ง ลุกยืน เบื้องตะวันโอกเมืองสุโขทัยนี้ มีพิหาร มีปู่ครู มีทะเลหลวง
ศิลาจารึกดานที่ 3 ในหนังสือเรียน หนา 42 มีป่าหมากป่าพลู มีไร่ มีนา มีถิ่นถาน มีบ้านใหญ่บ้านเล็ก มีป่าม่วงมีป่าขาม ดูงามดังแกล้-
และชวยกันตอบคําถามในประเด็น ดังนี้

• สาระสําคัญในศิลาจารึกดานที่ 3 มีอะไรบาง
(แนวตอบ กลาวถึงอาณาเขตของอาณาจักร ด้านที่ ๓
2 3
สุโขทัย สถานที่ เชน ตลาดปสาน ปราสาท (งแต่)ง เบื
เบื้องตีนนอนเมืองสุโขทัยนี้ มีตลาดปสาน มีมีพระอจนะ
ระอจนะ มีปราสาท มีป่าหมากพร้าว
พิหาร ศาลา เปนตน นอกจากนี้ยังกลาวถึง ป่าหมากลาง มีไร่ มีนา มีถิ่นถาน มีบ้านใหญ่บ้านเล็ก เบื้องหัวนอนเมืองสุโขทัยนี้ มีกุฎีพิหาร ปู่ครูอยู่
การนับถือผีสางเทวดา ผีบานผีเมือง การ มีสรีดภงส์ มีป่าพร้าว ป่าลาง มีป่าม่วง ป่าขาม มีน�้าโคก มีพระขพุง ผีเทพดาในเขาอันนั้น เป็นใหญ่
ฟงธรรมของพอขุนรามคําแหง) กว่าทุกผีในเมืองนี้ ขุนผู้ใดถือเมืองสุโขทัยนี้แล้ ไหว้ดีพลีถูก เมืองนี้เที่ยง เมืองนี้ดี ผิไหว้บ่ดี พลีบ่ถูก
ผีในเขาอัน้ บ่คมุ้ บ่เกรง เมืองนีห้ าย ๑๒๑๔ ศก ปีมะโรง พ่อขุนรามค�าแหงเจ้าเมืองศรีสชั ชนาลัยสุโขทัยนี้
ขยายความเขาใจ Expand ปลูกไม้ตาลนี้ ได้สิบสี่เข้า จึ่งให้ชั่งฟันขดานหิน ตั้งหว่างกลางไม้ตาลนี้ วันเดือนดับ เดือนโอกแปด
จากการศึกษา ศิลาจารึกหลักที่ 1 ดานที่ 3 วัน วันเดือนเต็ม เดือนบ้างแปดวัน ฝูงปู่ครู เถร มหาเถร ขึ้นนั่งเหนือขดานหินสูดธรรมแก่อุบาสก
• นักเรียนคิดวาอะไรเปนเครื่องแสดงถึงความ ฝูงท่วยจ�าศีล ผิใช่วันสูดธรรม พ่อขุนรามค�าแหง เจ้าเมืองศรีสัชชนาลัยสุโขทัย ขึ้นนั่งเหนือขดานหิน
เจริญรุงเรืองทางศาสนาของอาณาจักรสุโขทัย ให้ฝูงท่วยลูกเจ้าลูกขุน ฝูงท่วยถือบ้านถือเมือง ครั้นวันเดือนดับเดือนเต็ม ท่านแต่งช้างเผือก
(แนวตอบ การที่ประชาชนมีใจใฝทางศาสนา กระพัดลยาง เที้ยรย่อมทองงา(ซ้าย) ขวา ชื่อรูจาครี พ่อขุนรามค�าแหง ขึ้นขี่ไปนบพระ(เถิง) อรัญญิก
ศรัทธาเลื่อมใส อีกทั้งการที่มีการสรางวัด แล้วเข้ามา จารึกอันณื่ง มีในเมืองเชลียง สถาบกไว้ ด้วยพระศรีรัตนธาตุ จารึกอันณื่ง มีในถ�้า
วิหาร พระพุทธรูป ทั้งนี้ ความเจริญรุงเรือง ชื่อถ�้าพระราม อยู่ฝั่งน�้าส�าพาย จารึกอันณื่ง มีในถ�้ารัตนธาร ในกลวงป่าตาลนี้ มีศาลาสองอัน อัน
ทางศาสนาของอาณาจักรสุโขทัยก็เพราะ ณื่งชื่อศาลาพระมาส อันณื่งชื่อพุทธศาลาขดานหินนี้ ชื่อมนังศิลาบาตร สถาบกไว้นี่ จึ่งทั้งหลายเห็น
พอขุนรามคําแหงทรงเปนแบบอยางที่ดี)
42

กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
ครูแนะความรูเ พิม่ เติมโดยยกขอความทีส่ ะทอนความเชือ่ เรือ่ งการนับถือผี ความวา นักเรียนตอยอดความรูดวยการสืบคนขอมูลเกี่ยวกับประเพณี
“มีพระขพุง ผีเทพดาในเขาอันนัน้ เปนใหญกวาทุกผีในเมืองนี้ ขุนผูใ ดถือเมืองสุโขทัย การทอดกฐินและประเพณีเผาเทียนเลนไฟ จากนั้นสรุปความรูที่ไดจาก
นี้แล ไหวดีพลีถูก เมืองนี้เที่ยง เมืองนี้ดี ผิไหวบดี พลีบถูก ผีในเขาอั้นบคุม บเกรง” การศึกษาขอมูล พรอมบันทึกความเขาใจลงในสมุด

นักเรียนควรรู
1 สี่ปากประตูหลวง หมายถึง ประตูเมือง 4 ทิศ ไดแก ทิศเหนือประตูศาลหลวง
กิจกรรมทาทาย
ทิศใตประตูนะโม ทิศตะวันออกประตูกําแพงหัก ทิศตะวันตกประตูออ
2 เบื้องตีนนอน เปนคําใชเรียกทิศเหนือในสมัยสุโขทัย นักเรียนยกเนื้อความที่แสดงใหเห็นประเพณีวัฒนธรรมของสังคม
ในสมัยสุโขทัย พรอมบันทึกความเขาใจลงในสมุด
3 พระอจนะ หมายถึง พระประธานปางมารวิชัยประดิษฐานภายในมณฑปวัด
ศรีชุม จังหวัดสุโขทัย ตามการสันนิษฐานของนักโบราณคดี ชื่อคําวา “อจนะ”
แปลวา ผูไมหวั่นไหว

42 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู Explain
นักเรียนกลุมที่ 4 รวมกันศึกษาเนื้อเรื่อง
ศิลาจารึกดานที่ 4 ในหนังสือเรียนหนา 43
ด้านที่ ๔ และชวยกันตอบคําถามในประเด็น ดังนี้
พ่อขุนพระรามค�าแหง ลูกพ่อขุนศรีอินทราทิตย์เป็นขุนในเมืองศรีสัชชนาลัยสุโขทัย ทั้งมา • สาระสําคัญในศิลาจารึกดานที่ 4 มีอะไรบาง
กาวลาวแลไทยเมืองใต้หล้าฟ้าฏ... ไทยชาวอูชาวของมาออก ๑๒๐๗ ศกปีกุน ให้ขุดเอาพระธาตุออก (แนวตอบ กลาวถึง การสรางพระธาตุ การ
ทัง้ หลายเห็น กระท�าบูชาบ�าเรอแก่พระธาตุได้เดือนหกวัน จึง่ เอาลงฝังในกลางเมืองศรีสชั ชนาลัยก่อพระ ประดิษฐลายสือไทและอาณาเขตของเมือง
เจดียเ์ หนือหกเข้าจึง่ แล้ว ตัง้ เวียงผาล้อมพระมหาธาตุ สามเข้าจึง่ แล้ว เมือ่ ก่อนลายสือไทยนีบ้ ม่ ี ๑๒๐๕ สุโขทัย)
ศกปีมะแม พ่อขุนรามค�าแหง หาใคร่ใจในใจ แล่ใส่ลายสือไทยนี้ ลายสือไทยนี้จึ่งมีเพื่อขุนผู้นั้นใส่ไว้ • ขอความสวนใดทีก่ ลาวไววา พอขุนรามคําแหง
พ่อขุนพระรามค�าแหงนัน้ หาเป็นท้าวเป็นพระยาแก่ไทยทัง้ หลาย หาเป็นครูอาจารย์สงั่ สอนไทยทัง้ หลาย เปนผูประดิษฐลายสือไท
ให้รู้บุญรู้ธรรมแท้ แต่คนอันมีในเมืองไทยด้วย รู้ด้วยหลวัก ด้วยแกล้วด้วยหาญ ด้วยแคะ ด้วยแรง1 (แนวตอบ “เมื่อกอนลายสือไทยนี้บมี 1205
หาคนจัก2เสมอมิได้ อาจปราบฝูงข้าเสิก มีเมืองกว้างช้างหลาย ปราบเบื้องตะวันออก รอด สรลวง ศกปมะแม พอขุนรามคําแหง หาใครใจในใจ
สองแคว
สองแคว ลุมบาจาย สคา เท้าฝั่งของเถิงเวียงจันทน์เวียงค�าเป็นที่แล้ว เบื้(อ)งหัวนอน รอดคนที แลใสลายสือไทยนี้ ลายสือไทยนี้จึ่งมีเพื่อ
พระบาง แพรก สุพรรณภูมิ ราชบุรี เพชรบุรี ศรีธรรมราช ฝั่งทะเลสมุทรเป็นที่แล้ว เบื้องตะวันตก ขุนผูนั้นใสไว”)
รอดเมืองฉอด เมือง...น หงสาวดี 3สมุทรหาเป็นแดน เบื้องตีนนอน รอดเมืองแพร่ เมืองม่าน เมือง
น... เมืองพลัว พ้นฝั่งของ เมืเมืองชวา เป็
งชวา นที่แล้ว ปลูกเลี้ยงฝูงลูกบ้านลูกเมืองนั้น ชอบด้วยธรรมทุกคน ขยายความเขาใจ Expand
นักเรียนเขียนแผนผังแสดงลักษณะการปกครอง
โดยแสดงอาณาเขตติดตอของอาณาจักรสุโขทัย
๖ คÓศัพท์ (แนวตอบ อาณาเขตของสุโขทัยแผขยายกวาง
ค�าศัพท์ ความหมาย ไกลในรัชสมัยของพอขุนรามคําแหงมหาราช โดยมี
อาณาเขต ดังนี้
เกลื่อนเข้า เคลื่อนทัพเข้า เคลื่อนพลเข้า ดาหน้าเข้ารบ ทิศตะวันออก ไดเมือง สรลวง สองแคว
ขา หมายถึง เขา จึ่งแล่งความแก่ขาด้วยซื่อ หมายถึง ตัดสินความแก่เขา ลุมบาจาย สคา ถึงเวียงจันทนและเวียงคํา
ด้วยความยุติธรรม ทิศตะวันตก ไดเมือง ฉอด หงสาวดี จนสุดฝงทะเล
ขึ้นชื่อ ตั้งชื่อ เรียกชื่อ ทิศเหนือ ไดเมือง แพร นาน พลัว จนถึงเมืองชวา
ทิศใต ไดเมือง คนที พระบาง แพรก สุพรรณภูมิ
ขึ้นใหญ่ เติบโตขึ้น มีอายุมากขึ้น
ราชบุรี เพชรบุรี นครศรีธรรมราช จนสุดฝงทะเล)
เข้า ปี การบอกเวลานับเป็นปีในการปลูกข้าว สิบเก้าเข้า หมายถึง อายุ
สิบเก้าปี ตรวจสอบผล Evaluate
เงือน เงิน
1. นักเรียนรวบรวมคําศัพทที่ใชในสมัยสุโขทัย
จกอบ ภาษี ซึ่งเปนคําที่ไมใชแลวในปจจุบันได
43 2. นักเรียนสรุปสาระสําคัญของเนื้อเรื่อง
ในศิลาจารึกหลักที่ 1 แตละดานได

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ขอใดมีการเปลี่ยนแปลงดานความหมายระดับคํา
ครูแนะความรูใหนักเรียนวา ในสมัยสุโขทัยนอกจากจะไดรับอิทธิพลพระพุทธ-
1. ปลูกเลี้ยงฝูงลูกบานลูกเมืองทุกคน ชอบดวยธรรมทุกคน
ศาสนานิกายเถรวาทแบบลังกาวงศจากนครศรีธรรมราช ยังนับถือผีบรรพบุรุษ
2. เมืองสุโขทัยนี้ดี ในนํ้ามีปลา ในนามีขาว
อันเปนความเชือ่ ดัง้ เดิม รวมถึงการนับถือเทพเจาตามอิทธิพลของศาสนาพราหมณ-ฮินดู
3. อันใดกินอรอยกินดี กูเอามาแกพอกู
ก็ยังมีอยูในสมัยสุโขทัยดวย
4. พอกูจึ่งขึ้นชื่อกูชื่อพระรามคําแหง
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. ทุกคําในขอความที่ยกมามีความหมายตรงตามที่
ใชในปจจุบัน แตมีการใชคําซอนซึ่งความหมายไมตางไปจากเดิมวา “ลูกบาน นักเรียนควรรู
ลูกเมือง” ขอ 2. มีความหมายตรงตามที่ใชในปจจุบันทุกคํา ขอ 3. มีการใช
คําซํ้าวา “กิน” แตยังคงเขาใจความหมายได เพราะมีความหมายเหมือนกับ 1 สรลวง คือ สระหลวง หรือเมืองพิจิตรในปจจุบัน
ทุกคําที่ใชในปจจุบัน และขอ 4. คําวา “ขึ้นชื่อ” มีความหมายตางไปจากเดิม 2 สองแคว ปจจุบัน คือจังหวัดพิษณุโลก เดิมเปนเมืองเกาของขอม เหตุที่
คือ เดิมมีความหมายวา ตั้งชื่อ แตปจจุบันมีความหมายวา มีชื่อเสียงเปนที่ เรียกวาสองแคว เพราะเปนเมืองที่อยูระหวางแมนํ้านานและแมนํ้าแควนอย
รูจัก ไมไดใช “ขึ้นชื่อ” เมื่อหมายถึงการตั้งชื่อเหมือนแตกอน ตอบขอ 4.
3 เมืองชวา คือ เมืองหลวงพระบางในปจจุบัน

คูมือครู 43
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู
Engage Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน ความสนใจ Engage
นักเรียนรวมกันระดมความคิดวิเคราะหเกี่ยวกับ
จุดประสงคของการถายทอดเรื่องราวตางๆ ผาน ค�าศัพท์ ความหมาย
ศิลาจารึกหลักที่ 1
ชั่ว ช่วงระยะเวลาหนึ่ง
(แนวตอบ การถายทอดเรื่องราวตางๆ ผาน
ศิลาจารึก มีเหตุผลที่สรุปได ดังนี้ ช่อยมันตวงเป็นบ้าน ช่วยเหลือเขาสร้างบ้านสร้างเมือง
1. เพื่อถายทอดเรื่องราวไวใหคนรุนตอๆ มาไดรู ได้ข้าเสือกข้าเสือ จับข้าศึกได้จากการรบก็ไม่ฆ่าไม่ตี ไม่ท�าทารุณกรรมใดๆ
2. เพื่อแสดงความสามารถในการเขียนและ หัวพุ่งหัวรบ บ่ฆ่าบ่ตี
การใชภาษา ได้ช้างได้งวง จับช้างได้
3. เพื่อเปนหลักฐานทางประวัติศาสตรที่เปน ได้ปั่วได้นาง ได้บ่าวไพร่ บริวาร ทั้งชายและหญิง (ปั่ว หมายถึง บ่าว ชายหนุ่ม
ลายลักษณอักษร) นาง หมายถึง ผู้หญิง)
ตนกู ตัวกู
สํารวจคนหา Explore ตีหนังวังช้าง จับช้าง คล้องช้าง (การคล้องช้างจะนิยมใช้หนังควั่นเป็นเชือกหรือบ่วง
ส�าหรับคล้องช้าง)
นักเรียนรวบรวมคําโบราณที่ปจจุบันเลิกใชแลว
จากนั้นบันทึกลงในสมุด ตู พวกเรา เราทั้งหลาย
(แนวตอบ ตัวอยางเชน ไพรฟาหนาใส หนีญญาย ตัวเนื้อตัวปลา สัตว์บก สัตว์น�้า
พายจแจน จกอบ ผิดแผกแสกวาง ไพรฟาขาไท ต่อช้าง ชนช้าง
เยียขาว แลงความ เปนตน) เตียมแต่ ตั้งแต่
ท่ ตี รบพุ่ง กวาดต้อน การต่อสู้โดยใช้ส่วนต่างๆ ของร่างกายเป็นอาวุธ
อธิบายความรู Explain
ทั้งกลม ทั้งหมด ทั้งสิ้น
นักเรียนพิจารณาสํานวนจากศิลาจารึกหลักที่ 1 บ่เข้าผู้ลักมักผู้ซ่อน มีความยุติธรรมไม่เข้าข้างคนผิด
แลวตีความขอความตามที่กําหนด 1
บานเมือง เป็นพระนามของกษัตริย์องค์ที่ ๒ แห่งราชวงศ์พระร่วง กรุงสุโขทัย
• เมื่อชั่วพอกู กูบําเรอแกพอกู กูบําเรอแกแมกู
(แนวตอบ พอขุนรามคําแหงเปนผูมีความ บ�าเรอ รับใช้ ปรนนิบัติ
กตัญู เนื่องจากดูแลเลี้ยงดู ปรนนิบัติบิดา ปากปตู ตรงที่หน้าประตูเมือง
มารดา) ผิดแผกแสกว้าง หากแม้นว่า
• เจาเมืองบเอาจกอบในไพรลูทาง ผู้อ้าย พี่ชายคนโต
(แนวตอบ เมืองสุโขทัยไมมีการเก็บภาษีการคา) เผือ เรา เราทั้งสอง
• ใครจักใครคาชาง คา ใครจักใครคามา คา
พ่อเชื้อเสื้อค้า บิดามารดา ผู้สืบเชื้อสาย
(แนวตอบ มีอิสรเสรีในการคาขาย)
• ผิดแผกแสกวางกัน สวนดูแทแล จึ่งแลงความ พุ่ง รบ
แกขาดวยซื่อ 44
(แนวตอบ มีกฎหมายบานเมืองที่ยุติธรรม เมื่อ
มีคดีความ มีการสอบสวนหาความจริง)

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ครูแนะนําความรูเ กีย่ วกับคําศัพทใหนกั เรียนวา คําศัพทในศิลาจารึกพอขุนรามคําแหง “เบื้องตีนนอนเมืองสุโขทัยนี้ มีตลาดปสาน มีพระอจนะ มีปราสาท
เมือ่ เทียบกับปจจุบนั มีการเปลีย่ นแปลงทางความหมาย เชน คํามีความหมายตรงกันขาม มีปาหมากพราว”
เชน คําวา “แพ” เดิมมีความหมายวา “ชนะ” เปนตน ดังนั้น ในการถอดความจารึก คําที่ขีดเสนใตหมายถึงขอใด
ใหเปนภาษาปจจุบัน นักเรียนพึงระวังการใหความหมายคําศัพท ควรพิจารณาเนื้อ 1. ทิศตะวันออก
ความโดยรอบวา มีความสอดคลอง และใหความหมายในทิศทางเดียวกันหรือไม ทัง้ นี้ 2. ทิศตะวันตก
เพราะภาษาที่ใชในชีวิตประจําวันมีการเปลี่ยนแปลงไปตามระยะเวลา 3. ทิศเหนือ
4. ทิศใต
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. และขอ 2. แปลความตรงตัว คือ ทิศตะวันออก
นักเรียนควรรู และทิศตะวันตก สวนขอ 4. ทิศใต ในจารึกใชคําวา “เบื้องหัวนอน”
ดังนั้น ในทางตรงขามทิศเหนือ จึงเปนคําวา “เบื้องตีนนอน” ตอบขอ 3.
1 บานเมือง เปนชื่อเฉพาะ หมายถึง พอขุนบานเมือง พระเชษฐาของ
พอขุนรามคําแหง คําวา “บานเมือง” มีความหมายวา ทําใหบานเมืองเบิกบาน

44 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู Explain
1. นักเรียนจับคูทายคําศัพททายบทเรียน
ค�าศัพท์ ความหมาย จากนั้นครูเลือกคําศัพทมาใหนักเรียนฝกเขียน
คําศัพทจํานวน 20 คํา
เพื่อ ในภาษาไทยมาตรฐาน หมายถึง ส�าหรับ แต่ในภาษาถิ่นเหนือและ
2. นักเรียนคัดเลือกคําศัพทมาตอยอดความรู
ในศิลาจารึกที่ว่า เพื่อกูพุ่งช้างขุนสามชน หมายถึง เพราะว่ากูชนช้าง
ขุนสามชน
โดยการสืบคนขอมูลที่เกี่ยวของกับคําศัพทนั้น
เพิ่มเติม
เพื่อน เขาทั้งหลาย (แนวตอบ ตัวอยางเชน คําศัพท
แพ้ เป็นภาษาถิ่นเหนือ หมายถึง ชนะ ปัจจุบันภาษาถิ่นเหนือ ยังใช้ค�าว่า • เงือน สกุลเงินที่ใชในสมัยสุโขทัย
แพ้ (แป๊) หมายถึง ชนะ ถ้าหมายถึงพ่ายแพ้ใช้ว่า ก๊าน • ตีหนังวังชาง ลักษณะประเพณีดั้งเดิม
พร�่า บ่อยๆ เสมอๆ • บานเมือง พระนามของพระเชษฐา
• หัวซายหัวขวา การจัดขบวนทัพ
ไพร่ฟ้าหน้าใส ทหาร ไพร่พล รี้พล ประชาชน พลเมือง • สวนดูแทแล กฎหมาย การตัดสินคดีความ
เมื่อชั่ว เมื่อครั้ง ในสมัย เปนตน)
1
เยียข้าว ยุ้งข้าว
ขยายความเขาใจ Expand
แล้ จริงแท้
ลูท่าง ภาษาถิ่นเหนือและอีสานใช้ว่า ยูท่าง ดูท่าง หรือดูต้าง หมายถึง สะดวก 1. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน จากนั้น
มอบหมายใหแตละกลุมคิดเกมทายคําศัพท
เวน มอบให้ น�ามามอบให้ ถวายให้ จํานวน 10 คํา โดยเลือกคําศัพทที่นักเรียน
สวนดูแท้แล้ สอบสวนดูข้อเท็จจริงแล้ว สนใจจากศิลาจารึกหลักที่ 1 เชน เกมบันไดงู
โสง สอง เกมปริศนาคําทาย เกมอักษรไขว เกมคําคม
2 เปนตน
หัวซ้าย หัวขวา ปีกซ้ายและปีกขวาของกองทัพ 2. จากนั้นสงตัวแทนนําเสนอเกม และนําเพื่อน
หนีญญ่ายพายจแจ้น แตกพ่าย หนีมาอย่างชุลมุน หนีกระเจิดกระเจิง หมายความว่า พ่ายหนีมา เลนเกม
อย่างชุลมุน บางคนถึงกับวิ่งแจ้นหนีไป
เห็นข้าวท่านบ่ใคร่พีน ไม่คดโกงอยากได้ข้าวของทรัพย์สินของผู้อื่น ตรวจสอบผล Evaluate
เห็นสินท่านบ่ใคร่เดือด
นักเรียนตีความคําศัพทในบทเรียนที่เปนอักษร
หมากส้มหมากหวาน ผลไม้รสเปรี้ยว รสหวาน ลายสือไทและเปนสํานวนภาษาสมัยสุโขทัยได
หั้น ภาษาถิ่นเหนือ หมายถึง ตรงนั้น
อันณื่ง อันหนึ่ง
45

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
“นายกองเกวียนมีกิจตองไปที่ปสาน” คํากลาวนี้สื่อวานายกองเกวียนนา
1 ยุงขาว หมายถึง สิ่งปลูกสรางสําหรับเก็บขาวเปลือกในสมัยกอน ปจจุบัน
จะไปทําอะไร
มีอยูไมมากในชนบท ลักษณะโครงสรางจะใชเสาไมขนาดใหญทั้งตน เพื่อใหเกิด
1. นําบริวารไปขึ้นทะเบียน
ความแข็งแรง สามารถรองรับนํ้าหนักของขาวที่จะจัดเก็บในยุงได การตั้งเสาจะไม
2. ฟงพระธรรมเทศนา
ตั้งเสาตรงเชนการสรางอาคารโรงเรือนทั่วไป หากแตจะตั้งเสาคูสองแถวในลักษณะ
3. ไปรองทุกขตอพอขุน
สอบสวนบนเขาหากันเหมือนเรือนฝาปะกน ที่ฝามีไมลูกตั้งและลูกนอน และมีแผน
4. ติดตอซื้อขายสินคา
ไมเขาลิ้นประกอบกันสนิท การตั้งเสาลักษณะเชนนี้เพื่อใหเกิดความมั่นคง เปรียบ
วิเคราะหคําตอบ จากขอความขางตน คําวา “ปสาน” หมายถึง ตลาด ดังรางกายของคนเราหากยืนตรง เมื่อถูกผลักจะเคลื่อนตามแรงผลักไดงาย
ดังนั้นในบริบทนี้จึงหมายถึงวา นายกองเกวียนไปติดตอซื้อขายสินคา แตหากยืนกางเทาออกเมื่อถูกผลักไมวาดานซายหรือขวา ก็จะไมลมงายๆ
ตอบขอ 4. 2 กองทัพ การจัดทัพในอดีตจะยึดตามตําราพิไชยสงครามโดยหลักแลว มีดังนี้
จตุรงคเสนา การจัดทหาร 4 เหลา ไดแก เหลาชาง เหลามา เหลารถ และเหลา
พลเทา รวมทั้งหมด 9 กอง ในแตละกองตองประกอบดวยพลรบหนวยตนจํานวน
อยางนอย คือ รถ 1 ชาง 1 มา 3 พลเทา 5 แลวเพิ่มจํานวนอีก 3 เทาในกองตอไป
เปนลําดับจนถึงกองที่ 8 และเพิ่มเปน 10 เทาสําหรับกองที่ 9

คูมือครู 45
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู
Engage Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน ความสนใจ Engage
ครูสนทนากับนักเรียน โดยยกสํานวน
ในศิลาจารึกหลักที่ 1 เปนที่รูจักวา “เมืองสุโขทัย ๗ บทวิเคราะห์
นี้ดี ในนํ้ามีปลา ในนามีขาว” จากนั้นนักเรียน ๗.๑ คุณค่าด้านเนือ้ หา
รวมกันแสดงความคิดเห็นเรือ่ งการสะทอนสภาพสังคม ๑) เป็นหลักฐานทางประวั ติศาสตร์ที่ส�าคัญ ศิลาจารึกพ่อขุนรามค�าแหงมหาราช
(แนวตอบ เมืองสุโขทัยมีความอุดมสมบูรณ) 1
เป็ น หลั ก ฐานทางประวั ติ ศ าสตร์ ที่ ส� า คั ญ ที่ สุ ด ชิ้ น หนึ่ ง ของไทย ศิ ล าจารึ ก ท� า ให้ ค นรุ่ น หลั ง ได้ รั บ รู้
ประวัติศาสตร์ของอาณาจักรสุโขทัยว่า มีปฐมกษัตริย์คือพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ กษัตริย์พระองค์ที่
สํารวจคนหา Explore สองคือพ่อขุนบานเมืองและพระองค์ที่สามคือพ่อขุนรามค�าแหงมหาราช ซึ่งได้ชื่อ “รามค�าแหง”
นักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับการวิเคราะห มาจากการรบชนะขุนสามชน เจ้าเมืองฉอด ในการชนช้าง ดังข้อความที่ปรากฏในศิลาจารึกว่า
คุณคาวรรณคดีดานเนื้อหา ดานวรรณศิลป
กูต่อช้างด้วยขุนสามชน ตนกูพุ่งช้างขุนสามชนตัวชื่อมาสเมืองแพ้
ดานสังคม และขอคิดที่ประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
ขุนสามชนพ่ายหนี พ่อกูจึ่งขึ้นชื่อกูชื่อพระรามค�าแหง เพื่อกูพุ่งช้างขุนสามชน...
จากแหลงเรียนรูตางๆ เชน หนังสือ บทความ
เว็บไซต เปนตน จากข้อความที่ปรากฏในศิลาจารึกสะท้อนให้เห็นว่า บรรพบุรุษของเราได้เสียสละ
เลือดเนื้อและชีวิตเพื่อรักษาผืนแผ่นดินนี้ไว้ให้ลูกหลาน ท�าให้เราเกิดความภาคภูมิใจและรับรู้ถึง
อธิบายความรู Explain ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของชาติบ้านเมือง
๒) ให้ความรู้ด้านอักษรศาสตร์ คือ ได้รู้จักต้นแบบของอักษรไทยก่อนพัฒนา
นักเรียนอธิบายความรูเกี่ยวกับคุณคาดาน
มาเป็นตัวอักษรไทยที่ใช้ในปัจจุบัน ทั้งยังให้ความรู้ด้านภาษาไทยโบราณและภาษาถิ่น ค�าโบราณ
เนื้อหาที่ไดจากศิลาจารึกหลักที่ 1 ดังนี้
บางค�ายังใช้อยู่ในภาษาถิ่นภาคเหนือ เช่น ค�าว่า หลวก หมายถึง ฉลาด ค�าบางค�ามีการเปลี่ยน
• เพราะเหตุใดศิลาจารึกหลักที่ 1 จึงเปน
ความหมาย เช่น ค�าว่า กู สมัยสุโขทัยเป็นค�าทีใ่ ช้ปกติ แต่ในปัจจุบนั เป็นค�าไม่สภุ าพ ดังข้อความทีป่ รากฏ
หลักฐานทางประวัติศาสตรที่สําคัญ
ในศิลาจารึกว่า
(แนวตอบ เพราะเปนหลักฐานทางประวัตศิ าสตร
ทีเ่ ปนลายลักษณอกั ษร มีขอ มูลทีใ่ หขอ เท็จจริง พ่อกูชื่อศรีอินทราทิตย์ แม่กูชื่อนางเสือง พี่กูชื่อบานเมือง ตูพี่น้องท้องเดียว
เกี่ยวกับการเมืองการปกครองในสมัยสุโขทัย ห้าคน...
สภาพวิถีชีวิตความเปนอยู ลักษณะสภาพ
บานเมือง ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรม ๓) ให้ความรูด้ า้ นการปกครองตามหลักนิตศิ าสตร์ สมัยพ่อขุนรามค�าแหงมหาราช
ศาสนา ความเชื่อ และคานิยม) มีการปกครองแบบพ่อปกครองลูก พระองค์ทรงดูแลทุกข์สุขของราษฎรอย่างใกล้ชิด ดังข้อความ
• ศิลาจารึกหลักที่ 1 ใหความรูดานตางๆ ในศิลาจารึกหลักที่ ๑ ด้านที่ ๑ และ ด้านที่ ๒ กล่าวว่า
อยางไร ...ในปากประตูมีกะดิ่งอันณื่งแขวนไว้หั้น ไพร่ฟ้าหน้าปก กลางบ้านกลางเมือง
(แนวตอบ ใหความรูดานอักษรศาสตรเกี่ยวกับ มีถ้อยมีความ เจ็บท้องข้องใจ มันจักกล่าวเถิงเจ้าเถิงขุนบ่ไร้ ไปลั่นกะดิ่งอันท่านแขวนไว้
ตนแบบอักษรไทย ความรูเรื่องภาษาถิ่นและ พ่อขุนรามค�าแหงเจ้าเมืองได้ยินเรียกเมือถาม สวนความแก่มันด้วยซื่อ ไพร่ในเมืองสุโขทัยนี้
คําศัพทโบราณ ใหความรูดานการปกครอง จึ่งชม...
ตามหลักนิตศิ าสตร และระบอบพอปกครองลูก
การสั่นกระดิ่งรองทุกขและการสืบสวนเพื่อ 46
ตัดสินคดีความดวยความยุติธรรม)

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
ขอใดที่ยังคงเปนสํานวนที่ใชในปจจุบัน
1 หลักฐานทางประวัติศาสตร หมายถึง รองรอยของสิ่งที่มนุษยประดิษฐหรือ
1. ในนํ้ามีปลา ในนามีขาว
สรางสรรค รวมทั้งรองรอยของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในอดีต และเหลือตกคางมาถึง
2. เพื่อนจูงวัวไปคา ขี่มาไปขาย
ปจจุบัน ซึ่งสามารถใชเปนเครื่องนําทางในการศึกษา สืบคน แสวงหาขอเท็จจริง
3. ทั้งสิ้นทั้งหลาย ทั้งผูชายผูหญิง
เกี่ยวกับเรื่องราวในอดีตของมนุษยไดในระดับหนึ่ง
4. มีพนมเบี้ย มีพนมหมาก มีพนมดอกไม
วิเคราะหคําตอบ คํากลาวที่มักกลาวถึงสภาพความอุดมสมบูรณของไทย
มุม IT และเปนที่รูจักแพรหลาย คือ “ในนํ้ามีปลา ในนามีขาว” ซึ่งแมในปจจุบัน
เราก็ยังใชประโยคนี้อยู ตอบขอ 1.
ศึกษาเกี่ยวกับที่มาและเนื้อเรื่องของศิลาจารึกพอขุนรามคําแหงเพิ่มเติม ไดที่
http://www.baanjomyut.com/library_2/king_ramkhamhaeng_inscription/
index.html

46 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนอธิบายความรูเกี่ยวกับคุณคาดาน
จากข้อความที่ปรากฏในศิลาจารึกจะเห็นว่าประชาชนชาวสุโขทัยมีสิทธิที่จะเรียกร้อง วรรณศิลปที่ไดจากศิลาจารึกหลักที่ 1
ความยุติธรรมโดยการสั่นกระดิ่งประตูเมืองเมื่อมีเรื่องที่ต้องการร้องเรียน เป็นกระบวนการยุติธรรม (แนวตอบ ศิลาจารึกหลักที่ 1 มีลักษณะเดนทาง
ที่ทุกคนต่างยอมรับและพ่อขุนรามค�าแหงจะทรงไต่สวนด้วยพระองค์เอง ดานวรรณศิลป ดังนี้ การใชประโยคความเดียว
นอกจากนี้ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ยังแสดงบันทึกกฎหมายมรดกไว้ เช่น เมื่อพ่อแม่ตาย มีประโยชนตอผูอานทําใหผูอานเขาใจเนื้อหาไดงาย
ทรัพย์สมบัติให้ตกเป็นของลูก ดังข้อความที่ปรากฏในศิลาจารึกว่า ไมซบั ซอน สามารถเก็บใจความไดครบถวน ใชภาษา
ทีม่ จี งั หวะมีความคลองจอง มีการใชคาํ สัมผัส
ลูกเจ้าลูกขุนผู้ใดแล้ ล้มตายหายกว่า เหย้าเรือนพ่อเชื้อเสื้อค�ามัน ช้างขอลูกเมีย เพื่อเกิดความคลองจอง จดจําไดงาย ทําใหเกิด
เยียข้าว ไพร่ฟ้าข้าไท ป่าหมากป่าพลูพ่อเชื้อมัน ไว้แก่ลูกมันสิ้น... จังหวะในการอาน ทําใหผูอานเกิดความเพลิดเพลิน
๗.๒ คุณค่าด้านวรรณศิลป์ และจินตภาพ)
๑) ใช้ประโยคความเดียว สั้นๆ กระชับ เข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน เพราะส่วนขยายใน
แต่ละประโยคน้อยแต่อ่านแล้วได้ความครบถ้วน ดังข้อความที่ปรากฏในศิลาจารึกว่า ขยายความเขาใจ Expand
พ่อกูชื่อศรีอินทราทิตย์ แม่กูชื่อนางเสือง พี่กูชื่อบานเมือง ตูพี่น้องท้องเดียว 1. นักเรียนเลือกขอความที่สัมผัสคลองจอง
ห้าคน ผู้ชายสาม ผู้ญีงโสง... ที่นักเรียนสนใจมาคนละ 1 ขอความ จากนั้น
บอกเหตุผลที่ชอบ
จากข้อความที่ปรากฏในศิลาจารึกสะท้อนให้เห็นลักษณะการใช้ภาษาในสมัยสุโขทัย (แนวตอบ นักเรียนยกขอความจากศิลาจารึก
ทีจ่ ะใช้ประโยคความเดียวทีส่ นั้ ง่าย และได้ใจความครบถ้วน ท�าให้ได้ทราบว่า ใครท�าอะไร ทีไ่ หน อย่างไร หลักที่ 1 ไดหลากหลาย ตัวอยางเชน “...ใคร
และเมื่อไร จักใครคาชาง คา ใครจักใครคามา คา ใครจัก
๒) ใช้ภาษาได้อย่างมีจังหวะและมีสัมผัสคล้องจอง ถึงแม้ศิลาจารึกจะเรียบเรียง ใครคาเงือนคาทอง คา ไพรฟาหนาใส...”
เป็นร้อยแก้วแต่ก็มีการใช้ค�าที่มีจังหวะและมีสัมผัสคล้องจองกัน ท�าให้สามารถจดจ�าได้ง่าย ดังข้อความ แสดงใหเห็นความเจริญรุงเรืองของบานเมือง
ที่ปรากฏในศิลาจารึกว่า
ในสมัยนั้น และการมีอิสรเสรีในการประกอบ
...ในน�้ามีปลา ในนามีข้าว เจ้าเมืองบ่เอาจกอบในไพร่ ลูท่างเพื่อนจูงวัวไปค้า อาชีพ ประชาชนมีความสุข เปนตน)
ขี่ม้าไปขาย... 2. นักเรียนแตงประโยคความเดียวเพื่อเลาประวัติ
สวนตัวของตนเอง ครึ่งหนากระดาษสงครู
จากข้อความที่ปรากฏในศิลาจารึกสะท้อนให้เห็นลักษณะการใช้ถ้อยค�าที่มีสัมผัส
คล้องจอง เมื่อผู้อ่านอ่านแล้วจะรู้สึกเพลิดเพลินและเกิดจินตภาพชัดเจน
๗.๓ คุณค่าด้านสังคม 1
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีชิ้นสส�าคัญ ที่ท�าให้
คนรุ่นหลังได้เห็นสภาพสังคม วิถีชีวิต วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีสมัยสุโขทัย ดังนี้
๑) สะท้ อ นวิ ถี ชี วิ ต ของประชาชนในสมั ย สุ โขทั ย แสดงให้ เ ห็ น ว่ า ประชาชน
ท�าการเกษตร การประมงเพื่อด�ารงชีวิตและมีการค้าขายที่เสรี ดังข้อความที่ปรากฏในศิลาจารึกว่า
47

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
“ในนํ้ามีปลา ในนามีขาว เจาเมืองบเอาจกอบ ลูทางเพื่อนจูงวัวไปคา
1 ประวัติศาสตรและโบราณคดี เปนวิชาที่ตางกัน ดังนี้
ขี่มาไปขาย”
1. การใชหลักฐานวิชาประวัติศาสตรจะใหความสําคัญตอหลักฐานที่เปน
ขอความในขางตนมีลักษณะการแตงในขอใด
ลายลักษณอักษร โดยเฉพาะเอกสารชั้นตนในการศึกษา แตวิชาโบราณคดีจะใช
1. เปนรอยแกวธรรมดาทั่วไป
หลักฐานที่ไดจากการขุดคนทางโบราณคดีที่เปนวัตถุ รวมถึงหลักฐานที่เปนลายลักษณ
2. เปนรอยแกวที่มีสัมผัสคลองจอง
อักษรและไมไดเปนลายลักษณอักษร
3. เปนรอยแกวที่แบงวรรคตามความสะดวก
2. ขอบเขตของการศึกษาวิชาประวัติศาสตรศึกษาเรื่องราวของมนุษยตั้งแต
4. เปนรอยแกวที่แบงวรรคตามการหยุดพักหายใจ
เริ่มมีการจดบันทึก ที่เรียกวาสมัยประวัติศาสตร วิชาโบราณคดีศึกษาเรื่องราวกอน
วิเคราะหคําตอบ ขอความขางตนมีลักษณะเปนรอยแกว ประกอบดวย ประวัติศาสตร ตั้งแตมนุษยเริ่มสรางอารยธรรม
ประโยคความเดียวขนาดสั้น บรรยายรายละเอียดของสภาพแวดลอมอยาง 3. กลุมคนที่ทําการศึกษาวิชาประวัติศาสตรจะศึกษาเรื่องราวของชนชั้น
เปนลําดับชัดเจน การแบงจังหวะตามสะดวกหรือตามการหยุดพักหายใจ ปกครองและชนชั้นสูง เพราะเอกสารที่พบมักเปนเรื่องราวของชนชั้นเหลานี้เปนสวน
ของแตละคนตามขอ 3. และขอ 4. นั้น เปนลักษณะทั่วไปของรอยแกว ใหญ จะไมมีเรื่องราวของชาวบานมากนัก แตวิชาโบราณดคีสามารถศึกษาเรื่องราว
แตที่มีความโดดเดนกวารอยแกวทั่วไป คือ มีเสียงสัมผัสคลองจอง ของผูคนไดทุกระดับชั้น ตั้งแตการเกิด ดํารงชีวิต อาชีพ และคติความเชื่อเกี่ยวกับ
ตอบขอ 2. ความตาย

คูมือครู 47
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนอธิบายความรูคุณคาดานสังคมที่
เกี่ยวกับวิถีชีวิตของประชาชนในสมัยสุโขทัย การท�าการเกษตร และท�าการประมง
จากศิลาจารึกหลักที่ 1
ในน�้ามีปลา ในนามีข้าว...ป่าพร้าวก็หลายในเมืองนี้ ป่าลางก็หลายในเมืองนี้
(แนวตอบ ใชชีวิตอยางมีอิสรภาพ มีความเสรี
ในการประกอบอาชีพ ประชาชนมีความใกลชิด การค้าขายแบบเสรี
กับพระมหากษัตริย อยูในบานเมืองอันสงบสุข
สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรมและคาขาย ใครจักใคร่ค้าช้าง ค้า ใครจักใคร่ค้าม้า ค้า ใครจักใคร่ค้าเงือนค้าทองค้า...
สะทอนศรัทธาในพระพุทธศาสนา พอขุนรามคําแหง ๒) สะท้ อ นความศรั ท ธาในพระพุ ท ธศาสนา และขนบธรรมเนี ย มประเพณี
และประชาชนเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา ของชาวสุโขทัย ว่าในสมัยนั้นชาวเมืองสุโขทัยยึดมั่นศรัทธาในพระพุทธศาสนา ประพฤติปฏิบัติตาม
มักถือศีล ทําทาน เขาวัดฟงเทศนและดําเนิน ประเพณีอย่างเคร่งครัด ดังข้อความที่ปรากฏในศิลาจารึกว่า
กิจกรรมทางศาสนาตามประเพณี และสะทอน
ความเชื่อในการนับถือผีบรรพบุรุษเชื่อในเรื่อง ...คนในเมืองสุโขทัยนี้ มักทาน มักทรงศีล มักโอยทาน พ่อขุนรามค�าแหง
ผีสางเทวดาที่สามารถใหคุณและโทษได) เจ้าเมืองสุโขทัยนี้ ทั้งชาวแม่ชาวเจ้า ท่วยปั่วท่วยนาง ลูกเจ้าลูกขุน ทั้งสิ้นทั้งหลาย ทั้ง
ผู้ชายผู้ญีง ฝูงท่วยมีศรัทธาในพระพุทธศาสน ทรงศีลเมื่อพรรษาทุกคน เมื่อออกพรรษา
กรานกฐิน เดือนณื่งจึ่งแล้ว เมื่อกรานกฐิน มีพนมเบี้ย มีพนมหมาก มีพนมดอกไม้ มี
ขยายความเขาใจ Expand
หมอนนั่งหมอนโนน บริพารกฐินโอยทานแล่ปีแล้ญิบล้าน ไปสูดญัติกฐินเถิงอไรญิกพู้น
นักเรียนจัดทําตารางการวิเคราะหเปรียบเทียบ เมื่อจักเข้ามาเวียงเรียง กันแต่อไรญิกพู้นเท้าหัวลาน...
สภาพวิถีชีวิตของคนสุโขทัยกับคนในยุคปจจุบัน
จากข้อความทีป่ รากฏในศิลาจารึกจะเห็นว่าพ่อขุนรามค�าแหงมหาราชทรงบันทึกให้เห็นถึง
ตามหัวขอตอไปนี้ ความเชือ่ ความศรัทธาของชาวสุโขทัยที่มีต่อพระพุทธศาสนาและปฏิ1 บัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี
• ระบอบการปกครอง ๓) สะท้อนความเชื่อในการนับถือผีบรรพบุรุษ ความเชื่อผีบรรพบุรุษเป็นเทพยดา
• การประกอบอาชีพ มีกล่าวไว้ในศิลาจารึกด้านที่ ๓ ดังข้อความที่ปรากฏในศิลาจารึกว่า
• ความเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา
• ความเชื่อในการนับถือผีบรรพบุรุษ ...มี พ ระขพุ ง ผี เ ทพดาในเขาอั น นั้ น เป็ น ใหญ่ ก ว่ า ทุ ก ผี ใ นเมื อ งนี้ ขุ น ผู ้ ใ ด
ถือเมืองสุโขทัยนี้แล้ ไหว้ดีพลีถูก เมืองนี้เที่ยง เมืองนี้ดี ผิไหว้บ่ดี พลีบ่ถูก ผีในเขาอั้นบ่คุ้ม
บ่เกรง เมืองนี้หาย...
จากข้อความทีป่ รากฏในศิลาจารึกจะพบว่าในสมัยสุโขทัยปรากฏความเชือ่ ในการนับถือผี
และเชื่อว่าผีสามารถให้คุณหรือให้โทษได้หากไม่ได้รับการบูชาให้ดีจากลูกหลาน
๗.๔ ข้อคิดทีส่ ามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวิ ติ ประจ�าวัน
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ นอกจากเป็นหลักฐานชิ้นส�าคัญทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี
สะท้อนให้เห็นสภาพบ้านเมือง วิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณีแล้ว ยังแฝงไปด้วยข้อคิดที่สามารถ
น�าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวันได้หลายประการ ดังนี้
48

บูรณาการเชื่อมสาระ
นักเรียนควรรู จากคุณคาดานสังคมทีส่ ะทอนความศรัทธาในพระพุทธศาสนา นักเรียน
สามารถบูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และ
1 การนับถือผีบรรพบุรุษ เปนความเชื่อดั้งเดิมของคนในสมัยสุโขทัย ทั้งนี้เชื่อวา
วัฒนธรรม วิชาพระพุทธศาสนา โดยศึกษาเกี่ยวกับขอปฏิบัติและศาสนกิจ
บรรพบุรุษของตนเมื่อตายไปแลวก็ตายไปเฉพาะรางกายเทานั้น สวนดวงวิญญาณ
ของพุทธศาสนิกชนที่ดีที่ควรยึดถือปฏิบัติเปนแบบอยาง ซึ่งจะทําใหนักเรียน
อันเปนหลักใหญของชีวิตนั้นมิไดหายสาบสูญไปดวย หากแตมีความอาลัยอาวรณ
เขาใจรากฐานของสังคมไทยในปจจุบันยอนอดีตไปถึง 700 รอยกวาปวา
ผูกพันอยูกับลูกหลานตลอดไป คอยติดตอสัมพันธ สิงสถิตอยูบริเวณที่ลูกหลาน
สังคมไทยเปนสังคมพุทธศาสนา ทําใหศาสนามีอิทธิพลตอความคิด
อาศัยอยู เชน อยูตามบานเรือนและสถานที่ตางๆ วิญญาณบรรพบุรุษเหลานี้ แสดง
ความเชือ่ รวมถึงจารีตประเพณีตา งๆ ทีน่ าํ มาสูก ารวางกฎระเบียบในการ
บทบาทในฐานะเปนผูพิทักษรักษาปกปองคุมครองลูกหลานครอบครัวและภายใน
อยูรวมกันของคนในสังคม
ชุมชน

มุม IT
ศึกษาเกี่ยวกับวรรณศิลปในศิลาจารึกหลักที่ 1 เพิ่มเติม ไดที่
http://www.thaigoodview.com/node/95308

48 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับขอคิดที่
๑) ให้มีความกตัญญูต่อบิดา มารดาและผู้มีพระคุณ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ แสดงให้ สามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
เห็นถึงพระจริยาวัตรอันงดงามของพ่อขุนรามค�าแหงมหาราช ที่ทรงดูแลพระราชบิดา พระราชมารดา จากศิลาจารึกหลักที่ 1
อย่างดี ดังข้อความที่ปรากฏในศิลาจารึกว่า (แนวตอบ ตัวอยางเชน ความกตัญูตอบิดา
มารดา ควรเชื่อฟงคําสั่งสอนของบิดา มารดา
...เมือ่ ชัว่ พ่อกู กูบา� เรอแก่พอ่ กู กูบา� เรอแก่แม่ก ู กูได้ตวั เนือ้ ตัวปลา กูเอามาแก่
ชวยเหลือกิจกรรมตางๆ ระหวางพี่นอง ควรให
พ่อกู กูได้หมากส้มหมากหวาน อันใดกินอร่อยกินดี กูเอามาแก่พ่อกู...
ความรัก ชวยเหลือ ดูแล เอื้ออาทรตอกัน
จากข้อความที่ปรากฏในศิลาจารึกสะท้อนให้เห็นว่า ความกตัญญูเป็นคุณธรรมที่อยู่ การปฏิบัติตนเปนพุทธศาสนิกชนที่ดี ดวยการ
คู่สังคมไทยมายาวนาน การเชื่อฟังและปฏิบัติตามค�าสอนของบิดามารดา ตอบแทนพระคุณด้วยการ ชวยทํานุบาํ รุงศาสนา ทําบุญทําทาน รักษาศีล
ช่วยเหลือกิจการงานต่างๆ ย่อมท�าให้ท่านมีความสุข เมื่อบุตรดีบิดามารดาย่อมต้องส่งเสริม สนับสนุน สงเสริม สืบทอด และเผยแพรวัฒนธรรม
ให้มีความเจริญก้าวหน้า อีกทั้งการกตัญญูต่อบิดามารดาและผู้มีพระคุณย่อมเป็นมงคลสูงสุดของชีวิต ประเพณีใหแกชนรุนหลัง)
ท�าให้ได้รับการยกย่องและสรรเสริญจากบุคคลผู้พบเห็น
๒) ให้มคี วามรักใคร่ผกู พันระหว่างพีน่ อ้ ง สถาบันครอบครัวเป็นสถาบันหลักทีส่ ง่ ผล ขยายความเขาใจ Expand
ต่อการพัฒนาประเทศ คนในสังคมจะอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุข จะต้องเริ่มจากบุคคลในครอบครัวที่มี
ความรัก อาทร ห่วงใยซึง่ กันและกัน จากนัน้ จึงขยายไปสูส่ งั คมส่วนรวม ดังข้อความทีป่ รากฏในศิลาจารึกว่า นักเรียนยกขอคิดจากศิลาจารึกหลักที่ 1 ซึ่ง
นักเรียนเห็นวา สามารถนําไปประยุกตใช
...กูพร�่าบ�าเรอแก่พี่กู ดั่งบ�าเรอแก่พ่อกู... ในชีวิตประจําวันได จากนั้นใหนักเรียนวิเคราะห
จากข้อความที่ปรากฏในศิลาจารึกสะท้อนให้เห็นสายใยของความรัก ความผูกพัน ขอคิดทีน่ าํ มาเปนแบบอยางและปรับใชกบั ตนเองได
ระหว่างพี่น้อง แม้ว่าจะสูญเสียพระราชบิดา พ่อขุนรามค�าแหงมหาราชยังคงให้ความเคารพพระเชษฐา (แนวตอบ ตัวอยางขอคิดจากศิลาจารึกหลักที่ 1
ดูแลประดุจบิดาของพระองค์เอง และการนําไปใชกับตนเอง ดังนี้
๓) ให้เป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ที่พ่อขุนรามค�าแหงมหาราช • ความกตัญูตอบิดา มารดาและผูมีพระคุณ
ทรงจารึกขึ้น สามารถใช้เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี ถ่ายทอดเรื่องราวสภาพสังคม • ความรัก ความผูกพันระหวางพี่นอง
วิถชี วี ติ ขนบธรรมเนียมประเพณีสมัยสุโขทัยได้เป็นอย่างดี อีกทัง้ ยังสะท้อนให้เห็นความเชือ่ ความศรัทธา • ปฏิบัติตนเปนพุทธศาสนิกชนที่ดี
การประพฤติตนเป็นพุทธศาสนิกชนทีด่ ี ช่วยท�านุบา� รุงพระพุทธศาสนา ดังข้อความทีป่ รากฏในศิลาจารึกว่า • เชื่อฟงคําสั่งสอน ตั้งใจเรียนหนังสือ ไมเกเร
• รักและเคารพ ใหเกียรติกัน ชวยเหลือกัน
...คนในเมืองสุโขทัยนี้ มักทาน มักทรงศีล มักโอยทาน พ่อขุนรามค�าแหง • เขาวัด ทําบุญ ทําทาน ฟงธรรม ไมทําผิดศีล
เจ้าเมืองสุโขทัยนี้ ทั้งชาวแม่ชาวเจ้า ท่วยปั่วท่วยนาง ลูกเจ้าลูกขุน ทั้งสิ้นทั้งหลาย • รวมงานประเพณีตางๆ และเชิญชวนผูอื่น
ทั้งผู้ชายผู้ญีง ฝูงท่วยมีศรัทธาในพระพุทธศาสน ทรงศีลเมื่อพรรษาทุกคน... เขารวมดวย)
จากข้อความที่ปรากฏในศิลาจารึกสะท้อนให้เห็นว่า คนในเมืองสุโขทัย มีความศรัทธา
ในพระพุท1ธศาสนาปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี ผู้คนท�าบุญท�าทาน รักษาศีล โดยเฉพาะในช่วง
รอยตาม เพื่อความสงบสุขของชีวิต
เข้าพรรษาอันเป็นแบบอย่างที่ดีที่ผู้คนรุ่นหลังควรเจริญรอยตาม
49

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
“กูไปตีหนังวังชางไดเอามาแกพอกู กูไปทบานทเมือง ไดชางไดงวง ไดปว
1 เขาพรรษา การถือปฏิบัติประเพณีการบําเพ็ญกุศลเนื่องในเทศกาลเขาพรรษา
ไดนางไดเงือนไดทอง กูเอามาเวนแกพอกู พอกูตายยังพี่กู กูพรํ่าบําเรอแกพี่กู
ในประเทศไทย สันนิษฐานวา เริ่มมีมาแตแรกที่รับพระพุทธศาสนาเถรวาทเขามา
ดั่งพรํ่าบําเรอแกพอกู”
ในดินแดนประเทศไทย ซึ่งอาจมีการปฏิบัติประเพณีนี้มาตั้งแตสมัยทวารวดี แตมา
ขอความนี้สะทอนใหเห็นอุปนิสัยของผูกลาวอยางไร
ปรากฏหลักฐานชัดเจนวา ชาวไทยไดถือปฏิบัติในการบําเพ็ญกุศลในเทศกาล
แนวตอบ ขอความดังกลาวสะทอนใหเห็นคานิยมความกตัญูกตเวที ดัง เขาพรรษาในสมัยกรุงสุโขทัยเปนราชธานี
ที่กลาววา “กูพรํ่าบําเรอแกพี่กูดั่งพรํ่าบําเรอแกพอกู” เปนคานิยมที่เกี่ยวกับ
สถาบันครอบครัวในขณะนั้น การใหความสําคัญกับคนในครอบครัวที่แมจะ
ไมใชบิดามารดาแตเปนพี่นองญาติผูใกลชิด ความกตัญูที่หมายถึงใน มุม IT
เนือ้ ความยังครอบคลุมความหมายไปถึงผูม พี ระคุณ การรูจ กั ตอบแทนพระคุณ
เมื่อมีโอกาส หรือแสดงใหเห็นความรักใครปรองดองกันของคนในครอบครัว ศึกษาเกี่ยวกับคุณคาของศิลาจารึกของพอขุนรามคําแหงเพิ่มเติม ไดที่
การดูแลชวยเหลือซึ่งกันและกัน ซึ่งเปนอุปนิสัยที่คนในสังคมปจจุบันควร http://www.info.ru.ac.th/province/Sukhotai/srj5.htm
ปฏิบัติตามอยางยิ่ง

คูมือครู 49
ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Evaluate
ขยายความเขาใจ Expand
นักเรียนยกตัวอยางประเพณีวัฒนธรรมที่
สืบทอดมาตั้งแตสมัยสุโขทัยที่ปรากฏใหเห็น ๔) การสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีเป็นหน้าทีข่ องทุกคน วัฒนธรรมและประเพณี
ในปจจุบัน คือ สิง่ ทีแ่ สดงถึงความเป็นเอกลักษณ์ของชาติ เป็นมรดกทีส่ บื ทอดมาตัง้ แต่บรรพบุรษุ ศิลาจารึกหลักที ่ ๑
(แนวตอบ จากขอความที่ปรากฏในศิลาจารึก ได้สะท้อนให้เห็นว่าวัฒนธรรมประเพณีเป็นสิ่งที่มีคุณค่าเป็นอย่างยิ่ง ท�าให้ได้ตระหนักเห็นคุณค่า
กลาวถึงประเพณีเผาเทียนเลนไฟ ซึ่งปจจุบันที่ และความส�าคัญของการสืบทอดที่บรรพบุรุษได้กระท�าให้เห็นเป็นตัวอย่าง ดังข้อความที่ปรากฏใน
สุโขทัยยังคงสืบสานงานประเพณีนี้ โดยมีการจัด ศิลาจารึกว่า
ประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เลนไฟ พลุ ตะไล
....เมือ่ จักเข้ามาเวียงเรียง กันแต่อไรญิกพูน้ เท้าหัวลาน ดงบงคมกลองด้วยเสียง
ไฟพะเนียง ดอกไมไฟชนิดตาง ๆ ทัง้ นี้ จังหวัดสุโขทัย
พาดเสียงพิณ เสียงเลือ้ นเสียงขับ ใครจักมักเล่น เล่น ใครจักมักหัว หัว ใครจักมักเลือ้ น
กรมศิลปากร และการทองเที่ยวแหงประเทศไทย
เลือ้ น เมืองสุโขทัยนี้ มีสี่ปากประตูหลวง เที้ยรย่อมคนเสียดกัน เข้ามาดูท่านเผาเทียน
จึงไดรวมกันจัดงานลอยกระทงเผาเทียนเลนไฟ ใน
ท่านเล่นไฟ....
บรรยากาศของกรุงสุโขทัย เมือ่ 700 ป ใหกลับฟน คืน
ชีวิตมาอีกครั้งหนึ่ง ตั้งแตป พ.ศ. 2520 เปนประจํา จากข้ อ ความที่ ปรากฏในศิ ล าจารึ ก สะท้ อ นให้ เ ห็ นถึ งวั ฒ นธรรมประเพณี ข องไทย
ทุกปจนถึงปจจุบนั ในงานลอยกระทงเผาเทียนเลนไฟ ที่มีมาแต่ครั้งบรรพบุรุษจึงนับเป็นหน้าที่ของคนรุ่นหลังที่จะต้องอนุรักษ์ สืบทอด ส่งเสริม เผยแพร่
จังหวัดสุโขทัยไดจัดใหมีพิธีเผาเทียนแบบโบราณ ด้วยความภาคภูมิใจต่อจากบรรพบุรุษ หากหลงลืมวัฒนธรรมไทยและรับวัฒนธรรมต่างชาติเข้ามา
โดยเชิญชวนใหประชาชนทั้งหลายรวมพิธีซื้อตะคัน ย่อมท�าให้วัฒนธรรมไทยเลือนหายไป
เผาเทียนบูชาพระรัตนตรัย จุดแลวนําไปวางบนฐาน
หรือระเบียงโบสถ วิหาร พระเจดีย โบราณสถานใน ศิ ล าจารึ ก หลั ก ที่ ๑ เป็ น มรดกของชาติ แ ละเป็ น หลั ก ฐานสÓคั ญ ทางภาษา
อุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย เพื่อทําใหเกิดแสงสวาง ประวัติศาสตร์และโบราณคดีของไทย ทÓให้รู้ว่าชาติไทย มีความเจริญรุ่งเรือง มีภาษา
ระยิบระยับนับรอยนับพัน) และตั ว อั ก ษรของตนเองใช้ ม านานกว่ า เจ็ ด ร้ อ ยปี แ ล้ ว ลู ก หลานไทยจึ ง ควรภู มิ ใ จ
ในบรรพบุรุษ ช่วยกันดÓรงรักษาชาติบ้านเมือง ช่วยกันสืบสานมรดกทางภาษาและ
อนุรักษ์ภาษาด้วยการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง

50

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ครูแนะความรูเกี่ยวกับคุณคาดานสังคม ซึ่งชาติไทยมีประเพณีอันดีงามตกทอด “เมื่อชั่วพอกู กูบําเรอแกพอกู กูบําเรอแกแมกู กูไดตัวเนื้อตัวปลา
สืบตอกันมาแตครั้งโบราณกาล ตามหลักฐานที่ปรากฏอยูระบุวา เมื่อถึงเทศกาล กูเอามาแกพอกู”
เขาพรรษาในเดือน 8 ชาวสุโขทัยมีการถือศีล ทําบุญ ทําทาน กุลบุตรทีม่ อี ายุพอสมควร ขอความในหลักศิลาจารึกที่ยกมานี้เปนตัวอยางที่ดีในขอใด
ก็ออกบวชเปนภิกษุสงฆในพระพุทธศาสนาชัว่ ระยะเวลาเขาพรรษาตามประเพณีนยิ ม 1. ความรักบิดามารดา
และเมื่อถึงเทศกาลออกพรรษาในเดือน 11 ก็มีการทอดกฐินถวายปจจัย เชน ถวาย 2. ความกตัญูรูคุณ
พนมเบี้ย พนมหมาก พนมดอกไม ถวายหมอนนั่ง หมอนนอน เปนตน การทอดกฐิน 3. ความซื่อสัตยซื่อตรง
นี้กวาจะเสร็จก็ใชเวลาเดือนหนึ่ง 4. ความรักใครกลมเกลียว
ในเทศกาลออกพรรษาก็มีการละเลนตางๆ เชน เลนดอกไมไฟ หกคะเมน วิเคราะหคําตอบ ขอความขางตนกลาววา “เมื่อครั้งสมัยพอกู กูดูแลรับใช
ไตลอดบวง รําแพน เลนดนตรี ขับรอง เตนระบํารําฟอน เครื่องดนตรีในสมัยนั้นมี พอกับแม เมื่อกูไดอาหารมา กูก็เอามาใหพอกู” ซึ่งเปนขอความที่แสดงให
ฆองวง กลองประเภทตางๆ อาทิ กลองมโหระทึก แตร สังข ระฆัง กังสดาล ฉิ่งฉาบ เห็นความกตัญู รูจักตอบแทนพระคุณของบิดามารดา ดวยการคอยดูแล
บัณเฑาะว พิณ และซอ เปนตน เอาใจใสอยางใกลชิด ตอบขอ 2.

50 คูมือครู
ตรวจสอบผล
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Evaluate
Engage Explore Explain Expand
ตรวจสอบผล Evaluate
1. นักเรียนแตงประโยคความเดียวเพื่อเลาประวัติ
สวนตัวของตนเองได
2. นักเรียนวิเคราะหขอคิดเพื่อนํามาเปน
ค�าถาม ประจ�าหน่วยการเรียนรู้
แบบอยางและประยุกตใชกับตัวนักเรียนเองได
๑. นักเรียนได้รับความรู้ด้านใดบ้างจากการศึกษาศิลาจารึกหลักที่ ๑ 3. นักเรียนวิเคราะหเปรียบเทียบสภาพวิถีชีวิต
๒. นักเรียนคิดว่าการประดิษฐ์อักษรไทยมีประโยชน์อย่างไรบ้าง ของคนสุโขทัยกับคนในยุคปจจุบันได
๓. นักเรียนคิดว่าวิถีชีวิตชาวเมืองสุโขทัยมีลักษณะอย่างไร อธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ 4. นักเรียนยกตัวอยางวัฒนธรรมไทยในปจจุบันที่
๔. ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ด้านที่ ๑ มีลักษณะการใช้ภาษาอย่างไร กลาวถึงในศิลาจารึกสมัยสุโขทัยได
๕. ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ด้านที่ ๑ ให้คุณค่าด้านเนื้อหา ด้านวรรณศิลป์ และด้านสังคมอย่างไร

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู
1. แผนผังพระราชประวัตพิ อ ขุนรามคําแหงมหาราช
2. บัตรคําบันทึกลายสือไท
3. สมุดจดบันทึกคําศัพท
4. ตารางเปรียบเทียบวิถีชีวิตของคนสมัยสุโขทัยกับ
ปจจุบัน
กิจกรรม สร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้

กิจกรรมที่ ๑ ให้นักเรียนศึกษาประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย แล้วรายงานหน้าชั้นเรียน

กิจกรรมที่ ๒ ใ ห้นักเรียนเลือกศึกษาพระราชประวัติของพ่อขุนรามค�าแหงมหาราช หรือบุคคลที่มี


คุณูปการต่อการศึกษาศิลาจารึก จ�านวน ๑ คน และแสดงความคิดเห็นว่าประวัติ
บุคคลที่ศึกษานั้นมีความส�าคัญด้านใดต่อบ้านเมือง

กิจกรรมที่ ๓ ใ ห้นักเรียนแบ่งกลุ่ม อภิปรายวิถีชีวิตของชาวสุโขทัยจากค�าขวัญจังหวัดดังต่อไปนี้


แล้วส่งตัวแทนมาอภิปรายร่วมกันหน้าชั้นเรียน
“มรดกโลกล�้ำเลิศ ก�ำเนิดลำยสือไทย เล่นไฟลอยกระทง ด�ำรงพุทธศำสนำ งำมตำ
ผ้ำตีนจก สังคโลกทองโบรำณ สักกำรแม่ย่ำ พ่อขุน รุ่งอรุณแห่งควำมสุข”

5๑

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู
1. ไดรับความรูทางอักษรศาสตร ไดรูความเปนมาของการประดิษฐอักษรไทยและเห็นการใชคําโบราณ ความรูทางประวัติศาสตรเกี่ยวกับสภาพสังคม วิถีชีวิต
เหตุการณและเรื่องราวในสมัยสุโขทัย และไดขอคิดดีๆ เพื่อนํามาเปนแบบอยางและปรับใชกับตนเอง
2. ชวยใหมีวิวัฒนาการทางภาษาและประเทศไทยมีตัวหนังสือใชเปนของตนเอง
3. เปนชีวิตแบบพอเพียงบนรากฐานเกษตรกรรม ปลูกพืชผัก เลี้ยงสัตว และหาอาหารจากธรรมชาติเพื่อบริโภค สิ่งใดหาไมไดก็ใชวิธีการแลกเปลี่ยนที่ตลาด
ไมฟุมเฟอย เรียบงายพอประมาณ
4. ใชภาษาในสมัยโบราณที่สั้น กระชับ ไดใจความ และมีภาษาถิ่นเขามาปะปน
5. คุณคาดานเนื้อหา คือ ทําใหรูพระราชประวัติพอขุนรามคําแหงมหาราช กษัตริยผูมีพระคุณและเริ่มตนการประดิษฐอักษรไทย คุณคาดานวรรณศิลป คือรูจักวิธีการ
เรียบเรียงประโยคที่เขาใจงาย ไมซับซอน เห็นความงดงามในการใชภาษาที่สัมผัสคลองจอง ทําใหเกิดจินตภาพ และคุณคาดานสังคม คือ ทําใหรูสภาพสังคม
วิถีชีวิต เหตุการณ และเรื่องราวในสมัยสุโขทัย

คูมือครู 51
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Explore Explain Expand Evaluate
เปาหมายการเรียนรู
1. สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน
2. วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน
พรอมยกเหตุผลประกอบ
3. อธิบายคุณคาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน
4. สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพื่อประยุกต
ใชในชีวิตจริง
5. ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนดและ
บทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ

สมรรถนะของผูเรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกปญหา
4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

ô
คุณลักษณะอันพึงประสงค
1. รักชาติ ศาสน กษัตริย
2. ใฝเรียนรู หนวยที่ บทละครเรื่อง รำมเกียรติ์
3. รักความเปนไทย
ตอน นำรำยณ์ปรำบนนทก

ตัวชี้วัด
นทกเป็ น ตั ว ละครในช่ ว งต้ น ของ
กระตุน้ ความสนใจ Engage ■


สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน (ท ๕.๑ ม.๒/๑)
วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน พรอมยกเหตุผลประกอบ วรรณคดีเ รื่ อ งรามเกี ย รติ์ ท� า หน้ า ที่ ตั ก น�้ า
(ท ๕.๑ ม.๒/๒) ล้างเท้าเทวดาที่จะเข้าเฝาพระอิศวรและถูก
ครูใหนักเรียนดูภาพหนาหนวย จากนั้นถาม ■ อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน (ท ๕.๑ ม.๒/๓)
เทวดาแกล้งเขกศีรษะและลูบศีรษะเป็นเวลานาน
■ สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพื่อประยุกตใชในชีวิตจริง
นักเรียนเกี่ยวกับเหตุการณในภาพ (ท ๕.๑ ม.๒/๔) นับโกฏิป จนศีรษะล้าน จึงขอพรจากพระอิศวร
• เหตุการณในภาพเปนเหตุการณใด และ ■ ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทรอยกรองที่มีคุณคาตาม ให้มีนิ้วเป็นเพชรแล้วใช้ชี้เทวดาจนตาย ปนปวน
ความสนใจ (ท ๕.๑ ม.๒/๕) ไปทั่วสวรรค์
นักเรียนรูจักตัวละครใดบาง บทละครเรือ่ ง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์
สาระการเรียนรูแกนกลาง
(แนวตอบ เหตุการณพระนารายณกําลังจะ ปราบนนทกถึ ง พร้ อ มด้ ว ยความดี เ ด่ น ด้ า นเนื้ อ หา
■ การวิเคราะหคุณคาและขอคิดจากวรรณคดี ที่ ใ ห้ คุ ณ ค่ า และให้ ข ้ อ คิ ด แก่ ผู ้ อ ่ า นหลายประการที่
สังหารนนทก) และวรรณกรรม เรื่อง รามเกียรติ์
ตอน นารายณปราบนนทก สามารถน�าไปใช้ประโยชน์ได้ นอกจากนีย้ งั ให้ความรูด้ า้ น
• นักเรียนคิดวา อาวุธประจํากายของพระนารายณ ■ บทอาขยานตามที่กําหนดและบทรอยกรองที่มีคุณคา ศิลปวัฒนธรรมไทยอีกด้วย
มีอะไรบาง
(แนวตอบ ตรี คทา จักร สังข)

เกร็ดแนะครู
ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมเพื่อสงเสริมการเรียนการสอนวรรณคดีไทย เรื่อง
รามเกียรติ์ โดยใหนักเรียนไดศึกษาประวัติความเปนมาของเรื่องรามเกียรติ์จาก
แหลงการเรียนรูตางๆ เพื่อใหมีความเขาใจเนื้อเรื่องและพฤติกรรมของตัวละคร
ตอน นารายณปราบนนทก ซึ่งเปนตอนที่แทรกเขามาในตอนตนของบทละครเรื่อง
รามเกียรติ์ เมื่อเรื่องดําเนินมาถึงตอนที่มเหสีทั้งหาของทาวลัสเตียนทรงครรภ
พระมเหสีทุกพระองคประสูติโอรสแลว เหลือเพียงมเหสีองคที่หา นางรัชดา
เรื่องจึงตัดมากลาวถึงนนทกที่อยูบนสวรรค

52 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา
Engage Explore อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Explain Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
1. ครูสนทนารวมกับนักเรียนเกี่ยวกับภาพวาด
๑ ความเป็นมา ฝาผนังจากนั้นตั้งคําถามวา
1 นักเรียนรูจักภาพวาดแผนหินหรือ
บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ เป็นวรรณคดี ประติมากรรมที่เกี่ยวของกับวรรณคดีเรื่อง
ทีม่ คี วามส�าคัญเรือ่ งหนึง่ และมีอทิ ธิพลต่อความคิด รามเกียรติ์บางหรือไม หากทราบสามารถบอก
ความเชื่อของคนไทย ในประวัติวรรณคดีพบว่า ไดหรือไมวา พบที่ใดไดบาง
ไทยได้รบั เค้าเรือ่ งมาจากมหากาพย์“รำมำยณะ” (แนวตอบ วัดวาอาราม เทวสถานตางๆ
ของอินเดีย ซึง่ เผยแพร่มายังประเทศไทยไม่ตา�่ กว่า พิพิธภัณฑ)
๙๐๐ ปี ดังปรากฏหลักฐานส�าคัญที่ปราสาทหิน 2. ครูใหนักเรียนเลาเรื่องราวพระราชประวัติ
พิมาย ซึ่งมีภาพสลักศิลากล่าวถึงเรื่องรามเกียรติ์ ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก
ในศิ ล าจารึ2 ก พ่ อ ขุ น รามค� า แหงมี ก ารกล่ า วถึ ง มหาราช เกี่ยวกับพระราชกรณียกิจ และ
ถ�้าพระรามและถ�้าสีดา เรื่องรามเกียรติ์ที่ปรากฏ พระปรีชาสามารถในฐานะปฐมกษัตริย
ในวรรณคดีจะมีหรือไม่นนั้ ไม่พบหลักฐานทีแ่ น่ชดั แหงราชวงศจักรี
แต่ มี ว รรณคดี ไ ทยหลายเรื่ อ งที่ ย กเหตุ ก ารณ์ 3
ภำพศิลำจ�ำหลักบนทับหลังที่ปรำสำทหินพิมำยแสดงภำพ
จากเรื่ อ งรามเกี ย รติ์ ไ ปกล่ า วอ้ า ง เช่ น ราชา รำมเกียรติ์ ตอน พระลักษมณ์ต้องศรนำคบำศ ส�ารวจค้นหา Explore
พิลาปค�าฉันท์ (นิราศสีดา) มีเนื้อความที่เป็น 4
การพรรณนาคร�่าครวญของพระรามตอนออกเดินทางติดตามหานางสีดา หรือภายในโคลงทวาทศมาส 1. นักเรียนศึกษาคนควาประวัติความเปนมาของ
ก็มีการกล่าวอ้างชื่อตัวละครจากเรื่องรามเกียรติ์ ดังบทประพันธ์ บทละครเรื่องรามเกียรติ์ จากแหลงเรียนรู
ตางๆ เชน หนังสือเรียน บทละครในเรื่อง
ปางบุตรนคเรศไท้ ทศรถ รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก หรือ
จากสีดาเดียวลี ลาศแล้ว จากเว็บไซตตางๆ
นอกจากนี้ ยังมีบทพากย์รามเกียรติ์ครั้งกรุงเก่า บทละครรามเกียรติ์ครั้งกรุงเก่า และ 2. นักเรียนแบงกลุม เปน 4 กลุม ตอยอดความรู
บทพระราชนิพนธ์ของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ดังบทประพันธ์ ดวยการสืบคนขอมูลความรูเกี่ยวกับเรื่อง
รามเกียรติ์ทั้ง 4 ฉบับ
บัดนั้น นวลนางสีดามารศรี 3. นักเรียนศึกษาคนควาพระราชประวัติพระบาท
ก้มเกล้ากราบทูลทันที ข้านี้เป็นเมียพระรามา สมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก
4. นักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับฉันทลักษณของ
เมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐ ในเหตุการณ์เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒ วรรณคดีของชาติถูกเผาท�าลาย
คําประพันธประเภทรายดั้น โคลง และกลอน
เป็นจ�านวนมาก ครั้นสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงกอบกู้เอกราชและตั้งกรุงธนบุรีเป็นราชธานี
บทละคร จากเอกสาร ตํารา และเว็บไซต
พระองค์ทรงฟื้นฟูวรรณคดีของชาติ โดยทรงพระราชนิพนธ์รามเกียรติ์ในตอน พระมงกุฎประลองศร
ตางๆ
ตอน หนุมานเกี้ยวนางวานริน ตอน ท้าวมาลีวราชว่าความ และตอน ทศกัณฐ์ตั้งพิธีทรายกรด

53

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ขอใดมีอิทธิพลตอวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์
1 รามเกียรติ์ แปลวา เกียรติหรือชื่อเสียงของพระราม
1. นิทานปนหยี 2. คัมภีรภควัทคีตา
3. มหากาพยภารตะ 4. มหากาพยรามายณะ 2 ถํ้าพระราม มีปรากฏในศิลาจารึกพอขุนรามคําแหงความวา “จารึกอันหนึ่ง
มีในเมืองเชลียงสถาบกไวดวยพระศรีรัตนธาตุ จารึกอันหนึ่งมีในถํ้าชื่อถํ้าพระราม
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. นิทานปนหยี เปนนิทานหรือตํานานที่มีเนื้อเรื่อง
อยูฝงนํ้าสํพาย จารึกอันหนึ่งมีในถํ้ารัตนธารในกลวงปาตาลนี้ มีศาลาสองอัน อัน
เกีย่ วกับอิเหนา “ปนหยี” เปนชือ่ ชวาใชเรียก “อิเหนา” ขอ 2. คัมภีรภ ควัทคีตา
หนึ่งชื่อศาลาพระมาส อันณึ่งชื่อพุทธศาลา ขดารหินนี้ชื่อมนังศิลาบาตร สถาบกไว
เปนสวนหนึ่งของมหากาพยภารตะ เปนคัมภีรที่มีชื่อเสียง และมีอิทธิพล
หนี้ (จึ่ง) ทังหลายเห็น”
มากที่สุดตอวิถีชีวิตของชาวอินเดียสวนใหญในสมัยเมื่อประมาณ 200 ป
กอนคริสตศกั ราชเปนประเพณีทนี่ บั ถือสืบตอกันมา ขอ 3. มหากาพยภารตะ 3 ปราสาทหินพิมาย เปนปราสาทขอมที่ใหญที่สุดในประเทศไทย ตั้งอยูที่
เปนเรื่องเลาขนาดยาว ซึ่งทําใหมีเรื่องยอยๆ แทรกอยูหลายเรื่อง ที่รูจักกัน จังหวัดนครราชสีมา สันนิษฐานวา สรางขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 ในสมัยของ
เปนอยางดีในไทย เชน ศกุนตลา สาวิตรี พระนล กฤษณาสอนนอง อนิรุทธ พระเจาสุริยวรมันที่ 1 แหงอาณาจักรขอม
เปนตน ขอ 4. มหากาพยรามายณะ เปนมหากาพยที่ยิ่งใหญอีกเรื่องของ 4 โคลงทวาทศมาส เปนโคลงดั้นทํานองนิราศ กลาวถึงเหตุการณประเพณีที่
อินเดีย แพรหลายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต คนไทยไดนํามาแตงใหม เกิดขึ้นในแตละเดือน เนื้อเรื่องพรรณนาถึงความรัก ความอาลัยที่มีตอนางอันเปน
เรียกวา “รามเกียรติ์” ตอบขอ 4. ที่รัก

คู่มือครู 53
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนและครูรวมกันสรุปเกี่ยวกับประวัติ
ความเปนมาของเรื่องรามเกียรติ์ สมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงเห็นว่าเรือ่ งรามเกียรติ์
(แนวตอบ บทละครเรื่องรามเกียรติ์ เปนพระราช- นอกจากจะให้ความสนุกสนานเพลิดเพลินแล้ว ยังมีคติธรรมที่จับใจคนไทยอีกด้วย เพราะเป็นช่วงที่
นิพนธในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก- สร้างกรุงเทพฯ เป็นราชธานี พระองค์ทรงมีพระราชประสงค์ให้ข้าราชบริพารเป็นน�้าหนึ่งใจเดียวกัน
รู้จักหน้าที่ของข้าราชการที่ดี จึงโปรดเกล้าฯ ให้พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชบริพารที่มีความรู้
มหาราช เนื้อเรื่องมีที่มาจากวรรณคดีของอินเดีย
ทางด้านอักษรศาสตร์ช่วยกันแต่ง ส่วนพระองค์ทรงมีพระบรมราชานุเคราะห์ในการตรวจแก้ไข
เรื่องรามายณะ อันเปนวรรณคดีที่สําคัญและมีมา บางตอนทรงพระราชนิพนธ์ด้วยพระองค์เอง บทละครเรื่องนี้ทรงพระราชนิพนธ์เสร็จเรียบร้อย
นานกวา 2,400 ปแลว และไทยรับมากวา 900 ป เมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๐ เป็นรามเกียรติ์ฉบับที่สมบูรณ์ที่สุด มีเนื้อความละเอียดพิสดารถึง ๑๑๗ เล่มสมุดไทย
นํามาเลนเปนหนังและโขนตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา รวมค�ากลอนไม่ต�่ากว่า ๖๐,๐๐๐ ค�ากลอน
สมเด็จพระเจากรุงธนบุรีไดทรงพระราชนิพนธเรื่อง พระราชประสงค์ในการทรงพระราชนิพนธ์ คือ เพื่อให้ความบันเทิง ส�าหรับเล่นละครใน และ
รามเกียรติ์เปนกลอนบทละคร แตไมแพรหลาย ปลุกใจประชาชนให้กล้าหาญ โดยทรงใช้บทละครสอนค่านิยมและศีลธรรมแก่ประชาชน
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช เนื้อเรื่องรามเกียรติ์ แบ่งออกเป็น ๓ ตอน คือ
ทรงเกรงวา เรื่องรามเกียรติ์จะสูญไปเสียจึงได ตอนที่ ๑ เป็นตอนก�าเนิดตัวละครต่างๆ มีใจความส�าคัญกล่าวถึงพวกอสูรท�าความเดือดร้อน
แก่มนุษย์ พระนารายณ์จึงอวตาร (แบ่งภาค) ลงมาเกิด
ทรงพระราชนิพนธขึ้น และไดโปรดเกลาฯ ใหกวี ตอนที่ ๒ เป็นตอนเกิดสงคราม เริ่มจากพระรามได้ออกผนวชและเดินป่า พร้อมด้วยนางสีดา
ในสมัยของพระองครวมนิพนธดวยหลายตอน และพระลักษมณ์ ทศกัณฐ์ใช้อุบายลักนางสีดาไปไว้ในกรุงลงกา พระรามออกตามหานางสีดา ได้วานร
ความสําคัญอีกประการหนึ่งของเรื่องรามเกียรติ์ คือ เป็นบริวาร ใจความส�าคัญอยู่ที่การรบระหว่างพระรามกับทศกัณฐ์ ซึ่งทศกัณฐ์และญาติวงศ์พงศา
เปนวรรณคดีที่แตงขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองพระนคร พากันล้มตาย พระรามจึงได้นางสีดาคืน
เรื่องรามเกียรติ์ฉบับพระราชนิพนธในรัชกาลที่ 1 มี ตอนที่ ๓ เป็นตอนพระรามกลับเข้าครองเมือง บริวารทศกัณฐ์ที่ยังรอดชีวิตอยู่ออกอุบาย
ลักษณะทีอ่ นุโลมตามแบบอยางบทละครรํา แตเพราะ ให้พระรามเข้าใจนางสีดาผิดว่านางมีใจปฏิพัทธ์ต่อทศกัณฐ์ พระรามจึงสั่งให้พระลักษมณ์น�านางสีดา
มีขนาดยาว จึงเปนไปไดวาทรงพระราชนิพนธเพื่อจะ ไปประหาร แต่พระลักษมณ์ปล่อยนางไป นางสีดาต้องจากเมืองไปอยู่กับฤๅษีและก�าเนิดพระโอรส
ต่ อ มาพระรามรู ้ ค วามจริ ง ว่ า พระองค์ เข้ า ใจผิ ด จึ ง พยายามติ ด ตามไปขอรั บ นางเข้ า เมื อ งและได้
ใหมีเรื่องรามเกียรติ์ฉบับที่สมบูรณเก็บไว สําหรับการ ท�าพิธีราชาภิเษกเสวยราชย์ในกรุงศรีอยุธยา
เลนละครหรือการอาน) รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทกปรากฏอยู่ในตอนที่ ๑ กล่าวถึงมูลเหตุที่นนทกอุบัติ
มาเกิดเป็นทศกัณฐ์และพระนารายณ์อวตารมาเป็นพระราม ซึ่งในหนังสือลิลิตนารายณ์สิบปาง
ขยายความเข้าใจ Expand พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๖ กล่าวว่าเป็นปางที่ ๗ ที่พระนารายณ์แบ่งภาคลงมาเกิดเพื่อปราบยุคเข็ญ
บทละครเรื่องรามเกียรติ์ มีผู้แต่งหลายฉบับ ดังเช่น
นักเรียนแตละกลุม สืบคนขอมูลเกีย่ วกับภาพวาด ๑. บทละครรามเกียรติ์ พระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ตอน พระมงกุฎ
ฝาผนังเรื่องรามเกียรติ์ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ประลองศร ตอน หนุมานเกีย้ วนางวานริน ตอน ท้าวมาลีวราชว่าความ และตอน ทศกัณฐ์ตงั้ พิธที รายกรด
แลวนําเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรูหนาชั้นเรียน ๒. บทละครรามเกียรติ์ พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
ส�าหรับใช้อ่าน
๓. บทละครรามเกียรติ์ พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ส�าหรับใช้
เล่นโขน
๔. บทละครรามเกียรติ ์ พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ตอน พระราม
เดินดง
54

กิจกรรมสรางเสริม
บูรณาการ
เศรษฐกิจพอเพียง
ในอดีตคนไทยนิยมทําสมุดจากกระดาษขอยหรือกระดาษสาขึ้นใชเอง เรียกวา นักเรียนศึกษาวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ฉบับตางๆ ที่มีในไทย แลวเลือก
“สมุดไทย” เพื่อใชบันทึกเหตุการณสําคัญ วรรณกรรม และวรรณคดีหลากหลายเรื่อง ฉบับที่เห็นวานาสนใจมา 2 ฉบับ สรุปเปนสํานวนภาษาของนักเรียนเอง
หากนักเรียนตองการสืบสานภูมปิ ญ  ญาดานนีจ้ ะสามารถทําไดอยางไร ใหนกั เรียน พรอมบอกเหตุที่เลือก บันทึกลงในสมุด
เขียนวิธีการ ขั้นตอน และวัสดุอุปกรณในการทําสมุดเพื่อจดบันทึกเรื่องราวตางๆ
พรอมตกแตงใหสวยงามตามชอบ คนละ 1 เลม (สมุดตองทําจากวัสดุเหลือใชที่
นักเรียนสามารถหาไดจากสิ่งของรอบตัว)
กิจกรรมทาทาย

นักเรียนศึกษาวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ฉบับตางๆ แลววิเคราะห
เปรียบเทียบความแตกตางระหวางฉบับรัชกาลที่ 1 และฉบับรัชกาลที่ 2

54 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนอานพระราชประวัติพระบาทสมเด็จ
๒ ประวัติผู้แต่ง พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช จากหนังสือเรียน
ในหนา 55 จากนั้นครูสุมนักเรียน 1-2 คน อธิบาย
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช มีพระนามเดิมว่า ด้วง หรือทองด้วง เกี่ยวกับพระราชกรณียกิจดานวรรณคดี
เป็นบุตรพระอักษรสุนทร (ทองดี) ข้าราชการกรมอาลักษณ์กับท่านหยก ธิดาเศรษฐีจีน พระองค์เสด็จ (แนวตอบ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก
พระราชสมภพที่กรุงศรีอยุธยา เมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๒๗๙ ในรัชกาลพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ มหาราช ทรงโปรดฯ ใหประชุมนักปราชญราช-
หลังจากอุปสมบทแล้วได้เข้ารับราชการเป็นมหาดเล็กหลวง ขณะมีพระชนมายุได้ ๒๕ พรรษา เป็น บัณฑิต ทัง้ พระสงฆและฆราวาส รวบรวมฟน ฟู
หลวงยกกระบัตรราชบุรี เมื่อครั้งสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงกอบกู้อิสรภาพจากพม่า พระองค์ วรรณคดีของชาติขนึ้ ใหม โดยบางเรือ่ งพระองค
ทรงพระราชนิพนธขนึ้ เอง และยังเปนประธานในการ
ทรงเป็นก�าลังส�าคัญในการกอบกูบ้ า้ นเมืองหลายครัง้ จนได้เลือ่ นยศเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริยศ์ กึ
ชําระวรรณคดีเกาใหเนือ้ เรือ่ งสมบูรณและไพเราะขึน้
เมือ่ พ.ศ. ๒๓๒๕ เกิดจลาจลขึน้ ในประเทศกัมพูชา สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริยศ์ กึ เป็นแม่ทพั
ผลงานพระราชนิพนธ เชน เพลงยาวรบพมา
ไปปราบปราม แต่กรุงธนบุรีเกิดความวุ่นวายเนื่องด้วยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชมีพระอัธยาศัย ทีท่ า ดินแดง (นิราศไทยรบพมาทีท่ า ดินแดง)
ผิดปกติไปจากเดิม พระยาสรรค์กับพวกได้ก่อการกบฏ จับกุมพระองค์ไปกักขังไว้ และออกว่าราชการ กฎหมายตราสามดวง บทละครเรือ่ งรามเกียรติ์
จนเกิดการต่อสู้กันวุ่นวาย เมื่อเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกทรงทราบข่าว จึงยกกองทัพกลับมาถึง เปนตน)
กรุงธนบุรีเมื่อวันที่ ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๓๒๕ ประชาชนและข้าราชการทั้งปวงร่วมอัญเชิญขึ้นเป็น
พระมหากษัตริย์และพระองค์ได้ทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี นับเป็นปฐมกษัตริย์แห่ง ขยายความเข้าใจ Expand
ราชวงศ์จักรี
จากการคนควาพระราชประวัติพระบาท
หลังจากเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
สมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก และผลงานทาง
ทรงท�านุบา� รุงบ้านเมืองให้เ1จริญขึน้ ทุกด้าน ทัง้ การสร้างพระนคร สถาปนาพระบรมมหาราชวัง การสร้าง วรรณคดี จากแหลงเรียนรูตางๆ เพิ่มเติม นักเรียน
2
นศาสดาราม การต่อสู้ป้องกันประเทศ การท�านุบ�ารุงพระพุทธศาสนา
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ธศาสนา การสังคายนา เขียนเรียงความ หัวขอ “ปฐมกษัตริยแหงราชวงศ
พระไตรปิฎกก และท�3 านุบ�ารุงศิลปวัฒนธรรมของชาติ จักรี” ความยาว 1 หนา
ในด้ า นวรรณคดี ซึ่ ง เป็ น วั ฒ นธรรมส� า คั ญ แขนงหนึ่ ง ของชาติ ที่ เ คยเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งในสมั ย
กรุงศรีอยุธยาได้สูญหายไปมาก พระองค์จึงโปรดเกล้าฯ ให้ประชุมนักปราชญ์ราชบัณฑิตทั้งพระสงฆ์
และฆราวาส ช่วยกันรวบรวมฟื้นฟูวรรณคดีของชาติขึ้นใหม่ นอกจากที่พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์เอง
แล้ว ยังทรงเป็นประธานในการช�าระวรรณคดีเก่า ท�าให้กวีรุ่นหลังได้มีโอกาสตัดตอนวรรณคดีตาม
แบบฉบับไปประพันธ์ขึ้นใหม่ให้มีความไพเราะและมีเนื้อเรื่องสมบูรณ์ขึ้น
งานพระราชนิพนธ์ ได้แก่
๑. เพลงยาวรบพม่าที่ท่าดินแดง (นิราศรบพม่าที่ท่าดินแดง)
๒. กฎหมายตราสามดวง
๓. บทละครเรื่องรามเกียรติ์
55

บูรณาการเชื่อมสาระ
ครูบูรณาการความรูกับกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และ นักเรียนควรรู
วัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร โดยใหนักเรียนศึกษาพระราชประวัติ
1 วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือวัดพระแกว เดิมเปนพระบรมมหาราชวัง
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ที่ทรงเห็นความสําคัญ
ถือเปนวัดประจําราชธานี และเปนที่ประดิษฐานพระแกวมรกตพระพุทธรูป
ของการพัฒนาบานเมือง ดวยการทํานุบํารุงศาสนา และทรงรวบรวม
คูบานคูเมือง
ฟนฟูวรรณคดีใหไทยมีวรรณคดีมรดกตกทอดสูรุนหลัง สงเสริมคุณคาทาง
ศิลปวัฒนธรรมใหเปนเอกลักษณและความภาคภูมิใจในชาติ โดยเฉพาะ 2 การทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา รัชกาลที่ 1 ทรงสรางวัดสุทัศนเทพวราราม
วัฒนธรรมนั้นเปนเรื่องเฉพาะของแตละสังคม จึงควรมีการวางรากฐานและ รวมถึงการบูรณะวัดตางๆ อาทิ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม วัดราชบุรณะ
สรางแบบแผนใหคนในสังคมยึดถือปฏิบัติเปนวัฒนธรรมที่ดีงามสืบตอกัน วัดอรุณราชวราราม วัดระฆังโฆสิตาราม
3 การสังคายนาพระไตรปฎก พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช
ไดโปรดฯ อาราธนาพระสงฆชั้นพระราชาคณะและราชบัณฑิตทั้งหลายประชุมทํา
สังคายนาพระไตรปฎกขึ้นที่วัดนิพพานาราม ใชเวลา 5 เดือน แลวเสร็จในป
พ.ศ. 2332 แลวโปรดฯ ใหจารึกลงลานไวเปนพระไตรปฎกฉบับหลวง ปดทองทึบ
ทั่วใบปกหนาและหลังกรอบ เรียกวา “พระไตรปฎกฉบับทอง”

คู่มือครู 55
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนรวมกันอภิปรายความรูเกี่ยวกับ
ฉันทลักษณของคําประพันธประเภทรายดั้น กลอน ๔. บทละครเรื่องอุณรุท
บทละคร และโคลง ๕. บทละครเรื่องดาหลัง
(แนวตอบ ฉันทลักษณตางๆ ในบทละครเรื่อง ๖. บทละครเรื่องอิเหนา
รามเกียรติ์ มีดังนี้ ๗. นิทานอิหร่านราชธรรม
• รายดั้น ลักษณะบังคับ คือ บทหนึ่งจะมี ๘. การช�าระพระราชพงศาวดาร (ปัจจุบันเรียกว่า ฉบับ
กี่วรรคก็ได แตนิยมมีตั้งแต 5 วรรคขึ้นไป วรรคหนึ่ง พันจันทนุมาศ (เจิม))
มี 5 คํา (แตอาจจะมีจํานวนคําตั้งแต 3-8 คําก็ได) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
และจะตองจบลงดวยลักษณะบาทที่ 3 และ 4 ของ เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ ๗ กันยายน พ.ศ. ๒๓๕๒ ด้วยพระวุฒิโรค
โคลงดั้นวิวิธมาลี สัมผัสคําสุดทายของวรรคหนาไป (โรคชรา) ขณะมีพระชนมายุ ๗๒ พรรษา รวมเสวยสิริราชสมบัติ 1
พระบรมสำทิสลักษณ์
สัมผัสกับคําที่ 1, 2 หรือ 3 ของวรรคตอไปเหมือน เป็นเวลา ๒๘ ปี
พระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ำ
รายชนิดอื่นๆ แต 5 วรรคสุดทายกอนจะจบบทจะ จุฬำโลกมหำรำช
ตองมีสัมผัส คือ คําสุดทายของวรรคแรกใน 5 วรรค ๓ ลักษณะคÓประพัน¸์
สุดทายนี้จะสัมผัสกับคําแรกในวรรคที่ 2 ตอจากนั้น
บทละครเรื่องรามเกียรติ์พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
ไมมีการรับหรือสงสัมผัสอีก
ทรงพระราชนิพนธ์ด้วยค�าประพันธ์หลายชนิดให้เหมาะสมกับเนื้อเรื่อง ดังนี้
• กลอนบทละคร ที่แตงขึ้นสําหรับแสดงละคร
มีทั้งเปนละครรําและละครรอง ลักษณะบังคับของ
๓.๑ ร่ายดัน้
พระองค์ทรงใช้ร่ายดั้นเป็นการเปิดเรื่อง พรรณนาถึงความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมือง
คํากลอน เปนเชนเดียวกับคํากลอนทั่วไป วรรคหนึ่ง
และพระราชกรณียกิจต่างๆ ของพระองค์ แล้วกล่าวถึงสาเหตุที่ทรงพระราชนิพนธ์เรื่องรามเกียรติ์ว่า
กําหนด 6-9 คํา เฉพาะละครรํานิยมใช 6 หรือ 7 คํา
เพื่อใหเขากับจังหวะการรองและการรํา ทําใหฟง ...กระวีวิธหลายหลาก 2 รู้มลากหลายฉันท์ นิพันธ์โคลงค�ากลอน ภูธรด�าริด�ารัส
ไพเราะและรํางาม จัดจองท�านองนุก ไตรดายุคนิทาน ต�านานเรื่องรามเกียรติ์ เบียนบรปักษ์ยักษพินาศ
• โคลงกระทูหรือโคลงสี่สุภาพบทหนึ่งมี 4 บาท ด้วยพระราชโวหาร...
แตละบาท วรรคหนามี 5 คํา วรรคหลังมี 2 คํา ยกเวน
วรรคหลังของบาทที่ 4 มี 4 คํา สัมผัสมี ดังนี้ คําสุดทาย ๓.๒ กลอนบทละคร 3
ของบาทแรกสัมผัสกับคําที่ 5 ของบาทที่ 2 และ 3 การด� า เนิ น เรื่ อ งทรงพระราชนิ พ นธ์ เ ป็ น กลอนบทละคร มี ลั ก ษณะบั ง คั บ เหมื อ น
และคําสุดทายของบาทที่ 2 สัมผัสกับคําที่ 5 ของ กลอนสุภาพ แต่วรรคแรกมักขึ้นต้นด้วย เมื่อนั้น บัดนั้น มาจะกล่าวบทไป เป็นต้น
บาทที่ 4) เมื่อนั้น ใช้กับตัวละครเอกของเรื่องหรือตัวละครที่เป็นพระมหากษัตริย์
บัดนั้น ใช้กับตัวละครสามัญหรือตัวละครที่มีบทบาทรองลงไป
ขยายความเข้าใจ Expand มาจะกล่าวบทไป นิยมใช้เมื่อขึ้นความใหม่หรือตอนใหม่

นักเรียนเลือกแตงคําประพันธประเภทรายดั้น
โคลง หรือกลอนบทละครตามความสนใจ จํานวน
2 บท ในหัวขอ “รามเกียรติ์วรรณคดีมรดก” 56

กิจกรรมสรางเสริม
นักเรียนควรรู
1 พระบรมสาทิสลักษณ แปลวา ภาพวาด หากเปนภาพถาย เรียกวา นักเรียนยกบทประพันธจากเรื่องรามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก
พระบรมฉายาลักษณ ที่นักเรียนเห็นวานาสนใจมา 2 บท แลวโยงเสนสัมผัสคําประพันธทั้งสัมผัส
2 ไตรดายุค เปนหนึ่งในสี่ยุค ไดแก กฤดายุค ไตรดายุค ทวาบรยุค และกลียุค ในบทและระหวางบท ใหถูกตองตามลักษณะคําประพันธ
ไตรดายุค เปนยุคที่ 2 ที่ความเที่ยงธรรมหายไป 1 ใน 4 ของความเที่ยงธรรม
ทั้งหมด จึงเริ่มเกิดความเสื่อม
3 กลอนบทละคร กําหนดลักษณะเฉพาะของคําขึ้นตนบทไว ดังนี้ กิจกรรมทาทาย
• มาจะกลาวบทไป ใชขึ้นตนบทเมื่อเริ่มเรื่องหรือจับตอนใหม หรือกลาวถึง
เรื่องที่แทรกเขามา
• เมื่อนั้น ใชขึ้นตนบทละครที่เปนตัวละครสําคัญในเรื่อง เชน ตัวเอกหรือ นักเรียนยกบทประพันธจากเรื่องรามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก
ตัวละครที่มีศักดิ์สูง ที่นักเรียนสนใจ 2-4 บท มาใหนักเรียนวิเคราะหภาษาและลักษณะ
• บัดนั้น ใชขึ้นตนบทละครที่เปนตัวประกอบ หรือผูนอยที่มีผูใหญอยูเหนือ คําประพันธ
เมื่อขึ้นตนบทดวยคําวา “มาจะกลาวบทไป” “เมื่อนั้น” หรือ “บัดนั้น” แลว
ไมตองใหพยางคทายสัมผัสกับคําใดในวรรคหลัง
56 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนรวมกันอภิปรายความรูเกี่ยวกับ
จ�านวนค�าในแต่ละวรรคจะไม่ก�าหนดตายตัวเพื่อให้ผู้แสดงหรือผู้ร�าละครสามารถร�า ฉันทลักษณของคําประพันธประเภทโคลงกระทู
ตามบทได้ และต้องมีการก�าหนดเพลงหน้าพาทย์ประกอบกิริยาอาการเคลื่อนไหวของตัวละคร และโคลงสี่สุภาพ
และบอกท�านองเพลงขับร้องเมื่อขึ้นต้นก�ากับไว้ พร้อมทั้งบอกจ�านวนค�าในบทนั้นโดยใช้ค�าว่า “ค�ำ” (แนวตอบ ลักษณะบังคับของโคลง มีดังนี้
ซึ่งหมายถึง ค�ากลอน คือ จ�านวน ๒ วรรค เป็น ๑ ค�ากลอน ทั้งนี้ บทละครเรื่องรามเกียรติ์บางฉบับ คณะของโคลงสุภาพและโคลงกระทู 1 บท
อาจไม่ได้ก�าหนดเพลงหน้าพาทย์และบอกท�านองเพลงขับร้องไว้ครบทุกบท เช่น บทละครเรื่อง
มี 4 บาท บาทหนึ่งมี 2 วรรค วรรคตนมี 5 คํา
รามเกี ย รติ์ ตอน นารายณ์ ป ราบนนทก เนื่ อ งด้ ว ยมี พ ระราชประสงค์ เ พื่ อ ให้ ค วามเพลิ ด เพลิ น
เป็นหลัก บางบทที่ไม่ได้ก�าหนดเพลงหน้าพาทย์จึงเขียนเพียงจ�านวนค�ากลอนไว้เท่านั้น ในที่นี้จะ วรรคหลังมี 2 คํา สวนบาทที่ 4 นั้น วรรคตนมี
ยกตัวอย่างบทประพันธ์ที่สมบูรณ์มาเป็นตัวอย่าง ดังบทประพันธ์ 5 คํา วรรคหลังมี 4 คํา โคลง 1 บท จึงมี 30 คํา
ทายบาท 1 และ บาท 3 ถาความไมครบสามารถ
ร่าย เติมคําสรอยไดอีก 2 คํา โคลงสี่สุภาพแตละบท
ครั้นได้ศุภฤกษ์ยามดี พระรวีหมดเมฆแสงฉาน บังคับคําเอกและคําโท คําเอก คือ คําที่บังคับ
ปีขาลเดือนสามอังคาร เยาวมาลย์ก็ประสูติโอรส
เป็นวานรผู้เผ่นออกทางโอษฐ์ เผือกผ่องไพโรจน์ทั้งกายหมด
ไมเอก หรือจะใชคําตายแทนคําเอกก็ได มี 7 คํา
ใหญ่เท่าชันษาได้โสฬส อลงกตดั่งดวงศศิธร คําโท คือ คําที่บังคับใหมีไมโท มี 4 คํา สวน
ฯ ๔ ค�า ฯ คุกพาทย์ โคลงกระทู คือ โคลงที่มีลักษณะคณะคลาย
1 โคลงสี่สุภาพ แตที่แตกตางคือ ตองแตง
ร่าย เป็นท�านองเพลงขับร้องที่ผู้ร้องขับให้ตัวละครร่ายร�าตามบท เรียกว่า “ร�
“ร�ำตำมบท” ตามกระทูที่กําหนด ซึ่งวางไวตนบาททุกบาท
ร่ายนิยมใช้ในกรณีต้องการให้ด�าเนินเรื่องไปอย่างรวดเร็ว
แลวจึงแตงขยายความ)
๔ ค�า หมายถึง จ�านวนกลอน ๔ ค�ากลอน
คุกพาทย์ เป็นท�านองเพลงหน้าพาทย์ ที่ใช้ประกอบเนื้อเรื่องที่แสดงอิทธิปาฏิหาริย์ 2. นักเรียนอธิบายความรูเกี่ยวกับลักษณะ
๓.๓ โคลง คําประพันธ
2 • ลักษณะคําประพันธของกลอนบทละครมี
เมื่อจบเรื่องแล้วทรงพระราชนิพนธ์เป็นโคลงกระทู้ ๑ บท เพื่อบอกวัตถุประสงค์ใน
การแต่งและต่อด้วยโคลงสี่สุภาพ ๑ บท เป็
เป็นการบอกระยะเวลาเมื่อเริ่มพระราชนิพนธ์ ความสัมพันธกับตัวบทอยางไร
โคลงกระทู้ (แนวตอบ การแตงคําประพันธประเภทกลอน
จบ เรื่องราเมศมล้าง อสุรพงศ์ บทละครเรื่องรามเกียรติ์ พระราชนิพนธใน
บ พิตรธรรมิกทรง แต่งไว้ รัชกาลที่ 1 ใชคําประพันธประเภทกลอน
ริ ร�่าพร�่าประสงค์ สมโภช พระนา บทละคร คําจึงสั้น กระชับ เหมาะที่จะนําไป
บูรณ์ บ�าเรอรมย์ให้ อ่านร้องร�าเกษม ประกอบทารําได และมีการกําหนดจํานวน
คํากลอน)
โคลงสี่สุภาพ
เดือนอ้ายสองค�่าขึ้น จันทรวาร
บพิตรผู้ทรงฌาน ยิ่งหล้า ขยายความเข้าใจ Expand
แรกรินิพนธ์สาร รามราพณ์ นี้แฮ นักเรียนยกโคลงกระทูท ปี่ รากฏในวรรณคดีไทย
ศักราชพันร้อยห้า สิบเก้าปีมะเส็ง เรือ่ งอืน่ ๆ มา 1 บท พรอมอธิบายวา กระทูม ลี กั ษณะ
57 เปนอยางไร

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
............................ นนทกผูมีอัชฌาสัย
ครูอานบทประพันธที่เปนบทอาขยานจากเรื่องรามเกียรติ์ ตอน นารายณ
นอมเสียงบังคมแลวทูลไป จะขอพรเจาไตรโลกา
ปราบนนทก เปนทํานองเสนาะใหนักเรียนฟง จากนั้นสอบถามนักเรียนวาเปน
ขอใดจะทําใหบทประพันธขางตนมีความสมบูรณ
คําประพันธชนิดใด เพื่อวัดความรอบรูเกี่ยวกับคําประพันธประเภทรายดั้น โคลง
1. บัดนั้น
และกลอนบทละคร
2. เมื่อนั้น
3. ครั้นถึง
4. มาจะกลาวบทไป
นักเรียนควรรู
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. บัดนั้น ใชกับตัวละครที่มีบทบาทรองหรือชั้นผูนอย
ขอ 2. เมื่อนั้น ใชกับตัวละครเอกหรือมีศักดิ์สูง ขอ 3. ครั้นถึง ใชเมื่อมีการ 1 รําตามบท หมายถึง การรําโดยใชทวงทาตามบทที่วางไว เชน รําคูรจนาเสี่ยง
สลับฉากไปกลาวถึงตัวละครอื่น และขอ 4. มาจะกลาวบทไป ใชขึ้น พวงมาลัย
ความใหม ตอนใหมที่เขามาแทรก ทั้งนี้สามารถพิจารณาจากวรรคตอมา 2 โคลงกระทู แตกตางจากโคลงสี่สุภาพ ตรงที่โคลงกระทูมีการตั้งชื่อขอความ
วา “นนทกผูมีอัชฌาสัย” นนทกเปนตัวละครชั้นผูนอยเมื่อเทียบกับพระอิศวร หรือหัวขอไวหนาบท โดยขึ้นตนคําหนึ่งหรือมากกวานั้นในแตละคํากลอน แลว
พระพรหม และพระนารายณ ดังนั้น จึงควรใชคําวา “บัดนั้น” ตอบขอ 1. ขยายความตอ

คู่มือครู 57
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนอานเรื่องยอ บทละครเรื่องรามเกียรติ์
ตอน นารายณปราบนนทก แลวสรุปเปนสํานวน
ภาษาของนักเรียนเอง
๔ เรื่องย่อ
2. ครูสุมนักเรียน 3-4 คน มาเลาเรื่องยอเรียง นนทกมี ห น้ า ที่ ล ้ า งเท้ า ให้ แ ก่ บ รรดาเทวดาทั้ ง หลายที่ จ ะเข้ า เฝ้ า พระอิ ศ วรอยู ่ ที่ เชิ ง เขา
ตอกันตามลําดับหนาชั้นเรียน ไกรลาศเป็นเวลานานโกฏิป ี นนทกถูกบรรดาเทวดาแกล้งด้วยการเขกศีรษะบ้าง ลูบหัวบ้าง ถอนผมบ้าง
จนศีรษะล้าน นนทกจึงไปขอพรพระอิศวรให้ตนมีนิ้วเพชรสามารถชี้สังหารผู้ใดก็ได้ เมื่อได้รับพร
ขยายความเข้าใจ Expand นนทกจึงระบายความเคียดแค้น โดยเที่ยวไล่ชี้เทวดาท�าให้ปั่นป่วนไปทั้งสวรรค์ พระอินทร์จึงไป
กราบทูลให้พระอิศวรทรงทราบ พระอิศวรบัญชาให้พระนารายณ์ไปปราบนนทก พระนารายณ์แปลง
จากการอานเรื่องยอ นักเรียนบอกลักษณะเดน พระองค์เป็นนางอัปสรมายั่วยวนนนทก แล้วชวนออกร่ายร�า จนถึงท่าชี้ขาตนเอง ด้วยฤทธานุภาพ
ของตัวละครสําคัญในบทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอน นิ้วเพชรศักดิ์สิทธิ์ขานนทกจึงหักพับลง นางแปลงกลับกลายเป็นพระนารายณ์ขึ้นเหยียบอกนนทก
นารายณปราบนนทก เพื่อสังหาร นนทกจึงตัดพ้อว่า เพราะพระนารายณ์มีสี่กร ตนมีเพียงสองมือสู้ไม่ได้ พระนารายณ์จึงให้
(แนวตอบ ลักษณะเดนของตัวละคร มีดังนี้ นนทกไปอุบัติชาติใหม่ให้มีสิบหน้า ยี่สิบมือ ส่วนพระองค์จะอวตารเป็นมนุษย์ที่มีเพียงสองมื
• พระอิศวร เปนผูมีฤทธิ์เดช 1 อและจะ
ตามไปปราบนนทกในชาติหน้าให้สา� เร็จ นนทกจึงได้จตุ มิ าเป็นทศกัณฐ์ โอรสท้าวลัสเตียนแห่งกรุงลงกา ลงกา
• พระนารายณ ฉลาด มีไหวพริบ ส่วนพระนารายณ์อวตารเป็นพระราม โอรสท้าวทศรถแห่งเมืองอโยธยา (อยุธยา)
• นนทก เจาคิดเจาแคน ประมาท
หลงความงามของสตรี)

ตรวจสอบผล Evaluate
1. นักเรียนแตงคําประพันธประเภทรายดั้น โคลง
และกลอนบทละคร จํานวน 2 บท ในหัวขอ
“รามเกียรติ์วรรณคดีมรดก”
2. นักเรียนเลาประวัติความเปนมาของเรื่อง
รามเกียรติ์ได
3. นักเรียนเขียนเรียงความ หัวขอ “ปฐมกษัตริย
แหงราชวงศจักรี”
4. นักเรียนสรุปเรื่องยอบทละครเรื่องรามเกียรติ์
ตอน นารายณปราบนนทกเปนสํานวนภาษา
ของนักเรียนได
5. นักเรียนบอกลักษณะของตัวละครจากบทละคร
เรื่องรามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทกได นนทกใช้นิ้วเพชรชี้เทวดาจนตาย (จิตรกรรมฝาผนังรอบพระระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดาราม)

58

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
ขอใดตรงกับพฤติกรรมของนนทกที่หลงใหลนารายณแปลง
1 ทาวลัสเตียน บุตรของทาวจตุรพักตร กษัตริยผ คู รองเมืองลงกา และ
1. ชูแตหางเองอา อวดอางฤทธี
นางมลิกา ทาวลัสเตียนมีกายและหนาสีขาว ปากแสยะ ตาโพลง สวมมงกุฎนํ้าเตา
2. บาปยอมทําโทษซํ้า ใสผูบาปเอง
เฟองยอดสะบัด บางตําราวามงกุฎยอดชัย มี 1 พักตร 4 กร มีมเหสี 5 องค ไดแก
3. จิตมนุษยนี้ไซร ยากแทหยั่งถึง
• มเหสีองคที่ 1 ชื่อ ศรีสุนันทา มีโอรสชื่อ กุเปรัน
4. ลิงวาหวาหวังหวา หวาดิ้นโดยตาม
• มเหสีองคที่ 2 ชื่อ จิตรมาลี มีโอรสชื่อ ทัพนาสูร
• มเหสีองคที่ 3 ชื่อ สุวรรณมาลัย มีโอรสชื่อ อัศธาดา วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. หมายความวา โออวดวาตนมีฤทธิ์มากกวา ขอ 2.
• มเหสีองคที่ 4 ชื่อ วรประไพ มีโอรสชื่อ มารัน หมายความวา คนที่ทําบาป กระทําสิ่งไมดียอมไดรับผลนั้นเชนกัน ขอ 3.
• มเหสีองคที่ 5 ชื่อ รัชดา มีโอรส ชื่อ ทศกัณฐ กุมภกรรณ พิเภก หมายความวา จิตของมนุษยยากเกินกวาจะรูไดวาคิดอะไร และขอ 4.
ขร ทูษณ ตรีเศียร และองคสุดทองเปนธิดา ชื่อ สํามนักขา หมายความวา ลิงหลงเขาใจผิดวาสิง่ ทีว่ งิ่ ตามเปนลูกหวา ซึง่ ตรงกับพฤติกรรม
ของนนทกที่เมื่อเห็นนารายณแปลงก็หลงรูปงาม และยอมทําตามที่นางบอก
ทุกอยางเพื่อใหไดนางมาครอบครอง ตอบขอ 4.

58 คู่มือครู
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู
Engage Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน ความสนใจ Engage
1. ครูถามนักเรียนวารูจักตัวละครใดในเรื่อง
๕ เนื้อเรื่อง รามเกียรติ์ โดยใหนักเรียนอธิบายลักษณะเดน
ของตัวละครที่นักเรียนรูจัก
บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก 2. ครูใหนักเรียนชมวีดิทัศนการแสดงโขน
(พระรำชนิพนธ์ในพระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ำจุฬำโลกมหำรำช) รามเกียรติ์ตอนใดตอนหนึ่ง เพื่อใหนักเรียน
เห็นการนําบทละครรามเกียรติ์มาใชในการ
มาจะกล่าวบทไป ถึงนนทกน�้าใจกล้าหาญ แสดงโขน จากนั้นครูสอบถามความสนใจของ
ตั้งแต่พระสยมภูวญาณ ประทานให้ล้างเท้าเทวา นักเรียนที่มีตอวรรณคดีเรื่องนี้
อยู่บันไดไกรลาสเป็นนิจ สุราฤทธิ์ตบหัวแล้วลูบหน้า
บ้างให้ตักน�้าล้างบาทา บ้างถอนเส้นเกศาวุ่นไป สํารวจคนหา Explore
จนผมโกร๋นโล้นเกลี้ยงถึงเพียงหู ดูเงาในน�้าแล้วร้องไห้ 1. นักเรียนศึกษาคนควาความรูเกี่ยวกับเนื้อเรื่อง
ฮึดฮัดขัดแค้นแน่นใจ ตาแดงดั่งแสงไฟฟ้า ของรามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก
เป็นชายดูดู๋มาหมิ่นชาย มิตายก็จะได้เห็นหน้า จากหนังสือเรียน หนา 59-65 หรือจากเว็บไซต
คิดแล้วก็รีบเดินมา เฝ้าพระอิศราธิบดี ตางๆ
ฯ ๘ ค�า ฯ เสมอ 2. สืบคนภาพประกอบเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน
นารายณปราบนนทก จากหนังสือ ตําราหรือ
ครั้นถึงจึ่งประณตบทบงสุ์ ทูลองค์พระอิศวรเรืองศรี เว็บไซตตางๆ เพื่อประกอบการศึกษา
ว่าพระองค์เป็นหลักธาตรี ย่อมเมตตาปรานีทั่วพักตร์ 3. นักเรียนแบงกลุมเปน 7 กลุม ศึกษาเนื้อเรื่อง
ผู้ใดท�าชอบต่อเบื้องบาท ก็ประสาททั้งพรแลยศศักดิ์ บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบ
ตัวข้าก็มีชอบนัก ล้างเท้าสุรารักษ์ถึงโกฏิปี
นนทก เพื่อถอดคําประพันธ
พระองค์ผู้ทรงศักดาเดช ไม่โปรดเกศแก่ข้าบทศรี
อธิบายความรู Explain
กรรมเวรสิ่งใดดั่งนี้ ทูลพลางโศกีร�าพัน
ฯ ๖ ค�า ฯ โอด นักเรียนแบงกลุมเพื่อถอดคําประพันธ
ในหนังสือเรียน กลุมที่ 1 ถอดคําประพันธ
เมื่อนั้น 1 พระอิศวรบรมรังสรรค์ หนา 59 ลงในใบงาน สงครู
เห็นนนทกโศกาจาบัลย์ พระทรงธรรม์ให้คิดเมตตา (แนวตอบ หนา 59 ถอดความไดวา นนทกไดรับ
จึ่งมีเทวราชบรรหาร 2 เอ็งต้องการสิ่งไรจงเร่งว่า หนาที่ลางเทาเทวาอยูเชิงเขาไกรลาส แลวถูกเหลา
ตัวกูจะให้ดั่งจินดา อย่าแสนโศกาอาลัย
เทวดากลั่นแกลงดวยการถอนผม ตบหัว ลูบหนา
จนผมหมดหัว จึงเกิดความคับแคนใจ ไปเฝา
ฯ ๔ ค�า ฯ
พระอิศวร เพื่อขอความเมตตาโดยอางวาตนทํา
59 หนาที่นี้มาหลายป อยากจะขออะไรบางอยาง
พรอมกับรองไห พระอิศวรเห็นใจจึงสอบถามวา
นนทกอยากไดอะไร)

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
เมื่อนั้น พระอิศวรบรมรังสรรค
ครูแนะใหนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับเนื้อเรื่องของรามเกียรติ์ ตอน นารายณ
เห็นนนทกโศกาจาบัลย พระทรงธรรมใหคิดเมตตา
ปราบนนทกดวยตนเอง จากนั้นใหนักเรียนทํากิจกรรมรวมกันในชั้น คือ แบงกลุม
ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับบทประพันธขางตน
นักเรียนเทากับจํานวนตัวละครในเรื่อง แลวแตละกลุมอานออกเสียงบทประพันธ
1. พระอิศวรเห็นนนทกเศราโศกแลวเกิดความสงสาร
เปนทํานองเสนาะในบทเจรจาของตัวละครที่รับผิดชอบ โดยใชนํ้าเสียงใหสอดคลอง
2. นนทกเศราโศกเสียใจแตไมตองการใครมาปลอบ
กับบทบาทหรืออารมณของตัวละครนั้นๆ
3. พระอิศวรจําตองถามสาเหตุที่นนทกเศราโศก
4. นนทกหวั่นเกรงอํานาจของพระอิศวร
นักเรียนควรรู
วิเคราะหคําตอบ จากบทประพันธขางตนถอดคําประพันธไดวา เมื่อพระ
อิศวรผูยิ่งใหญเห็นนนทกรองไหครํ่าครวญ ก็ทรงรูสึกสงสารอยากชวยเหลือ 1 โศกาจาบัลย จาบัลย เปนคํา กริยา หมายความวา หวั่นไหว กระสับกระสาย
โดยความในบทประพันธไมไดชี้ใหเห็นวานนทกไมตองการใหใครมาปลอบ เมื่อรวมกับคําวา โศกา หรือโศก จึงหมายถึงการแสดงอารมณเศราเสียใจมาก
ตามขอ 2. และจะเห็นวาพระอิศวรยังไมถามอะไรนนทก และการที่นนทก รองไห ครํ่าครวญ สะอึกสะอื้น
รองไหเศราโศกนั้นไมไดมีสาเหตุมาจากพระอิศวร ตอบขอ 1.
2 บรรหาร หมายความวา เฉลย กลาวแก ตรัสสั่ง

คูมือครู 59
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนแบงกลุมเพื่อถอดคําประพันธ
ในหนังสือเรียน กลุมที่ 2 ถอดคําประพันธ บัดนั้น นนทกผู้มีอัชฌาสัย
หนา 60 ลงในใบงาน สงครู น้อมเศียรบังคมแล้วทูลไป จะขอพรเจ้าไตรโลกา
(แนวตอบ จากหนา 60 ถอดคําประพันธได ให้นิ้วข้าเป็นเพชรฤทธี จะชี้ใครจงม้วยสังขาร์
ความวา นนทกทูลขอนิ้วเพชรจากพระอิศวร จะได้รองเบื้องบาทา ไปกว่าจะสิ้นชีวี
พระอิศวรคิดไตรตรองถึงคุณงามความดีของนนทก ฯ ๔ ค�า ฯ
จึงประทานให นนทกไดสมใจหมาย จึงกลับไป
ปฏิบัติหนาที่ดังเดิม) เมื่อนั้น พระสยมภูวญาณเรืองศรี
ได้ฟังนนทกพาที ภูมีนิ่งนึกตรึกไป
ขยายความเข้าใจ Expand อ้ายนี่มีชอบมาช้านาน จ�าจะประทานพรให้ 1
คิดแล้วก็ประสิทธิ์พรชัย จงได้ส�าเร็จมโนรถ
จากการถอดคําประพันธ นักเรียนรวมกัน ฯ ๔ ค�า ฯ
วิเคราะหประเด็นตอไปนี้ และสรุปความรูลงสมุด
• เหตุใดพระอิศวรจึงประทานนิ้วเพชร บัดนั2้น นนทกผู้ใจสาหส
แกนนทก รับพรพระศุลีมียศ บังคมแล้วบทจรไป
(แนวตอบ เหตุที่พระอิศวรประทานนิ้วเพชร ฯ ๒ ค�า ฯ เสมอ
แกนนทกตามคําขอ เพราะทรงเห็นวา
นนทกทําความดีความชอบมานาน ควรให ครั้นถึงบันไดไกรลาส ขัดสมาธินั่งยิ้มริมอ่างใหญ่
สิ่งตอบแทนบาง) คอยหมู่เทวาสุราลัย ด้วยใจก�าเริบอหังการ์
• แผนการที่นนทกจะนํานิ้วเพชรไปแกแคน ฯ ๒ ค�า ฯ
เทวดานั้นเปนการกระทําที่เรียกวา คิดดี เมื่อนั้น เทวาสุราฤทธิ์ทุกทิศา
หรือไม เพราะเหตุใด สุบรรณคนธรรพ์วิทยา ต่างมาเฝ้าองค์พระศุลี
(แนวตอบ ไมดี เพราะเปนการสรางความ ฯ ๒ ค�า ฯ เหาะ
เดือดรอนใหผูอื่น)
ครั้นถึงซึ่งเชิงไกรลาส คนธรรพ์เทวราชฤ ๅษี
ก็ชวนกันย่างเยื้องจรลี เข้าไปยังที่อัฒจันทร์
ฯ ๒ ค�า ฯ

นนทกก็ล้างเท้าให้ เมื่อจะไปก็จับหัวสั่น
สัพยอกหยอกเล่นเหมือนทุกวัน สรวลสันต์เยาะเย้ยเฮฮา
ฯ ๒ ค�า ฯ เจรจา
60

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ครูจัดกิจกรรมสําหรับการเรียนการสอนเนื้อเรื่องบทละครเรื่องรามเกียรติ์ เมื่อนนทกไดรับพรจากพระอิศวรแลวเที่ยวไลชี้เหลาเทพเทวาลมตาย
ตอน นารายณปราบนนทก โดยใหนักเรียนนําความรูเกี่ยวกับสํานวนไทยมาอธิบาย มากมาย การกระทําของนนทกตรงกับสํานวนในขอใด
ใหสอดคลองกับลักษณะนิสัยของตัวละครในเรื่อง โดยอธิบายความหมายของ 1. ไกไดพลอย
สํานวนนั้น และนักเรียนใหเหตุผลไดวาสํานวนที่นักเรียนยกมาตรงกับนิสัยของ 2. กิ้งกาไดทอง
ตัวละครอยางไร ครูใหนักเรียนแลกเปลี่ยนความรูกันในหองเรียน 3. ยื่นแกวใหวานร
4. นิ้วดวนไดแหวน
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. ขอ 3. และขอ 4. เปนสํานวนที่มีความหมาย
นักเรียนควรรู ใกลเคียงกัน มีความหมายไปในทางเดียวกัน คือ ผูที่ไดของมีคา แตไมเปน
ประโยชนแกตน แตทงั้ นีจ้ ะเห็นไดวา การทีน่ นทกไดนวิ้ เพชรนัน้ แมจะนํามา
1 สําเร็จมโนรถ หมายความวา ไดตามความประสงค ซึ่งความเดือดรอน แตนนทกก็รูดีถึงอานุภาพของนิ้วเพชร จึงใชเปนอาวุธ
2 พระศุลี หมายถึง พระอิศวร หรือพระศิวะ เปน 1 ในเทพเจา 3 องค แกแคน ตรงกับสํานวนในขอ 2. กิ้งกาไดทอง คือ ไดดีแลวลืมตัว เหอเหิม
ในศาสนาพราหมณ-ฮินดู คือ พระศิวะ พระนารายณ และพระพรหม หยิ่งผยอง ตอบขอ 2.

60 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนแบงกลุมเพื่อถอดคําประพันธ
บัดนั้น นนทกน�้าใจแกล้วกล้า ในหนังสือเรียน กลุมที่ 3 ถอดความคําประพันธ
กริ้วโกรธร้องประกาศตวาดมา อนิจจาข่มเหงเล่นทุกวัน หนา 61 ลงในใบงานสงครู
จนหัวไม่มีผมติด สุดคิดที่เราจะอดกลั้น (แนวตอบ จากหนา 61 ถอดคําประพันธไดวา
วันนี้จะได้เห็นกัน ขบฟันแล้วชี้นิ้วไป เมื่อมีเหลาเทวดามาถอนผม ตบหัว ลูบหนาดังเดิม
ฯ ๔ ค�า ฯ นนทกจึงโกรธและลุกขึ้นตะโกนดาทอ แลวใชนิ้ว
เพชรชี้เหลาเทวดาลมตายจนเกลื่อน พระอินทรเห็น
ต้องสุบรรณเทวานาคี ดั่งพิษอสุนีไม่ทนได้
นนทกแสดงฤทธิ์ทํารายเทวดา จึงไปทูลพระอิศวร
ล้มฟาดกลาดเกลื่อนลงทันใด บรรลัยไม่ทันพริบตา
แลวเลาความใหฟง พระอิศวรจึงสัง่ ใหพระนารายณ
ฯ ๒ ค�า ฯ โอด
1 2 ไปปราบนนทก)
เมื่อนั้น หัสนัยน์เจ้าตรัยตรึงศา
เห็นนนทกนั้นท�าฤทธา ชี้หมู่เทวาวายปราณ ขยายความเข้าใจ Expand
ตกใจตะลึงร�าพึงคิด ใครประสิทธิ์ให้มัน3สังหาร
คิดแล้วขึ้นเฝ้าพระทรงญาณ ยังพิมานทิพรัตน์รูจี นักเรียนยกบทประพันธที่แสดงใหเห็น
ฯ ๔ ค�า ฯ เสมอ รสวรรณคดีจากหนา 59-61 พรอมระบุวาเปน
รสวรรณคดีใด
ครั้นถึงจึ่งประณตบทบงสุ์ ทูลองค์พระอิศวรเรืองศรี
(แนวตอบ จากบทประพันธตั้งแตหนา 59-61 นี้
ว่านนทกมันท�าฤทธี ชี้หมู่เทวาบรรลัย
บทประพันธที่แสดงใหเห็นรสวรรณคดีอยางเดนชัด
อันซึ่งนิ้วเพชรของมัน พระทรงธรรม์ประทานฤ ๅไฉน
คือ
จึ่งท�าอาจองทะนงใจ ไม่เกรงใต้เบื้องบาทา
ฯ ๔ ค�า ฯ
“บัดนั้น นนทกนํา้ ใจแกลวกลา
ร่าย กริว้ โกรธรองประกาศตวาดมา อนิจจาขมเหงเลนทุกวัน
เมื่อนั้น พระอิศวรบรมนาถา จนหัวไมมีผมติด สุดคิดทีเ่ ราจะอดกลัน้
ได้ฟังองค์อมรินทรา จึ่งมีบัญชาตอบไป วันนี้จะไดเห็นกัน ขบฟนแลวชี้นิ้วไป”
อ้ายนี่ท�าชอบมาช้านาน เราจึ่งประทานพรให้ จากบทประพันธที่ยกมาแสดงใหเห็นรส
มันกลับทรยศกระบถใจ ท�าการหยาบใหญ่ถึงเพียงนี้ วรรณคดี คือ พิโรธวาทัง ซึ่งเปนรสแสดงความ
ฯ ๔ ค�า ฯ โกรธเกรีย้ วของนนทกทีแ่ คนเคืองเหลาเทวดาทัง้ หลาย
เมื่อไดโอกาสก็ไมรอชาที่จะแกแคน ชี้นิ้วเพชร
ตรัสแล้วจึ่งมีบัญชา ดูราพระนารายณ์เรืองศรี
ไปที่เหลาเทวดาทันที)
ตัวเจ้าผู้มีฤทธี เป็นที่พึ่งแก่หมู่เทวัญ
จงช่วยระงับดับเข็ญ ให้เย็นทั่วพิภพสรวงสวรรค์
เชิญไปสังหารอ้ายอาธรรม์ ให้มันสิ้นชีพชีวา
ฯ ๔ ค�า ฯ
61

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ไอนี่ทําชอบมาชานาน เราจึ่งประทานพรให
1 หัสนัยน พระอินทรหรือทาวพันตา ทรงชางเอราวัณเปนพาหนะ
มันกลับทําทรยศกบฏใจ ทําการหยาบใหญถึงเพียงนี้
ขอใดเปนความรูสึกของผูพูด 2 ตรัยตรึงศา คือ สวรรคชั้นดาวดึงส มีเทวดา 33 องคและมีพระอินทรเปน
1. เคียดแคนที่ถูกดูหมิ่น หัวหนา
2. ขุนเคืองที่ปดบัง
3. โกรธที่ถูกหลอก 3 พิมานทิพรัตนรูจี ที่ประทับอันงดงามของเทพผูยิ่งใหญ ในที่นี้หมายถึง
4. เจ็บชํ้าที่ถูกลวง ที่ประทับของพระอิศวร คือ เขาไกรลาส

วิเคราะหคําตอบ จากบทประพันธขางตนจะเห็นไดวา ผูพูดพูดดวย


ความโกรธ โดยมีสาเหตุมาจากการไวใจคนผิด เพราะเห็นวาทําความดี มุม IT
ความชอบมานาน จึงใหพรตามที่ขอ แตกลับกลายเปนวาสิ่งที่ใหไปนั้นกลับ
นําไปใชในทางไมดี ใชทํารายผูอื่น จากที่ใหดวยเจตนาดีกลับนําไปใชในทาง ศึกษาเกี่ยวกับเนื้อเรื่องและคําศัพทในบทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอน นารายณ
ไมดี ดังวา “มันกลับทําทรยศกบฏใจ” ดังนั้น ผูพูดจึงรูสึกโกรธที่ถูกหลอก ปราบนนทกเพิ่มเติม ไดที่ http://ruangrat.wordpress.com/2011/09/10/
ตอบขอ 3. เนื้อเรื่องยอ-รามเกียรติ์/

คู่มือครู 61
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนแบงกลุมเพื่อถอดคําประพันธ
ในหนังสือเรียน กลุมที่ 4 ถอดคําประพันธ หนา 62 ร่าย
เมื่อนั้น องค์พระนารายณ์นาถา
ลงในใบงานสงครู รับสั่งถวายบังคมลา ออกมาแปลงกายด้วยฤทธี
(แนวตอบ จากหนา 62 ถอดคําประพันธไดวา ฯ ๒ ค�า ฯ ตระ
พระนารายณใชกลอุบายแปลงกายเปนนางอัปสรแลว
ไปชวนนนทกรายรํา ฝายนนกทกเมื่อเห็นนางอัปสร
ผงู ดงามก็เกิดความหลงใหล จึงเขาไปเกีย้ วพาราสี เป็นโฉมนางเทพอัปสร อ้อนแอ้นอรชรเฉลิมศรี
และรายรําตามคําเชิญชวน ประกอบกับเฝามอง กรายกรย่างเยื้องจรลี ไปอยู่ที่นนทกจะเดินมา
ชื่นชมความงามของนางอัปสร) ฯ ๒ ค�า ฯ เชิด เพลง

ขยายความเข้าใจ Expand บัดนั้น นนทกผู้ใจแกล้วกล้า


1. นักเรียนตอบคําถามจากบทประพันธหนา 62 สิ้นเวลาเฝ้าเจ้าโลกา ส�าราญกายาแล้วเที่ยวไป
ดังนี้ ฯ ๒ ค�า ฯ เชิด
• บทประพันธใหขอคิดอยางไร
ชมโฉม
(แนวตอบ ควรมีสติ ไมหลงใหลในรูปหรือสิ่งที่ เหลือบเห็นสตรีวิไลลักษณ์ พิศพักตร์ผ่องเพียงแขไข
เห็นเพียงภายนอกเทานั้น) งามโอษฐ์งามแก้มงามจุไร งามนัยน์เนตรงามกร
2. นักเรียนพิจารณาวามีรสวรรณคดีใดโดดเดน งามถันงามกรรณงามขนง งามองค์ยิ่งเทพอัปสร
ที่สุด จงอธิบาย งามจริตกิริยางามงอน งามเอวงามอ่อนทั้งกายา
(แนวตอบ เปนบทประพันธที่ชมความงามของ ถึงโฉมองค์อัครลักษมี พระสุรัสวดีเสน่หา
นางอัปสร ใชรสวรรณคดี คือ เสาวรจนี นนทก สิ้นทั้งไตรภพจบโลกา จะเอามาเปรียบไม่เทียบทัน
ชมความงามของนางอัปสรวา เปนสาวสวย
ดูไหนก็เพลินจ�าเริญรัก ในองค์เยาวลักษณ์สาวสวรรค์
ปาก แกม ไรผม ดวงตา นิ้วมือ หนาอก หู คิ้ว
ยิ่งพิศยิ่งคิดผูกพัน ก็เดินกระชั้นเข้าไป
รูปราง จริตกิริยางดงาม)
ฯ ๘ ค�า ฯ เข้าม่าน

ชาตรี
โฉมเอยโฉมเฉลา เสาวภาคย์แน่งน้อยพิสมัย
เจ้ามาแต่สวรรค์ชั้นใด นามกรชื่อไรนะเทวี
ประสงค์สิ่งใดจะใคร่รู้ ท�าไมมาอยู่ที่นี่
ข้าเห็นเป็นน่าปรานี มารศรีจงแจ้งกิจจา
ฯ ๔ ค�า ฯ
62

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ครูแนะความรูเกี่ยวกับประวัติของพระอิศวรเพิ่มเติม เพื่อใหนักเรียนเขาใจเหตุที่ บัดนั้น นนทกแกลวหาญชาญสมร
พระอิศวรประทานพรใหตามที่นนทกทูลขอตอพระอิศวร มีตํานานระบุวา พระอิศวร เห็นพระองคทรงสังขคทาธร เปนสี่กรก็รูประจักษใจ
หรือพระศิวะเกิดจากพระเวทและพระธรรมที่ชวยกันเนรมิตพระองคขึ้นมาเพื่อสราง จากคําประพันธที่ยกมานี้ผูที่นนทกแลเห็นคือผูใด
โลกขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง หลังจากที่โลกไดละลายกลายเปนอากาศมาชานาน โดย 1. พระอิศวร
มอบฤทธิ์อํานาจใหพระอิศวรมีอิทธิฤทธิ์สูงสุด สามารถประทานพรใหกับบุคคลใด 2. พระอินทร
ก็ได โดยไมมีเลือกที่รักมักที่ชัง มีความกรุณาตอทุกชีวิตในไตรโลก ไมวาจะเปน 3. พระนารายณ
อินทร พรหม ยมยักษ อสูร เทวดา พญานาค นางอัปสร หรือคนธรรพ ผูที่รับพร 4. พระวิษณุกรรม
นั้นๆ ไป ก็มีฤทธิ์เปนไปตามพรของพระอิศวรทุกประการ วิเคราะหคําตอบ จากเนื้อหาในบทประพันธความวา “เห็นพระองค
ทรงสังขคทาธร เปนสี่กรก็รูประจักษใจ” เปนลักษณะของพระนารายณ
ซึง่ พระองคมี 4 กร ถืออาวุธทรงอานุภาพ 4 อยาง ไดแก ตรี คทา จักร สังข
ตอบขอ 3.

62 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนกลุมที่ 5 ถอดคําประพันธใน
ร่าย
เมื่อนั้น นางนารายณ์เยาวลักษณ์เสน่หา หนังสือเรียน หนา 63 ลงในใบงานสงครู
ได้ฟังยิ่งท�ามารยา ช�าเลืองนัยนาแล้วตอบไป (แนวตอบ จากหนา 63 ถอดคําประพันธได
ท�าไมมาล่วงไถ่ถาม ลวนลามบุกรุกเข้ามาใกล้ วา เมื่อพระนารายณแปลงกายก็แนะนําตัววาชื่อ
ท่านนี้ไม่มีความเกรงใจ เราเป็นข้าใช้เจ้าโลกา สุวรรณอัปสร และเจรจากับนนทก นนทกพูดจา
พนักงานฟ้อนร�าระบ�าบัน ชื่อสุวรรณอัปสรเสน่หา เลาโลมนางอัปสร นางอัปสรจึงเชิญชวนใหรายรํา
มีทุกข์จึ่งเที่ยวลงมา หวังว่าจะให้คลายร้อน ตาม โดยนนทกไมรูเลยวาเปนพระนารายณ
ฯ ๖ ค�า ฯ แปลงกายมา)
ร่าย 1
สุดเอยสุดสวาท โฉมประหลาดล�้าเทพอัปสร ขยายความเข้าใจ Expand
ทั้งวาจาจริตก็งามงอน ควรเป็นนางฟ้อนวิไลลักษณ์
อันซึ่งธุระของเจ้า หนักเบาจงแจ้งให้ประจักษ์ จากการถอดคําประพันธหนา 63 นักเรียนตอบ
ถ้าวาสนาเราเคยบ�ารุงรัก ก็จะเป็นภักษ์ผลสืบไป คําถาม
ตัวพี่มิได้ลวนลาม จะถือความสิ่งนี้นี่ไม่ได้ • บทประพันธสะทอนคติ ความเชื่อในเรื่องใด
สาวสวรรค์ขวัญฟ้ายาใจ พี่ไร้คู่จะพึ่งแต่ไมตรี (แนวตอบ บุญวาสนา)
ฯ ๖ ค�า ฯ

เมื่อนั้น นางเทพนิมิตโฉมศรี
ค้อนแล้วจึ่งตอบวาที ว่านี้ไพเราะเป็นพ้นไป
อันซึ่งจะฝากไมตรีข้า ข้อนั้นอย่าว่าหารู้ไม่
เราเป็นนางร�าระบ�าใน จะมีมิตรที่ใจผูกพัน
ใครมาร�าเกลงเพลงฟ้อน จึ่งจะผ่อนด้วยความเกษมสันต์
ร�าได้ก็มาร�าตามกัน นั่นแหละจะสมดั่งจินดา
ฯ ๖ ค�า ฯ

บัดนั้น นนทกผู้ใจแกล้วกล้า
ไม่รู้ว่านารายณ์แปลงมา ก็โสมนัสาพันทวี
ยิ้มแล้วจึ่งกล่าวสุนทร ดูก่อนนางฟ้าเฉลิมศรี
เจ้าจักปรารมภ์ไปไยมี พี่เป็นคนเก่
2 าพอเข้าใจ
เชิญเจ้าร�าเถิดนะนางฟ้า างจาได้
ให้สิ้นท่าที่นางจ�
ตัวพี่จะร�าตามไป มิให้ผิดเพลงนางเทวี
ฯ ๖ ค�า ฯ
63

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ขอใดมีโวหารเชิงอุปมาโวหาร
1 อัปสร นางงามที่อยูบนสวรรค ไมมีผูใดเปนเจาของ ทําหนาที่เปนนางบําเรอ
1. จนผมโกรนโลนเกลี้ยงถึงเพียงหู ดูเงาในนํ้าแลวรองไห
เทวดา เหลานางอัปสรขับรองและฟอนรําไดงดงามมาก มีตํานานวาอัปสรเกิด
2. ฮึดฮัดขัดแคนแนนใจ ตาแดงดั่งแสงไฟฟา
เมื่อเทวดากับอสูรรวมกันกวนเกษียรสมุทร เพื่อใหไดนํ้าอมฤตมาดื่มแลวเปนอมตะ
3. เปนชายดูดูมาหมิ่นชาย มิตายก็จะไดมาเห็นหนา
ในพิธีนี้ไดเกิดแกว และสิ่งมีคา 14 อยาง ไดแก
4. คิดแลวก็รีบเดินมา เฝาพระอิศราธิบดี
1. พระจันทร 8. มาสีขาวชื่ออุจฉัยศรพ
วิเคราะหคําตอบ ขอ 2. มีการเปรียบเทียบเพื่อใหผูอานเห็นภาพและ 2. ตนปาริชาต ผูที่ไดกลิ่นจะระลึกชาติได 9. พระลักษมี พระวิษณุรับเปนชายา
เขาใจความรูสึกของตัวละคร โดยเปรียบความโกรธของนนทกที่ถูกเหลา 3. ชางไอราวัต (เอราวัณ) 10. สังข
เทวดาแกลงวา “ฮึดฮัดขัดแคนแนนใจ ตาแดงดั่งแสงไฟฟา” ซึ่งทําใหเห็น 4. โคสุรภี หรือ กามเธนุ 11. คทา
ภาพความโกรธที่คับแนนอยูในอก โกรธจนตาแดงวาวดั่งแสงไฟฟาที่เปน 5. วารุณี เทพีแหงสุรา 12. ศรศักดิ์สิทธิ์
ฟาแลบทั้งสวางและแปลบปลาบ จึงเปนขอที่มีการใชโวหารเชิงอุปมาหรือ 6. ตนกัลปพฤกษ 13. ทับทรวงชื่อเกาสตุภะ ทั้ง 4
เปรียบเทียบ ตอบขอ 2. 7. นางอัปสรหรือนางรําแหงสวรรค 14. ธันวันตรี
2 สิ้นทา ในที่นี้หมายความวา ครบทุกกระบวนทารํา

คู่มือครู 63
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนกลุมที่ 6 ถอดคําประพันธ หนา 64
ลงในใบงานสงครู เมื่อนั้น พระนารายณ์ทรงสวัสดิ์รัศมี
(แนวตอบ จากหนา 64 ถอดคําประพันธไดวา เห็นนนทกหลงกลก็ยินดี ท�าทีเยื้องกรายให้ยวนยิน
นางอัปสรเชิญชวนนนทกรายรําทาแมบทจนถึงทา ฯ ๒ ค�า ฯ เจรจา
นาคามวนหางที่ตองมีทาการใชนิ้วชี้เขาหาตัวเอง
พระทอง
นิ้วเพชรที่ขอพรมาจากพระอิศวรจึงสําแดงฤทธิ์แก เทพนมปฐมพรหมสี่หน้า สอดสร้อยมาลาเฉิดฉิน
นนทกทําใหนนทกลมลงที่พื้น จากนั้นพระนารายณ ทั้งกวางเดินดงหงส์บิน กินรินเลียบถ�้าอ�าไพ
จึงแปลงกายดังเดิม แลวตอวาสั่งสอนนนทกที่ อีกช้านางนอนภมรเคล้า ทั้งแขกเต้าผาลาเพียงไหล่
บังอาจใชอํานาจในทางมิชอบ) เมขลาโยนแก้วแววไว มยุเรศฟ้อนในอัมพร
ลมพัดยอดตองพรหมนิมิต ทั้งพิสมัยเรียงหมอน
ขยายความเข้าใจ Expand ย้ายท่ามัจฉาชมสาคร พระสี่กรขว้างจักรฤทธิรงค์
ฝ่ายว่านนทกก็ร�าตาม ด้วยความพิสมัยใหลหลง
1. จากการถอดคําประพันธหนา 64 นักเรียน ถึงท่านาคาม้วนหางวง ชี้ตรงถูกเพลาทันใด
พิจารณาบทประพันธที่พระนารายณแปลงกําลัง ฯ ๘ ค�า ฯ เพลง
แสดงทารายรํา พรอมตอบคําถาม
• ลักษณะทาทางที่นนทกมีตอนางอัปสร ด้วยเดชนิ้วเพชรสิทธิศักดิ์ ขาหักล้มลงไม่ทนได้
ตรงกับสํานวนใด นางกลายเป็นองค์นารายณ์ไป เหยียบไว้จะสังหารราญรอน
(แนวตอบ เจาชูประตูดิน) ฯ ๒ ค�า ฯ เชิด
• บทประพันธตอนนนทกเกี้ยวพาราสี
นางอัปสรมีรสวรรณคดีแบบใด บัดนั้น นนทกแกล้วหาญชาญสมร
(แนวตอบ บทประพันธที่นนทกเกี้ยวพาราสีนาง เห็นพระองค์1ทรงสังข์คทาธร เป็นสี่กรก็รู้ประจักษ์ใจ
อัปสรใชรสวรรณคดี คือ นารีปราโมทย) ว่าพระหริวงศ์ทรงฤทธิ์ ลวงล้างชีวิตก็เป็นได้
• ทารําใดที่ทําใหนนทกเสียทีแกพระนารายณ จึ่งมีวาจาถามไป โทษข้าเป็นไฉนให้ว่ามา
(แนวตอบ ทานาคามวนหาง) ฯ ๔ ค�า ฯ
• นักเรียนคิดวา เพราะเหตุใดนนทกจึงเสียที 2
ใหกับแผนการของพระนารายณ เมื่อนั้น พระนารายณ์บรมนาถา
(แนวตอบ นักเรียนแสดงความคิดเห็นได ได้ฟังจึ่งมีบัญชา โทษามึงใหญ่หลวงนัก
หลากหลาย ครูแนะนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องนี้วา ด้วยท�าโอหังบังเหตุ ไม่เกรงเดชพระอิศวรทรงจักร
ใหขอคิดเรื่องความประมาท การหลงระเริง เอ็งฆ่าเทวาสุรารักษ์ โทษหนักถึงที่บรรลัย
ตัวกูก็คิดเมตตา แต่จะไว้ชีวามึงไม่ได้
ในอํานาจที่ตนมีจนขาดสติ ความรอบคอบ
ตรัสแล้วแกว่งตรีเกรียงไกร แสงกระจายพรายไปดั่งไฟกาล
ยอมทําใหเสียทีได)
ฯ ๖ ค�า ฯ
2. นักเรียนแสดงทานาคามวนหางที่ทําให
นนทกชี้นิ้วถูกเพลา (ชวงขาตั้งแตเขาถึงโคนขา) 64

บูรณาการเชื่อมสาระ
นักเรียนควรรู จากการอานเนื้อเรื่องบทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบ
นนทกในหนา 64 เปนตอนที่พระนารายณแปลงกายเปนนางรํา ทรงลวงให
1 พระหริวงศ หมายถึง พระนารายณหรือพระวิษณุ เทพในศาสนาพราหมณ-
นนทกรําทาตางๆ ตาม ครูบูรณาการเชื่อมกับกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ
ฮินดู เปนเทพแหงการคุมครองโลกและการรักษาโลกใหสงบสุข
วิชาดนตรี-นาฏศิลป เรื่องทารําแมบท ซึ่งไดแก ทาเทพนม ทาปฐม ทาพรหม
2 พระนารายณ พระนาม “นารายณ” มาจากรากศัพท “นรา” ซึ่งแปลวา นํ้า สี่หนา ทาสอดสรอยมาลา ทากวางเดินดง ทาหงสบิน ทากินรินเลียบถํ้า
กับ “อารยะ” ซึ่งแปลวา เคลื่อนไหว เมื่อรวมกันจึงแปลวา ผูเคลื่อนไหวในนํ้า ทาชานางนอน ทาภมรเคลา ทาแขกเตาเขารัง ทาผาลาเพียงไหล ทาเมขลา
เพราะพระองคทรงถือกําเนิดในนํ้า และประทับอยูที่เกษียรสมุทรเปนสวนใหญ ลอแกว ทามยุเรศฟอน ทาลมพัดยอดตอง ทาพรหมนิมิต ทาพิสมัยเรียง
เปนเทพผูพิทักษรักษาโลกใหรอดพนจากภัยพิบัติ เมื่อใดโลกประสบปญหารายแรง หมอน ทามัจฉาชมสาคร ทาพระสี่กรขวางจักร และโดยเฉพาะทานาคา
พระนารายณก็จะอวตารลงมาชวยแกไขปญหา หรือปราบผูชั่วรายใหหมดสิ้นไป มวนหาง ซึ่งเปนทาที่ทําใหนนทกเสียทีใชนิ้วเพชรชี้ขาตัวเอง
พระองคทรงเปนผูมีอํานาจเหนือทุกสิ่ง รูทุกสิ่ง และปรากฏอยูทั่วทุกแหงหน

64 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนแบงกลุมเพื่อถอดคําประพันธใน
บัดนั้น นนทกผู้ใจแกล้วหาญ แบบเรียน กลุมที่ 7 ถอดคําประพันธ หนา 65
ได้ฟังจึ่งตอบพจมาน ซึ่งพระองค์จะผลาญชีวี ลงในใบงานสงครู
เหตุใดมิท�าซึ่งหน้า มารยาเป็นหญิงไม่บัดสี (แนวตอบ จากหนา 65 ถอดความไดวา เมื่อ
หรือว่ากลัวนิ้วเพชรนี้ จะชี้พระองค์ให้บรรลัย นนทกรูวาพระนารายณแปลงกายมาหลอกฆาตน
ตัวข้ามีมือแต่สองมือ ฤ ๅจะสู้ทั้งสี่กรได้ จึงตอวาพระนารายณที่มีอาวุธและอิทธิฤทธิ์
แม้นสี่มือเหมือนพระองค์ทรงชัย ที่ไหนจะท�าได้ดั่งนี้ เหนือกวาตน แตมารังแกตนที่มีเพียงสองมือ
ฯ ๖ ค�า ฯ พระนารายณจึงโตวา ถาเปนเชนนั้นกูขอทาใหมึงไป
เกิดชาติใหมมีหลายมือ แลวพระนารายณจะอวตาร
เมื่อนั้น พระนารายณ์ทรงสวัสดิ์รัศมี ไปเปนมนุษยมีสองมือ เพื่อไดตอสูกันอีกครั้ง
ได้ฟังจึ่งตอบวาที กูนี้แปลงเป็นสตรีมา จากนั้นนนทกก็ตายแลวไปเกิดในชาติใหมเปน
เพราะมึงจะถึงแก่ความตาย ฉิบหายด้วยหลงเสน่หา ทศกัณฐ สวนพระนารายณก็อวตารไปเปนพระราม)
ใช่ว่าจะกลัวฤทธา ศักดานิ้วเพชรนั้นเมื่อไร
ชาตินี้มึงมีแต่สองหัตถ์ จงไปอุบัติเอาชาติใหม่ ขยายความเข้าใจ Expand
ให้สิบเศียรสิบพักตร์เกรียงไกร เหาะเหินเดินได้ในอัมพร
มีมือยี่สิบซ้ายขวา ถือคทาอาวุธธนูศร นักเรียนสรุปเนื้อเรื่องของบทละครรามเกียรติ์
กูจะเป็นมนุษย์แต่สองกร ตามไปราญรอนชีวี ตอน นารายณปราบนนทก เปนขอๆ เขียนลง
ให้สิ้นวงศ์พงศ์มึงอันศักดา ประจักษ์แก่เทวาทุกราศี ในบัตรคํา โดยเรียงลําดับเหตุการณใหถูกตอง
ว่าแล้วกวัดแกว่งพระแสงตรี ภูมีตัดเศียรกระเด็นไป นักเรียนรวมกันจัดปายนิเทศ
ฯ ๑๐ ค�า ฯ เชิด โอด
ตรวจสอบผล Evaluate
ครั้นล้างนนทกมรณา พระจักราผู้มีอัชฌาสั
1ย
เหาะระเห็จเตร็ดฟ้าด้วยว่องไว ไปยังกระเษียรวารี 1. นักเรียนถอดคําประพันธบทละครเรื่อง
ฯ ๒ ค�า ฯ เชิด รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทกได
ช้า
2. นักเรียนยกบทประพันธที่แสดงใหเห็น
เมื่อนั้น ฝ่ายนางรัชดามเหสี รสวรรณคดีที่โดดเดนได
องค์ท้าวลัสเตียนธิบดี เทวีมีราชบุตรา 3. นักเรียนแสดงทารําที่ทําใหนนทกเพลี่ยงพลํ้า
คือว่านนทกมาก�าเนิด เกิดเป็นพระโอรสา จากการแปลงกายของพระนารายณได
ชื่อทศกัณฐ์กุมารา สิบเศียรสิบหน้ายี่สิบกร 4. นักเรียนสรุปเนื้อเรื่องบทละครเรื่องรามเกียรติ์
อันน้องซึ่งถัดมานั้น ชื่อกุมภกรรณชาญสมร ตอน นารายณปราบนนทกได
องค์พระบิตุเรศมารดร มิให้อนาทรสักนาที
ฯ ๖ ค�า ฯ
65

บูรณาการเชื่อมสาระ
จากประวัติความเปนมาของเทพเจาในศาสนาพราหมณ-ฮินดู มีปรากฏ เกร็ดแนะครู
อยูใ นความเชือ่ ของคนไทยมาเปนเวลานาน ซึง่ นอกจากจะปรากฏในวรรณคดี
ครูใหนักเรียนศึกษารูปตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์ และใหนักเรียนบอกลักษณะ
ไทยแลว ยังมีปรากฏในโบราณสถานที่สําคัญหลายแหง อิทธิพลทาง
เดนของตัวละครแตละตัว เพื่อใหนักเรียนเขาใจลักษณะประจําตัวของตัวละคร
ความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจานี้ ครูบูรณาการเชื่อมกับกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ
ตัวนั้นยิ่งขึ้น ซึ่งครูอธิบายเพิ่มเติมวา ลักษณะของตัวละครมีผลตอการดําเนินเรื่อง
วิชาทัศนศิลป ซึ่งใหความรูเกี่ยวกับองคประกอบทางสถาปตยกรรมตางๆ ที่
เชน นนทกหัวลาน เพราะโดนเทวดาเขกหัวและถอนผม เปนเหตุใหนนทกเคียดแคน
นําเสนอเรื่องราวของเทพเจา ผานทัศนะความเชื่อ ความศรัทธาของคนไทย
เหลาเทวดาที่แกลงตน จึงไปทูลขอนิ้วเพชรจากพระอิศวร เปนตน
และผานงานศิลปะที่สรางสรรค ศิลปะที่ไดรับอิทธิพลจากความเชื่อเรื่อง
เทพเจานี้มีเอกลักษณที่แตกตางกันในแตละยุคสมัยขึ้นอยูกับคานิยมทาง
ความคิดของคนในสังคมสมัยนั้น
นักเรียนควรรู
1 กระเษียรวารี คือ ทะเลนํ้านม ที่ประทับของพระนารายณ โดยพระนารายณ
จะประทับบรรทมเหนือพญาอนันตนาคราชตามความเชื่อในศาสนาพราหมณ-ฮินดู
เทวรูปสักการบูชาของพระนารายณ มักสรางขณะบรรทมอยูเ หนือพญาอนันตนาคราช
เรียกวา นารายณบรรทมสินธุหรือพระวิษณุอนันตศายิน

คู่มือครู 65
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
Engage Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูสนทนารวมกับนักเรียนเกี่ยวกับคําศัพท
ในเรื่องที่นาสนใจ จากนั้นครูนําบัตรคําศัพทมาให ๖ คÓศัพท์
นักเรียนเขียนคําอาน และอธิบายความหมายของ
คําศัพทนั้น ค�าศัพท์ ความหมาย
กรรณ หู
ส�ารวจค้นหา Explore กระเษียรวารี ทะเลน�้านม ที่ประทับของพระนารายณ์
1. นักเรียนสืบคนความหมายของคําศัพทพรอม โกฏิ ชื่อมาตรานับเท่ากับ ๑๐ ล้าน
คําประพันธที่มีคําศัพทนั้นปรากฏอยู จาก ไกรลาส ชื่อภูเขาในเทือกเขาหิมาลัย เชื่อว่าเป็นที่ประทับของพระอิศวร
หนังสือเรียนและเว็บไซตตางๆ คนธรรพ์ ชาวสวรรค์พวกหนึ่ง เป็นบริวารของท้าวธตรฐ มีความช�านาญในวิชา
2. นักเรียนศึกษาคนหาคําขยายนามที่แสดงความ ดนตรีและการขับร้อง
ยิ่งใหญของพระอิศวร จุไร ผมที่เกล้าเป็นจุกอย่างสวยงาม
3. นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับ “นารายณสิบปาง” เจ้าตรัยตรึงศา หรือเจ้าตรัยตรึงศ์1 หมายถึง พระอินทร์ ตรัยตรึงศ์เป็นสวรรค์ชั้นที่ ๒
แห่งสวรรค์ ๖๖ ชั้น เป็นที่ประทับของพระอินทร์ หรือเรียกอีกอย่างว่า
ดาวดึงส์
อธิบายความรู้ Explain
ไตรภพ หรื อ ไตรภู มิ คื อ ภู มิ ทั้ ง สาม ได้ แ ก่ กามภู มิ รู ป ภู มิ และอรู ป ภู มิ
นักเรียนเลือกคําศัพท 5 คํา บอกความหมาย ในที่นี้หมายถึง สวรรค์ โลกมนุษย์ และบาดาล
ของคําศัพทแตละคํา และระบุคําประพันธที่ปรากฏ ธาตรี แผ่นดิน โลก
คําศัพทนั้น บทบงสุ์ พระบาทของกษัตริย์ ในที่นี้ คือ เจ้าแห่งทวยเทพ
(แนวตอบ คําศัพทพรอมคําประพันธ มีดังนี้ พระสุรัสวดี พระมเหสีของพระพรหม
• บทบงสุ หมายความวา พระบาทของเจา
เพลา ตัก ในที่นี้หมายถึง ขา
แหงทวยเทพ ในความวา
ภักษ์ ผลส�าเร็จ
“ครั้งถึงจึ่งประณตบทบงสุ”
• หัสนัยน ตรัยตรึงศา หมายถึง พระอินทร มโนรถ ความหวัง ความประสงค์ ความใฝ่ฝัน
2
ในความวา ลักษมี ชื่อเทพีแห่งโชคลาภและความงาม
“หัสนัยนเจาตรัยตรึงศา” เป็นชายาของพระนารายณ์
• สุบรรณ หมายถึง ครุฑ และคนธรรพ สยมภูวญาณ พระอิศวร
หมายถึง ชาวสวรรคพวกหนึ่งที่มีความ สาหส สาหัส แปลว่า ร้ายแรง
ชํานาญทางดนตรี ในความวา สุบรรณ ครุฑ นำรำยณ์ทรงสุบรรณ
“สุบรรณคนธรรพวิทยา”) สุราฤทธิ์, สุรารักษ์ เทวดา
สุราลัย สวรรค์
66

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
ทุกขอเนนคําศัพทที่หมายถึงพระอิศวรยกเวนขอใด
1 สวรรค 6 ชั้น เรียกวา ฉกามาพจร ประกอบดวย จตุมหาราชิกา ดาวดึงส
1. เมื่อนั้น พระสยมภูวญาณเรืองศรี
ยามา ดุสิต นิมมานรดี และปรนิมมิตวสวัตดี ใน 1 วัน ของสวรรคแตละชั้น
2. สุบรรณคนธรรพวิทยา ตางมาเฝาองคพระศุลี
มีระยะเวลาเมื่อเทียบกับระยะเวลาในโลกมนุษยไมเทากัน ดังนี้
3. เมื่อนั้น หัสนัยนเจาตรัยตรึงศา
1. วันหนึ่งคืนหนึ่งของสวรรคชั้นจาตุมหาราชิกา เทากับ 50 ปโลกมนุษย
4. นอมเศียรบังคมแลวทูลไป จะขอพรเจาไตรโลกา
2. วันหนึ่งคืนหนึ่งของสวรรคชั้นดาวดึงส เทากับ 100 ปโลกมนุษย
3. วันหนึ่งคืนหนึ่งของสวรรคชั้นยามา เทากับ 200 ปโลกมนุษย วิเคราะหคําตอบ คําที่มีความหมายถึง พระอิศวร มีดังนี้ ขอ 1. พระ
4. วันหนึ่งคืนหนึ่งของสวรรคชั้นดุสิต เทากับ 400 ปโลกมนุษย สยมภูวญาณ ขอ 2. พระศุลี และขอ 4. เจาไตรโลกา ขอที่ไมไดหมายถึง
5. วันหนึ่งคืนหนึ่งของสวรรคชั้นนิมมานรดี เทากับ 800 ปโลกมนุษย พระอิศวร คือ “หัสนัยนเจาตรัยตรึงศา” ซึ่งเปนการกลาวถึง พระอินทร
6. วันหนึ่งคืนหนึ่งของสวรรคชั้นปรนิมมิตวสวัตดี เทากับ 1,600 ปโลกมนุษย แปลวา ผูมีพันตาเปนเจาแหงสวรรคชั้นตรัยตรึงศ ตอบขอ 3.
2 ลักษมี เปนพระนามหนึ่งของพระชายาพระนารายณ เปนเทวีแหงโภคทรัพย
เกิดจากพิธีกวนเกษียรสมุทร พระลักษมีมีหลายพระนาม เพราะเมื่อพระนารายณ
หรือพระวิษณุอวตาร พระลักษมีก็จะตามไปอยูเคียงขาง เชน พระนารายณอวตาร
เปนพระราม พระลักษมีเปนนางสีดา เปนตน

66 คู่มือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนรวบรวมคําขยายนามที่แสดงความ
ค�าศัพท์ ความหมาย ยิ่งใหญของพระอิศวรจากบทละครเรื่องรามเกียรติ์
1 ตอน นารายณปราบนนทก
หัสนัยน์ มาจาก สหัสนัยน์ แปลว่าพันตา (สหัส = ๑,๐๐๐) หมายถึง พระอินทร์
(แนวตอบ คําขยายนามที่แสดงความยิ่งใหญของ
อสุนี สายฟ้า พระอิศวร เชน เรืองศรี ลมรังสรรค พระทรงญาณ
อัฒจันทร์ ที่นั่งเป็นชั้นๆ มีลักษณะเป็นครึ่งวงกลม ในที่นี้หมายถึง ขั้นบันได พระทรงธรรม มียศ เจาไตรโลกา)
อัปสร นางฟ้า
อิศราธิบดี มาจาก อิศร + อธิบดี หมายถึง ความเป็นเจ้าเป็นใหญ่ ในที่นี้หมายถึง ขยายความเขาใจ Expand
พระอิศวร
1. ครูทบทวนคําศัพทที่พบในเรื่องอีกครั้ง
อิศวร ชื่อเรียกพระศิวะ ซึ่งเป็นเทพเจ้าองค์หนึ่งของศาสนาพราหมณ์
จากนั้นใหนักเรียนจัดหมวดหมูคําศัพทวาเปน
คําไทยชนิดใดใน 7 ชนิด ไดแก คํานาม
คําสรรพนาม คํากริยา คําวิเศษณ คําบุพบท
คําอุทาน และคําสันธาน
2. นักเรียนบันทึกลงตารางในสมุดสงครู

รูปเขำไกรลำสที่ตั้งวิมำนของพระอิศวร (จิตรกรรมฝำผนังรอบพระระเบียงวัดพระศรีรัตนศำสดำรำม)
67

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
“ตองสุบรรณเทวานาคี ดั่งพิษอสุรีไมทนได”
1 หัสนัยน หมายถึง พระอินทร มีชื่อและฉายาตางๆ ในวรรณคดีสันสกฤต ดังนี้
คําประพันธในบทขางตนขอใดหมายถึง “พญาครุฑ”
1. สุบรรณ ชื่อและฉายาของพระอินทร ความหมาย
2. เทวา ศจี ผูมีกําลัง ผูมีความสามารถ
3. นาคี
4. อสุรี วฤตรหัน ผูฆาอสูรวฤตระ

วิเคราะหคําตอบ คําประพันธในขางตน หมายความวา (นิ้วเพชร) โดน วัชรปานี ผูถือวัชระ


เหลาครุฑ เทวดา และนาค เจ็บปวดจนทนไมได ขอ 1. สุบรรณ แปลวา ววัชรี วัชรวัต วัชรทักษิณ วัชรภฤต ผูถืออาวุธคือสายฟา
ครุฑ ขอ 2. เทวา แปลวา เทวดา ขอ 3. นาค แปลวา พญานาค และ
มัฆวาน ผูเอื้อเฟอเผื่อแผ
ขอ 4. อสุรี แปลวา ยักษ ตอบขอ 1.
สหัสนัยน สหัสรากษะ ผูมีนัยนตาทั้งพัน ทาวพันตา

คูมือครู 67
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนอานเรื่องเกี่ยวกับนารายณสิบปาง
จากนั้นครูสนทนารวมกับนักเรียนเกี่ยวกับ บอกเล่าเก้าสิบ
“นารายณสิบปาง” วา ในสิบปางนี้ พระนารายณ 1
อวตารเปนใครบาง นารายณ์สิบปาง
(แนวตอบ นารายณสิบปาง มีดังนี้ ปางที่ ๑ มัตสยาวตาร อวตารลงมาเป็ น ปลาศะผะริ
• ปางที่ 1 เปนปลาศะผะริ ฆ่าอสูรหัยครีพ ผู้ลักพระเวท
• ปางที่ 2 เปนเตาใหญ ของพระพรหม แล้วปลาศะผะริ
น�าพระเวทมาคืนพระพรหม
• ปางที่ 3 เปนหมู
ปางที่ ๒ กูรมาวตาร อวตารลงมาเป็นเต่าใหญ่ไป
• ปางที่ 4 เปนนรสิงห รองรับข้างใต้ภูเขามันทรที่
• ปางที่ 5 เปนพราหมณเตี้ย เทวดาใช้กวนน�้าทิพย์เพราะ
• ปางที่ 6 เปนพราหมณชื่อราม เกรงว่าเขามันทรจะเจาะโลก
หน้ำบันที่ปรำสำทบันทำยสรี
ลึกจนโลกทลาย
• ปางที่ 7 เปนพระราม ประเทศกัมพูชำ เป็นภำพ
ปางที่ ๓ วราหาวตาร อวตารลงมาเป็นหมูเพื่อปราบ นรสิงหำวตำร ปำงที่ ๔
• ปางที่ 8 เปนพระกฤษณะ หิรันตยักษ์ผู้ม้วนแผ่นดิน ของพระนำรำยณ์
• ปางที่ 9 เปนพระพุทธเจา ปางที่ ๔ นรสิงหาวตาร อวตารลงมาเป็นนรสิงห์
• ปางที่ 10 เปนกัลลีบุรุษผิวขาว) เพื่อปราบหิรัณยกศิปุยักษ์
ซึ่งแย่งสวรรค์ของพระอินทร์
ขยายความเข้าใจ Expand ปางที่ ๕ วามนาวตาร อวตารลงมาเป็นพราหมณ์เตี้ย
ท�าอุบายแย่งโลกและสวรรค์
นักเรียนแบงกลุม 10 กลุม กลุมละ 5-6 คน จากท้าวพลีพญาแทตย์และ
จากนั้นมอบหมายใหนักเรียนสืบคนขอมูลความรู มอบบาดาลให้แก่ท้าวพลี
ครอบครอง
เกี่ยวกับนารายณสิบปาง กลุมละ 1 ปาง จัดทําเปน ปางที่ ๖ ปรศุรามาวตาร อวตารลงมาเป็นพราหมณ์
รายงานสงครู ชื่อราม (รามสูร) เพื่อฆ่าอรชุน
ปางที่ ๗ รามจันทราวตาร อวตารลงมาเป็นพระรามตาม
ตรวจสอบผล Evaluate เรื่องรามเกียรติ์
ปางที่ ๘ กฤษณาวตาร อวตารลงมาเป็นพระกฤษณะ
1. นักเรียนบอกคําขยายนามที่แสดงความยิ่งใหญ เพื่อปราบยักษ์พญากงส์ตาม
ของพระอิศวรได เรื่องมหาภารตยุทธ์
2. นักเรียนจัดหมวดหมูชนิดของคําจากคําศัพท ปางที่ ๙ พุทธาวตาร อวตารลงมาเป็นพระพุทธเจ้า
คือ พระสิทธัตถกุมาร
ในบทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอน นารายณ รูปเคำรพแบบเขมรจำกปรำสำท
ปราบนนทก ปางที่ ๑๐ กัลกยาวตาร อวตารลงมาเป็นบุรุษผิวขาวที่ สมโบร์ไพรกุก รูปปำงที่ ๑๐
ชื่อกัลลี เพื่อปราบกลียุคซึ่งจะ กัลกยำวตำร
มาถึง (ที่มา: หนังสือกระบวนการเกิดนานาศาสนา)

68

กิจกรรมสรางเสริม
นักเรียนควรรู
1 นารายณสิบปาง นอกจากจะปรากฏเปนประติมากรรมแลว ยังมีปรากฏเปน นักเรียนศึกษาคนควาขอมูลเกี่ยวกับศิลปะที่มีรูปลักษณเปนนารายณ
วรรณคดี คือ ลิลิตนารายณสิบปาง 10 ปาง โดยนักเรียนยกตัวอยางมา 1 ตัวอยาง จากนั้นอธิบายประวัติ
ความเปนมา พรอมระบุวาเปนรูปลักษณนารายณปางใด จัดทําเปนใบงาน
บูรณาการอาเซียน
“รามายณะ” ประพันธขึ้นโดยมีมูลเหตุมาจากลัทธิอวตารหรือลัทธิไวษณพนิกาย กิจกรรมทาทาย
ของศาสนาพราหมณ ที่เชื่อถือพระเจาเพียงองคเดียวคือ พระนารายณ ลัทธิอวตาร
มีหลักในลัทธิอยูว า พระนารายณไดอวตารลงมาดับยุคเข็ญเปนปางตางๆ เมือ่ บังเกิด
มีเหตุเภทภัยใหญหลวงขึน้ ในโลก หรือเมือ่ มีความโหดรายของผูใ ดผูห นึง่ ซึง่ ทําใหโลก นักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับความสําคัญของเรื่องรามเกียรติ์และ
ตองเดือดรอน ครัน้ สําเร็จกิจปราบปรามแลวก็เสด็จกลับคืนขึน้ สูไ วกูณฐ ซึง่ วรรณกรรม รวมกันอภิปรายวา เพราะเหตุใดตามฝาผนังรอบระเบียงวัดหรืออุโบสถ
เรื่องนี้ไดแพรเขามาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตพรอมกับศาสนาพราหมณ- ในวัดบางแหง จึงมีจิตรกรรมฝาผนังเรื่องรามเกียรติ์ บันทึกความรูลงสมุด
ฮินดู ซึ่งมีอิทธิพลทําใหเกิดความเชื่อ แนวคิดผสมผสานอยูในวัฒนธรรมของหลาย
ประเทศในภูมิภาคนี้
68 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
Engage Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูรว มสนทนากับนักเรียนเกีย่ วกับสิง่ ทีไ่ ดรบั
๗ บทวิเคราะห์ จากการศึกษาเรื่องรามเกียรติ์ ตอน นารายณ
ปราบนนทก จากนั้นครูขออาสาสมัคร 3-4 คน
เนื้อเรื่องในตอนนารายณ์ปราบนนทก กล่าวถึงนนทกซึ่งท�าหน้าที่ล้างเท้าเทวดาที่จะเข้าเฝ้า มาแสดงทารําทางนาฏศิลปที่มีในบทละครเรื่อง
พระอิศวร นนทกถูกเทวดากลัน่ แกล้งดึงผม ลูบ และตบศีรษะอยูเ่ สมอ ท�าให้เกิดความคับแค้นใจจึงขอพร รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก แลวให
จากพระอิศวรให้มีนิ้วเพชรสามารถชี้ใครให้ตายก็ได้ นนทกได้นิ้วเพชรแล้วจึงน�าไปชี้เหล่าเทวดา เพื่อนในชั้นเรียนทาย
ล้มตายจ�านวนมาก จนพระอิศวรมีบัญชาให้พระนารายณ์ไปปราบนนทก ตอนนี้จะมีเนื้อความสั้น
แต่น่าสนใจ ควรค่าแก่การศึกษาหลายประการ ดังนี้ ส�ารวจค้นหา Explore
๗.๑ คุณค่าด้านเนือ้ หา
นักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับบทวิเคราะห
บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก เป็นวรรณคดีที่ไทยได้รับอิทธิพล
วิจารณบทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอน
มาจากประเทศอินเดียแต่ได้มีการดัดแปลง จนนับได้ว่าเป็นวรรณคดีที่มีเอกลักษณ์ของความเป็นไทย
นารายณปราบนนทก จากเอกสาร ตํารา วารสาร
ปรากฏอยู่ แม้ว่าจุดประสงค์ในการพระราชนิพนธ์ คือ เพื่อให้ความบันเทิง แต่บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ หรือเว็บไซตตางๆ ที่นาเชื่อถือ
ยังสะท้อนให้เห็นถึงค่านิยม และความเชื่อต่างๆ ของสังคมไทย
นอกจากจะสะท้ อ นค่ า นิ ย มและความเชื่ อ ต่ า งๆ แล้ ว บทละครเรื่ อ ง รามเกี ย รติ์ อธิบายความรู้ Explain
ตอน นารายณ์ปราบนนทก ยังสะท้อนให้เห็นแก่นเรื่องที่ส�าคัญ คือ การผูกใจเจ็บแค้น ไม่ยอมให้อภัย
ย่อมน�ามาซึ่งความเดือดร้อน เหมือนดังที่นนทกผูกใจเจ็บนางนารายณ์แปลง จนกระทั่งจุติมาเกิดเป็น นักเรียนศึกษาบทวิเคราะหคุณคาวรรณคดี
ทศกัณฐ์ ซึ่งสุดท้ายได้พ่ายแพ้ให้แก่พระรามเพราะความอาฆาตพยาบาทจองเวรของตน
ดานเนื้อหา จากนั้นรวมกันเขียนสรุปความรูที่ได
ลงในสมุด
บทละครเรือ่ ง รามเกียรติ ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก มีเนือ้ หาทีส่ ะท้อนสภาพความเป็นจริง
(แนวตอบ บทวิเคราะหวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์
ของสังคมและมนุษย์ที่เต็มไปด้วยรัก โลภ โกรธ หลง ให้ข้อคิดที่ควรน�ามาพิจารณาเปรียบเทียบ
ตอน นารายณปราบนนทก สรุปได ดังนี้
กับพฤติกรรมของคนในสังคมปัจจุบัน ดังจะเห็นจากเหตุการณ์ตอนที่พระอิศวรมอบอ�านาจให้แก่
• สะทอนแกนเรื่องที่กลาวถึงการมอบอํานาจ
นนทก ก็เปรียบกับการให้อ�านาจตกอยู่ในมือของคนที่ลืมตัว ย่อมท�าให้เกิดผลร้ายตามมา ผู้มอบ ใหแกคนที่ไมสามารถควบคุมสติได ยอม
อ� า นาจจึ ง ต้ อ งพิ จ ารณาเสี ย ก่ อ นว่ า จะจ� า กั ด ขอบเขตของอ� า นาจนั้ น อย่ า งไร เมื่ อ ผู้ อ่ า นได้ อ่ า น กอใหเกิดความเดือดรอนขึ้น
นอกจากจะได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลินจากบทประพันธ์แล้ว ยังสามารถน�าข้อคิดที่แฝงไว้ใน • การผูกใจเจ็บแคน ไมรูจักการใหอภัย
บทประพันธ์มาประยุกต์ใช้ในการด�าเนินชีวิตประจ�าวันได้ ท�าให้ผู้อ่านได้ตระหนักรู้ว่า วรรณคดีมิใช่ ยอมนําความเดือดรอนมาสูตน
เรื่องไกลตัว แม้ว่าตัวละครและฉากหรือองค์ประกอบอื่นจะเป็นสิ่งสมมติขึ้น แต่พฤติกรรมของตัวละคร • สะทอนภาพความจริงของมนุษยที่มีความรัก
คล้ายคลึงกับพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมเมื่อตกอยู่ในสถานการณ์เดียวกัน ดังนั้น วรรณคดีที่มีคุณค่า โลภ โกรธ หลง)
จึงควรเป็นเสมือนเครือ่ งมือทีช่ ว่ ยสะท้อนความจริง ท�าให้ผอู้ า่ นได้เรียนรูป้ ญั หาและแนวทางในการแก้ไข
ผ่านวรรณคดีเรื่องนั้นๆ

69

กิจกรรมสรางเสริม
บูรณาการอาเซียน
นักเรียนสรุปแนวคิดที่สําคัญของบทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอน นารายณ วรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์มาจากเรื่องรามายณะ (Ramayana) เปนวรรณกรรม
ปราบนนทก ที่สะทอนใหเห็นความเชื่อเรื่องเวรกรรม ที่ยิ่งใหญของอินเดีย ซึ่งมีการดัดแปลงเลาใหม และแพรหลายในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต โดยมีเนือ้ หาแตกตางกันไป รามายณะเมือ่ แพรหลายในหมูช าวไทย
คนไทยนํามาแตงใหมเรียกวา “รามเกียรติ์” ซึ่งมีหลายฉบับดวยกัน สวนในประเทศ
กิจกรรมทาทาย ลาวนั้นเรียก “พะลักพะลาม” (พระลักษณพระราม) ในอินโดนีเซียเรียก “รามยณะ”
นอกจากนี้ยังมีที่กัมพูชา สิงคโปร มาเลเซีย พมา ซึ่งมีชื่อเรียกแตกตางกันไป
ครูใหนักเรียนสืบคนชื่อเรียกรามายณะในประเทศตางๆ เพิ่มเติม และใหนักเรียน
นักเรียนยกบทประพันธที่แสดงใหเห็นความเชื่อเกี่ยวกับเวรกรรม โดย ชวยกันแสดงความคิดเห็นวากลุมประเทศอาเซียนจะสามารถแสวงหาความรวมมือ
นักเรียนถอดคําประพันธและอธิบายวา บทประพันธที่ยกมาแสดงใหเห็น ตางๆ จากวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ไดหรือไม โดยครูชี้ใหนักเรียนเห็นถึงความ
ความเชื่อเรื่องเวรกรรมอยางไร คลายคลึงกันทางอัตลักษณของประเทศอาเซียนจากวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์
เชน ศิลปะการแสดง ภาพวาดฝาผนัง เปนตน

คู่มือครู 69
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนศึกษาบทวิเคราะหคุณคาวรรณคดีดาน
วรรณศิลป จากนั้นรวมกันเขียนสรุปความรูที่ได ๗.๒ คุณค่าด้านวรรณศิลป์
ลงในสมุด ๑) รสทางวรรณคดี บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก มีรสทาง
(แนวตอบ ดานวรรณศิลป มีความโดดเดนทาง วรรณคดีครบทั้ง ๔ รส ดังนี้
รสวรรณคดีไทย ทัง้ 4 ไดแก เสาวรจนี นารีปราโมทย ๑.๑) เสำวรจนี คือ บทชมความงาม มีทั้งการชมความงามของตัวละครและ
พิโรธวาทัง และสัลลาปงคพิสัย ความโดดเดนในรส ชมความงามของธรรมชาติหรือสถานที่ ดังบทประพันธ์
วรรณคดีไทย ไดแก เหลือบเห็นสตรีวิไลลักษณ์ พิศพักตร์ผ่องเพียงแขไข
• เสาวรจนี บทชมโฉม ความงดงาม งามโอษฐ์งามแก้มงามจุไร งามนัยน์เนตรงามกร
ของนางเทพอัปสร งามถันงามกรรณงามขนง งามองค์ยิ่งเทพอัปสร
• นารีปราโมทย บทเกี้ยวพาราสีนางเทพอัปสร งามจริตกิริยางามงอน งามเอวงามอ่อนทั้งกายา
• พิโรธวาทัง บทโกรธแสดงความโมโหของ ถึงโฉมองค์อัครลักษมี พระสุรัสวดีเสน่หา
นนทกที่ถูกกลั่นแกลง สิ้นทั้งไตรภพจบโลกา จะเอามาเปรียบไม่เทียบทัน
• สัลลาปงคพิสัย บทโศกเศราเสียใจของนนทก ดูไหนก็เพลินจ�าเริญรัก ในองค์เยาวลักษณ์สาวสวรรค์
ที่พยายามพูดถึงความดีของตนที่ทําไว ยิ่งพิศยิ่งคิดผูกพัน ก็เดินกระชั้นเข้าไป
แตกลับถูกกลั่นแกลง)
จากบทประพันธ์จะเห็นว่าเมื่อนนทกเห็นนางอัปสรหรือนางนารายณ์แปลงจึงเกิด
2. นักเรียนพิจารณาบทประพันธที่แสดงใหเห็น
ตกตะลึงในความงามถึงกับพรรณนาความงามของนางอัปสรว่าทั้งใบหน้า ปาก แก้ม ผม นัยน์ตา มือ
รสวรรณคดีสัลลาปงคพิสัย แลวตอบคําถาม หน้าอก หู คิ้ว งามไปหมดทุกส่วน งามยิ่งกว่าพระลักษมีชายาของพระนารายณ์และพระสุรัสวดีชายา
ตอไปนี้ ของพระพรหม ยิ่งมองยิ่งหลงรัก และต้องการท�าความรู้จัก
“ผูใดทําชอบตอเบื้องบาท ๑.๒) นำรีปรำโมทย์ คือ บทเล้าโลมเกี้ยวพาราสี เช่น บทเกี้ยวพาราสีของนนทก
ก็ประสาททั้งพรแลยศศักดิ์ ที่มีต่อนางแปลง ดังบทประพันธ์
ตัวขาก็มีชอบนัก
ลางเทาสุรารักษถึงโกฏิป โฉมเอยโฉมเฉลา เสาวภาคย์แน่งน้อยพิสมัย
พระองคผูทรงศักดาเดช เจ้ามาแต่สวรรค์ชั้นใด นามกรชื่อไรนะเทวี
ไมโปรดเกศแกขาบทศรี ประสงค์สิ่งอันใดจะใคร่รู้ ท�าไมมาอยู่ที่นี่
กรรมเวรสิ่งใดดั่งนี้ ข้าเห็นเป็นน่าปรานี มารศรีจงแจ้งกิจจา
ทูลพลางโศกีรําพัน” จากบทประพันธ์เป็นบทเกี้ยวพาราสีของนนทกที่กล่าวกับนางอัปสร โดยเริ่มต้น
• จากบทประพันธขางตนนักเรียนมีความ ด้วยการถามว่ามาจากสถานที่ใด ชื่ออะไร ต้องการสิ่งใดจึงมาอยู่ที่นี่ และเสนอตัวที่จะช่วยเหลือ
สงสารเห็นใจหรือไม อยางไร ถือเป็นบทเกี้ยวพาราสีที่เริ่มต้นด้วยการท�าความรู้จักฝ่ายหญิงก่อนและแสดงไมตรีให้เป็นที่ประทับใจ
(แนวตอบ นักเรียนอาจตอบวาสงสารหรือไม ๑.๓) พิโรธวำทัง คือ บทที่แสดงความโกรธ โมโห มีจิตใจก�าเริบ ได้แก่ ตอนที่
ก็ได แตใหนักเรียนใหเหตุผลประกอบ ครู นนทกได้รบั พรจากพระอิศวรให้มนี วิ้ เพชร จึงใช้นวิ้ เพชรชีเ้ พือ่ สังหารเทวดาทีก่ ลัน่ แกล้งตน เพือ่ แก้แค้น
แนะวา ในตอนนีไ้ มอาจรูเ จตนาทีไ่ มดขี องนนทก ดังบทประพันธ์
หากพิจารณาจากบทประพันธนนทกก็รูสึก 70
นาสงสารนาเห็นใจ)

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
นอกจากรสวรรณคดีไทยแลว ยังมีรสวรรณคดีตามตําราบาลีและสันสกฤต สุดเอยสุดสวาท โฉมประหลาดลํ้าเทพอัปสร
แบงเปน 9 รส ที่สามารถนํามาวิเคราะหบทประพันธ ครูแนะความรูใหนักเรียน ทั้งวาจาจริตก็งามงอน ควรเปนนางฟอนวิไลลักษณ
เพิ่มเติม ดังนี้ คําประพันธขางตนเปนรสวรรณคดีใด
1. ศฤงคารรส รสแหงความรัก 1. เสาวรจนี
2. หาสยรส รสแหงความขบขัน 2. นารีปราโมทย
3. รุทธรส รสแหงความโกรธ 3. พิโรธวาทัง
4. วีรรส รสแหงความกลาหาญในการรบ 4. สัลลาปงคพิสัย
5. พีภัตสรส รสแหงความรังเกียจชิงชัง วิเคราะหคาํ ตอบ รสวรรณคดีไทย มี 4 รส คือ เสาวรจนี บทชมความงาม
6. กรุณารส รสแหงความเมตตาสงสาร นารีปราโมทย บทแสดงความรัก พิโรธวาทัง บทแสดงความโกรธเกรี้ยว
7. อัพภูตรส รสแหงความประหลาดใจ และสัลลาปงคพิสัย บทแสดงความเศราโศก จากบทประพันธขางตน เปน
8. ภยานกรส รสแหงความกลัว คํากลาวของนนทกที่รูสึกรักใครนางอัปสร จึงกลาวเกี้ยวพาราสีนาง ซึ่งให
9. ศานติรส รสแหงความสงบ รสวรรณคดีนารีปราโมทย ตอบขอ 2.

70 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนอธิบายความรูเกี่ยวกับรสทางวรรณคดี
บัดนั้น นนทกน�้าใจแกล้วกล้า โดยยกบทประพันธที่สอดคลองกับลักษณะนิสัย
กริ้วโกรธร้องประกาศตวาดมา อนิจจาข่มเหงเล่นทุกวัน ของตัวละครนนทก
จนหัวไม่มีผมติด สุดคิดที่เราจะอดกลั้น (แนวตอบ ลักษณะนิสัยของนนทก คือ
วันนี้จะได้เห็นกัน ขบฟันแล้วชี้นิ้วไป เกรี้ยวกราด มีความจงเกลียดจงชังฝงใจ ไมรูจัก
การใหอภัย มีรสวรรณคดีพิโรธวาทัง ความวา
จากบทประพั น ธ์ จ ะเห็ น ว่ า นนทกซึ่ ง เป็ น ตั ว ละครส� า คั ญ ของเรื่ อ งก� า ลั ง แสดง “บัดนั้น นนทกนํ้าใจแกลวกลา
อารมณ์โกรธ เมื่อได้รับพระราชทานนิ้วเพชรจากพระอิศวร จึงเกิดความฮึกเหิม ไม่เกรงกลัวใคร เมื่อ กริว้ โกรธรองประกาศตวาดมา อนิจจาขมเหงเลนทุกวัน
โดนแกล้งเหมือนดังเช่นทุกวัน ด้วยความโกรธแค้นสุดที่จะอดกลั้นได้จึงใช้นิ้วเพชรไล่ชี้เทวดาให้ได้รับ จนหัวไมมีผมติด สุดคิดที่เราจะอดกลั้น
ความเดือดร้อน วันนี้จะไดเห็นกัน ขบฟนแลวชี้นิ้วไป”
๑.๔) สัลลำปังคพิสัย เป็นบทคร�่าครวญ โศกเศร้า ร�าพึงร�าพัน ดังบทประพันธ์ และนนทกยังหลงใหลสตรีงาม ดังจะเห็นไดจาก
บทประพันธที่มีรสวรรณคดีนารีปราโมทย ความวา
ผู้ใดท�าชอบต่อเบื้องบาท ก็ประสาททั้งพรแลยศศักดิ์ “สุดเอยสุดสวาท โฉมประหลาดลํา้ เทพอัปสร
ตัวข้าก็มีชอบนัก ล้างเท้าสุรารักษ์ถึงโกฏิปี ทัง้ วาจาจริตก็งามงอน ควรเปนนางฟอนวิไลลักษณ
พระองค์ผู้ทรงศักดาเดช ไม่โปรดเกศแก่ข้าบทศรี อันซึ่งธุระของเจา หนักเบาจงแจงใหประจักษ
กรรมเวรสิ่งใดดั่งนี้ ทูลพลางโศกีร�าพัน ถาวาสนาเราเคยบํารุงรัก ก็เปนภักดิ์ผลสืบไป”)
จากบทประพั
1 นธ์แสดงให้เห็นถึงอารมณ์ความโศกเศร้าของนนทก เมื่อถูกแกล้ง
เป็นประจ�าจึงเข้าเฝ้าพระอิศวรแล้วรร�าพึงร�าพันให้เห็นความดีที่ผ่านมาของตนเองที่ท�าหน้าที่ล้างเท้า
เทวดาทุกองค์ที่จะเข้าเฝ้าพระอิศวรแต่กลับไม่เคยได้รับพรหรือยศศักดิ์ใดเลย กวีเลือกใช้ถ้อยค�าเพื่อ
ให้ผู้อ่านรู้สึกคล้อยตามไปกับอารมณ์ที่เต็มไปด้วยความน้อยใจของนนทกจากวรรคที่ว่า “ไม่โปรดเกศ
แก่ข้ำบทศรี” หมายถึง ไม่เมตตานนทกเลยสักครั้ง
๒) การใช้โวหารและถ้อยค�า
๒.๑) กำรหลำกค�ำ เพื่อให้เกิดความไพเราะในบทประพันธ์และสามารถเลือกใช้ค�า
ให้ลงสัมผัสทีต่ อ้ งการได้อย่างไพเราะเหมาะสม ในบทละครเรือ่ ง รามเกียรติ ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก
มีการหลากค�า ดังบทประพันธ์

เมื่อนั้น หัสนัยน์เจ้าตรัยตรึงศา
เห็นนนทกนั้นท�าฤทธา ชี้หมู่เทวาวายปราณ

จากบทประพันธ์จะเห็นว่ามีการหลากค�าในบทประพันธ์ คือ ใช้ค�าที่เขียนต่างกัน


แต่หมายถึงสิ่งเดียวกันในที่นี้ คือ พระอินทร์ ได้แก่ ค�าว่า หัสนัยน์ เจ้าตรัยตรึงศา
71

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
บทประพันธในขอใดมีการหลากคํา
1 พระอิศวร แปลวา พระเจาสูงสุด ที่อาจเรียกพระศิวะ แปลวา ผูอํานวยโชค
1. เมื่อนั้น พระสยมภูวญาณเรืองศรี
และมีชื่ออื่นๆ อีกนับพันชื่อที่เรียกตามลักษณะและการถือกําเนิดของพระองค
ไดฟงนนทกพาที ภูมีนิ่งนึกตรึกไป
พระอิศวรเปนเทพผูทําลาย หมายถึง ผูที่ทําลายโลกซึ่งมาถึงยุคที่เลวรายเกินการ
2. บัดนั้น นนทกผูมีใจสาหส
แกไข ในเรื่องรามเกียรติ์ หลังจากที่นนทกไปเกิดเปนทศกัณฐ พระนารายณอวตาร
รับพรพระศุลีมียศ บังคมลาแลวบทจรไป
เปนพระรามไปปราบ พระอิศวรไดชวยเหลือพระนารายณ โดยสรางหนุมานไวเปน
3. เมื่อนั้น หัสนัยนเจาตรัยตรึงศา
กําลังสําคัญของพระราม พระอิศวรแบงกําลังของพระองคประทานอิทธิฤทธิ์แก
เห็นนนทกนั้นทําฤทธา ชี้หมูเทวาวายปราณ
หนุมาน โดยมอบเทพอาวุธใหพระพายนําไปซัดเขาปากนางสวาหะเกิดเปนหนุมาน
4. เมื่อนั้น พระอิศวรบรมนาถา
ทหารเอกของพระราม ชวยใหพระรามสังหารทศกัณฐไดในที่สุด
ไดฟงองคอมรินทรา จึ่งมีบัญชาตอบไป
วิเคราะหคําตอบ การหลากคํา คือ ใชคําที่มีความหมายเหมือนกัน ขอ 1.
มีคําวา พระสยมภูวญาณ หมายถึง พระอิศวร มีคําขยายวา “เรืองศรี”
ขอ 2. มีคําวา “พระศุลี” ที่หมายถึง พระอิศวร ขอ 3. มีคาํ วา “หัสนัยน”
กับคําวา “เจาตรัยตรึงศา” ทีห่ มายถึง พระอิศวร และขอ 4. มีกลาวถึง
“พระอิศวร” และ “องคอมรินทรา” คือ พระอินทร ตอบขอ 3.
คู่มือครู 71
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนศึกษาบทวิเคราะหคุณคาวรรณคดีดาน
วรรณศิลป จากนั้นเขียนสรุปความรูที่ไดลงในสมุด นอกจากค�าว่าพระอินทร์แล้ว ยังพบการหลากค�าในบทอื่น ดังบทประพันธ์
(แนวตอบ การใชโวหารถอยคําทีใ่ หอรรถรส มีดงั นี้
มาจะกล่าวบทไป ถึงนนทกน�้าใจกล้าหาญ
• การหลากคํา เลือกใชคําที่สัมผัสกัน และเลือก
ตั้งแต่พระสยมภูวญาณ ประทานให้ล้างเท้าเทวา
ใชคําไวพจน
• การใชคําแสดงอารมณ คําที่แสดงความรูสึก จากบทประพั น ธ์ จ ะเห็ น ว่ า มี ก ารหลากค� า ที่ มี ค วามหมายว่ า พระอิ ศ วร คื อ
ของตัวละคร คือ อารมณโกรธ พระสยมภูวญาณและยังมีการหลากค�าโดยหมายถึง พระนารายณ์ ดังบทประพันธ์
• การใชคําสั้นแตกินความมาก ใหความหมาย
ที่ชัดเจน บัดนั้น นนทกแกล้วหาญชาญสมร
• การใชคําซํ้า เพื่อเนนคําใหมีอรรถรสใน เห็นพระองค์ทรงสังข์คทาธร เป็นสี่กรก็รู้ประจักษ์ใจ
การอาน ว่าพระหริวงศ์ทรงฤทธิ์ ลวงล้างชีวิตก็เป็นได้
• การใชอุปมาอุปไมย เพื่อแสดงการเปรียบ จึ่งมีวาจาถามไป โทษข้าเป็นไฉนให้ว่ามา
เทียบใหผูอานเกิดจินตภาพไดชัดเจน) จากบทประพันธ์ปรากฏการหลากค�าที่หมายถึง พระนารายณ์ คือ พระสี่กร
พระหริวงศ์ ซึ่งค�าที่มีความหมายเหมือนกันแต่สามารถเขียนได้หลายค�าเช่นนี้เรียกว่า ค�าไวพจน์ เป็น
ขยายความเข้าใจ Expand ศิลปะการใช้ถอ้ ยค�าของกวีเพือ่ สรรค�าให้ได้ความหมายตรงกับความต้องการและถูกต้องกับฉันทลักษณ์
1. นักเรียนตอบคําถามในประเด็นเกี่ยวกับ ของบทประพันธ์
วรรณศิลป ดังนี้ ๒.๒) กำรใช้ค�ำแสดงอำรมณ์ เพื่อให้ผู้อ่านมีอารมณ์ร่วมกับตัวละครในเรื่อง
• นักเรียนคิดวา “การหลากคํา” ในบทละคร ดังบทประพันธ์
เรื่องรามเกียรติ์เปนศิลปะการสรรคําอยางไร จนผมโกร๋นโล้นเกลี้ยงถึงเพียงหู ดูเงาในน�้าแล้วร้องไห้
(แนวตอบ การหลากคํา เปนลักษณะเดนของ ฮึดฮัดขัดแค้นแน่นใจ ตาแดงดั่งแสงไฟฟ้า
วรรณคดีไทยที่มีความงามทางภาษา เปน เป็นชายดูดู๋มาหมิ่นชาย มิตายก็จะได้เห็นหน้า
ศิลปะในการเลือกสรรคําอยางพิถีพิถัน เพื่อให คิดแล้วก็รีบเดินมา เฝ้าพระอิศราธิบดี
ไดคําที่เหมาะสมกับเนื้อหา และรูปแบบ มีทั้ง
ความไพเราะ ชวยในการดําเนินเรื่อง และเปน จากบทประพั
1 นธ์จะเห็นว่าการใช้เสียงในค�าว่า ฮึดฮัดและขัดแค้น ซึ่งเป็นค�า
คําที่เหมาะแกการใชเปนบทละคร) ที่ประสมด้วยสระเสียงสั้นแสดงถึงความรู้สึกอึดอัดคับแค้นที่ฝังอยู่ในอกของนนทก
นอกของนนทก เป็นการเลือกใช้ค�า
2. นักเรียนรวบรวมคําไวพจนที่ปรากฏในเนื้อเรื่อง ที่เหมาะกับการแสดงอารมณ์โกรธ ท�าให้ผู้อ่านเกิดความรู้สึกคล้อยตามไปกับตัวละคร
แลวชวยกันจัดปายนิเทศแสดงคําไวพจน การใช้ค�าว่า ดูด๋ ู ท�าให้รู้สึกถึงการเสียศักดิ์ศรีความเป็นชาย ยิ่งต่อด้วยค�าว่า
ในชั้นเรียน หมิ่นชาย ยิ่งตอกย�้าความรู้สึกเก็บกดตลอดเวลาที่ถูกข่มเหงรังแกของนนทกได้เป็นอย่างดี
(แนวตอบ ตัวอยางคําไวพจนในบทละครเรื่อง ๒.๓) กำรใช้คำ� น้อยแต่กนิ ควำมมำก เรือ่ ง รามเกียรติ ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก
รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก เชน สามารถเล่าเรือ่ งโดยใช้บทกลอนสัน้ ๆ แต่ได้ใจความครบถ้วนและมีความไพเราะ ดังบทประพันธ์
คําที่มีความหมายถึงพระอิศวร ไดแก
พระสยมภูวญาณ พระศุลี เปนตน) 72

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ครูชี้ใหนักเรียนเห็นวา วรรณคดีมิใชเรื่องไกลตัว เพราะวรรณคดีเปนเรื่องที่แตง ขอใดใชคําถามเชิงวาทศิลป
ขึ้นจากอารมณความรูสึกนึกคิดของมนุษย ดังนั้นตัวละครแมจะอยูในสถานะใดก็มี 1. โฉมเอยโฉมเฉลา เสาวภาคยแนงนอยพิสมัย
ความคิดความรูที่เหมือนมนุษย ดังที่นนทกอาจไดรับความเห็นใจเพราะถูกรังแก เจามาแตสวรรคชั้นใด นามกรชื่อไรนะเทวี
มาชานาน นิ้วเพชรจึงเปนอาวุธที่สมควรจะมีไวปองกันตัวและปรามไมใหใครมา 2. ประสงคสิ่งอันใดจะใครรู ทําไมมาอยูที่นี่
รังแกไดอีก แตกลับใชทํารายผูอื่น ดวยความโกรธเจาคิดเจาแคน สุดทายตนเอง ขาเห็นเปนนาปรานี มารศรีจงแจงกิจจา
ก็ไดรับผลนั้นเชนกัน 3. ทําไมมาลวงไถถาม ลวนลามบุกรุกเขามาใกล
ทานนี้ไมมีความเกรงใจ เราเปนขาใชเจาโลกา
4. อันซึ่งจะฝากไมตรีขา ขอนั้นอยาวาหารูไม
นักเรียนควรรู เราเปนนางรําระบําใน จะมีมิตรที่ใจผูกพัน
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. และขอ 2. เปนบทเจรจาของนนทกที่ถามนาง
1 ประสมดวยสระเสียงสั้น เมื่อใชคําที่ประสมดวยสระเสียงสั้นหรือคําตาย
อัปสรดวยชื่นชอบรักใครอยากรูวาเปนใคร ชื่ออะไร จึงคาดหวังคําตอบ
ในบทประพันธ จะทําใหการอานออกเสียงดูนาอึดอัด คือ เสียงมีความหวน สั้น
จากนาง สวนขอ 3. ที่นางอัปสรกลาววา “ทําไมมาลวงไถถาม” ไมได
กระตุก ลักษณะเสียงถูกกักไว เสียงเหมือนคนกําลังโกรธ
ตองการคําตอบ แตเปนการตอวานนทกที่กลาเขามาทักถาม ขอ 4. เปน
แตเพียงการบอกเลาไมไดถาม ตอบขอ 3.
72 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนพิจารณาบทประพันธที่มีการใชคําซํ้า
ชาตินี้มึงมีแต่สองหัตถ์ จงไปอุบัติเอาชาติใหม่ กันหลายที่ในหนา 73
ให้สิบเศียรสิบพักตร์เกรียงไกร เหาะเหินเดินได้ในอัมพร • อธิบายวามีการใชคําซํ้ากันอยางไร
มีมือยี่สิบซ้ายขวา ถือคทาอาวุธธนูศร (แนวตอบ จากบทประพันธในหนา 73 กวีมี
การใชคําซํ้ากันหลายที่ โดยซํ้าคําวา “งาม”
กูจะเป็นมนุษย์แต่สองกร ตามไปราญรอนชีวี
เปนการชมความงามของนางแปลงที่นนทก
จากบทประพันธ์เป็นตอนที่พระนารายณ์กล่าวกับนนทกก่อนจะสังหาร ซึ่งเป็น เห็นวางามมาก การใชคําซํ้ากันหลายที่จึง
1
บทกลอนสั้นๆ แต่ได้ใจความชัดเจนโดยนนทกกล่าวว่าพระนารายณ์มีสี่กรแต่กลับรังแกตนเองที่มี เปนการเนนความหมายของคําวา “งาม” ให
สองมือเท่านั้น พระนารายณ์จึงกล่าวให้นนทกไปอุบัติในชาติใหม่ให้มีสิบหน้า ยี่สิบมือ นนทกจึงจุติมา มีนํ้าหนักมากขึ้น)
เป็นทศกัณฐ์และพระนารายณ์อวตารเป็นพระราม
๒.๔) กำรใช้คำ� ในลักษณะกลบทและกำรซ�ำ้ ค�ำ เพือ่ ให้เกิดความไพเราะและเป็นการ ขยายความเข้าใจ Expand
เน้นความ ดังบทประพันธ์ นักเรียนถอดคําประพันธในหนา 73 บท
เหลือบเห็นสตรีวิไลลักษณ์ พิศพักตร์ผ่องเพียงแขไข ที่มีการใชคําซํ้ากันหลายที่
งามโอษฐ์งามแก้มงามจุไร งามนัยน์เนตรงามกร
(แนวตอบ จากบทประพันธที่มีคําซํ้ากันหลายที่
คือ
งามถันงามกรรณงามขนง งามองค์ยิ่งเทพอัปสร
เหลือบเห็นสตรีวิไลลักษณ
งามจริตกิริยางามงอน งามเอวงามอ่อนทั้งกายา
พิศพักตรผองเพียงแขไข
จากบทประพันธ์เป็นตอนที่นนทกเห็นความงามของนางแปลง จึงชมความงามของ งามโอษฐงามแกมงามจุไร
นาง โดยกวีซ�้าค�าว่า “งำม” เพื่อเน้นย�้าให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ความรู้สึกคล้อยตามและเกิดจินตภาพถึง งามนัยนเนตรงามกร
ความงามของนางอัปสรว่าเป็นผู้มีความงามเพียบพร้อม งามถันงามกรรณงามขนง
๒.๕) กำรใช้อุปมำเปรียบเทียบ อุปมาเป็นการเปรียบสิ่งหนึ่งเหมือนอีกสิ่งหนึ่ง งามองคยิ่งเทพอัปสร
เพื่อให้ผู้อ่านเกิดจินตนาการเห็นภาพชัดเจนมากยิ่งขึ้น ท�าให้ภาพที่ผู้อ่านจินตนาการตรงกับภาพ งามจริตกิริยางามงอน
ทีก่ วีตอ้ งการสือ่ และผูอ้ า่ นจะได้รบั อรรถรสในการอ่านมากยิง่ ขึน้ โดยจะมีคา� ว่า ดัง่ เพียง เปรียบ เหมือน งามเอวงามออนทั้งกายา
เห็นหญิงสาวงดงาม ใบหนาเหมือนดวงจันทร
ในบทประพันธ์เพื่อแสดงถึงการเปรียบเทียบ ดังบทประพันธ์
ปากงาม แกมงาม ไรผมงาม ตางาม แขนงาม
2
ต้องสุบรรณเทวานาคี ดั่งพิษอสุนีไม่ทนได้ อกงาม หูงาม คิ้วงาม รูปงามยิ่งกวานางฟา
ล้มฟาดกลาดเกลื่อนลงทันใด บรรลัยไม่ทันพริบตา นางสวรรค งามกิริยาทาทาง งามทั้งเนื้อทั้งตัว)

ตัวกูก็คิดเมตตา แต่จะไว้ชีวามึงไม่ได้
ตรัสแล้วแกว่งตรีเกรียงไกร แสงกระจายพรายไปดั่งไฟกาล
73

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ถึงโฉมองคอัครลักษมี พระสุรัสวดีเสนหา
1 พระนารายณมีสี่กร คือ พระกรทรงศาสตราวุธ 4 ชนิด ไดแก ตรี คทา จักร
สิ้นทั้งไตรภพจบโลกา เอามาเปรียบไมเทียบทัน
สังข และรางของพระนารายณที่มีสีเปลี่ยนไปตามยุค ฉลองพระองคดั่งกษัตริย
ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับบทประพันธขางตน
อาภรณสีเหลือง สวมมงกุฎทอง
1. การใชภาพพจนสัทพจน
2. การใชภาพพจนอติพจน 2 สุบรรณ หมายถึง ครุฑ ซึ่งแปลวาผูมีขนสีทองงามรุงเรือง ครุฑมีรูปกาย
3. การใชภาพพจนบุคคลวัต เปนกึ่งมนุษยและกึ่งนกเปนราชาแหงนก ครุฑกับนาคเปนพี่นองรวมบิดากัน แต
4. การใชภาพพจนอุปลักษณ เกลียดชังและเปนศัตรูกนั พระนารายณทรงขอใหครุฑเปนพาหนะของพระองค ทรง
อนุญาตใหครุฑเกาะบนเสาธง จึงเปนที่มาของธงครุฑที่ใชสําหรับพระมหากษัตริย
วิเคราะหคําตอบ จากบทประพันธขางตนกลาวถึงพระลักษมีชายา ครุฑที่ปรากฏอยูในบทละครเรื่องรามเกียรติ์มีชายาชื่อวินายกา มีลูกคือ สัมพาที
พระนารายณ พระสุรัสวดีชายาพระพรหม และหญิงสาวทุกนางในสามโลก และสดายุ หรือเรียกวา หัสดายุ
คือ โลกมนุษย สวรรค และบาดาล ไมมีหญิงคนใดงามเหมือนหญิงคนนี้
ซึ่งก็คือ นารายณแปลง เปนการเปรียบเทียบอยางเกินจริงวาไมมีหญิงใด
ในทั้งสามโลกที่งามกวาหญิงคนนี้ ตอบขอ 2.

คู่มือครู 73
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนอธิบายการใชความเปรียบที่วา “ขณะที่
แกวงพระแสงตรีเกิดแสงกระจายเหมือนไฟที่กําลัง จากบทประพันธ์สองบทข้างต้นมีการใช้ค�าอุปมา “ดั่ง” โดยกลอนบทแรกเป็น
ลุกไหม” วาทําใหผูอานเกิดจินตภาพไดอยางไร ตอนที่นนทกใช้นิ้วเพชรชี้เทวดาด้วยฤทธานุภาพของนิ้วเพชรเปรียบได้กับพิษของสายฟ้า
(แนวตอบ จากขอความขางตนเปนขอความ บทประพันธ์ที่สองเป็นตอนที่พระนารายณ์กล่าวแก่นนทกว่า พระองค์ทรงมีความ
ตอนที่พระนารายณใชพระแสงตรีสังหารนนทก จ�าเป็นต้องสังหารนนทกด้วยความผิดที่นนทกก่อขึ้น จากนั้นจึงใช้พระแสงตรีอาวุธประจ�าพระองค์
ทําใหเห็นภาพของอาวุธวา ทรงพลานุภาพรุนแรงใน ตัดเศียรของนนทก ขณะที่แกว่งพระแสงตรีเกิดแสงกระจายเหมือนไฟที่ก�าลังลุกไหม้ การใช้ค�าอุปมา
การทําลาย ดวยการจินตภาพแสงกระจายเหมือนไฟ เปรียบเทียบในบทประพันธ์จะท�าให้ผู้อ่านเกิดจินตภาพขณะอ่านบทประพันธ์ได้เป็นอย่างดี
ที่กําลังลุกไหม) สิ่งที่ควรพิจารณาอีกประการหนึ่ง คือ ท่วงท่าการร่ายร�าของนางแปลงที1่บรรยาย
ในบทประพันธ์นี้ เป็นบทรวบรวมท่าร�าพื้นฐานส�าหรับผู้ฝึกนาฏศิลป์ ซึ่งเรียกว่า ท่ำร�ำแม่บทท ปรากฏ
ขยายความเข้าใจ Expand ดังบทประพันธ์

1. นักเรียนยกบทประพันธจากบทละครเรื่อง เทพนมปฐมพรหมสี่หน้า สอดสร้อยมาลาเฉิดฉิน


รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทกที่มีการ ทั้งกวางเดินดงหงส์บิน กินรินเลียบถ�้าอ�าไพ
ใชความเปรียบ อีกช้านางนอนภมรเคล้า ทั้งแขกเต้าผาลาเพียงไหล่
(แนวตอบ ตัวอยางบทประพันธที่มีการใชคํา เมขลาโยนแก้วแววไว มยุเรศฟ้อนในอัมพร
แสดงความเปรียบ ลมพัดยอดตองพรหมนิมิต ทั้งพิสมัยเรียงหมอน
“จนผมโกรนโลนเกลี้ยงถึงเพียงหู ย้ายท่ามัจฉาชมสาคร พระสี่กรขว้างจักรฤทธิรงค์
ดูเงาในนํ้าแลวรองไห ฝ่ายว่านนทกก็ร�าตาม ด้วยความพิสมัยใหลหลง
ฮึดฮัดขัดแคนแนนใจ ถึงท่านาคาม้วนหางวง ชี้ตรงถูกเพลาทันใด
ตาแดงดั่งแสงไฟฟา” ท่าร�าทัง้ หมดทีก่ ล่าวในเรือ่ ง รามเกียรติ ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก เป็นท่าร�าส�าคัญ
จากบทประพันธที่ยกมาใชคําวา “ดั่ง” ของนาฏศิลป์ไทย ได้แก่ ท่าเทพนม ท่าพรหมสี่หน้า ท่าปฐม ท่าสอดสร้อยมาลา ท่ากวางเดินดง ท่าหงส์
เปรียบเทียบดวงตาที่แดงวาเหมือนแสงไฟฟาที่ บิน ท่ากินรินเลียบถ�้า ท่าช้านางนอน ท่าภมรเคล้า ท่าแขกเต้า ท่าผาลาเพียงไหล่ ท่าเมขลาล่อแก้ว ท่า
วาวโรจนสวางจา ซึ่งเกิดจากการรองไหและรูสึก ยูงฟ้อนหาง ท่าลมพัดยอดตอง ท่าพิสมัยเรียงหมอน ท่ามัจฉาชมสาคร ท่าพระสี่กรขว้างจักร ท่านาคา
โกรธแคนฝงใจมาก) ม้วนหาง ซึ่งผู้เรียนนาฏศิลป์ทุกคนต้องเรียนรู้ท่าร�าเรียกว่า “ท่ำร�ำแม่บท” เพื่อจะน�าไปประยุกต์ใช้ใน
2. นักเรียนแสดง “ทารําแมบท” ซึ่งมาจาก การร�าละครหรือการแสดงชุดต่างๆ
บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอน นารายณ ๗.๓ คุณค่าด้านสังคม
ปราบนนทก
บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก สะท้อนให้เห็นคุณค่าด้านสังคม
ทั้งด้านนามธรรมและรูปธรรม ดังนี้
๑) สะท้อนให้เห็นค่านิยมของคนไทย บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์
ปราบนนทก สะท้อนให้เห็นค่านิยมของคนไทยที่ว่า ท�าดี ได้ดี ท�าชั่ว ได้ชั่ว ดังบทประพันธ์

74

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ครูแนะใหนักเรียนพิจารณาดูภาพทารําเปรียบเทียบกับชื่อทารํา จะเห็นวา การรํา เทพนมปฐมพรมสี่หนา สอดสรอยมาลาเฉิดฉิน
ก็คอื การแปลชือ่ ทาใหเปนการรําโดยตรง แตประดิษฐใหมสี ว นสัดงดงาม เมือ่ นําทารํา ทั้งกวางเดินดงหงสบิน กินรินเรียบถํ้าอําไพ
ตางๆ ไปใชในการแสดง ก็ตองเรียบเรียงทารํา โดยลําดับทาใหเขากับจังหวะทํานอง คําประพันธที่ยกมาใหความรูทางนาฏศิลปในขอใด
ของเพลงและดนตรีทบี่ รรเลงประกอบ และตบแตงทารําสําหรับเชือ่ มทาตางๆ ใหตดิ ตอ 1. ตนแบบการรําแมบท
กันสนิทสนม 2. ตนแบบการขับรองเพลงไทยเดิม
3. ตนแบบเพลงการบรรเลงดนตรีไทย
4. ตนแบบการประยุกตเครื่องแตงกายละครรํา
นักเรียนควรรู วิเคราะหคําตอบ แมบทนางนารายณ มีมาแตครั้งกรุงศรีอยุธยา ปรากฏอยู
1 ทารําแมบท ทารําที่ครูนาฏศิลปโบราณไดประดิษฐไว ทั้งที่ตบแตงจาก ในระบําเบิกโรง ชุดนารายณปราบนนทก และมีการสืบทอดตอกันมาในสมัย
ทาธรรมดา และตามความหมายอืน่ ๆ มีมากมาย หรือทองใหจดจําไดงา ย มักเรียกกันวา กรุงรัตนโกสินทร ดังปรากฏในกลอนบทละคร ตอมามีการประดิษฐกระบวน
“แมบท” เพราะเปนทาหลักที่จะตองเรียนรูใหแมนยํา บทที่สั้น มีทารํานอย ทารําสําหรับการแสดง โดยประดิษฐกระบวนทารําประกอบบทขับรอง
ก็คอื บทพระราชนิพนธในรัชกาลที่ 1 แทรกอยูใ นเรือ่ งรามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบ ไดอยางสอดคลองเหมาะสม แตยังคงทารําตามรูปแบบมาตรฐานที่สวยงาม
นนทกที่มีทั้งหมด 19 ทา ไว ตอบขอ 1.

74 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนศึกษาบทวิเคราะหคุณคาวรรณคดี
เมื่อนั้น พระสยมภูวญาณเรืองศรี ดานสังคม จากนั้นเขียนสรุปความรูที่ไดจากการ
ได้ฟังนนทกพาที ภูมีนิ่งนึกตรึกไป อภิปรายประเด็นตอไปนี้ลงในสมุด
อ้ายนี่มีชอบมาช้านาน จ�าจะประทานพรให้ • ความเชื่อเรื่องมีภพหนาปรากฏในบทละคร
คิดแล้วก็ประสิทธิ์พรชัย จงได้ส�าเร็จมโนรถ เรื่องรามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก
หรือไม อยางไร
จากบทประพั น ธ์ แ สดงให้ เ ห็ น ว่ า นนทกตั้ ง ใจปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องตนเป็ น อย่ า งดี (แนวตอบ สะทอนใหเห็นความเชื่อของ
เมื่อจะขอพรจากพระอิศวร จึงได้รับความเมตตาและประสิทธิ์ประสาทพรให้โดยทันที คนไทย ไดแกความเชื่อเรื่องภพนี้ภพหนา
ซึ่งเปนความเชื่อทางศาสนา เชน ตอน
เมื่อนั้น พระนารายณ์ทรงสวัสดิ์รัศมี
พระนารายณที่ทาทายใหนนทกไปเกิดใน
ได้ฟังจึ่งตอบวาที กูนี้แปลงเป็นสตรีมา
ภพใหม เพื่อจะไดชําระความอาฆาตที่มีตอ
เพราะมึงจะถึงแก่ความตาย ฉิบหายด้วยหลงเสน่หา
พระนารายณในชาตินี้ ดังบทประพันธ
ใช่ว่าจะกลัวฤทธา ศักดานิ้วเพชรนั้นเมื่อไร
“ชาตินี้มึงมีแตสองหัตถ
ชาตินี้มึงมีแต่สองหัตถ์ จงไปอุบัติเอาชาติใหม่
จงไปอุบัติเอาชาติใหม
ให้สิบเศียรสิบพักตร์เกรียงไกร เหาะเหินเดินได้ในอัมพร
ใหสิบเศียรสิบพักตรเกรียงไกร
มีมือยี่สิบซ้ายขวา ถือคทาอาวุธธนูศร
เหาะเหินเดินไดในอัมพร
กูจะเป็นมนุษย์แต่สองกร ตามไปราญรอนชีวี
มีมือยี่สิบซายขวา
ให้สิ้นวงศ์พงศ์มึงอันศักดา 1 ประจักษ์แก่เทวาทุกราศี
ถือคทาอาวุธธนูศร
ว่าแล้วกวัดแกว่งพระแสงตรี ภูมีตัดเศียรกระเด็นไป
กูจะเปนมนุษยแตสองกร
จากบทประพันธ์แสดงให้เห็นว่าหลังจากที่นนทกได้รับนิ้วเพชรตามต้องการแล้ว ตามไปราญรอนชีวี”)
กลับใช้ไปในทางทีผ่ ดิ ไล่ชเี้ ทวดาจนได้รบั ความเดือดร้อน ซึง่ การกระท�าของนนทกถือเป็นสิง่ ทีไ่ ม่ถกู ต้อง
จึงได้รบั ผลของการกระท�าโดยพระนารายณ์แปลงเป็นนางอัปสร ชวนนนทกร่ายร�าในท่าต่างๆ จนนนทก ขยายความเข้าใจ Expand
ใช้นิ้วเพชรชี้ขาของตนเองล้มลง พระนารายณ์จึงใช้พระแสงตรีตัดเศียรของนนทก 1. นักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับความเชื่อเรื่อง
บทละครเรือ่ ง รามเกียรติ ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก ได้สะท้อนค่านิยมของคนไทย ชาติภพจากบทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอน
ที่เชื่อว่าหากคนที่ท�าความดีย่อมได้รับสิ่งดี แต่ถ้าท�าความชั่วย่อมได้รับสิ่งไม่ดีตอบสนอง เหมือนดังที่ นารายณปราบนนทก จากนั้นใหนักเรียนนํา
นนทกตั้งใจปฏิบัติหน้าที่เมื่อขอพรจากพระอิศวรจึงได้รับความเมตตา แต่ภายหลังนนทกประพฤติตน ความเชื่อเหลานั้นมาเขียนอภิปราย เพื่อนํา
ไปในทางไม่เหมาะสมสร้างความเดือดร้อนให้แก่ผู้อื่นสุดท้ายจึงพบกับจุดจบของตนเอง เสนอแลกเปลี่ยนกับเพื่อนคนอื่นๆ
๒) สะท้อนให้เห็นความเชือ่ ของคนไทย กล่าวคือ สังคมไทยเป็นสังคมทีผ่ กู พันอยูก่ บั 2. นักเรียนยกตัวอยางบทประพันธที่สนับสนุน
ความเชื่อและความศรัทธา ดังนั้น ผู้ประพันธ์จึงถ่ายทอดผ่านบทประพันธ์ ซึ่งบทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ความเชื่อเรื่องภพหนา
ตอน นารายณ์ปราบนนทก สะท้อนความเชื่อ คือ ความเชื่อในภพหน้า ดังบทประพันธ์

75

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ขอใดสะทอนใหเห็นความเชื่อของคนในสังคมไทย
1 พระแสงตรี มีความเกีย่ วของกับตราพระราชวงศจกั รี ซึง่ มีทมี่ าจากบรรดาศักดิ์
1. มีมือยี่สิบซายขวา ถือคทาอาวุธธนูศร
“เจาพระยาจักรีศรีองครักษ” ตําแหนงสมุหนายก ตําแหนงทางราชการครัง้ ทีพ่ ระองค
2. ไดฟงจึ่งตอบวาที กูนี้แปลงเปนสตรีมา
เคยทรงดํารงตําแหนงมากอนในสมัยกรุงธนบุรี คําวา “จักรี” นี้พองเสียงกับคําวา
3. ชาตินี้มึงมีแตสองหัตถ จงไปอุบัติเอาชาติใหม
“จักร” และ “ตรี” ซึ่งเปนเทพอาวุธของพระนารายณ พระบาทสมเด็จพระพุทธ
4. ใหสิ้นวงศพงศมึงอันศักดา ประจักษแกเทวาทุกราศี
ยอดฟาจุฬาโลกมหาราชจึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางพระแสงจักรและ
วิเคราะหคําตอบ ความเชื่อเรื่องมีภพหนามีปรากฏในบทละคร พระแสงตรีไว 1 สํารับ และกําหนดใหใชเปนสัญลักษณประจําราชวงศจักรีสืบมา
เรื่องรามเกียรติ์ ตอนนารายณปราบนนทก ดังความวา จนถึงปจจุบัน
“ชาตินี้มึงมีแตสองหัตถ จงไปอุบัติเอาชาติใหม” ตอบขอ 3.

มุม IT
ศึกษาเนื้อเรื่องวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์เพิ่มเติม ไดที่
http://www.siamnt.net/ramakien_literature/html/ramakien_story2.php

คู่มือครู 75
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนศึกษาบทวิเคราะหคุณคาวรรณคดี
ดานสังคม จากนั้นเขียนสรุปความรูที่ไดจาก ชาตินี้มึงมีแต่สองหัตถ์ จงไปอุบัติเอาชาติใหม่
การอภิปรายประเด็นตอไปนี้ลงในสมุด ให้สิบเศียรสิบพักตร์เกรียงไกร เหาะเหินเดินได้ในอัมพร
• บทประพันธในบทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอน มีมือยี่สิบซ้ายขวา ถือคทาอาวุธธนูศร
นารายณปราบนนทก มีความสัมพันธกับ กูจะเป็นมนุษย์แต่สองกร ตามไปราญรอนชีวี
นาฏศิลปไทย อยางไร
ให้สิ้นวงศ์พงศ์มึงอันศักดา ประจักษ์แก่เทวาทุกราศี
(แนวตอบ สะทอนใหเห็นถึงวัฒนธรรมดาน
ว่าแล้วกวัดแกว่งพระแสงตรี ภูมีตัดเศียรกระเด็นไป
นาฏศิลปไทย ไดแก ทารําของพระนารายณ
ชุดรําแมบทเล็ก ซึ่งเปนทารายรําทางนาฏศิลป ช้า
ที่งดงาม สามารถนําไปประยุกต ประดิษฐเปน เมื่อนั้น ฝ่ายนางรัชดามเหสี
ทารายรําทาอื่นๆ ไดดวย สะทอนเอกลักษณ องค์ท้าวลัสเตียนธิบดี เทวีมีราชบุตรา
ความเปนไทยอยางเดนชัด) คือว่านนทกมาก�าเนิด เกิดเป็นพระโอรสา
ชื่อทศกัณฐ์กุมารา สิบเศียรสิบหน้ายี่สิบกร
ขยายความเข้าใจ Expand
จากบทประพันธ์กล่าวถึงนนทกที่ผูก1ใจอาฆาตในพระนารายณ์ที่แปลงเป็นนางอัปสร
นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็น ดังนี้ มาสังหารตน พระนารายณ์จึงได้ให้นนทกลงไปจุติในชาติใหม่แล้วพระองค์จะอวตารลงไปปราบ
• จากการศึกษาบทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอน สะท้อนให้เห็นความเชื่อในเรื่องภพหน้า หรือการเกิดในชาติใหม่
นารายณปราบนนทกมีขอเท็จจริงที่สอดคลอง ๓) สะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมด้านนาฏศิลป์ไทย กล่าวคือ ท่าร�าของนางอัปสร
กับความจริงในชีวิตมนุษยอยางไร เป็นท่าร�าส�าคัญซึ่งผู้เรียนนาฏศิลป์จะต้องเรียนรู้เป็นท่าพื้นฐาน เรียกว่า ท่าร�าแม่บท และสามารถ
(แนวตอบ ดานเนื้อหามีขอเท็จจริงที่สอดคลอง น�าไปประยุกต์ประดิษฐ์ท่าร�าอื่นๆ ได้ ในต้นฉบับของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
กับความจริงในชีวิต ดังนี้ ใช้เพลงพระทองประกอบท่าร�า ดังบทประพันธ์
• สะทอนแกนเรื่องที่กลาวถึงการมอบอํานาจ
ใหแกคนที่ไมสามารถควบคุมสติได แสดง พระทอง
ใหเห็นถึงธรรมชาติของมนุษยที่ตองการ เทพนมปฐมพรหมสี่หน้า สอดสร้อยมาลาเฉิดฉิน
อํานาจและมักจะใชอํานาจเพื่อประโยชน ทั้งกวางเดินดงหงส์บิน กินรินเลียบถ�้าอ�าไพ
ของตนเองโดยไมคํานึงถึงความเดือดรอน อีกช้านางนอนภมรเคล้า ทั้งแขกเต้าผาลาเพียงไหล่
ของผูอื่น เมขลาโยนแก้วแววไว มยุเรศฟ้อนในอัมพร
• การผูกใจเจ็บแคน การไมรูจักการใหอภัย ลมพัดยอดตองพรหมนิมิต ทั้งพิสมัยเรียงหมอน
ยอมทําใหเกิดความทุกขใจ และเปนสิ่งที่ ย้ายท่ามัจฉาชมสาคร พระสี่กรขว้างจักรฤทธิรงค์
บั่นทอนความสุข เนื่องจากไมรูจัก ฝ่ายว่านนทกก็ร�าตาม ด้วยความพิสมัยใหลหลง
ปลอยวาง อาจทําใหเสียสุขภาพจิตได) ถึงท่านาคาม้วนหางวง ชี้ตรงถูกเพลาทันใด
76

กิจกรรมสรางเสริม
นักเรียนควรรู
1 จุติ เปนคํากริยา แปลวา “การเคลื่อน” คือ เคลื่อนจากภพหนึ่งไปสูอีกภพหนึ่ง ใหนักเรียนหาภาพประกอบทารําแมบทมาติดลงในสมุด พรอมระบุชื่อ
หรือเคลื่อนจากโลกหนึ่งไปสูอีกโลกหนึ่ง เมื่อรวมความแลว ก็คือ “ตาย” นั่นเอง ทารํา แลวนําสงครูผูสอน
ตามปกติถาเรานําเอาคําวา “จุติ” มาใช เรามิไดใชกับมนุษยทั่วๆ ไป และก็มิไดใช
แกบรรดาสัตวนรก เปรต อสุรกาย หรือสัตวดิรัจฉานอื่นๆ จะใชสําหรับเทวดาหรือ
พรหมเทานัน้ เชน เทวดาจุตจิ ากสวรรคมาเกิดในโลก หรือ พระโพธิสตั วจตุ จิ ากสวรรค กิจกรรมทาทาย
ชัน้ ดุสติ มาปฏิสนธิในพระครรภพระนางสิรมิ หามายา เมือ่ “จุต”ิ แลวก็ตอ ง “ปฏิสนธิ”
ทันที และจึงใชเขาคูกับ “อุบัติ” ซึ่งแปลวา “การเกิด”
นักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับทารําแมบทเล็กทั้ง 19 ทา จากนั้น
ใหนักเรียนแบงกลุม 19 กลุม แตละกลุมมาเลารายละเอียดของทารํา
มุม IT พรอมแสดงทารําประกอบหนาชั้นเรียน
ศึกษาเกี่ยวกับทารําประกอบการแสดงเพิ่มเติม ไดที่
http://www.kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK13/chapter5/t13-5-l2.htm

76 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนศึกษาบทวิเคราะหขอคิดที่สามารถนํา
จากบทประพั
1 นธ์สะท้อนให้เห็นว่าวัฒนธรรมไทยมีความเป็นเอกลักษณ์ มีการคิด ไปประยุกตใชในชีวติ ประจําวันได จากนัน้ รวมกัน
ประดิษฐ์ท่าร�าที่งดงามและก�าหนดชื่อให้สอดคล้องกับท่าร�าแต่ละท่าอย่างคล้องจองกัน เขียนแสดงความคิดเห็นตามหัวขอตอไปนี้ และ
๗.๔ ข้อคิดทีส่ ามารถนำาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำาวัน สรุปความรูลงในสมุด
จากการพิจารณาคุณค่าวรรณคดี ทั้งคุณค่าด้านเนื้อหา ด้านวรรณศิลป์ และด้านสังคม • การอาฆาตพยาบาท จองเวร จะนํามาซึ่ง
ท�าให้เห็นว่าบทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก สะท้อนให้เห็นถึงข้อคิดที่สามารถ ความเดือดรอน
น�าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวันได้โดยขึ้นอยู่กับวัยและประสบการณ์ของบุคคล ดังนี้ (แนวตอบ คนทุกคนอยากไดและอยากทําใน
๑) ความอาฆาต พยาบาท จองเวร น�ามาซึ่งความเดือดร้อน กล่าวคือ ธรรมชาติ สิ่งที่ตนเองตองการ เมื่อไมไดดั่งใจหวังยอม
ของมนุษย์มีความรู้สึก รัก โลภ โกรธ หลง ในบุคคลหรือวัตถุสิ่งของ เมื่อเกิดความไม่พอใจหรือไม่ได้รับ เกิดความไมพอใจ คิดอาฆาตพยาบาท
ในสิ่งที่ต้องการย่อมก่อให้เกิดความอาฆาต พยาบาท จองเวร และท้ายที่สุด ความอาฆาต พยาบาท จองเวรกับบุคคลที่เปนอุปสรรคขวางหนทาง
จึงกลายเป็นไฟเผาไหม้ท�าลายชีวิตของตนเอง หากนนทกยอมรับในชะตากรรมของตน ปลงใจจาก ของตน เมื่อเกิดความอาฆาตพยาบาทแลว
ความเจ็บแค้น ความเดื อดร้ อนนานั ป การจะไม่ เกิ ดขึ้น การปฏิ บัติ ต นให้ เ ป็ นผู้ ที่รู้ จั กการให้ อ ภั ย
ก็มุงที่จะทํารายผูอื่นไดอยางงายดาย
ไม่ผูกใจเจ็บแค้นย่อมน�ามาซึ่งความสุขกาย สบายใจ
เหมือนดั่งนนทกที่แกไขปญหาไมถูกวิธี)
• การไมรังแกผูที่ดอยกวาตน
๒) การใช้ อ� า นาจในทางที่ ผิ ด ย่ อ มน� า มาซึ่ ง ความเดื อ ดร้ อ น กล่ า วคื อ
(แนวตอบ คนเราตองอยูรวมกันในสังคม
อ�านาจเมื่อตกอยู่ในมือของผู้ซึ่งขาดสติไตร่ตรอง เขาย่อมใช้อ�านาจไปในทางที่ไม่ถูกต้อง อาจสร้าง
ผูที่มีความเกงกาจกลาหาญแข็งแรงก็ไมควร
ความเดือดร้อนหรือท�าลายบุคคลอืน่ ทัง้ ทางตรงและทางอ้อม เหมือนทีน่ นทกได้รบั พระราชทานนิว้ เพชร
รังแกผูที่ดอยกวาตน การรังแกผูที่ดอยกวา
จากพระอิศวร ด้วยความที่นนทกเป็นผู้มีจิตใจไม่มั่นคง ครองชีวิตด้วยความโกรธแค้น จึงใช้นิ้วเพชร
ตน ยอมหมายถึงการเบียดเบียนผูอื่น อาจ
ไล่ชี้เทวดาที่เคยกลั่นแกล้งตน
ไดรับภัยเชนกันในภายหลัง เชนเหลาเทวดา
ดังนั้น การให้อ�านาจแก่บุคคลใด ผู้ที่ให้อ�านาจควรใช้สติปัญญาไตร่ตรองพิจารณา
ที่กลั่นแกลงนนทกดวยมองวาตํ่าตอยกวาตน
และในขณะเดียวกันผู้ได้รับอ�านาจควรใช้อ�านาจไปในทางที่ถูกต้อง สุดทายจึงถูกนนทกแกแคน)
๓) อย่ารังแกผู้ที่ด้อยกว่าตน กล่าวคือ มนุษย์เป็นสัตว์สังคมต้องอาศัยอยู่ร่วมกันใน
สังคมและการที่จะอาศัยร่วมกันได้อย่างปกติสุขนั้น ต้องไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน ต้องระลึกไว้เสมอ ขยายความเข้าใจ Expand
ว่า การรังแกผู้ที่ด้อยหรืออ่อนแอกว่าตนเองเป็นการกระท�าที่ไม่สมควรและในบางครั้งความเดือดร้อน
อาจจะกลับมาตอบสนองตนเองในภายหลัง นักเรียนยกพุทธสุภาษิตที่เกี่ยวกับการ
๔) ความลุ่มหลงมัวเมาจะท�าให้ภัยมาถึงตัว กล่าวคือ ความลุ่มหลงในรูป รส ไมจองเวร
กลิ่น เสียง สัมผัส ย่อมท�าให้มนุษย์ขาดสติในการใช้ชีวิต เมื่อความลุ่มหลงกลายเป็นความต้องการ (แนวตอบ ตัวอยางพุทธสุภาษิต น หิ เวเรน
ย่อมท�าให้มนุษย์ยอมท�าทุกอย่างเพื่อจะได้มาครอบครอง โดยไม่ทันได้พิจารณาว่าอาจน�ามาซึ่ง เวรานิ สมฺมนฺตีธ กุทาจนํ อเวเรน จ สมฺมนฺติ เอส
ความเดือดร้อนของตนเองเหมือนที่นนทกลุ่มหลงนางอัปสร เมื่อนางบอกให้ร่ายร�าตาม นนทกใช้นิ้ว ธมฺโม สนนฺตโน ฯ
เพชรชี้ขาของตนเองจนขาหักล้มลง พระนารายณ์ทรงใช้พระแสงตรีตัดเศียรในที่สุด อานวา นะ หิ เวเรนะ เวรานิ สัมมันตีทะ
กุทาจะนัง อะเวเรนะ จะ สัมมันติ เอสะ ธัมโม
สะนะนัตโน
77 แปลวา ในกาลไหนๆ ในโลกนี้ เวรไมมีระงับ
ดวยการจองเวร มีแตเวรระงับดวยการไมจองเวร)

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ทางพุทธศาสนา “เรื่องนารายณปราบนนทก” ใหขอคิดใดที่นําไปใชใน ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่เนนความเขาใจเกี่ยวกับพฤติกรรมของตัวละครใน
ชีวิตประจําวันไดดีที่สุด บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก โดยนักเรียนแบงกลุม ใหแตละ
1. อยารังแกผูที่ดอยกวาตน กลุมหาขาวจากหนังสือพิมพที่แสดงใหเห็นการใชอํานาจในทางที่ไมถูกตอง นักเรียน
2. ความลุมหลงมัวเมาจะนําภัยมาถึงตัว รวมกันอภิปรายความรูจากขาวที่แตละกลุมหามาในชั้นเรียน
3. การใหอํานาจแกผูที่ขาดสติยอมนําความเดือดรอนมาให
4. การอาฆาต พยาบาท จองเวรจองกรรม ยอมนํามาซึ่งความเดือดรอน
วิเคราะหคําตอบ ทุกขอเปนขอคิดทางพระพุทธศาสนาที่สามารถนําไป นักเรียนควรรู
ประยุกตใชในชีวิตประจําวันได ไมวาจะเปนการไมรังแกผูที่ดอยกวาตน
1 ประดิษฐทารําที่งดงาม แนวคิดของอาจารยเฉลย ศุขะวณิช ศิลปนแหงชาติ
ความลุมหลงมัวเมาหรือความประมาทขาดสติ การใหอํานาจแกผูขาดสติ
สาขาศิลปะการแสดง และผูเ ชีย่ วชาญนาฏศิลปไทยไดกลาวถึงการคิดประดิษฐทา รํา
จะนํามาซึ่งความเดือดรอน และอาฆาตพยาบาทจองเวรจองกรรมกัน
พอสรุปไดวา เปนลักษณะของการตีบท หรือใชภาษานาฏศิลปในทารําของไทย
ยอมนํามาซึ่งความเดือดรอน ซึ่งเปนคําสอนสําคัญที่หากนนทกถือปฏิบัติ
ที่เปนแบบแผนมาแตดั้งเดิม ก็คือ กลอนตํารารํา และบทรําเพลงชา เพลงเร็ว จะมี
จะไมเกิดความเดือดรอนกับตนเองและผูอื่น ตอบขอ 4.
ทาบังคับและทาตายโดยใชกลวิธีที่จะประดิษฐใหไดทารําที่เหมาะสมสวยงาม

คู่มือครู 77
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนพิจารณาคุณคาดานสังคมจากบทละคร
เรื่องรามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก แม้ เ นื้ อ หาของบทละครเรื่ อ ง รามเกี ย รติ์ ตอน นารายณ์ ป ราบนนทก
เปรียบเทียบกับคานิยมการนับถือพระพุทธศาสนา จะมีเนือ้ หาสัน ้ แต่กม็ คี ณ
ุ ค่าในด้านการใช้ถอ้ ยคÓทีไ่ พเราะ ลึกซึง้ มีการพรรณนาให้เกิด
ของคนไทย จากนั้นเขียนสรุปความรูที่ไดลงในสมุด ความรู้สึกตามเนื้อเรื่องและได้สาระที่มีคุณค่าหลายประการ อีกทั้งยังให้ข้อคิดเตือนใจ
(แนวตอบ คานิยมของคนไทย เปนเรื่องของ แก่ผอู้ า่ นด้วย เช่น อย่าคิดว่าตนเหนือกว่าผูอ้ น
ื่ แล้วไปรังแกผูด้ อ้ ยกว่าด้วยความสนุกสนาน
ความเชื่อตามหลักศาสนา ไดแก การทําดีไดดี โดยไม่คÓนึงถึงจิตใจของผู้อื่น หรือความลุ่มหลงมัวเมาย่อมจะนÓภัยมาถึงตัว ดังที่
การทําชั่วไดชั่ว เชน การกระทําของนนทกที่พึงจะ นนทกลุ่มหลงสตรีจนขาดสติยั้งคิดจึงต้องตายในที่สุด อีกแนวคิดที่นÓมาพิจารณา คือ
ทําลายชีวิตของผูอื่นเพื่อเปนการแกแคน การจะบÓเหน็จรางวัลให้กับผู้ใด ต้องพิจารณาให้รอบคอบว่าเหมาะกับอุปนิสัยของผู้นั้น
จองเวรจองกรรมและกอกรรมไมสิ้นสุด) หรือไม่ ให้แล้วจะเกิดประโยชน์หรือโทษ บทละครเรือ่ ง รามเกียรติ ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก
• นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทําดี จึงมีคุณค่าในด้านต่าง ครบถ้วน ซึ่งผู้เรียนสามารถนÓไปใช้ประโยชน์ในการเรียน
ไดดี การทําชั่วไดชั่ว นักเรียนเห็นดวย
และการดÓเนินชีวิตได้เป็นอย่างดี
หรือไม อยางไร
(แนวตอบ ครูชี้แนะใหนักเรียนเห็นวา การ
ทําความดีไมกอความเดือดรอน ทุกขใจให
ผูอื่น นอกจากนนทกจะเปนตัวอยางในการ
กระทําที่ไมดีแลว เทวดาที่กลั่นแกลงนนทกก็
ไมควรที่จะกระทําเชนนั้น แตการตอบโตหรือ
แกไขปญหาดวยความรุนแรงจะนํามาซึ่ง
ความพินาศเชนกัน)

ขยายความเข้าใจ Expand
นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นในประเด็น
ตอไปนี้
• หากนักเรียนเปนนนทกจะมีวิธีแกไข
จัดการกับปญหาอยางไรเมื่อถูกกลั่นแกลง
เปนประจํา
(แนวตอบ นักเรียนแสดงความคิดเห็นได
หลากหลาย ครูชี้ใหนักเรียนเห็นวาการใชวิธี
อยางนนทกที่แกแคนพยาบาทเปนวิธีที่ผิด
เพราะผลที่ตามมาทําใหตัวเองและผูอื่น
เดือดรอน แตหากนนทกใชนิ้วเพชรขูหรือ
ปรามเหลาเทวดาที่มาแกลงก็จะไมเกิด 78
ความเสียหายแกใคร)

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ครูใหนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับบทละครเรื่องรามเกียรติ์เพิ่มเติม ในฐานะที่เปน ชาตินี้มึงมีแตสองหัตถ จงไปอุบัติเอาชาติใหม
นาฏวรรณคดี ทั้งนี้บทละครนาฏวรรณคดีสามารถแบงแยกยอยออกเปนหลายชนิด ใหสิบเศียรสิบพักตรเกรียงไกร เหาะเหินเดินไดในอัมพร
ตามขนบการแสดงละครแบบตางๆ ละครชาตรี ละครนอก ละครใน ละครพันทาง “จงไปอุบัติเอาชาติใหม” หมายถึงใคร
มีลักษณะวิธีการแตงคลายคลึงกัน คือ ดําเนินเรื่องติดตอกันไป ไมแบงเปนบท 1. พิเภก 2. กุมภกรรณ
เปนตอน นอกจากนี้ ยังมีลักษณะพิเศษแตกตางจากบทละครเรื่องอื่น คือ 3. ทศกัณฐ 4. อินทรชิต
เปนเรื่องเดียวที่นํามาใชเปนบทพากยโขน ซึ่งมีหลายสํานวน แตงในสมัยอยุธยา วิเคราะหคําตอบ จากบทประพันธเปนคํากลาวของพระนารายณตอบโต
มาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร โดยเฉพาะในสมัยสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรง ที่นนทกกลาวหา พระองความีสี่กรก็เลยเอาชนะตนเองได ความวา
พระราชนิพนธบทพากยโขนไวหลายตอน แตทรงเรียกวาละครดึกดําบรรพ “ใหสิบเศียรสิบพักตรเกรียงไกร” บงบอกลักษณะของทศกัณฐที่มีสิบเศียร
สิบหนา ตอบขอ 3.

78 คู่มือครู
ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ Evaluate
Engage Explore Explain Expand
ตรวจสอบผล Evaluate
1. นักเรียนสรุปคุณคาดานเนื้อหาของบทละคร
เรื่องรามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก
ค�ำถำม ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้
2. นักเรียนยกบทประพันธที่มีรสทางวรรณคดี
สอดคลองกับลักษณะนิสัยของนนทกได
๑. นักเรียนคิดว่าพฤติกรรมของนนทกมีความน่าเห็นใจหรือไม่ อย่างไร จงอธิบายเหตุผลประกอบ 3. นักเรียนยกพุทธสุภาษิตที่ใหขอคิดตรงกับ
ความคิดเห็น บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอน นารายณ
๒. นนทกได้รับพรจากพระอิศวรให้มีนิ้วเพชร แต่นนทกกลับถูกสังหารได้ในที่สุด นักเรียนคิดว่า ปราบนนทกได
เกิดจากสาเหตุใดเป็นส�าคัญ 4. นักเรียนเปรียบเทียบขอคิดจากบทละครเรื่อง
๓. หากนักเรียนเป็นนนทก จะมีวิธีแก้ไขปัญหาหรือวิธีระงับความโกรธได้อย่างไรบ้าง เพื่อไม่ให้มีจิตใจ รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทกกับ
ผูกอาฆาตหรือท�าร้ายผู้อื่น คานิยมการนับถือพระพุทธศาสนาของคนไทยได
๔. กลอนบทละครมีลักษณะต่างจากกลอนแปดอย่างไร
๕. ข้อคิดใดจากเรื่องที่นักเรียนสามารถน�ามาปรับใช้ในการด�าเนินชีวิตประจ�าวัน
หลักฐานแสดงผลการเรียนรู
1. การเขียนเรียงความหัวขอ “ปฐมกษัตริยแหง
ราชวงศจักรี”
2. การแตงคําประพันธหัวขอ “รามเกียรติ์
วรรณคดีมรดก”
กิจกรรม สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้ 3. บัตรคําสรุปเรื่องยอบทละครเรื่องรามเกียรติ์
ตอน นารายณปราบนนทก
กิจกรรมที่ ๑ ให้นักเรียนเขียนเรื่องย่อจากบทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก
4. การยกพุทธสุภาษิตที่ใหขอคิดตรงกับตัวละคร
กิจกรรมที่ ๒ ใ ห้นกั เรียนอ่านท�านองเสนาะจากบทละครเรือ่ ง รามเกียรติ ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก นนทก
โดยใช้น�้าเสียงและสอดแทรกอารมณ์ให้เหมาะสมกับเนื้อหาและตัวละคร

กิจกรรมที่ ๓ ให้นกั เรียนศึกษาค้นคว้าภาพจิตรกรรมฝาผนังเรือ่ งรามเกียรติ ์ จากหนังสือทีร่ วบรวม


ภาพจิตรกรรมฝาผนัง หรือจากแหล่งข้อมูลอื่นๆ เช่น อินเทอร์เน็ต จากนั้นน�าเสนอ
ผลงานหน้าชั้นเรียน

79

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู
1. พฤติกรรมของนนทกไมนาเห็นใจ เพราะการถูกกลั่นแกลงใหตองโกรธเคือง แลวตอบโตกลับคืน นํามาซึ่งความเดือดรอน แมผูที่ไมเกี่ยวของเองก็พลอยไดรับผลกระทบ
จากการแกแคนนั้นไปดวย
2. เพราะนนทกใชนิ้วเพชรที่มีอํานาจในทางมิชอบ คือ ใชแกแคนทํารายผูอื่นจนนําภัยมาสูตน
3. หลีกเลี่ยงการเผชิญหนากับเหลาเทวดาหรือชี้นิ้วเพชรแตเพียงขูปรามไมใหเทวดามากลั่นแกลง โดยไมตองเอามาใชจริง
4. มักนิยมมีคําวา เมื่อนั้น บัดนั้น มาจะกลาวบทไป ขึ้นตนบทประพันธ
5. ขอคิดที่สามารถนํามาปรับใชในชีวิตประจําวัน ไดแก
• การรูจักการใหอภัย
• การใชอํานาจในทางที่สรางสรรค
• การไมรังแกผูที่ออนแอกวาและการไมลุมหลงในกิเลสตัณหา

คู่มือครู 79
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Explore Explain Expand Evaluate
เปาหมายการเรียนรู
1. สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน
2. วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน พรอม
ยกเหตุผลประกอบ
3. อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่
อาน
4. สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพื่อประยุกต
ใชในชีวิตจริง

สมรรถนะของผูเรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกปญหา
4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค

õ
1. รักชาติ ศาสน กษัตริย
2. ใฝเรียนรู
3. รักความเปนไทย หนวยที่
กำพย์ห่อโคลงประพำสธำรทองแดง
กระตุน้ ความสนใจ Engage ตัวชี้วัด
■ สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน (ท ๕.๑ ม.๒/๑)
ธ รรมชาติ เ ป น แรงบั น ดาลใจที่ สํ า คั ญ ใน
การสรางสรรคงานของกวี วรรณคดีหลายเรื่อง
ครูใชคําถามกระตุนความสนใจนักเรียน ■ วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน พรอมยกเหตุผลประกอบ
(ท ๕.๑ ม.๒/๒) ไดสอดแทรกความรูเกี่ยวกับเรื่องธรรมชาติวิทยา
• จากภาพหนาหนวย นักเรียนเห็นสัตวชนิดใด ■ อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน (ท ๕.๑ ม.๒/๓) ไวในเนื้อเรื่องอยางกลมกลืนและนาสนใจ ดังเชน
สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพื่อประยุกตใชในชีวิตจริง กาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง ผลงานสําคัญ
บาง และในปจจุบันนักเรียนจะสามารถพบ

(ท ๕.๑ ม.๒/๔) ของเจาฟาธรรมธิเบศร


ธรรมชาติลักษณะนี้ไดหรือไม หากพบไดจะ เจาฟาธรรมธิเบศรทรงพระนิพนธกาพยหอโคลง
สาระการเรียนรูแกนกลาง ประพาสธารทองแดง โดยทรงเลาเกี่ยวกับเหตุการณ
พบไดที่ใด การเดิ น ทางไปพระพุ ท ธบาท จั ง หวั ด สระบุ รี และ
(แนวตอบ จากภาพหนาหนวยมี ลิง งู นก เกง ■ การวิเคราะหคุณคาและขอคิดจากวรรณคดี
และวรรณกรรม เรื่อง กาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง
ได พ รรณนาถึ ง ธรรมชาติ อั น น า ตื่ น ตาตื่ น ใจที่ พ บเห็ น
และกวาง ในปจจุบันเปนไปไดยากที่จะพบ ตลอดการเดินทาง พรอมทั้งสอดแทรกความรูเกี่ยวกับ
ธรรมชาติของสัตวและพืชตางๆ ดวยศิลปะการประพันธ
ภาพการอยูรวมกันของสัตวปาเหลานี้ กาพย ห  อ โคลงประพาสธารทองแดงจึ ง เป น วรรณคดี ที่ มี
ในธรรมชาติ แตอาจพบไดในสวนสัตวเปด) ชีวิตชีวา และเปนวรรณคดีที่มีความดีเดนที่สุดเรื่องหนึ่ง

เกร็ดแนะครู
ครูจัดกิจกรรมที่สงเสริมการเรียนรู โดยการจัดกิจกรรมนอกหองเรียน
ใหนักเรียนศึกษา และสังเกตธรรมชาติที่อยูรอบตัว และเปรียบเทียบกับธรรมชาติ
ที่สัตวปาอาศัย ครูกระตุนใหนักเรียนพิจารณาความงามของธรรมชาติที่นักเรียนเคย
สัมผัส จากนั้นใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ในปา และเสนอแนวทางการฟนฟู รักษา ธรรมชาติใหเปนที่อยูอาศัยของสัตวปา

80 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
Engage Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
1. ครูยกบทประพันธที่ชวยปลูกจิตสํานึกให
๑ ความเป็นมา นักเรียนรูสึกหวงแหนธรรมชาติ จากนั้นให
เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรไชยเชษฐสุริยวงศ์ท1รงพระนิพนธ์กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงขึ ้น นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น
2 “เสือพีเพราะปาปก และปารกเพราะเสือยัง
ในโอกาสตามเสด็จสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศ พระราชบิดา ไปนมัสการพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี
โดยเสด็จทางชลมารคออกจากอยุธยาไปตามแม่นา�้ ลพบุร ี ไปขึน้ ทีท่ า่ เจ้าสนุก แล้วเสด็จทางสถลมารคไป ดินเย็นเพราะหญาบัง และหญายังเพราะดินดี”
ตามถนนส่องกล้องจนถึงพระพุทธบาท ขณะที่ประทับอยู่ที่พระพุทธบาทได้เสด็จประพาสธารทองแดง (หนามยอกเอาหนามบง: รัชกาลที่ 6)
พระนิพนธ์ที่เกี่ยวกับการเสด็จไปพระพุทธบาทของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรจึงมี ๒ ตอน คือ ตอนที่ ๑ เป็น 2. ครูสนทนากับนักเรียนและถามเกี่ยวกับ
กาพย์เห่เรือ เป็นการพรรณนาช่วงที่เสด็จทางชลมารค และกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง เป็น ประสบการณการทองเที่ยวชมธรรมชาติ
การพรรณนาช่วงที่เสด็จประพาสธารทองแดง ซึ่งเป็นธารน�้าในบริเวณเขาพระพุทธบาท • นักเรียนเคยไปทองเที่ยวชมธรรมชาติที่มี
ลักษณะเปนปาเขาลําเนาไพรหรือไม ถาเคย
๒ ประวัติผู้แต่ง นักเรียนไปที่ใด
เจ้ า ฟ้ า ธรรมธิ เ บศรไชยเชษฐ์ สุ ริ ย วงศ์ มี พ ระนามที่ เรี ย กกั น เป็ น สามั ญ ว่ า “เจ้ า ฟ้ า กุ ้ ง ” (แนวตอบ นักเรียนแสดงความคิดเห็นได
เป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและสมเด็จพระพันวสาใหญ่ เมื่อสมเด็จ หลากหลายขึน้ อยูก บั ประสบการณของนักเรียน)
พระชนกนาถเสวยราชย์แล้ว โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นเจ้าฟ้าต่างกรม พระนามว่า
เจ้าฟ้ากรมขุนเสนาพิทักษ์ ส�ารวจค้นหา Explore
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศโปรดปรานกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ พระโอรสองค์หนึ่งของ 1. นักเรียนศึกษาคนควาความเปนมาและประวัติ
สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ท้ า ยสระเป็ น อย่ า งมาก แม้ ก รมขุ น สุ เรนทรพิ ทั ก ษ์ จ ะทรงผนวชอยู ่ ก็ ต าม ผูแตง เรื่องกาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง
แต่เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรทรงเกรงว่าจะเป็นศัตรูชงิ ราชสมบัตขิ องพระองค์ในอนาคตจึงทรงหาทางก�าจัดอยู่ จากเอกสาร ตํารา และเว็บไซตตา งๆ
เสมอ จนกระทั่งครั้งหนึ่งทรงท�าร้ายกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์จนถูกกริ้ว ท�าให้ต้องหนีพระราชอาญาออก 2. นักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
ผนวช ณ วัดโคกแสง ฉันทลักษณในการแตงกาพยหอโคลง จาก
ต่ อ มาพระราชชนนี ป ระชวรใกล้ จ ะสิ้ น พระชนม์ ได้ ทู ล ขอพระราชทานอภั 3 ย โทษให้ เอกสาร ตํารา และเว็บไซตตางๆ
เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร พระองค์จึงทรงลาผนวชและได้รับการสถาปนาเป็นพระมหาอุปราช ครั้งหนึ่งมีเหตุ 3. นักเรียนแบงหนาที่กันศึกษาคนควาความรู
กระทบกระทั่งกับกรมหมื่นจิตรสุนทร กรมหมื่นสุนทรเทพ และกรมหมื่นเสพภักดี ซึ่งเป็นพระอนุชา เกี่ยวกับเสนทางการเดินทางไปจังหวัดสระบุรี
ต่างพระชนนี กรมหมื่นสุนทรเทพทรงผูกอาฆาตน�าความกราบบังคมทูลว่า เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร พันธุไม พันธุสัตวที่ปรากฏในเรื่อง
เป็นชู้กับเจ้าฟ้าสังวาลย์ สนมเอกในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พระองค์จึงโปรดเกล้าฯ ให้ไต่สวน
เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรรับเป็นสัตย์ตลอดข้อหาจึงถูกลงพระอาญาโบยจนสิ้นพระชนม์ อธิบายความรู้ Explain
ผลงานพระนิพนธ์ของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร มีดังนี้
๑. นันโทปนันทสูตรค�าหลวง ๒. พระมาลัยค�าหลวง นักเรียนรวมอภิปรายความรูเกี่ยวกับความเปน
๓. กาพย์เห่เรือ ๔. กาพย์ห่อโคลงนิราศธารโศก มาและประวัติผูแตงกาพยหอโคลงประพาสธาร
๕. กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง ๖. บทเห่กากี เห่สังวาส เห่ครวญ และเพลงยาว ทองแดง นักเรียนบอกชื่อผลงานอื่นๆ ของเจาฟา
ธรรมธิเบศรที่นักเรียนรูจัก
81 (แนวตอบ เชน พระมาลัยคําหลวง กาพยเหเรือ
กาพยหอโคลงนิราศธารโศก เปนตน)

กิจกรรมสรางเสริม
นักเรียนควรรู
นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับผลงานพระนิพนธของเจาฟากุงเพิ่มเติม 1 สมเด็จพระเจาอยูหัวบรมโกศ หรือสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 เปน
แลวเลือกผลงานมา 1 เรื่อง เขียนแนะนําผลงานเรื่องนั้นดวยรอยแกวที่ พระราชโอรสในสมเด็จพระสรรเพชญที่ 8 หรือพระเจาเสือ พระนามเดิม คือ เจาฟาพร
สละสลวย 2 พระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี คนพบครัง้ แรกในสมัยพระเจาทรงธรรม โปรดฯ ให
สรางมณฑปครอบรอยพระพุทธบาท พรอมทั้งอุทิศที่ดินบริเวณนั้นเปนพุทธบูชา
3 พระมหาอุปราช ตําแหนงพระมหาอุปราชเกิดขึ้นครั้งแรกในสมัยพระเพทราชา
กิจกรรมทาทาย แหงกรุงศรีอยุธยา และใชสบื ตอมาจนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั
จึงโปรดฯ ใหยกเลิกและแตงตั้งเปนตําแหนง สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎ-
ราชกุมาร
นักเรียนยกบทประพันธจากผลงานของเจาฟากุงที่นักเรียนสนใจมา
2-4 บท ถอดคําประพันธ มานําเสนอคุณคาทางวรรณศิลปหนาชั้นเรียน

คู่มือครู 81
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนอธิบายฉันทลักษณในการแตงกาพยหอ
โคลงและลักษณะเดนของกาพยหอโคลง
(แนวตอบ กาพยหอโคลงเปนกาพยผสมที่ใชกาพย
๓ ลักษณะคÓประพันธ์
1
ยานีแตงรวมกับโคลงสี่สุภาพ โดยใหมีเนื้อความ เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรทรงพระนิพนธ์เป็นกาพย์ห่อโคลง โคลง คือ ใช้กาพย์ยานีหนึ่งบท ซึ่งมี ๔ วรรค
เปนอยางเดียวกัน ฉันทลักษณของกาพยยานีมี สลับกับโคลงสี่สุภาพหนึ่งบท ซึ่งมี ๔ บาท เนื้อความในกาพย์แต่ละวรรค บรรจุลงในโคลงแต่ละบท
ลักษณะบังคับพื้นฐานตามที่กําหนด คือ วรรค ตามล�าดับและเกือบทุกบทของโคลง ค�าต้นบาทของโคลงมักจะเป็นค�าต้นวรรคของกาพย์
หนามี 5 คํา วรรคหลังมี 6 คํา สงสัมผัสโดย
คําสุดทายของวรรคแรกสัมผัสกับคําที่ 1, 2 หรือ แผนผังและตัวอย่างกาพย์ห่อโคลง
3 ของวรรคที่สอง และคําสุดทายของวรรคที่ 2 (กาพย์ยานี ๑๑)
สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่ 3 สวนโคลง
สี่สุภาพมีขอยกเวนบางประการ คือ ไมเครงครัด  
  
  
   
  
  

คําเอกในทุกตําแหนง    
  
   
   
  
  

ลักษณะเดนของกาพยหอโคลงประพาสธาร (โคลงสี่สุภาพ)
ทองแดง คือ แตงกาพยยานี 1 บท แลวแตง
โคลงสี่สุภาพ 1 บท ใหเนื้อความเปนอยาง  
  
   ่ ้  
 ( 
)
เดียวกัน โดยใหเนื้อความในบาทแรกของ  
  
  
  ่  ่ ้
 
โคลงสี่สุภาพลอความในวรรคแรกของกาพยตาม
ลําดับ ทั้งยังกําหนดคําตนของแตละวรรคของ    
  
  
  ่   ่ ( )
 
กาพยกับคําตนของแตละบาทของโคลงเปน  
  
  
 ่ ้ ่  
  ้  

คําเดียวกันหรือใกลเคียงกัน)
2. ครูสุมนักเรียน 2-3 คน มาอธิบายฉันทลักษณ
ในการแตงกาพยหอโคลง (กาพย์ยานี ๑๑)
เครื
2 ่องสูงเพราเพริศพราย ชมชุมสายซ้ายขวาเคียง
ขยายความเข้าใจ Expand ธงไชยธงฉานเรียง ปี่กลองชนะตะเต่องครึม
นักเรียนแตงกาพยหอโคลงชื่นชมธรรมชาติใน
โรงเรียน จํานวน 2 บท แลวนําเสนอหนาชั้นเรียน (โคลงสี่สุภาพ)
กลองทองตีครุ่มครึ้ม เดินเรียง
ท้าตะเติงเติงเสียง ครุ่มครื้น
เสี่ยงปี่รี่เรื่อยเพียง กระเวก
แตร้นแตร่นแตรฝรั่งขึ้น หวู่หวู้เสียงสังข์

82

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
ขอใดกลาวถูกตอง
1 ทรงพระนิพนธเปนกาพยหอโคลง โคลงสี่สุภาพที่แตงเทียบความกาพยนั้น
1. คําประพันธประเภทกาพยหอโคลง ประกอบดวยกาพยยานี 11 จํานวน 1
ตองพรรณนาความที่มีในกาพยใหครบถวน โดยมุงใจความเปนสําคัญ การหาคําที่
บทและตอดวยโคลงสี่สุภาพ 1 บทสลับกันไป
มีใจความตามที่ตองการและไดลักษณะตรงตามที่กําหนดบังคับไวจึงยากกวาปกติ
2. คําประพันธประเภทกาพยหอโคลง ประกอบดวยกาพยฉบัง จํานวน 1 บท
ดวยเหตุนี้โคลงสี่สุภาพที่ทรงพระนิพนธจึงไมเครงครัดตําแหนงคําเอกนัก
และตอดวยโคลงสี่สุภาพ 1 บทสลับกันไป
2 ธงฉาน สมัยกอนเปนธงนํากระบวนกองชนะ มีลักษณะเปนรูปสามเหลี่ยม 3. คําประพันธประเภทกาพยหอโคลง ประกอบดวยกาพยยานี 11 จํานวน 1
ปจจุบันเปนธงที่มีลักษณะอยางเดียวกับธงชาติ แตตรงกลางของผืนธง มีรูปจักร บทและตอดวยโคลงสี่ดั้น 1 บทสลับกันไป
8 แฉก แฉกของจักรเวียนไปทางซายและมีสมอสอดวงจักร ภายใตพระมหามงกุฎ 4. คําประพันธประเภทกาพยหอโคลง ประกอบดวยกาพยยานี 11 จํานวน 1
รูปเหลานี้เปนสีเหลือง เปนธงที่ใชในเรือพระที่นั่งและเรือหลวง หรือเปนธงสําหรับ บทและตอดวยโคลงกระทู 1 บทสลับกันไป
หนวยทหารเรือที่ยกพลขึ้นบก ซึ่งหนวยทหารนั้นไมไดรับพระราชทานธงชัยเฉลิมพล
วิเคราะหคําตอบ คําประพันธประเภทกาพยหอโคลง คือ การแตงกาพย
ยานี 11 รวมกับโคลงสี่สุภาพ ซึ่งมี 3 ลักษณะ ดังนี้ ลักษณะที่ 1 กาพยยานี
11 จํานวน 1 บท โคลงสี่สุภาพ 1 บท แตงสลับกันไป ลักษณะที่ 2 แตง
โคลงสุภาพกอน 1 บทแลวจึงตามดวยกาพยยานี 11 ลักษณะที่ 3 แตงโคลง
สี่สุภาพ 1 บท แลวแตงกาพยยานี 11 โดยไมกําหนดหรือจํากัดจํานวนบท
82 คู่มือครู ตอบขอ 1.
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนอานเรื่องยอกาพยหอโคลงประพาส
๔ เรื่องย่อ 1 2
ธารทองแดง แลวตอบคําถามตอไปนี้
• การเดินทางไปธารทองแดงเดินทางอยางไร
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง ด�าเนินเรื่องตามแบบฉบับของนิราศ าศ คือ พรรณนาถึง
(แนวตอบ ทางสถลมารค หรือทางบก)
การเดินทาง แต่ไม่ได้คร�่าครวญถึงการพลัดพรากจากนางอันเป็นที่รัก เนื้อเรื่องพรรณนาการตามเสด็จ
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศทางสถลมารคไปนมัสการรอยพระพุทธบาท จากท่าเจ้าสนุก ผ่านต�าบล • จุดหมายปลายทางในการเสด็จประพาส
ธารทองแดง ซึ่งมีธารน�้าเล็กๆ สายหนึ่งชื่อว่า “ธารทองแดง” อันเป็นที่ตั้งของพระต�าหนักธารเกษม ครั้งนี้คือที่ใด
ที่ประทับของพระเจ้าแผ่นดิน จนกระทั่งถึงเขาพระพุทธบาท ปัจจุบันอยู่ในเขตอ�าเภอพระพุทธบาท (แนวตอบ อําเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุร)ี
จังหวัดสระบุรี
การด�าเนินเรื่องเริ่มด้วยการพรรณนาชมขบวนเสด็จ จากนั้นชมสัตว์นานาชนิด ทั้งสัตว์เลี้ยงลูก ขยายความเข้าใจ Expand
ด้วยนม สัตว์ปกี สัตว์นา�้ และพรรณไม้สกุลต่างๆ ในลักษณะธรรมชาติศกึ ษา สะท้อนภาพความอุดมสมบูรณ์
ของธรรมชาติ จากการอานเรื่องยอนักเรียนเขียนแผนที่การ
ในที่นี้คัดมาให้นักเรียนได้เรียนเพียง ๒๔ บท เริ่มด้วยการพรรณนาลักษณะของขบวนเสด็จ เดินทางไปธารทองแดง จังหวัดสระบุรี
ซึ่งอยู่ตอนต้นเรื่อง จ�านวน ๔ บท พรรณนาสัตว์บกและสัตว์น�้า จ�านวน ๑๗ บท ส�าหรับตอนท้ายเรื่อง • ธารทองแดง
บอกพระประวัติและพระประสงค์ในการประพันธ์ จ�านวน ๓ บท
• พระตําหนักธารเกษม
๕ เนื้อเรื่อง • ตําบลธารทองแดง
• ทาเจาสนุก
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง*
(เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร: กรมศิลปากร) ตรวจสอบผล Evaluate
๑**
เกลื่อนกรูหมู่จัตุรงค์ เป็นกันกงเรียบเรียงไป 1. นักเรียนแตงกาพยหอโคลงชื่นชมธรรมชาติใน
ทรงช้างระวางใน เทพลีลาหลังคาทอง
โรงเรียน จํานวน 2 บท
เกลื่อนกรูหมู่แห่ห้อม เรียงไสว
เสด็จพุดตาลทองไคล หว่างเขรื้อง 2. นักเรียนวาดแผนที่การเดินทางไปธารทองแดง
ทรงช้างระวางใน มีชื่อ จากการอานเรื่องยอกาพยหอโคลงประพาส
เทพลีลาเยื้อง ย่างแหน้หลังดี ธารทองแดง

เครื่องสูงเพราเพริศพราย ชมชุมสายซ้ายขวาเคียง
ธงไชยธงฉานเรียง ปี่กลองชนะตะเต่องครึม
กลองทองตีครุ่มครึ้ม เดินเรียง
ท้าตะเติงเติงเสียง ครุ่มครื้น
เสียงปี่รี่เรื่อยเพียง กระเวก
แตร้นแตร่นแตรฝรั่งขึ้น หวู่หวู้เสียงสังข์
* ต้นฉบับตอนต้นสูญหายไป
** เลขประจ�ากาพย์นี้ พิมพ์ตามต้นฉบับที่มีเหลืออยู่
83

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
กาพยหอโคลงประพาสธารทองแดงมีคุณคาควรแกการศึกษาในดานใด
1 นิราศ แปลวา ลาจาก มีลักษณะการแตงที่สําคัญ คือ ตองมีการเดินทางและ
1. ใหความรูเรื่องพืช
การครํ่าครวญถึงนางผูเปนที่รัก เนื่องจากมีลักษณะการดําเนินเรื่องคลายนิราศ
2. ใหความรูเรื่องสัตว
ตําราบางเลมจึงเรียกชื่อวา “กาพยหอโคลงนิราศประพาสธารทองแดง”
3. ใหความรูเรื่องการทองเที่ยว
4. ใหความรูเรื่องธรรมชาติศึกษา 2 พรรณนา การใชภาษาแบบพรรณนา เปนการเลาเรื่องราวอยางละเอียดลึกซึ้ง
โดยแทรกอารมณความรูสึกของกวีทําใหผูอานเกิดจินตภาพ
วิเคราะหคําตอบ กาพยหอโคลงประพาสธารทองแดงมีเนื้อหาเลาเรื่องการ
เดินทางไปพระพุทธบาทและชมธรรมชาติที่นาตื่นตาตื่นใจที่พบเห็นระหวาง
ทางใหความรูเรื่องธรรมชาติศึกษาทั้งเกี่ยวกับสัตวและพืช เชน มุม IT
เลียงผาอยูภูเขา งูเขียวรัดตุกแก ไกฟาหนากํ่าแดง นกแกวแจวเสียงใส
กระจายสยายซรองนาง ผาสไบบางนางสีดา เปนตน ตอบขอ 4. ศึกษาเกี่ยวกับเนื้อเรื่องตามตนฉบับเทาที่มีปรากฏเพิ่มเติม ไดที่
http://www.reurnthai.com/wiki/กาพยหอโคลงนิราศธารทองแดง

คู่มือครู 83
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
Engage Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
1. ครูใชคําถามกระตุนความสนใจของนักเรียน
• นักเรียนรูจักหรือเคยเดินทางไปนมัสการรอย ๓
นักสนมกรมชแม่มี่ ขี่ช้างกูบรูปโลมใจ
พระพุทธบาท จังหวัดสระบุรีหรือไม อยางไร พักตราอ่าผ่องใส นุ่งห่มโอ่โสภาจริง
(แนวตอบ นักเรียนอาจรูจักหรือไมรูจัก ครูขอ นักสนมกรมชแม่เจ้า ทังหลาย
อาสาสมัครนักเรียนที่รูจักพระพุทธบาทมาเลา ขี่ช้างกูบดาวราย แจ่มหน้า
เกี่ยวกับสถานที่ดังกลาวใหเพื่อนๆ ในหองฟง) พักตราผ่องใสสาย สุดสวาท
2. ครูขออาสาสมัคร 1-2 คน มาเลาประสบการณ นุ่งห่มโอ่โถงผ้า อร่ามริ้วทองพราย

การเดินทางที่ชื่นชมความงามทางธรรมชาติ เที่ยวเล่นเป็นเกษมสุข แสนสิ่งสนุกปลุกใจหวัง
ใหเพื่อนๆ ฟง จากนั้นรวมกันแลกเปลี่ยน เร่ร่ายผายผาดผัง หัวริกรื่นชื่นชมไพร
ประสบการณ สุขเกษมเปรมหน้าเหลือบ ลืมหลั1ง
แสนสนุกปลุกใจหวัง วิ่งหรี้
ส�ารวจค้นหา Explore เดินร่ายผายผันยัง ชายป่า
หัวร่อรื่นชื่นชี้ ส่องนิ้วชวนแล
1. นักเรียนอานเนื้อเรื่องยอกาพยหอโคลงประพาส ๖ 2
ธารทองแดง พังพลายหลายหมู่ซร้อง ในเถื่อนท้องร้องระงมดง
ธารน�้าคร�่ากันลง เล่นน�้าแน่
3 นแตร้นชมกัน
2. นักเรียนศึกษาพฤติกรรมของสัตวปาชนิดตางๆ ฝูงช้างสล้างใหญ่น้อย พังพลาย
ที่ปรากฏในกาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง ทอกโทนพินายหลาย ส�่าถ้วน
3. นักเรียนศึกษาคนควาเกีย่ วกับทีม่ าของบทประพันธ ทองแดงเผือกเนียมราย ในเหล่า
“เครื่องสูง” จากแหลงเรียนรูตางๆ เพิ่มเติม เชน ลงท่าน�้าด�าป้วน เล่นร้องฮูมแปร๋น
เว็บไซต หนังสือสารานุกรม เปนตน ๘
กวางทรายร่ายกินหญ้า สุกรป่าพาพวกจร
สุนัขในไล่เห่าหอน ตามเปนหมู่พรูเพรียกเสียง
อธิบายความรู้ Explain กวางทรายร่ายเสพหญ้า ดงดอน
1. นักเรียนจับคูและชวยกันถอดคําประพันธ คูละ หมูป่าพาเพื่อนจร ลูกล้อม
สุนัขจิ้งจอกหอน หลายเหล่า
1 บท มานําเสนอหนาชั้นเรียนและสงครู เป็นหมู่พรูเพรียกห้อม เห่าอื้ออึงเสียง
2. หลังจากที่นักเรียนแตละคูมานําเสนอการถอด ๑๐
คําประพันธหนาชั้นเรียน ครูและนักเรียน มีหมีพีด�าขลับ ขึ้นไม้ผับฉับไวถึง
เรี่ยวแรงแขงขังขึง กัดโพรงไม้ได้ผึ้งกิน
รวมกันอภิปรายเนื้อเรื่องเพิ่มเติม
มีหมีด�าขลับหน้า เป็นมัน
ขึ้นไม้ผับฉับพลัน ขบขึ้ง
เรี่ยวแรงแขงข้างขยัน สามารถ
กัดฉีกไม้ได้ผึ้ง คาบเคี้ยวพลางหวาน
84

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ครูใหนกั เรียนศึกษาเนือ้ เรือ่ งกาพยหอ โคลงประพาสธารทองแดงเพิม่ เติม นอกเหนือ กวางทรายรายกินหญา สุกรปาพาพวกจร
จากที่คัดมาใหเรียนในหนังสือเรียนวรรณคดีและวรรณกรรมบางสวน แมฉบับเดิมจะ สุนัขในไลเหาหอน ตามเปนหมูพรูเพรียกเสียง
ขาดหายไปไมครบทุกบท แตการศึกษาใหมากจะชวยใหนกั เรียนมีความรอบรูแ ละเขาใจ ในคําประพันธที่ยกมานี้มีสัตวปาอยูกี่ชนิด
เกีย่ วกับเนื้อเรื่องยิ่งขึ้น ทั้งความรูเรื่องธรรมชาติ และการสรรคําที่ไพเราะใน 1. 1 ชนิด
บทประพันธ โดยกลาวถึงขบวนเสด็จพยุหยาตราทางสถลมารค พรรณนาความงาม 2. 2 ชนิด
ของขบวนเสด็จ และความงามของธรรมชาติ 3. 3 ชนิด
4. 4 ชนิด

นักเรียนควรรู วิเคราะหคําตอบ จากบทประพันธขางตนกลาวถึงสัตวปา ดังนี้ กวาง


เนื้อทราย หมูปา หมาใน ซึ่งเปนหมาชนิดหนึ่ง ขนสีนํ้าตาลแดง หรือ
1 หรี้ เปนคําโทโทษ ปกติเขียนวา “รี่” นํ้าตาลเทา หางสีคลํ้ายาวเปนพวง อาศัยอยูตามปาทึบ ออกหากินเปน
ฝูงเวลาเชามืดและพลบคํ่า ลาสัตวอื่นกิน เชน เกง กวาง หมูปา สัตวเล็กๆ
2 พัง ชางปาตัวเมียไมมีงา แตบางทีมีงาเล็กๆ ออกมา เรียกวา “ขนาย” สัตวปาในบทประพันธขางตนจึงมีทั้งหมด 4 ชนิด ตอบขอ 4.
3 พลาย ชางปาตัวผูที่มีงา

84 คู่มือครู
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับการเลียนเสียง
1
๒๐
เลียงผาอยู่ภูเขา หนวดพรายเพราเขาแปล้ปลาย ธรรมชาติ พรอมยกตัวอยางประกอบการอธิบาย
รูปร่างอย่างแพะหมาย ขนเหม็นสาบหยาบเหมือนกัน (แนวตอบ คําเลียนเสียงธรรมชาติจํานวนไมนอย
เลียงผาอยู่พ่างพื้น ภูเขา ในภาษาที่เปนคําเลียนเสียงธรรมชาติเปนที่รูและ
หนวดภู่ดูเพราเขา ไปล่ท้าย ยอมรับกันวาจะออกเสียงคํานั้นอยางไร ผูที่จะให
รูปร่างอย่างแพะเอา มาเปรียบ
คําเลียนเสียงธรรมชาติจะตองใชใหตรงกัน
ขนเหม็นสาบหยาบร้าย กลิ่นกล้าเหมือนกัน
๒๗
ตัวอยางบทประพันธที่มีการเลียนเสียงธรรมชาติ
กระจงกระจิดเตี้ย วิ่งเรี่ยเรี่ยน่าเอ็นดู “กลองทองตีครุมครึ้ม เดินเรียง
เหมือนกวางอย่างตาหู มีเขี้ยวน้อยสร้อยแนมสอง ทาตะเติงเติงเสียง ครุมครื้น
กระจงกระจิดหน้า เอ็นดู เสียงปรี่เรื่อยเพียง กระเวก
เดินร่อยเรี่ยงามตรู กระจ้อย
แตรนแตรนแตรฝรั่งขึ้น หวูหวูเสียงสังข”
เหมือนกวางอย่างตาหู ตีนกีบ
มีเคี่ยวขาวน้อยช้อย แนบข้างเคียงสอง คําเลียนเสียงธรรมชาติ ไดแก เสียงกลอง
๒๘
“ตะเติงเติง” เสียงแตร “แตรนแตรน” และ
ฝูงลิงใหญ่น้อยกระจุ้ย ชะนีอุ่ยอุ้ยร้องหา เสียงสังข “หวู หวู”
ฝูงค่างหว่างพฤกษา ค่างโจนไล่ไขว่ปลายยาง “ฝูงลิงใหญนอยกระจุย ชะนีอุยอุยรองหา
ฝูงลิงยวบยาบต้น พวาหนา ฝูงคางหวางพฤกษา คางโจนไลไขวปลายยาง
ฝูงชะนีมี่กู่หา เปล่าข้าง
ฝูงลิงยวบยาบตน พวาหนา
ฝูงค่างหว่างพฤกษา มาสู่
ครอกแครกไล่ไขว่คว้าง โลดเลี้ยวโจนปลิว ฝูงชะนีมี่กูหา เปลาขาง
๔๔
ฝูงคางหวางพฤกษา มาสู
งูเขียวรัดตุ๊กแก ตุ๊กแกแก่คางแข็งขยัน ครอกแครกไลไขวควาง โลดเลี้ยวโจนปลิว”
กัดงูงูยิ่งพัน อ้าปากง่วงล้วงตับกิน คําเลียนเสียงธรรมชาติ ไดแก เสียงชะนีรอง
งูเขียวแลเหลื้อมพ่น พิษพลัน “อุยอุย” ฝูงคางไตไลกันบนตนไมเสียงใบไมดัง
ตุ๊กแกคางแข็งขยัน คาบไว้
“ครอกแครก”)
กัดงูงูเร่งพัน ขนดเครียด
ปากอ้างูจึงได้ ลากล้วงตับกิน
๔๕
ยูงทองย่องเยื้องย่าง ร�ารางชางช่างฟ่ายหาง
ปากหงอนอ่อนส� 2 าอาง ช่างร�าเล่นเต้นตามกัน
ยูงทองย่องย่างเยื้อง ร�าฉวาง
รายร่ายฟายเฟื่องหาง เฉิดหน้า
ปากหงอนอ่อนส�าอาง ลายเลิศ
ร�าเล่นเต้นงามหง้า ปีกป้องเป็นเพลง
85

กิจกรรมสรางเสริม
นักเรียนควรรู
นักเรียนสํารวจวาสัตวที่พบในบทประพันธเปนสัตวสงวนของไทยหรือไม 1 เลียงผา หรือโครําเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนม อยูในตระกูลเดียวกันกับแพะและ
และนักเรียนรวบรวมชื่อสัตวปาสงวนตามพระราชบัญญัติ แกะ หากินตามลําพังบนภูเขาสูง จัดเปนสัตวปาสงวน ตามพระราชบัญญัติสงวน
และคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535 ปจจุบันใกลสูญพันธุแลว เนื่องจากถูกลานําไป
เปนยาแผนโบราณ
กิจกรรมทาทาย 2 ยูงทอง หรือนกยูง สําหรับในประเทศไทย เคยมีกระจายอยูทั่วทั้งประเทศ
แตปจ จุบนั ไดลดจํานวนลงอยางรวดเร็ว อันเนือ่ งจากปาซึง่ เปนถิน่ ทีอ่ ยูอ าศัยไดลดลง
และถูกจับลาเปนจํานวนมาก ดังนั้น นกยูงจึงคงเหลืออยูแตในสวนสัตว และพื้นที่
นักเรียนเสนอแนวทางที่จะชวยสงเสริมใหมีการอนุรักษสัตวปาที่ ปาอนุรักษเพียง 10 แหงเทานั้น โดยบริเวณที่พบนกยูงมากที่สุด คือ เขตรักษาพันธุ
ปจจุบันมีจํานวนนอย จัดทําประชาสัมพันธเยาวชนรุนใหมใสใจอนุรักษ สัตวปาหวยขาแขง มีจํานวนประมาณ 400 ตัว รองลงมาคือ เขตรักษาพันธุสัตวปา
สัตวปา สาละวิน และเขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญนเรศวร

คูมือครู 85
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับการเลนเสียงใน
1
วรรณคดีไทย ๔๘
ไก่ฟ้าอ้าสดแสง หัวสุกแดงแทงเดือยแนม
(แนวตอบ การเลนเสียงมี 3 ลักษณะ ดังนี้ ปีกหางต่างสีแกม สีแต้มต่างอย่างวาดเขียน
การเลนพยัญชนะ การเลนเสียงสระ และการเลน ไก่ฟ้าหน้าก�่ากล้า ปากแหลม
เสียงวรรณยุกต) หัวแดงแฝงเดือยแนม เนื่องแข้ง
ปีกหางต่างสีแกม ลายลวด
ตัวด่างอย่างคนแกล้ง แต่งแต้มขีดเขียน
ขยายความเข้าใจ Expand
๕๑
นกกดอดอาจสู้ พบงูเห่าเอาปีกบัง
นักเรียนยกบทประพันธจากกาพยหอโคลง งูโพนพังพานหวัง จะขบตอด บ รอดเลย
ประพาสธารทองแดง นกกดอดอาจสู้ งูขลัง
• วิเคราะหวามีการเลนเสียงลักษณะใด งูขบเอาปีกบัง เข็ดเขี้ยว
(แนวตอบ ครูพิจารณาการวิเคราะหของ งูเลิกพังพานหวัง ขบตอด
นักเรียนวาบทประพันธที่ยกมามีการเลนเสียง ตอด บ รอดเลยเลี้ยว หลีกเลี้ยวสูดหนี
ลักษณะใด การเลนพยัญชนะ การเลนเสียง ๕๒
ดูหนูสู่รูงู งูสุดสู้หนูสู้งู
สระ หรือการเลนเสียงวรรณยุกต ตัวอยางเชน หนูงูสู้ดูอยู่ รูปงูทู่หนูมูทู
การเลนเสียงสระที่ชัดเจนที่สุดในเรื่อง คือ ดูงูขู่ฝูดฝู้ พรูพรู
“ดูหนูสูรูงู งูสุดสูหนูสูงู หนูสู่รูงูงู สุดสู้
หนูงูสูดูอยู รูปงูทูหนูมูทู งูสู้หนูหนูสู้ งูอยู่
ดูงูขูฝูดฝู พรูพรู หนูรู้งูงูรู้ รูปถู้มูทู
หนูสูรูงูงู สุดสู ๕๔
นกแก้วแจ้วเสียงใส คลอไคล้คู่หมู่สาลิกา
งูสูหนูหนูสู งูอยู นกตั้วผัวเมียคลา ฝ่าแขกเต้าเหล่าโนรี
หนูรูงูงูรู รูปถูมูทู” นกแก้วแจ้วรี่ร้อง เร่หา
จากบทประพันธที่ยกมา มีลักษณะการเลน ใกล้คู่หมู่สาลิกา แวดเคล้า
เสียงพยัญชนะ เสียงสระ เสียงวรรณยุกต นกตั้วผัวเมียมา สมสู่
อยางกลมกลืน และเปนบทที่แตงดวยกล สัตวาฝ่าแขกเต้า พวกพ้องโนรี
บทบาทเลื่อนลํา ซึ่งกวีใชสระอูทุกคํา) ๖๓
กระจายสยายซร้องนาง ผ้าสไบบางนางสี
2 ดา
ห่อห้อยย้อยลงมา แต่ค่าไม้ใหญ่สูงงาม
กระจายสยายคลี่ซร้อง นงพงา
สไบบางนางสีดา ห่อห้อย
ยื่นเลื้อยเฟื้อยลงมา โบยโบก
แต่ค่าไม้ใหญ่น้อย แกว่งเยื้องไปมา
86

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ครูแนะความรูเรื่อง “ผาสไบบางนางสีดา” ใหนักเรียนฟงเพิ่มเติม วากวีไดโยง ดูงูขูฝูดฝู พรูพรู
เขาเรื่องรามเกียรติ์ ตอนที่ทศกัณฐลักพานางสีดาไปจากพระราม แลวพระรามตอง หนูสูรูรูงู สุดสู
ออกติดตามหานาง เดินในปาตามหานาง จนไดพบฝูงลิงปาเอาผาสไบนางสีดามา งูสูหนูหนูสู งูอยู
ถวาย เปนตอนที่พระรามกับนางสีดาตองพลัดพรากจากกัน กวีเลือกใชเนื้อความ หนูรูงูงูรู รูปถูมูทู
ตอนนี้ในระหวางการเดินทาง เปนบทชมธรรมชาติที่แสดงใหเห็นความรูสึกอาลัย คําประพันธที่ยกมานี้นอกจากจะมีคําโทโทษยังดีเดนในดานใด
อาวรณที่ตองหางจากนางผูเปนที่รัก 1. การเลนเสียงสระ
2. การเลนเสียงพยัญชนะ
3. เลนคําซํ้าเลนเสียงวรรณยุกต
นักเรียนควรรู 4. เลนคําซํ้าและเลนเสียงสระซํ้า
วิเคราะหคําตอบ บทประพันธขางตนมีทั้งการเลนคําซํ้ากันหลายที่ คือ
1 เดือย คือ สวนที่เรียวแหลมอยูที่หลังขอเทาของไกตัวผู ใชเปนอาวุธ
คําวา งู หนู สู พรูพรู รู และมีการเลนเสียงสระ อู และยังใชคําที่มีเสียง
ในการตอสู
สระ อู ทั้งหมด นอกจากคําวา สุด เปนบทประพันธที่มีความดีเดนทั้งการ
2 คา มาจากคาคบ คือ งามตนไมที่กิ่งไมใหญกับลําตนแยกกัน เลนคําซํ้าและเสียงสระซํ้า ตอบขอ 4.

86 คู่มือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนพิจารณาบทประพันธตอไปนี้ แลว
๘๖
หัวลิงหมากลางลิง ต้นลางลิงแลหูลิง อธิบายลักษณะเดนทางวรรณศิลป
ลิงไต่กระไดลิง ลิงโลดคว้าประสาลิง “หัวลิงหมากลางลิง ตนลางลิงแลหูลิง
หัวลิงหมากเรียกไม้ ลางลิง ลิงไตกระไดลิง ลิงโลดควาประสาลิง
ลางลิงหูลิงลิง หลอกขู1้ หัวลิงหมากเรียกไม ลางลิง
ลิงไต่กระไดลิง 2 ลิงห่ม ลางลิงหูลิงลิง หลอกขู
ลิงโลดฉวยชมผู้ ฉีกคว้าประสาลิง ลิงไตกระไดลิง ลิงหม
๘๙
ธารไหลใสสะอาด มัจฉาชาติดาษนานา ลิงโลดฉวยชมผู ฉีกควาประสาลิง”
หวั่นว่ายกินไคลคลา ตามกันมาให้เห็นตัว (แนวตอบ บทประพันธขางตน มีลักษณะเดน
ธารไหลใสสะอาดน�้า รินมา ทางวรรณศิลป คือ การเลนคํา คําวา “ลิง” ซึ่ง
มัจฉาชาตินานา หวั่นหว้าย หมายถึง พันธุไมชนิดตางๆ ดังนี้ หัวลิง ลางลิง
จอกสร่ายกินไคลคลา เชยหมู่ หรือกระไดลิง และหูลิง อีกความหมายหนึ่ง
ตามคู่มาคล้ายคล้าย ผุดให้เห็นตัว หมายถึง ลิง ที่เปนสัตวปา นอกจากนี้ ยังสังเกต
๙๖
เทโพแลเทพา ตะเพียนกาพาพวกจร ไดวามีการเลนเสียง /ล/ ในบทประพันธดวย)
ไอ้บ้าปลาสลุมพอน ผักพร้าเพรี้ยแลหนวดพราม
เทโพพาพวกพ้อง เทพา ขยายความเขาใจ Expand
ปลาตะเพียนปลากาพา คู่เคี้ย
สลุมพรไอ้บ้าปลา หลายหมู่ นักเรียนรวบรวมชื่อสัตวที่พบในเนื้อเรื่อง
ปลาผัักพร้าม้าเพรี้ย ว่ายไหล้หนวดพราม พรอมอธิบายลักษณะของสัตวชนิดนั้นพอสังเขป
๙๘ จดลงสมุดบันทึก
งูเหลือมคอกระหวัดไม้ หางกระหวัดไว้ใฝ่อาหาร (แนวตอบ สัตวตางๆ ที่พบในกาพยหอโคลง
วิดน�้าในห้วยธาร โพงไปมาเอาปลากิน
ประพาสธารทองแดง เชน ชาง กวาง ทราย
งูเหลือมแบนท้องแผ่ คือกระดาน
วิดน�้าหาอาหาร ใฝ่กล�้า หมีดํา เลียงผา กระจง ลิง งูเขียว นกยูงทอง ไกฟา
โครมครุ่นในห้วยธาร เสียงฉ่า นกแกว นกกด กระจาย ลิง ปลาเทโพ งูเหลือม)
โพงสาดไปให้น�้า ซ่านสิ้นกินปลา
๑๐๘
เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร ไชยเชษฐสุริยวงศ์เพียร
แต่งไว้ให้สถิตเสถียร จ�าเนียรกาลนานสืบไป
เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรเจ้า ทรงเขียน
ไชยเชษฐสุริยวงศ์เพียร เลิศหล้3า
แต่งไว้ให้สถิตเสถียร ในโลก
จ�าเนียรกาลนานช้า อ่านอ้างสรรเสริญ
87

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
คําประพันธในขอใดไมมีคําที่เลียนเสียงธรรมชาติ
ครูใหความรูเรื่องพันธุพืชและสัตวหายากที่ปรากฏในกาพยหอโคลงประพาส
1. กลองทองตีครุมครึ้ม เดินเรียง
ธารทองแดง
2. ทาตะเติงเติงเสียง ครุมครื้น
3. เสียงปรี่เรื่อยเพียง กระเวก
4. แตรนแตรนแตรฝรั่งขึ้น หวูหวูเสียงสังข นักเรียนควรรู
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. มีเสียงตีกลองดัง “ครุมครึ้ม” ขอ 2. กวียังคงใช
คําเลียนเสียงกลองวา “ทาตะเติงเติง” ขอ 3. เสียงปดังเรื่อยๆไมหยุด เสียง 1 หม เปนคํากริยา ในบทประพันธนี้ หมายความวา ขยม
เพราะเหมือนเสียงของนกการเวกรองในปาที่เมื่อสัตวอื่นไดยินแลวตอง 2 ชมผู เปนคําโทษ ปกติเขียนวา “ชมพู”
หยุดชะงัก และขอ 4. มีเสียงเปาแตรดัง “แตรนแตรน” และเสียงเปาสังขดัง
“หวูหวู” ขอที่ไมไดเลียนเสียงธรรมชาติ คือ “เสียงปรี่เรื่อยเพียง กระเวก” 3 โลก ความหมายตรง คือ โลก และความหมายโดยปริยาย หมายถึง
กวีไมไดเลียนเสียงของปวาดังอยางไร แตเปรียบเทียบใหเห็นภาพวาเหมือน หมูมนุษย
เสียงนกการเวก ตอบขอ 3.

คูมือครู 87
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนรวมกันอภิปรายจุดประสงคของกวีเรื่อง
การอานคําประพันธที่แตงไวในตอนทายเรื่อง จบ จนจอมโลกย์เจ้า คืนวัง
(แนวตอบ จากบทประพันธตอนทายเรื่องนี้ บ พิตรสถิตบัลลังก์ เลิศหล้า
กวีตองการใหผูอานมีความรูเกี่ยวกับการอาน ริ ร่างกาพย์โคลงหวัง ชนโลก อ่านนา
คําประพันธ จึงจะทําใหคําประพันธที่แตงไพเราะ บูรณ์ พระโคลงเจ้าฟ้า ธิเบศรเจ้าจงสงวน
ดังความวา “ผูรูอานสารเสนาะ เรื่อยหรี้” และหาก อักษรเรียบร้อยถ้อย ค�าเพราะ
ผูอานอานไมเปนจะเสียโคลง ดังความวา ผู้รู้อ่านสารเสนาะ เรื่อยหรี้
“บ รูอานไมเหมาะ ตรงเทิ่ง ไปนา บ รู้อ่านไม่เหมาะ ตรงเทิ่ง ไปนา
ทําใหโคลงทั้งนี้ ชั่วชาเสียไป”) ท�าให้โคลงทั้งนี้ ชั่วช้าเสียไป

ขยายความเข้าใจ Expand ๖ คÓศัพท์


นักเรียนเลือกคําประพันธกาพยหอโคลง
คำาศัพท์ ความหมาย
ประพาสธารทองแดง 1 บท ทองจําเปนทํานอง
เสนาะใหครูฟง กรมชแม่ กรมโขลน ชแม่เป็นหัวหน้าโขลน ในสมัยโบราณใช้เฉพาะกับสตรี
รับราชการฝ่ายใน (สันนิษฐานว่ากร่อนเสียงมาจากค�า ชาวแม่)
ตรวจสอบผล Evaluate กระจง สัตว์เคี้ยวเอื้อง รูปร่างคล้ายกวาง แต่ไม่มีเขา
ตัวผ้มู เี ขีย้ วแหลมคมงอกออกมา นิยมน�าไปใช้
1. นักเรียนวิเคราะหการเลนเสียงจากบทประพันธ เป็นเครื่องราง มี ๒ ชนิด คือ กระจงควาย
และกระจงเล็ก
กาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง
2. นักเรียนถอดคําประพันธบทที่สนใจได กระจิด เล็กน้อย ตัวเล็ก
3. นักเรียนอานเนื้อเรื่องแลวสามารถรวบรวมชื่อ กระหวัด ตวัดเข้ามาโดยเร็ว กระจง
สัตวตางๆ ที่ปรากฏในกาพยหอโคลงประพาส กันกง ล้อมวง กันรอบ
ธารทองแดงได กระเวก หรือการเวก นกในนิทานปรัมปรา อยู่ในป่าหิมพานต์ บินสูงเหนือเมฆ
4. นักเรียนทองจําบทอาขยานที่สนใจได เสียงร้องไพเราะ สัตว์ทั้งหลายเมื่อได้ยินก็จะหยุดชะงักไป
กูบ ประทุนหลังช้าง
เขรื้อง เป็นรูปโทโทษของเครื่อง หมายถึง เครื่องสูง
คร�่า มาจากค�าว่า คลาคล�่า คือ ไปเป็นฝูงๆ
ค่าง เป็นรูปเอกโทษของข้าง หมายถึง เบื้อง ฝ่าย
ใกล้ ริม
1 กูบ
เครื่องสูง ของส�าหรับประดับเกียรติยศ เช่น ฉัตร พัดโบก
จามร กลด เป็นต้น
88

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ครูแนะความรูใหนักเรียนจากโคลงบทสุดทายวา เปนบทที่ลงทายวรรคดวยคําที่ ขอใดมีความหมายเหมือนกัน
เปนสระเสียงสั้น ซึ่งจะหาคํามาตอจังหวะไดยาก แสดงใหเห็นถึงอัจฉริยภาพของผู 1. กระจง กระจิด
ประพันธที่สามารถหาคํามาตอสัมผัสไดอยางกลมกลืนรับกับเนื้อความ 2. กระจอย กระจิด
3. กระจง กระจอย
4. กระจง กระจอย กระจิด
นักเรียนควรรู วิเคราะหคําตอบ “กระจง” หมายถึง สัตวเคี้ยวเอื้องที่มีขนาดเล็ก
รูปรางคลายกวาง แตไมมีเขา ตัวผูมีเขี้ยวแหลมคมงอกออกมา “กระจิด”
1 เครื่องสูง หมายถึง สิ่งที่ใชเพื่อแสดงพระอิสริยยศของพระมหากษัตริย หรือ หมายความวา เล็กนอย “กระจอย” หมายความวา เล็กนอย ดังนั้นคําที่มี
พระราชวงศชั้นสูง เชน กลด ซึ่งเปนรมขนาดใหญ ขอบมีระบาย มีดามยาว มีสีตางๆ ความหมายเหมือนกัน คือ “กระจิด” กับ “กระจอย” ตอบขอ 2.
มักใชตามสีประจําพระองคของพระราชวงศผูนั้น ใชกั้นเมื่อเสด็จพระราชดําเนินดวย
พระบาท เชน เสด็จพระราชดําเนินไปในพระราชพิธตี า งๆ ทีว่ ดั พระศรีรตั นศาสดาราม
เครื่องสูงนั้นๆ มีหลายชนิด เชน ฉัตร พัดโบก บังแทรก บังสูรย จามร พุมดอกไมเงิน
พุมดอกไมทอง อภิรุมชุมสาย กรรชิง

88 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา
Engage Explore อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Explain Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
1. นักเรียนแสดงทาทางเปนสัตวตางๆ ที่อยูใน
คำาศัพท์ ความหมาย กาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง ใหเพื่อน
ทายชื่อสัตวใหถูกตอง
จัตุรงค์ มาจากค�าเต็ม จัตุรงคเสนา หมายถึง พลทหารสี่เหล่า คือ เหล่าช้าง
เหล่ารถ เหล่าม้า เหล่าราบ 2. นักเรียนรวมกันอานคําประพันธที่กลาวถึงสัตว
ที่เพื่อนแสดงทาทางเลียนแบบ
ฉวาง อาการแผ่แพนหางออกร�าแพนของนกยูง
ช้างระวาง ต�าแหน่ง ท�าเนียบ ส�ารวจค้นหา Explore
ชุมสาย หนึ่งในเครื่องสูง เป็นรูปฉัตรสามชั้น มีสายไหมห้อย
ซร้องนงพงา ซร้องนางหรือช้องนาง เป็นไม้พุ่ม ใบคล้ายใบแก้ว ดอกกลม เป็นรูป
1. นักเรียนศึกษาพฤติกรรมและลักษณะของสัตว
ปากแตร ปาชนิดตางๆ ที่อยูในบทเรียน โดยคนควา
ถู้ เป็นรูปโทโทษของ ทู่ หมายถึง ไม่แหลม
จากหนังสือหรือเว็บไซตตางๆ
2. นักเรียนศึกษาคําเอกโทษ คําโทโทษใน
ทราย เนื้อทราย คือ กวางขนาดกลาง สีน�้าตาลเข้ม
คําประพันธโคลงสี่สุภาพกาพยหอโคลง
ตามล�าตัวมีจุดขาวจางๆ อยู่ทั่วไป
ประพาสธารทองแดง
ทอก ช้างตัวใหญ่ที่เป็นจ่าฝูง
1
ทองแดง ช้างตระกูลหนึ่ง สีกายเป็นสีทองแดง
เนื้อทราย
เทพลีลา ชื่อช้างพังเป็นช้างพระที่นั่ง
เทพา ชื่อปลาน�้าจืดชนิดหนึ่ง ไม่มีเกล็ด รูปร่างคล้าย
ปลาสวาย แต่มีครีบหลัง ครีบอก และครีบท้อง
ยื่นยาวเป็นเส้น และมีจุดสีขาวเด่นอยู่เหนือ
ครีบอกและหลังกระพุ้งแก้ม
เทโพ ชื่อปลาน�้าจืดชนิดหนึ่ง ไม่มีเกล็ด รูปร่างคล้าย
เทพา
ปลาสวาย แต่มีจุดสีด�าเด่นอยู่เหนือครีบอก
พื้นล�าตัวสีเรียบไม่มีลายพาดตามยาว
โทน โดดเดี่ยว หรือหมายถึงช้างที่ชอบแยกจากฝูงไปหากินอยู่ตัวเดียว
ธงฉาน ธงน�าหน้ากองทัพ
ธงไชย ธงซึ่งเป็นเครื่องหมายของชัยชนะ
นกกด ชื่อนกชนิดหนึ่ง ตัวใหญ่เท่าไก่บ้าน
ปีกสีน�้าตาลแดง ตัวด�า หางยาวด�า ตาแดง
นกตั้ว นกตั้วหรือนกกระตั้ว เป็นชื่อนกปากงุ้ม
จ�าพวกหนึ่งลักษณะคล้ายนกแก้ว แต่ตัวโตกว่า นกตั้วหรือนกกระตั้ว
89

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ขอใดเปนพวกเดียวกับ “การเวก”
ครูใหนักเรียนฝกการถอดคําประพันธ เพราะคําศัพทในกาพยหอโคลง
1. กูบ
ประพาสธารทองแดงเปนคําศัพทที่นักเรียนอาจไมคุนเคย ครูจัดกิจกรรมที่สงเสริม
2. โนรี
ใหนักเรียนจดจําคําศัพท เชน ใหนักเรียนไปคนควาความหมายคําศัพทที่นักเรียน
3. ทองแดง
ไมสามารถบอกความหมายได เปนตน
4. พุดตานทอง
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. กูบ มีความหมายวา ประทุนใสหลังชาง ขอ 2.
โนรี เปนนกชนิดหนึ่งสีสันสวยงาม มีลักษณะคลายนกแกว ขอ 3. ทองแดง นักเรียนควรรู
หมายถึง ชางตระกูลหนึ่ง สีกายเปนสีทองแดง และขอ 4. พุดตานทอง
หมายถึง ราชบัลลังกภายในพระที่นั่งที่นํามาตั้งบนหลังชาง และตั้งบนพระ 1 ทองแดง เปนลักษณะอยางหนึ่งของชางเผือก ตามคัมภีรพระคชศาสตร ใน
ราชยานคานหาม สวน “การเวก” เปนชื่อนกในเรื่องปรัมปรา เชื่อกันวามีอยู ศาสนาพราหมณ แบงชางมงคลเปน 4 ตระกูล ชางตระกูลที่ 4 เปนชางที่พระอัคนี
ในปาหิมพานต บินสูงเหนือเมฆ เสียงรองเพราะ สัตวทั้งหลายไดยินจะหยุด เนรมิต ชื่อวา “อัคนิพงศ” มีลักษณะเดนคือ มีทวงทีงดงาม เดินเชิดงวง อกใหญ
ชะงักไป ดังนั้น “การเวก” หมายถึง นกชนิดหนึ่งเชนเดียวกับ “โนรี” ปลายงาทั้ง 2 โคงพอจรดกัน สีเหลือง ขนสีขาวปนแดง ผิวกายมีสีผิวใบตองตาก
ตอบขอ 2. และในคัมภีรยังมีการกําหนดแบงชั้นของชางเผือกไว 3 ชั้น โดยชางเผือกชั้นตรี
จัดวาเปนชางที่มียอดตองสีตากแหง สีแดงแก สีแดงออน สีทองแดง
คู่มือครู 89
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนจับคูกันเลือกสัตวปาชนิดใดชนิดหนึ่ง
ที่อยูในบทเรียน แลวใหนักเรียนแตละคูผลัดเปลี่ยน คำาศัพท์ ความหมาย
กันอธิบายลักษณะของสัตวปาที่เลือกใหครูและ
สนม 1 นางสนมเป็นคนรับใช้ในวัง
เพื่อนในหองฟง พรอมยกบทประพันธที่กลาวถึง
สัตวชนิดนั้นประกอบการอธิบาย เนียม ลักษณะของช้างที่มีงาขนาดใหญ่แต่สั้น เรียกว่า ช้างงาเนียม
โนรี 2 นกปากขอ มีลักษณะคล้ายนกแก้ว
ขยายความเข้าใจ Expand แปล้ แบน ราบ
1. นักเรียนจําแนกสัตวชนิดตางๆ ในกาพยหอ โคลง ไปล่ท้าย ปลายเขาโค้งไปข้างหน้า
ประพาสธารทองแดง โดยเลือกเกณฑใด ผักพร้า ปลาน�้าจืดชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาตะเพียน ลักษณะล�าตัวยาวและแบน
เกณฑหนึ่งตอไปนี้ ล�าตัวคล้ายมีดดาบ ปากกว้าง ปลายปากล่างโค้งเข้าเล็กน้อยคล้ายตะขอ
• สัตวบก สัตวนํ้า ผาดผัง, ผายผัน ไปโดยเร็ว
• สัตวเลือดอุน สัตวเลือดเย็น ฝู้ เป็นรูปโทโทษของ ฟู่ หมายถึง เสียงงูขู่
2. นักเรียนรวบรวมชื่อพืชพันธุไมตางๆ ใน พวา ชื่อต้นไม้ขนาดกลาง เปลือกมียางสีเหลือง ผลคล้ายมังคุดขนาดย่อม
กาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง แลวระบุ บางครั้งเรียก สารภีป่า ขวาด มะดะขี้นก
ลักษณะของพันธุไมนั้นวา เปนไมลมลุกหรือ พังพาน อาการที่งูแผ่แม่เบี้ย
ไมยืนตน
พินาย ขนาย ช้างตัวเมียที่ธรรมชาติสร้างให้ผิดประหลาด มีงางอกออกมา
ด้านซ้ายเล็กน้อย
พุดตานทอง ชื่ อ พระที่ นั่ ง ที่ ตั้ ง บนหลั ง ช้ า ง บางที ก็ ตั้ ง บนพระราชยานคานหาม
หรือบางทีก็ตั้งเป็นพระราชบัลลังก์ภายในพระที่นั่ง
เพรี้ย ปลาน�้าจืดชนิดหนึ่งมีขนาดเล็ก
เพรียก เสียงร้อง
โพง ตัก วิด
โพน แกว่ง
ฟ่ายหาง ฟายหาง เป็นกิริยาของนกยูง
เวลาร�าแพนหาง
มูทู มู่ทู่ หมายถึง ป้าน ไม่แหลม
ม้า ปลาน�้าจืดชนิดหนึ่ง ล�าตัวกว้าง
ครีบหางมีปลายแหลม ล�าตัวและหัว ปลาม้า
มีสีเงินหรือเทาอ่อน
90

บูรณาการเชื่อมสาระ
นักเรียนควรรู จากที่กวีไดพรรณนาถึงสัตวปาและพันธุไมชนิดตางๆ ระหวางการเดิน
ทางไปนมัสการรอยพระพุทธบาท ครูบูรณาการความรูกับกลุมสาระการเรียน
1 เนียม คือ ชางเนียมหรือชางมณีจักราช มี 3 ตําราที่กลาวถึง และในแตละ
รูวิทยาศาสตรเกี่ยวกับอาณาจักรของพืชและสัตว ซึ่งนักเรียนสามารถ
ตําราก็มีความหมายแตกตางกันออกไป คือ
นําความรูเกี่ยวกับลักษณะของพืชและสัตวชนิดตางๆ มาเปรียบเทียบกับ
1. หมายถึงชางที่มีสีกายดํา เล็บดํา
การพรรณนาถึงธรรมชาติในกาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง เพราะสัตว
2. หมายถึงชางที่มีลักษณะ 3 ประการ คือ พื้นหนังดํา งามีลักษณะดังรูป
แตละชนิดมีธรรมชาติของตัวเอง บางก็อยูต วั เดียว บางก็อยูเ ปนฝูง นอกจากนี้
ปลีกลวย และเล็บดํา
นักเรียนจะไดเรียนรูระบบนิเวศจากบทประพันธ ความอุดมสมบูรณของ
3. หมายถึงชางสีดอ
ธรรมชาติ ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตตางชนิดกัน การแกงแยง การลาเหยื่อ
2 โนรี เปนนกสีสันสดใสที่มักจะอยูโดดเดี่ยว แตเมื่อจับคูแลวจะไมแยกหางจาก และภาวะการอยูรวมกัน ซึ่งนักเรียนสังเกตความสัมพันธในรูปแบบตางๆ นี้
กัน ในบางครั้งจะอยูรวมกันเปนฝูงราว 4-6 ตัว ชอบบินสูงเหนือยอดไม ไมสงเสียง จากเนื้อเรื่องกาพยหอโคลงประพาสธารทองแดงได
รองในขณะบินเหมือนนกแกวชนิดอื่น ชอบกินผลไมสุกที่มีรสหวาน อาจกินหนอน
กับแมลงบาง และที่แปลกกวานกแกวชนิดใดๆ ก็ตรงที่ลิ้นของนกโนรีตอนปลายจะ
มวนเปนหลอดได สําหรับดูดกินนํ้าหวานจากดอกไม และคงจะมาจากลักษณะนี้
เลยไมสามารถฝกพูดเลียนแบบคนได

90 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนรวบรวมคําศัพทที่เปนคํากริยาของ
คําศัพท ความหมาย สัตวชนิดตางๆ ในกาพยหอโคลงประพาสธาร
ทองแดง
มี่ อึกทึก เอิกเกริก
2. นักเรียนอธิบายความหมายของคํากริยาที่
ยวบยาบ อาการยุบขึ้นยุบลง นักเรียนรวบรวมมา
ยางแหนหลังดี ชางที่มีฝเทาสมํ่าเสมอเพราะไดรับการฝกมาดี (แหน คือ แน 3. นักเรียนระบุคําเอกโทษ คําโทโทษจากโคลง
เปนคําโทโทษ) สี่สุภาพ พรอมอธิบายคําที่เขียนปกติและ
รางชาง งาม สวย เดน ความหมาย
ลางลิง, กระไดลิง ชื่อไมเถาเนื้อแข็งขนาดใหญ ลําตนโคงงอกลับไปกลับมา คลายกับ (แนวตอบ ตัวอยางเชน คําวา “สอง” เปนคํา
ขั้นบันได โทโทษ ปกติเขียนวา “ซอง” หมายถึง
เลียงผา ชื่อสัตวปาเคี้ยวเอื้องที่มีรูปรางคลายแพะ ขนสีดํา บางตัวมีสีขาวแซม มาชุมนุมกัน เปนตน)
ขายาว และแข็งแรง มีตอมนํ้ามันตรงสวนหนาของขาทั้ง ๒ ขาง
มีเขาทั้งตัวผูและตัวเมีย ชอบอยูตามภูเขาหรือหนาผาสูงๆ ขยายความเข้าใจ Expand
สราย สาหราย
นักเรียนจับคูคํากริยาที่รวบรวมมาใหตรงกับ
สลุมพอน (สะ - หลุม - พอน) ปลาเนื้อออนไมมีเกล็ด บางครั้งเรียกปลาชะโอน
หรือปลาหนาสั้น สัตวชนิดตางๆ ในกาพยหอโคลงประพาสธาร
ทองแดง
สอง เปนรูปโทโทษของ ซอง หมายถึง มาชุมนุมกัน
(แนวตอบ ตัวอยางเชน
สองนิ้ว ชี้นิ้ว • ปลาชนิดตางๆ กับคํากริยาวา “หวั่นหวาย”
สัตวา นกจําพวกนกแกว ตัวโต สีเขียวจนเกือบเปนสีคราม จากความวา “มัจฉาชาตินานา หวั่นหวาย”
1
หนวดพราม หรือหนวดพราหมณ ปลานํ้าจืดชนิดหนึ่ง ลําตัวยาว แบนขาง • งูเหลือม กับ คํากริยาวา “กระหวัด” จาก
หัวแหลมมน ความวา “งูเหลือมคอกระหวัดไม
หรี้ เปนรูปโทโทษของ รี่ หมายถึง เคลื่อนเขาไปอยางไมรีรอ หางกระหวัดไวใฝอาหาร” เปนตน)
หวั่นหวาย เปนรูปโทโทษของ วาย
หมายถึง วายไปมา
หัวลิง ชื่อไมเถา ผลขนาดสมจีน
มีสันตรงกลางคลายหัวลิง
ไอบา ปลานํา้ จืดชนิดหนึง่
ลําตัวคอนขางยาว เกือบเปน
รูปทรงกระบอก ปากกวาง เกล็ดใหญ
ปลาไอบา
โอโถง ภาคภูมิ มีสงา
๙๑

กิจกรรมสรางเสริม
นักเรียนควรรู
นักเรียนคนหารูปสัตวปาหรือพันธุไมที่มีลักษณะตรงกับคําประพันธใน 1 หนวดพราม หรือปลาหนวดพราหมณ ปจจุบันเปนปลาที่มีราคาคอนขางดี
กาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง เนื่องจากมีรสชาติอรอยเปนปลาที่นิยมบริโภคกันมาก และมีแนวโนมที่จะนํามาเลี้ยง
เปนปลาสวยงามกันมาก เนื่องจากเปนปลาที่มีลักษณะสวยงาม โดยเฉพาะหนวด
ปลาหนวดพราหมณที่มีลักษณะคอนขางยาว เวลาวายนํ้าจะพลิ้วสวยงามมาก
กิจกรรมทาทาย การเลี้ยงปลาหนวดพราหมณทําไดยาก เนื่องจากเปนปลาที่ตื่นตกใจงาย
ประกอบกับเปนปลาที่อยูนํ้าลึก มีหนวดยาว บอบชํ้างาย และหากนําปลานํ้าลึกขึ้นสู
ผิวนํ้าอยางรวดเร็ว จะทําใหปอดปลาขยายเร็ว กลามเนื้อเกร็ง เกิดรอยชํ้าบริเวณ
ใหนักเรียนหาภาพหรือวาดภาพเกี่ยวกับพันธุพืช พันธุสัตวที่ปรากฏอยู ลําตัวและครีบ จึงทําใหปลาหนวดพราหมณที่หาไดจากธรรมชาตินอยลง ประกอบ
ในกาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง พรอมอธิบายลักษณะทาง กับความตองการของตลาดปลาสวยงามมีมากทําใหปลาหนวดพราหมณมีราคา
วิทยาศาสตรอยางสังเขป รวบรวมแลวนําไปจัดนิทรรศการ คอนขางแพง

คู่มือครู 91
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนอธิบายที่มาและสรุปความสําคัญของ
“เครื่องสูง” ในบทประพันธหนา 92 บอกเล่าเก้าสิบ
(แนวตอบ เครื่องสูง เปนเครื่องประกอบ
พระราชอิสริยยศของพระมหากษัตริย และ เครื่องสูง
พระบรมวงศานุวงศชั้นสูงมีมาตั้งแตสมัยอยุธยา เครื่องสูงเพราเพริศพราย ชมชุมสายซายขวาเคียง
ไดแก ฉัตร อภิรุมชุมสาย บังแทรก บังสูรย กลด ธงไชยธงฉานเรียง ปกลองชนะตะเตองครึม
จามร พัดโบก เปนตน เครื่องสูงชวยสงเสริม กลองทองตีครุมครึ้ม เดินเรียง
ทาตะเติงเติงเสียง ครุมครื้น
ความสูงสงและความศักดิ์สิทธิ์ของสถานภาพ เสียงปรี่เรื่อยเพียง กระเวก
พระมหากษัตริย สําหรับประเทศไทยนั้นเปน แตรนแตรนแตรฝรั่งขึ้น หวูหวูเสียงสังข
ประเทศหนึ่งที่มีพระมหากษัตริยเปนประมุขจึง จากบทประพันธขา งตนกลาวถึงขบวนพยุหยาตรา ในขบวนพยุหยาตราจะประกอบไปดวยเครือ่ ง
ไดรับคตินี้เชนเดียวกัน ดังที่เห็นไดจากพระราชพิธี ดนตรีประโคม และเครื่องสูง ซึ่งเปนเครื่องแสดงพระราชอิสริยยศ
เครื่องประกอบพระราชอิสริยยศตางๆ) เครื่องสูง ประกอบไปดวยเครื่องแสดงพระราชอิสริยยศหลายชนิด เชน ฉัตร อภิรุมชุมสาย
บังแทรก บังสูรย กลด จามร พัดโบก เปนตน ฉัตร ตามรูปศัพท แปลวา รม โดยฉัตรจะมีลักษณะ
แบบรมซอนขึ้นไปเปนชั้นๆ ซึ่งจํานวนชั้นและสีของฉัตรขึ้นอยูกับพระยศ เชน พระนพปฎลมหา
ขยายความเข้าใจ Expand เศวตฉัตร เปนฉัตรขาว ๙ ชัน้ ระบายขลิบทอง สําหรับประกอบพระราชอิสริยยศของพระมหากษัตริย
สวนพระสัปตปฎลเศวตฉัตร เปนฉัตรขาว ๗ ชัน้ สําหรับประกอบพระอิสริยยศของพระมหากษัตริยท ยี่ งั
1. นักเรียนวิเคราะหบทประพันธ “เครื่องสูง” ไมไดเขาพิธบี รมราชาภิเษก พระราชชนนี พระพันปหลวง สมเด็จพระอัครมเหสี สมเด็จพระบวรราชเจา
• เหตุใดจึงกลาวในตอนตนของเนื้อเรื่อง สมเด็จพระยุพราช และเจาฟาที่ทรงไดรับการสถาปนายศพิเศษ สวนพระบรมวงศานุวงศที่ดํารง
(แนวตอบ เปนการเริ่มพรรณนาความงาม พระราชอิสริยยศชั้นสมเด็จเจาฟา จะทรงใชฉัตรขาว ๕ ชั้น ที่เรียกวา พระเบญจปฎลเศวตฉัตร
นอกจากฉัตรแลว ยังมีเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศที่สําคัญอีกชนิดหนึ่ง คือ อภิรุมชุมสาย
ของเครื่องสูง ซึ่งเปนสิ่งที่อยูใกลตัวของกวี ซึง่ เปนฉัตรประเภทหนึง่ แตจะมีลกั ษณะเพรียวกวา อภิรมุ ชุมสายสํารับหนึง่ จะประกอบดวย ฉัตร ๗
พรรณนาเมื่อเริ่มการเดินทาง แสดงใหเห็น ชั้น ๔ คัน ฉัตร ๕ ชั้น ๑๐ คัน และชุมสายอีก ๔ คัน
ลําดับการพรรณนาจากสิ่งที่อยูใกลตัวไปยังสิ่ง เครื่องสูงยังแบงยอยออกเปน ๒ ชนิด คือ แบบปกดิ้นทอง เรียกวา “เครื่องสูงหักทองขวาง”
ที่ไกลออกไป หรืออาจเปนขนบที่พรรณนา ประกอบดวย บังสูรย บังแทรก กลด และจามร เครื่องสูงอีกชนิดหนึ่ง คือ แบบที่กรุเย็บดวย
แผนทองแผลวด เรียกวา “เครื่องสูงทองแผลวด”
สิ่งที่แสดงเกียรติยศเปนปฐมบท)
2. ครูขออาสาสมัคร 1-2 คนมาสรุปใหเพื่อนฟง
หนาชั้นเรียน

ตรวจสอบผล Evaluate
1. นักเรียนจําแนกสัตวชนิดตางๆ ในกาพยหอ
โคลงประพาสธารทองแดง
2. นักเรียนจับคูคํากริยาที่รวบรวมมาใหตรงกับ
สัตวชนิดตางๆ ในกาพยหอโคลงประพาสธาร
ทองแดงได 92
3. นักเรียนระบุคําเอกโทษ คําโทโทษในโคลงสี่
สุภาพกาพยหอโคลงประพาสธารทองแดงได

บูรณาการเชื่อมสาระ
บูรณาการอาเซียน ครูบูรณาการเชื่อมเรื่องเครื่องสูงเขากับกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา
ครูยกคตินยิ มเรือ่ งการนับถือกษัตริยใ นฐานะชนชัน้ ปกครองคติทไี่ ดมาจากอินเดีย ศาสนา และวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร ในเรื่องตัวอยางการสรางสรรค
และคตินไี้ ดแพรหลายไปทัว่ ดินแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยคตินสี้ ามารถ ภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา ซึ่งสืบตอคติความเชื่อเกี่ยวกับ
เปลีย่ นจากนามธรรมใหออกมาเปนรูปธรรม เปนคุณคาทีส่ ามารถจับตองไดอยาง ความสําคัญและความศักดิ์สิทธิ์ขององคพระมหากษัตริยวา พระองคทรงเปน
ชัดเจน จากการสรางกฎเกณฑ ขอกําหนด ระเบียบพิธกี ารตางๆ ขึน้ มาใชกบั ชนชัน้ เทพเจาตามความเชื่อในศาสนาพราหมณ-ฮินดูที่รับมาจากเขมร และเขมร
กษัตริย เชน พระราชพิธเี ครือ่ งประกอบพระราชอิสริยยศ เปนตน รับตอจากอินเดีย
บางประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตปกครองดวยชนชั้นกษัตริย ซึ่งยังคงเก็บ ความเชื่อนี้สงผลใหมีการสรางกฎเกณฑ ขอกําหนดระเบียบ พิธีการ
รักษาเครื่องสูงไวในการประกอบพระราชพิธีตางๆ และรักษาไวเปนมรดกของชาติ ตางๆ ขึ้นมาใชกับชนชั้นกษัตริย เชน พระราชพิธี เครื่องประกอบพระราช-
ครูใหนกั เรียนศึกษาความสําคัญเกีย่ วกับคตินยิ มความเชือ่ เรือ่ งเครือ่ งสูงในประเทศ อิสริยยศ สิ่งตางๆ เหลานี้ชวยสงเสริมความสูงสงและความศักดิ์สิทธิ์ของ
อาเซียนบางประเทศทีย่ งั มีคตินยิ มนี้ ไดแก บรูไน กัมพูชา มาเลเซีย แลวจัดทําเปน สถานภาพพระมหากษัตริย สถาปนาความยิ่งใหญขององคพระมหากษัตริย
ใบงานสงครู ผูเ ปนสมมติเทพ ตลอดจนเปนเครือ่ งประกอบอิสริยยศของพระบรมวงศานุวงศ
นอกจากนี้เครื่องสูงยังเปนเครื่องแสดงความภูมิใจของคนไทย เปนสัญลักษณ
การสรางชาติบานเมืองมาตั้งแตโบราณ

92 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา
Engage Explore อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Explain Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
1. ครูสนทนารวมกับนักเรียนเกี่ยวกับคุณคาดาน
๗ บทวิเคราะห์ เนื้อหา
• จากกาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงเป็นพระนิพนธ์ในเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร โดยเรียบเรียงใน นักเรียนคิดวาธรรมชาติในสมัยอยุธยา
รูปแบบกาพย์ห่อโคลงที่พรรณนาธรรมชาติ ทั้งบทชมนก ชมไม้ ชมสัตว์บก และสัตว์น�้า ท�าให้ผู้อ่าน ตอนปลายมีลักษณะอยางไร
ได้รับความรู้ ความเข้าใจธรรมชาติของพืชและสัตว์ชนิดต่างๆ ได้เป็นอย่างดีด้วยกลวิธีการประพันธ์ที่
(แนวตอบ ธรรมชาติในชวงสมัยอยุธยาตอน
เข้าใจง่าย สือ่ ความหมายได้ชดั เจนจนเกิดเป็นจินตภาพทีน่ า่ สนใจ ดังจะเห็นได้จากคุณค่าในด้านต่างๆ ดังนี้
ปลาย ปามีความอุดมสมบูรณ มีสัตวปา
๗.๑ คุณค่าด้านเนือ้ หา อาศัยอยูจํานวนมาก แหลงนํ้าใสสะอาด
เนื้อหาเป็นเชิงบันทึกการเดินทางตามแบบฉบับของนิราศแต่ไม่มีการคร�่าครวญถึง
การพลัดพรากจากนางอันเป็นที่รัก แต่มีการบรรยายเพียงธรรมชาติที่พบเห็นระหว่างการเดินทางและ มองเห็นปลาชุกชุม)
ความสนุกสนานตลอดระยะทางเสด็จจากท่าเจ้าสนุกไปถึงพระพุทธบาทเท่านั้น ท�าให้นิราศเรื่องนี้ 2. ครูนาํ ภาพสัตวปา สงวนของไทยมาใหนกั เรียนดู
มีคุณค่าในด้านเนื้อหา ดังต่อไปนี้ จากนั้นครูอธิบายธรรมชาติของสัตวประเภท
๑) ได้รบั ความรูเ้ กีย่ วกับการจัดริว้ ขบวนเสด็จ ของพระมหากษัตริยใ์ นสมัยโบราณ นั้นๆ และถามนักเรียน ดังนี้
ดังบทประพันธ์ตอนหนึ่งซึ่งพรรณนาถึงการจัดขบวนเสด็จประพาส ดังบทประพันธ์ • นักเรียนรูจักหรือคุนเคยกับสัตวที่อยูใน
๑ กาพยหอโคลงประพาสธารทองแดงหรือไม
เกลื่อนกรูหมู่จัตุรงค์ เป็นกันกงเรียบเรียงไป อยางไร
ทรงช้างระวางใน เทพลีลาหลังคาทอง
(แนวตอบ คําตอบขึ้นอยูกับประสบการณของ
เกลื่อนกรูหมู่แห่ห้อม เรียงไสว
เสด็จพุดตาลทองไคล หว่างเขรื้อง นักเรียนแตละคน ครูกระตุนใหนักเรียนเกิด
ทรงช้างระวางใน มีชื่อ การแลกเปลี่ยนประสบการณรวมกัน)
เทพลีลาเยื้อง ย่างแหน้หลังดี
ส�ารวจค้นหา Explore
จากบทประพั น ธ์ ไ ด้ ใ ห้ ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ การจั ด ขบวนเสด็ จ1ที่ จ ะต้ อ งมี ค วามยิ่ ง ใหญ่
และสวยงาม ประกอบด้วย ช้าง เครื่องสูงของพระมหากษัตริย์ จตุรงคเสนา งคเสนา ท�าให้ผู้อ่านได้รับความรู้ นักเรียนศึกษาคนควาความรูเกี่ยวกับ
และน�าไปศึกษาเพิ่มเติมได้ บทวิเคราะหคุณคาดานเนื้อหา ดานวรรณศิลป
๒) ได้รับความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของสัตว์ เนื้อหาในกาพย์ห่อโคลงประพาส และดานสังคมที่ไดรับจากกาพยหอโคลง
ธารทองแดง ให้ความรู้เกี่ยวกับวิถีชีวิตและลักษณะของสัตว์แต่ละชนิดอันเป็นประโยชน์ในการศึกษา ประพาสธารทองแดง จากเอกสาร ตํารา วารสาร
ธรรมชาติและการด�าเนินชีวิตของสัตว์ได้เป็นอย่างดี ดังบทประพันธ์ หรือเว็บไซตตางๆ
๙๘
งูเหลือมคอกระหวัดไม้ หางกระหวัดไว้ใฝ่อาหาร
วิดน�้าในห้วยธาร โพงไปมาเอาปลากิน
จากบทประพันธ์สะท้อนให้เห็นการด�ารงชีวิตของงูเหลือม การจับปลาของงูเหลือม
จะใช้คอและหางเกี่ยวกับต้นไม้ที่อยู่ระหว่างล�าห้วยที่เกือบแห้ง แล้วจึงแกว่งล�าตัวของมันโคลงไปมา
วิดน�้าจนแห้ง จากนั้นจึงลงไปจับปลากิน
93

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ขอใดไมใช พฤติกรรมของสัตวปา
1 จตุรงคเสนา คือ รูปแบบการจัดกําลังกองทัพไทยแตโบราณตามตําราพิไชย
1. ฝูงลิงยวบยาบตน พวาหนามี
สงคราม ซึ่งมีเพียงกําลังทางบก สวนกําลังทางเรือนั้นใชทหารบกเปนทั้งฝพายและ
2. ยูงทองยองยางเยื้อง รําฉวาง
พลรบ โดยไดรบั แบบอยางมาจากตําราพิไชยสงครามฮินดูโบราณ ซึง่ กําหนดกําลังทัพ
3. หมีดําขลับหนา เปนมัน
ออกเปน 4 เหลา เรียกวา จตุรงคเสนา ประกอบดวย เหลาพลชาง (ทหารชาง) เหลา
4. นกแกวแจวรี่รอง เรหา
พลมา (ทหารมา) เหลาพลรถ (ทหารรถ) และเหลาพลราบ (ทหารราบ)
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. ฝูงลิงไตขึ้นๆ ลงๆ อยูบนตนพวา ขอ 2. นกยูง รวมทั้งหมดจํานวน 9 กอง
ทองเดินไวทา และรําแพนหาง ขอ 3. หนาหมีดําเลื่อมเกลี้ยงเปนมัน และ การจัดกําลังกองทัพตามแบบจตุรงคเสนาเริ่มเปลี่ยนแปลงไปเมื่อมีการฝกหัด
ขอ 4. นกแกวรองเสียงใสดังเปนระยะ ขอที่ไมเห็นวาสัตวแสดงพฤติกรรม ทหารแบบใหม และยุทธวิธตี ามแบบตะวันตกตัง้ แตรชั สมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกลา-
หรือกําลังทําอะไร คือ “หมีดําขลับหนา เปนมัน” เพราะบอกเพียงลักษณะ เจาอยูหัว จตุรงคเสนายกเลิกไปเมื่อมีการจัดตั้งกองทหารแบบใหมในรัชสมัย
ของหมีดํา แตไมไดบอกกวาหมีดําทําอะไร ตอบขอ 3. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โดยตั้งกรมยุทธนาธิการบังคับบัญชา
กรมทหารบก 7 กรม คือ ทหารกรมชาง ทหารปนใหญ ทหารหนา ทหารลอมวัง
ทหารรักษาพระองค ทหารมหาดเล็ก และทหารฝพาย รวมทั้งทหารเรืออีก 2 กรม
คือ ทหารเรือพระที่นั่งเวสาตรี และทหารเรือรบ

คู่มือครู 93
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบExplain
ายความรู้ Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนรวมกันศึกษาบทวิเคราะหคุณคาดาน
เนื้อหาในหนังสือเรียน จากนั้นนักเรียนสรุปลงสมุด ๓) สะท้อนให้เห็นสภาพความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
(แนวตอบ คุณคาดานเนื้อหาสรุปได ดังนี้ ทรงบอกเล่าถึงความอุดมสมบูรณ์ของผืนป่าที่มีทั้งสัตว์และพืชนานาพันธุ์ ผ่านส�านวนภาษาที่ไพเราะ
• ไดความรูเกี่ยวกับการจัดริ้วขบวนของกษัตริย คมคาย ดังบทประพันธ์
ในอดีต ประกอบดวยชาง ทหารสี่เหลาและ ๖
พังพลายหลายหมู่ซร้อง ในเถื่อนท้องร้องระงมดง
เครื่องสูงของกษัตริย ธารน�้าคร�่ากันลง เล่นน�้าแน่นแตร้นชมกัน
• ไดความรูเกี่ยวกับธรรมชาติของสัตวแตละ ฝูงช้างสล้างใหญ่น้อย พังพลาย
ชนิด เชน ลักษณะนิสัย วิถีชีวิต เปนตน ทอกโทนพินายหลาย ส�่าถ้วน
• สะทอนภาพความอุดมสมบูรณทางธรรมชาติ ทองแดงเผือกเนียมราย ในเหล่า
จะเห็นไดวาพบสัตวปานานาชนิดและมีปาไม ลงท่าน�้าด�าป้วน เล่นร้องฮูมแปร๋น
เปนแหลงธรรมชาติที่งดงามใหสัตวปาอาศัย จากบทประพันธ์ได้สะท้อนให้เห็นถึงความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ จ�านวนสัตว์ป่าที่
• ไดความรูเกี่ยวกับพันธุไมและพันธุสัตว รวม มีเป็นจ�านวนมาก คือ โขลงช้างป่าที่ลงเล่นน�้าอย่างคลาคล�่า ส่งเสียงร้องระงมไปทั่วแนวป่า
ปลูกจิตสํานึกใหอนุรักษสัตวปาหายากและ ๔) ได้รู้จักชื่อพรรณไม้และสัตว์ชนิดต่างๆ ซึ่งหลายชนิดบางคนอาจไม่เคยรู้จัก
พันธุไมหายาก) หรือสูญพันธุไ์ ปแล้วก็มี วรรณคดีเรือ่ งนีจ้ งึ ช่วยประเทืองปัญญาผูอ้ า่ นให้เกิดความรูแ้ ละความเพลิดเพลิน
ไปพร้อมๆ กัน ดังบทประพันธ์
ขยายความเข้าใจ Expand ๙๖
เทโพแลเทพา ตะเพียนกาพาพวกจร
นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความ ไอ้บ้าปลาสลุมพอน ผักพร้าเพรี้ยแลหนวดพราม
เทโพพาพวกพ้อง เทพา
แตกตางของธรรมชาติในอดีตและปจจุบัน
ปลาตะเพียนปลากาพา คู่เคี้ย
• วิเคราะหสาเหตุความเปลี่ยนแปลงทาง สลุมพรไอ้บ้าปลา หลายหมู่
ธรรมชาติวามีอะไรบาง ปลาผักพร้าม้าเพรี้ย ว่ายไหล้หนวดพราม
(แนวตอบ จากอดีตมีความเปลี่ยนแปลงหลาย
อยางที่สงผลตอธรรมชาติ ซึ่งเปนทรัพยากร จากบทประพันธ์แสดงให้เห็นความรอบรู้และความสามารถของกวีที่สามารถบรรจุ
ที่มีอยูจํากัด เชน จํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ชื่อปลาลงในค�าประพันธ์บทนี้ได้มากถึง ๙ ชนิด ได้แก่ ปลาเทโพ ปลาเทพา ปลาตะเพียน ปลากา
ปลาไอ้บ้า ปลาสลุมพอน ปลาผักพร้า ปลาเพรี้ย และปลาหนวดพราม
การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ
นอกจากนี้ ยังได้ให้ความรู้เรื่องชื่อของพรรณไม้ต่างๆ ที่พบได้ยากในชีวิตประจ�าวัน
การคาเสรีที่นําทรัพยากรของประเทศมาเปน ดังบทประพันธ์
ตนทุนในการผลิตแกตลาดโลก เปนตน) ๘๖
หัวลิงหมากลางลิง ต้นลางลิงแลหูลิง
ลิงไต่กระไดลิง ลิงโลดคว้าประสาลิง
จากบทประพันธ์แสดงให้เห็นถึงพรรณไม้ คือ ต้นหัวลิง ต้นลางลิง และกระไดลิง ซึ่งเป็น
พรรณไม้ที่พบได้ยากในชีวิตประจ�าวัน โดยทั่วไปจะพบในป่าลึก
94

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ครูอาจใหนักเรียนจับคู 2-3 คน จากนั้นใหชวยกันวิเคราะหคุณคาดาน กระจายสยายคลี่ซรอง นงพะงา
วรรณศิลปของกาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง โดยเนนใหทําความเขาใจ สไบบางนางสีดา หอหอย
ไดงายและไดสาระ แลวนําสงครูผูสอน ยื่นเลื้อยเฟอยลงมา โบยโบก
แตคาไมใหญนอย แกวงเยื้องไปมา
จากคําประพันธขางตนขอใดกลาวถูกตอง
บูรณาการอาเซียน 1. ตนชองนางสีดาเปรียบเหมือนการจับจีบผาของนางสีดา
2. ตนสไบนางเปรียบเหมือนการคลี่ผาสไบของนางสีดา
ใหนักเรียนแบงกลุม แลวคนหาวรรณคดีเรื่องสําคัญของประเทศตางๆ ใน 3. ตนชองนางเปรียบเหมือนการสยายผมของนางสีดา
ภูมิภาคอาเซียนโดยระบุชื่อเรื่อง เนื้อเรื่องยอ คุณคา และความสําคัญอยางสังเขป 4. ตนสไบสีดาเปรียบเหมือนการหมผาของนางสีดา
พรอมภาพประกอบ กลุมละ 1 เรื่อง (หามซํ้าประเทศกัน) แลวนําไปจัดนิทรรศการ
วิเคราะหคําตอบ จากบทประพันธกลาวถึงตนชองนางกับตนสไบนาง
ในหัวขอ “วรรณคดีอาเซียน”
ซึ่งเปนไมเลื้อยหอยลงมาจากคาคบไม ทั้งชองนางและสไบนางหอยยอย
ลงมาเหมือนกับการคลี่ผาสไบของนางสีดา ตอบขอ 2.

94 คู่มือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนอธิบายคุณคาดานวรรณศิลป ในหัวขอ
๗.๒ คุณค่าด้านวรรณศิลป์ “การใชถอยคําใหเกิดจินตภาพ”
กาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดงมีคณุ ค่าทางด้านวรรณศิลป์ทนี่ า่ สนใจหลายประการ (แนวตอบ กวีใชโวหารคือพลิกแพลงภาษาที่
ดังต่อไปนี้ ใชใหแปลกออกไปจากที่ใชอยูเปนปกติกอใหเกิด
๑) การใช้คำาให้เกิดจินตภาพ กวีเลือกใช้ค�าที่เข้าใจง่าย สื่อถึงอากัปกิริยาของสัตว์ จินตนาการ มีรสกระทบใจความรูสึกและอารมณ
ชนิดต่างๆ ท�าให้ผู้อ่านจินตนาการภาพธรรมชาติของสัตว์ได้อย่างชัดเจน เช่น อากัปกิริยาของนกยูง มีหลายลักษณะ เชน อุปมา อุปลักษณ บุคคลวัต
“ยูงทองย่องเยื้องย่าง” รูปร่างของกระจง “กระจงกระจิดเตี้ย วิ่งเรี่ยเรี่ยน่าเอ็นดู” เป็นต้น อติพจน เรียกวา ภาพพจน นอกจากนี้กวีใช
ทุกบทที่กวีถ่ายทอดความรู้ด้านธรรมชาติวิทยา มีความโดดเด่นในการใช้ภาพพจน์
เนื่องจากกวีเลือกใช้ค�าง่าย สื่อความหมายได้ชัดเจน มองเห็นภาพ ดังบทประพันธ์ การเลือกสรรถอยคําที่เขาใจงาย สื่อความหมาย
๔๔
ชัดเจน ทําใหสามารถถายทอดความรูเกีี่ยวกับ
งูเขียวรัดตุ๊กแก ตุ๊กแกแก่คางแข็งขยัน ธรรมชาติไดเปนอยางดี)
กัดงูงูยิ่งพัน อ้าปากง่วงล้วงตับกิน
จากบทประพั น ธ์ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น ภาพของงู เขี ย วที่ ต ้ อ งรั ด ท้1อ งของตุ ๊ ก แกให้ แ น่ น ขยายความเขาใจ Expand
จนตุ๊กแกอ่อนแรง ปากของตุ๊กแกจึงอ้าออก ท�าให้งูสามารถเข้าไปล้วงตับกินได้ โดยกวีเลือกใช้ค�า
ที่มีความหมายชัดเจนในตัวเอง เมื่อน�ามาผูกเป็นค�าประพันธ์จึงท�าให้เกิดจินตภาพชัดเจนยิ่งขึ้น นักเรียนวิเคราะหการใชคําใหเกิดจินตภาพใน
นอกจากนี้ กวี ยั ง ได้ เ ลื อ กใช้ ค� า ที่ ก ล่ า วถึ ง ลั ก ษณะเฉพาะของสั ต ว์ ป ่ า ชนิ ด อื่ น ๆ บทประพันธตอไปนี้
ดังบทประพันธ์ “นกกดอดอาจสู พบงูเหาเอาปกบัง
๑๐
มีหมีพีด�าขลับ ขึ้นไม้ผับฉับไวถึง งูโพนพังพานหวัง จะขบตอด บ รอดเลย
เรี่ยวแรงแขงขังขึง กัดโพรงไม้ได้ผึ้งกิน นกกดอดอาจสู งูขลัง
งูขบเอาปกบัง เข็ดเขี้ยว
จากบทประพั น ธ์ ก วี ไ ด้ ใช้ ค� า เพื่ อ ให้ ผู ้ อ ่ า นเกิ ด จิ น ตภาพถึ ง หมี ที่ มี สี ด� า ขลั บ ล� า ตั ว งูเลิกพังพานหวัง ขบตอด
อวบอ้วน แต่ปีนต้นไม้ได้รวดเร็ว มีก�าลังมาก และกินผึ้งเป็นอาหาร
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกวีได้เลือกใช้ค�าเพื่อสร้างจินตภาพให้เกิดแก่ ตอด บ รอดเลยเลี้ยว หลีกเลี้ยวสูดหนี”
ผู้อ่าน เช่น การใช้ค�าพรรณนาถึงความรื่นรมย์บริเวณธารทองแดง ดังบทประพันธ์ (แนวตอบ จากบทประพันธขา งตน มีการเลือกใช
๘๙ คําที่ทําใหเกิดจินตภาพ คือ การเลือกใชคําในการ
ธารไหลใสสะอาด มัจฉาชาติดาษนานา ตอสูกันระหวางนกกดกับงูเหา คําวา “เอาปกบัง”
หวั่นว่ายกินไคลคลา ตามกันมาให้เห็นตัว
ธารไหลใสสะอาดน�้า รินมา และ “งูโพนพังพานหวัง” ซึ่งเปนคําที่แสดงใหเห็น
มัจฉาชาตินานา หวั่นหว้าย ความแตกตางที่เปนสัญลักษณระหวาง “ผูลา” กับ
จอกสร่ายกินไคลคลา เชยหมู่ “ผูถูกลา” ภาพนกกดที่พยายามเอาตัวรอดยกปก
ตามคู่มาคล้ายคล้าย ผุดให้เห็นตัว ปองกันตัวเองจากงูเหา แตงูเหาก็กวัดแกวงหมาย
จากบทประพันธ์กวีได้พรรณนาให้เห็นล�าธารที่ใสสะอาด เต็มไปด้วยปลาที่แหวกว่าย จะฉกนกกดใหได จนสุดทายนกกดก็ไมรอด)
หากินตามวิสัย เมื่อผู้อ่านอ่านแล้วจะเกิดอารมณ์ความรู้สึกคล้อยตามประดุจได้ยืนอยู่ที่ล�าธาร
๒) การใช้คำาเลียนเสียงธรรมชาติ กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงมีการใช้ค�า
เลียนเสียงธรรมชาติ ช่วยให้ผู้อ่านเห็นภาพชัดเจน เกิดอารมณ์ ความรู้สึกคล้อยตาม ดังบทประพันธ์
95

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ขอใดมีจินตภาพของความเคลื่อนไหว
1 ลวงตับกิน ความเชื่อที่วางูเขียวกินตับตุกแก เปนเรื่องที่เกิดขึ้นมาเปนเวลา
1. หัวลิงหมากลางลิง ตนลางลิงแลหูลิง
นานแลว เพราะเปนวิธีการเกื้อกูลกันตามธรรมชาติ โดยตุกแกมีตับที่เจริญเติบโต
2. ยูงทองยองเยื้องยาง รํารางชางชางฟายหาง
ไปตามวัย และเมื่อถึงวัยหนึ่งที่ตับของตุกแกมีอายุมากเกินไป ตุกแกจะสงเสียงรอง
3. ไกฟาอาสดแสง หัวสุกแดงแทงเดือยแนม
ออกมาเพื่อสงสัญญาณ จากนั้นงูเขียวจะโผลมาทําการเลื้อยเขาไปทางปากของตุกแก
4. เลียงผาอยูภูเขา หนวดพรายเพราเขาแปลปลาย
และกินตับของมัน เมื่อเสร็จสิ้นภารกิจ ทั้งสองฝายจะแยกยายกันไปใชชีวิต โดยที่
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. กวีพรรณนาถึงพันธุไมชนิดตางๆ ดวยการเลนคําวา รางกายตุกแกจะมีการสรางตับขึ้นมาทดแทน
“ลิง” ไดแก ตนหัวลิง ตนลางลิง และตนหูลิง ซึ่งไมเห็นภาพการเคลื่อนไหว ในขณะที่อีกสวนหนึ่งเห็นวา งูเขียวกินตับตุกแกนั้นไมใชการกินตับแตอยางใด
ขอ 2. กวีพรรณนาการเดินของยูงทอง “ยองเยื้องยาง” คือ กาวอยางชาๆ แทจริงแลวเปนเพียงการแบงปนอาหารซึ่งกันและกัน ซึ่งวิธีการนั้นก็คือการที่ตุกแก
และก็รําแพนหางอยางงดงาม ขอ 3. กวีพรรณนาลักษณะไกฟาวามีหัวสีแดง สงเสียงออกมา แลวยอมปลอยใหงูเขียวเลื้อยเขาไปในทองของมันแตโดยดี แตไมใช
มีเดือย และขอ 4. กวีพรรณนานาเลียงผาที่อยูบนภูเขาวามีหนวดแบนราบ การกินตับ แคแบงอาหารที่อยูในทองของมันใหกับงูเขียวเทานั้น เนื่องจากเมื่อตุกแก
ตอบขอ 2. กินอาหารมากจนเกินไปทองของมันจะปองและไมสามารถยอยอาหารได สวนงูเขียว
ก็เปนผลพลอยไดที่ไมตองหาอาหารเอง

คูมือครู 95
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนอธิบายคุณคาดานวรรณศิลป ในหัวขอ

“การใชคําเลียนเสียงธรรมชาติ การเลือกใชถอยคํา เครื่องสูงเพราเพริศพราย ชมชุมสายซ้ายขวาเคียง
ที่มีเสียงสระเดียวกัน และการใชคําสัมผัสทําใหเกิด ธงไชยธงฉานเรียง ปี่กลองชนะตะเต่องครึม
ความไพเราะ” จากนั้นสรุปความรูลงสมุด กลองทองตีครุ่มครึ้ม เดินเรียง
(แนวตอบ คุณคาดานวรรณศิลปตามหัวขอใน ท้าตะเติงเติงเสียง ครุ่มครื้น
ขางตน สรุปไดดังนี้ เสียงปี่รี่เรื่อยเพียง 1 กระเวก
แตร้นแตร่นแตรฝรั่งขึ้น หวู่หวู้เสียงสังข์
• การใชคําเลียนเสียงธรรมชาติ กวีใชโวหาร
สัทพจน คือ การใชคําเลียนเสียงธรรมชาติ จากบทประพันธ์มีการใช้ค�าเลียนเสียงธรรมชาติของเครื่องดนตรี ๓ ชนิด คือ ตะเติง
ทําใหเห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น เลียนเสียง กลอง แตร้นแตร่น เลียนเสียง แตร และหวู่หวู้ เลียนเสียง สังข์
๓) การเลื อ กใช้ คำ า ที่ มี เ สี ย งสระเดี ย วกั น ในกาพย์ แ ละโคลงบทที่ ๕๒ เป็ น
• การเลือกใชถอยคําที่มีเสียงสระเดียวกัน บทหนึ่งที่มีกลวิธีการแต่งที่ดีเยี่ยม ดังบทประพันธ์
คือ การใชคําที่มีเสียงสระเดียวกันในบท ๕๒
ประพันธเดียวกัน เพื่อเพิ่มอรรถรสในการอาน ดูหนูสู่รูงู งูสุดสู้หนูสู้งู
หนูงูสู้ดูอยู่ รูปงูทู่หนูมูทู
เนื่องจากเมื่ออานออกเสียงจะทําใหมีเสียงที่ ดูงูขู่ฝูดฝู้ พรูพรู
ไพเราะนาฟง) หนูสู่รูงูงู สุดสู้
• การเลือกใชคาํ สัมผัสในทําใหเกิดความไพเราะ งูสู้หนูหนูสู้ งูอยู่
มีทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษร เพื่อเนนความ หนูรู้งูงูรู้ รูปถู้มูทู
ไพเราะทางเสียง) จากบทประพันธ์ผู้อ่านสามารถมองเห็นภาพของการกอดรัดกันชุลมุนระหว่างงูกับหนู
ทีก่ า� ลังต่อสูก้ นั นอกจากใช้กลวิธกี ารเล่นเสียงสระทีโ่ ดดเด่นแล้ว ค�าประพันธ์บทนีย้ งั เล่นเสียงวรรณยุกต์
ขยายความเขาใจ Expand เสียงพยัญชนะและใช้ค�าที่ซ�้ากันได้อย่างกลมกลืน สื่อความหมาย และเกิดจินตภาพอย่างชัดเจน
๔) การเลื อ กใช้ คำ า สั ม ผั ส ในทำ า ให้ เ กิ ด ความไพเราะ ซึ่ ง หมายถึ ง สั ม ผั ส สระ
นักเรียนยกตัวอยางบทประพันธกาพยหอโคลง และสัมผัสอักษร เป็นการเน้นความไพเราะของเสียงในวรรค จึงท�าให้บทประพันธ์มคี วามน่าสนใจยิง่ ขึน้
ประพาสธารทองแดงมา 1 บท ดังบทประพันธ์
• วิเคราะหการใชคําเลียนเสียงธรรมชาติ ๔๕
ยูงทองย่องเยื้องย่าง ร�ารางชางช่างฟ่ายหาง
จากบทประพันธที่ยกมา ปากหงอนอ่อนส�าอาง ช่างร�าเล่นเต้นตามกัน
(แนวตอบ ตัวอยางบทประพันธ เชน ยูงทองย่องย่างเยื้อง ร�าฉวาง
“ฝูงชะนีใหญนอ ยกระจุย ชะนีอยุ อุย รองหา รายร่ายฟายเฟื่องหาง เฉิดหน้า
ฝูงคางหวางพฤกษา คางโจนไลไขวปลายยาง ปากหงอนอ่อนส�าอาง ลายเลิศ
ฝูงลิงยวบยาบตน พวาหนา ร�าเล่นเต้นงามหน้า ปีกป้องเป็นเพลง
ฝูงชะนีมกี่ หู า เปลาขาง จากบทประพันธ์กวีเลือกใช้คา� เพือ่ ให้เกิดสัมผัสอักษรและสัมผัสสระ ทัง้ ภายในวรรคและ
ฝูงคางหวางพฤกษา มาสู โดยผูอ้ า่ นจะมองเห็นภาพ2
ระหว่างวรรค จึงท�าให้เกิดความไพเราะของค�าและจินตภาพทีช่ ดั เจนแก่ผอู้ า่ น โดยผู
ครอกแครกไลไขวควาง โลดเลีย้ วโจนปลิว” ของนกยูงที่มีลักษณะเฉพาะทางธรรมชาติที่ต่างจากนกชนิดอื่น ซึ่งก�าลังแสดงอากัปกิริยาร�าแพนหาง
จากบทประพันธขางตนมีคําที่เลียนเสียง ที่สวยงาม
ธรรมชาติ คือ เสียงชะนีรอง “อุยอุย” และเสียง 96
คางวิ่งไลกับบนตนไมดัง “ครอกแครก”)

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
โคลงที่ยกมานี้ดีเดนในดานใด
1 แตรฝรั่ง เรียกอีกชื่อหนึ่งวา “แตรลําโพง” มีลักษณะปากบานคลายดอกลําโพง
กลองทองตีครุมครึ้ม เดินเรียง
ในกฎมณเฑียรบาล เรียกวา “แตรลางโพง” ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธ-
ทาตะเติงเติงเสียง ครุมครื้น
ยอดฟาจุฬาโลกมหาราช เรียกวา “แตรวิลันดา”
เสียงปรี่เรื่อยเพียง กระเวก
2 รําแพนหาง การรําแพนหางของนกยูงตัวผูนั้น เปนสวนหนึ่งของกระบวนการ แตรนแตรนแตรฝรั่งขึ้น หวูหวูเสียงสังข
เกี้ยวพาราสีนกยูงตัวเมีย เพื่อใหสนใจและยอมใหตัวผูผสมพันธุดวย แตก็ไมได 1. การเลียนเสียงธรรมชาติ
หมายความวา การรําแพนหางเปนพฤติกรรมเพียงอยางเดียวที่นกยูงตัวผูทําเพื่อ 2. การเลนเสียงวรรณยุกต
ดึงดูดนกยูงตัวเมีย จากงานวิจัยของมหาวิทยาลัยโตเกียวพบวา เสียงรองเรียกจาก 3. การเลนเสียงพยัญชนะ
ตัวผูจะมีอิทธิพลตอความสนใจของตัวเมียมากที่สุด 4. การเลนเสียงสระ
วิเคราะหคําตอบ จากบทประพันธขางตนเดนในการเลียนเสียงธรรมชาติ
จากการเลียนเสียงกลอง “ทาตะเติงเติง” เสียงแตรฝรั่ง “แตรนแตรน” และ
เสียงสังข “หวูหวู” ตอบขอ 1.

96 คูมือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
จากนั้นครูและนักเรียนรวมอภิปรายสรุปคุณคา
๕) การใช้ความเปรียบ ดานวรรณศิลป ดังนี้
๕.๑) อุปมา เป็นการเปรียบเทียบสิง่ หนึง่ ทีม่ ลี กั ษณะเหมือนหรือคล้ายกับอีกสิง่ หนึง่ • การใชความเปรียบทั้งอุปมาและอุปลักษณ
โดยใช้ค�าเชื่อม ดุจ เหมือน ดัง ดั่ง ราว ราวกับ ประหนึ่ง เช่น เฉก ประดุจ พ่าง เพียง คล้าย เสมือน (แนวตอบ มีการใชคําแสดงการเปรียบเทียบ
แม้น กล ดังบทประพันธ์ สิ่งที่มีลักษณะเหมือนกัน โดยการใชความ
เสียงปี่รี่เรื่อยเพียง กระเวก เปรียบภาพพจนอุปมาโวหาร จะพบคําที่ใช
ในการเปรียบ ไดแก ดุจ ดัง่ ประดุจ ประหนึง่
จากโคลงบทนี้เปรียบเทียบเสียงปี่ว่าเหมือนกับเสียงนกการเวก
๕.๒) อุปลักษณ์ เป็นการเปรียบเทียบโดยกล่าวถึงสิ่งหนึ่ง เพื่ออิงความหมาย เฉก เชน พาง เพีย้ ง ราวกับ แมน กล เหมือน
จากสิ่งนั้นให้เชื่อมโยงไปยังสิ่งที่จะอธิบาย ซึ่งการเปรียบเทียบแบบอุปลักษณ์ มักใช้ค�าว่า คือและเป็น สวนการใชความเปรียบในภาพพจนอุปลักษณ
ดังบทประพันธ์ มักใชคําวา “คือ” และ “เปน” ในการเปรียบ
เทียบ สามารถชวยใหผูอานตีความสิ่งที่เปน
งูเหลือมแบนท้องแผ่ คือกระดาน
นามธรรมใหเปนรูปธรรมได)
จากโคลงบทนี้เปรี
1 ยบเทียบว่าท้องงูเหลือมแบนแผ่เหมือนกระดาน • การเลนคําพอง
๖) การเล่นคำคาพ้อง เป็นการใช้ค�าค�าเดียวในความหมายที่ต่างกัน ดังบทประพันธ์ (แนวตอบ เปนการใชคําเดียวกันในความ
๘๖
หัวลิงหมากลางลิง ต้นลางลิงแลหูลิง หมายที่ตางกัน นอกจากจะทําใหเกิดเสียง
ลิงไต่กระไดลิง ลิงโลดคว้าประสาลิง ไพเราะแลว ยังทําใหเกิดความโดดเดนใน
เรื่องของความหมายที่ใชชื่อสอดคลองกัน
จากโคลงบทนี้จะเห็นว่ามีการเล่นค�าว่า “ลิง” ในความหมายที่ต่างกัน คือ
ลิง หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง มีลักษณะ และ คือ ลิง ลางลิง กระไดลิง หัวลิง)
ท่าทางคล้ายคน มีแขนขายาว
ลางลิง, กระไดลิง หมายถึง ชือ่ ไม้เถาเนือ้ แข็งชนิดหนึง่ ล�าต้นงอกลับไปกลับมา ขยายความเข้าใจ Expand
คล้ายขั้นบันได
หัวลิง หมายถึง ชื่ อ ไม้ เ ถา ผลขนาดผลส้ ม จี น มี สั น ตรงกลาง นักเรียนยกบทประพันธที่มีการใชความเปรียบ
คล้ายหัวลิง แลวอภิปรายในประเด็นตอไปนี้
๗) การเรียบเรียงคำา • วิเคราะหวาเปนการใชความเปรียบอยางไร
๗.๑) การขึ้นต้นกาพย์และโคลง เป็นการแต่งโดยให้เนื้อความในโคลงบาทหนึ่ง (แนวตอบ ตัวอยางบทประพันธที่ยกมา เชน
ล้อความในกาพย์วรรคหนึ่งตามล�าดับ “เลียงผาอยูภูเขา
กาพย์ยานี โคลง หนวดพรายเพราเขาแปลปลาย
นักสนมกรมชแม่มี่ นักสนมกรมชแม่เจ้า ทังหลาย รูปรางอยางแพะหมาย
ขี่ช้างกูบรูปโลมใจ ขี่ช้างกูบดาวราย แจ่มหน้า ขนเหม็นสาบหยาบเหมือนกัน”
พักตราอ่าผ่องใส พักตราผ่องใสสาย สุดสวาท จากบทประพันธที่ยกมามีการใชความเปรียบ
นุ่งห่มโอ่โสภาจริง นุ่งห่มโอ่โถงผ้า อร่ามริ้วทองพราย อุปมา ดังความวา “รูปรางอยางแพะหมาย
ขนเหม็นสาบหยาบเหมือนกัน” เปรียบเทียบ
97
วาเลียงผามีรูปรางและขนหยาบกลิ่นเหม็น
เหมือนแพะ ซึ่งหากผูที่ไมรูจักเลียงผาก็จะ
เห็นภาพไดชัดขึ้นเมื่อนึกถึงแพะ)
ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ธารไหลใสสะอาด รินมา
ครูทดสอบความรูของนักเรียนเรื่องคุณคาทางวรรณศิลปของกาพยหอโคลง
มัจฉาชาตินานา หวั่นหวาย
ประพาสธารทองแดง โดยครูยกบทประพันธที่มีความโดดเดนทางวรรณศิลปมา 1
จอกสรายกินไคลคลา เชยหมู
บท เชน การใชความเปรียบ การเลียนเสียงธรรมชาติ การใชถอยคําใหเกิดจินตภาพ
ตามคูมาคลายคลาย ผุดใหเห็นตัว
เปนตน นํามาใหนักเรียนรวมกันวิเคราะหบทประพันธนั้น จากนั้นครูสรุปความรู
ขอใดไมใชลักษณะเดนในบทประพันธขางตน
เกี่ยวกับวรรณศิลปจากบทประพันธที่ยกมา และใหนักเรียนบันทึกความรูลงสมุด
1. การใชความเปรียบ
2. การเลือกใชคําสัมผัสที่ไพเราะ
3. การเลือกใชถอยคําใหเกิดจินตภาพ
4. ไดรับความรูเกี่ยวกับธรรมชาติของสัตว
นักเรียนควรรู
วิเคราะหคําตอบ จากบทประพันธขางตน กวีพรรณนาภาพของลําธารได 1 การเลนคําพอง เปนลักษณะเดนที่มักปรากฏในวรรณคดีนิราศ กวีมักเลน
อยางนารื่นรมย นํ้าในลําธารใสจนมองเห็นตัวปลาที่แหวกวายไปมา กิน คําพองในรูปแบบตางๆ เชน นําชื่อตนไม สัตว มาพองกับความคิดถึงนาง หรือใช
สาหรายวายกันไปเปนหมู เปนคู บางก็ผุดขึ้นมาใหเห็นตัว กวีใชถอยคําที่ ในการพรรณนาสภาพแวดลอม เพื่อเนนความใหนาสนใจและแสดงฝมือของกวี
ทําใหเห็นภาพไดชัดเจนและยังมีความไพเราะ ใหความรูเกี่ยวกับธรรมชาติ
ของปลาที่กินสาหรายเปนอาหาร แตไมมีการใชความเปรียบ ตอบขอ 1.
คู่มือครู 97
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนอธิบายเรื่องการเรียบเรียงคําขึ้นตน
วรรคหรือขึ้นตนบทประพันธประเภทโคลงกระทู เนื่องจากโคลงสี่สุภาพที่แต่งเทียบความของกาพย์ ต้องพรรณนาความที่มีในกาพย์
(แนวตอบ เนื้อความขึ้นตนวรรคหรือขึ้นตน ให้ครบถ้วน ผูแ้ ต่งต้องมุง่ ใจความเป็นส�าคัญ การสรรค�าทีม่ ใี จความตามทีต่ อ้ งการและได้ลกั ษณะตรงตาม
บทประพันธ ใชขอ ความเดียวกันทัง้ ในกาพยและโคลง ฉันทลักษณ์จงึ ท�าได้ยาก ด้วยเหตุนโี้ คลงสีส่ ภุ าพทีแ่ ต่งในกาพย์หอ่ โคลงจึงไม่เคร่งครัดเรือ่ งต�าแหน่งของ
ค�าเอกและค�าโท
การเรียบเรียงคําในลักษณะนี้ไมไดเนนความไพเราะ ๗.๒) การบรรจุค�าลงในแต่ละวรรคของกาพย์ กวีจะแทรกสัมผัสในลงในวรรค
แตมุงเนนความหมาย อีกทั้งมีการใชคําสัมผัสใน ทั้งๆ ที่มิใช่ลักษณะบังคับ ดังบทประพันธ์
ในแตละวรรค ซึ่งสงสัมผัสภายในวรรคเดียวกัน ๑๐
และการใชกระทู 1 คํา หรือ 1 ความ เพื่อบอกการ มีหมีพีด�าขลับ ขึ้นไม้ผับฉับไวถึง
จบเรื่องในลักษณะของโคลงกระทู คือ นําคํามา เรี่ยวแรงแขงขังขึง กัดโพรงไม้ได้ผึ้งกิน
วางไวที่ตนบาทจะมีความหมายสมบูรณเมื่ออาน วรรคแรก มีเสียงสัมผัสสระ หมี - พี
คําขึ้นตนแตละบาทเรียงตอกัน) วรรคที่สอง มีเสียงสัมผัสสระ ไม้ - ไว, ผับ - ฉับ
วรรคที่สาม มีเสียงสัมผัสสระ แรง - แขง
ขยายความเข้าใจ Expand มีเสียงสัมผัสอักษร เรี่ยว - แรง, แขง - ขัง - ขึง
วรรคที่สี่ มีเสียงสัมผัสสระ ไม้ - ได้
1. นักเรียนยกโคลงกระทูในกาพยหอโคลง มีเสียงสัมผัสอักษร กัด - กิน
ประพาสธารทองแดงมาถอดคําประพันธ ๗.๓) การใช้กระทู้ ๑ ค�า เพื่อบอกการจบเรื่อง มีความชัดเจน ถูกต้องตามลักษณะ
“จบ จนจอมโลกยเจา คืนวัง การแต่งค�าประพันธ์และเนื้อความมีความสมบูรณ์ ดังบทประพันธ์
บ พิตรสถิตบัลลังก เลิศหลา จบ จนจอมโลกย์เจ้า คืนวัง
ริ รางกาพยโคลงหวัง ชนโลก อานนา บ พิตรสถิตบัลลังก์ เลิศหล้า
บูรณ พระโคลงเจาฟา ธิเบศรเจาจงสงวน” ริ ร่างกาพย์โคลงหวัง ชนโลก อ่านนา
(แนวตอบ จนกระทั่งเสด็จกลับถึงพระราชวังก็ บูรณ์ พระโคลงเจ้าฟ้า ธิเบศรเจ้าจงสงวน
ทรงเริ่มแตงกาพยโคลง หวังใหผูคนไดอานงาน
จากบทประพันธ์กวีเลือกใช้คา� มาวางเป็นกระทู ้ เมือ่ แต่ละค�ามาวางไว้ทตี่ น้ บาทของ
ประพันธของเจาฟาธรรมธิเบศร) แต่ละบาทจะไม่มีความหมายสมบูรณ์ แต่เมื่อน�ามาต่อกันแล้วจึงมี1ความหมาย คือ จบบริบูรณ์ หมายถึง
2. นักเรียนเขียนเสนทางการเดินทางไปนมัสการ จบโดยครบถ้วนสมบูรณ์ ซึ่งบทประพันธ์นี้จัดเป็นโคลงกระทู้แผลง
รอยพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี จากการอาน ๗.๓ คุณค่าด้านสังคม
เนื้อเรื่อง โดยนักเรียนดูแผนที่ประกอบและ กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงเป็นวรรณคดีที่สะท้อนสภาพสังคม ค่านิยมของ
นักเรียนชวยกันระบุสถานที่สําคัญหรือจังหวัด คนในสมัยอยุธยา โดยการสอดแทรกผ่านบทประพันธ์ทเี่ ล่าเรือ่ งราวการตามเสด็จพระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศ
ที่ตองเดินทางผาน เพื่อนมัสการรอยพระพุทธบาท ดังนี้
๑) สะท้อนให้เห็นถึงความศรัทธาในพระพุทธศาสนา กล่าวคือ จากความเป็นมา
ของการทรงพระนิพนธ์กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง ระบุว่าทรงพระนิพนธ์ในโอกาสตามเสด็จ
สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศ
บรมโกศ พระราชบิ
2 ดา ไปนมัสการรอยพระพุทธบาท ซึง่ ถูกค้นพบครัง้ แรกในรัชกาล
สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม
98

กิจกรรมสรางเสริม
นักเรียนควรรู
1 โคลงกระทูแผลง เปนโคลงกระทูที่แบงตามเนื้อความของโคลงกระทู แบง นักเรียนศึกษาโคลงกระทูลักษณะตางๆ จากแหลงเรียนรูตางๆ เชน
เปน 2 ชนิด คือ โคลงกระทูแผลง และอีกชนิด คือ โคลงกระทูความ ซึ่งตางกัน ตําราฉันทลักษณ เว็บไซต เปนตน จากนั้นสรุปความรูลงสมุด
ตรงที่กระทูความเปนกระทูที่มีความหมายทุกบาท เชน “อยา ไว ใจ ทาง” “เพื่อน
กิน หางาย เพื่อนตาย หายาก” เปนตน สวนกระทูแผลงนั้น บางคําก็มีความ
หมาย แตบางคําก็ไมมีความหมาย แตเมื่อนํามาตอกันแลวจะมีความหมาย เชน กิจกรรมทาทาย
จบ บ ริ บูรณ เปนตน
2 สมเด็จพระเจาทรงธรรม มีพระนามเดิมวา พระอินทราชา เปนพระราชโอรส
ในพระเอกาทศรถ พระราชกรณียกิจสวนใหญของพระองค มุงสงเสริมทํานุบํารุง นักเรียนศึกษาโคลงกระทูชนิดตางๆ เพื่อใหเห็นความสามารถของ
พระพุทธศาสนาในดานตางๆ เชน โปรดเกลาฯ ใหคัดลอกพระไตรปฎกฉบับ กวีไทย รวมถึงภาษาและความคิดที่ตกทอดมาเปนมรดกทางภูมิปญญา
สมบูรณเปนจํานวนมาก ทรงใหนักปราชญราชบัณฑิตแตงมหาชาติคําหลวงถวาย ของคนไทย นักเรียนยกโคลงกระทูที่นักเรียนสนใจมา 1 บท พรอมอธิบาย
นับเปนวรรณคดีชิ้นสําคัญของสมัยอยุธยา ลักษณะของกระทูในบทประพันธนั้น

98 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับคุณคาดาน
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง ได้สะท้อนให้เห็นความศรัทธาในพระพุทธศาสนา สังคมในกาพยหอโคลงประพาสธารทองแดงและ
ที่ ผู ก พั น กั บ วิ ถี ชี วิ ต คนไทยมายาวนาน ด้ ว ยความศรั ท ธาที่ มี ต ่ อ พระพุ ท ธศาสนาแม้ ว ่ า การเสด็ จ ตอบคําถาม ดังนี้
พระราชด�าเนินในครั้งนี้จะต้องผ่านป่าเขา พบกับความยากล�าบาก ไม่ได้เดินทางสะดวกสบายเหมือน • สะทอนใหเห็นความศรัทธาในพระพุทธ
ในปัจจุบัน แต่ทุกคนล้วนมีความเต็มใจ ซึ่งเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรก็มิได้ทรงพรรณนาถึงความยากล�าบากใน ศาสนาอยางไร
ขณะตามเสด็จ หากพรรณนาให้เห็นแต่ความอุดมสมบูรณ์และความงดงามของธรรมชาติ (แนวตอบ จุดหมายปลายทางในการเดินทาง
๒) สะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมการแต่งกาย กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
1 เสด็จประพาสคือ พระพุทธบาท จังหวัด
ได้สะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมส�าคัญประการหนึ่ง คือ วัวัฒนธรรมการแต่งกายของสตรีในวังสมัยอยุธยา ยา สระบุรี เพื่อนมัสการรอยพระพุทธบาท
ดังบทประพันธ์ จึงสะทอนใหเห็นความมุงมั่นตั้งใจในการ

นักสนมกรมชแม่มี่ ขี่ช้างกูบรูปโลมใจ เดินทางครั้งนี้ เพราะเดินทางดวยความยาก
พักตราอ่าผ่องใส นุ่งห่มโอ่โสภาจริง ลําบาก)
นักสนมกรมชแม่เจ้า ทังหลาย • คุณคาดานสังคมสะทอนใหเห็นการแตงกาย
ขี่ช้างกูบดาวราย แจ่มหน้า ของชาววังในสมัยอยุธยาอยางไร
พักตราผ่องใสสาย สุดสวาท (แนวตอบ จากการแตงกายของนางสนมที่รวม
นุ่งห่มโอ่โถงผ้า อร่ามริ้วทองพราย ขบวนเสด็จทําใหรูวาการแตงกายของหญิง
ชาววังในสมัยอยุธยา จะตองมีการเลือกสรร
จากบทประพันธ์ได้สะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมการแต่งกายของสตรีในวัง เมื่อจะ
ผาใหมีลวดลายวิจิตรงดงาม มีการปกดิ้นเงิน
ออกไปข้ า งนอกย่ อ มจะต้ อ งแต่ ง ตั ว ให้ ส วยงามด้ ว ยการเลื อ กสรรผ้ า ให้ มี ล วดลายวิ จิ ต รงดงาม
บางครั้งผ้าอาจปักด้วยดิ้นทองหรือไหมทอง เมื่อยามต้องลมจึงท�าให้เกิดริ้วสวยงาม
ดิ้นทองเพื่อความสวยงาม)
๓) สะท้อนให้เห็นถึงธรรมเนียมการเสด็จทางสถลมารค กาพย์ห่อโคลงประพาส • สะทอนใหเห็นธรรมเนียมการเดินทางของ
ธารทองแดง พระนิพนธ์ในเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร ได้สะท้อนให้เห็นถึงธรรมเนียมการเสด็จทางสถลมารค กษัตริยอยางไร
หรือการเสด็จพระราชด�าเนินทางบกของพระมหากษัตริย์ ดังบทประพันธ์ (แนวตอบ การเดินทางของกษัตริยท าง

สถลมารคในสมัยอยุธยานั้น ตองมีการจัดริ้ว
เกลื่อนกรูหมู่จัตุรงค์ เป็นกันกงเรียบเรียงไป ขบวนที่งดงาม สมพระเกียรติและปลอดภัย
ทรงช้างระวางใน เทพลีลาหลังคาทอง เพื่อแสดงถึงความยิ่งใหญของกษัตริย โดยใช
เกลื่อนกรูหมู่แห่ห้อม เรียงไสว ชางเปนพระราชพาหนะสําคัญ)
เสด็จพุดตาลทองไคล หว่างเขรื้อง
ทรงช้างระวางใน มีชื่อ
ขยายความเข้าใจ Expand
เทพลีลาเยื้อง ย่างแหน้หลังดี
1. นักเรียนยกบทประพันธเกี่ยวกับการแตงกาย
จากบทประพันธ์สะท้อนให้เห็นถึงการจัดริว้ ขบวนเสด็จทางสถลมารคของพระมหากษัตริย์
ของหญิงสาวชาววังในสมัยอยุธยา
ที่ จ ะต้ อ งมี ก ารจั ด ริ้ ว ขบวนให้ มี ค วามสวยงามและปลอดภั ย ส� า หรั บ พระมหากษั ต ริ ย ์ โดยมี ช ้ า ง
เป็นพาหนะที่ส�าคัญในการเดินทาง เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงความยิ่งใหญ่ของพระมหากษัตริย์
2. นักเรียนบอกชื่อวรรณคดีที่แสดงใหเห็น
การเดินทางไปยังสถานที่ตางๆ
99 (แนวตอบ ตัวอยางเชน นิราศภูเขาทอง
นิราศเมืองแกลง เปนตน)

บูรณาการเชื่อมสาระ
การเดินทางในกาพยหอโคลงประพาสธารทองแดงมีการเดินทางผาน นักเรียนควรรู
สถานที่ตางๆ ซึ่งปจจุบันเปนพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย ครูบูรณาการ
1 วัฒนธรรมการแตงกาย สําหรับสมัยรัตนโกสินทรในชวงตนๆ นั้น รูปแบบ
ความรูก บั กลุม สาระการเรียนรูส งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม วิชาภูมศิ าสตร
ของวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และการแตงกายยังคงเลียนแบบมาจาก
เพื่อใหนักเรียนเขาใจเกี่ยวกับที่ตั้งของจังหวัดสระบุรี ลักษณะทางกายภาพ
สมัยอยุธยา ทั้งนี้เนื่องจากผูคนยังเปนคนที่เกิดและมีชีวิตอยูในสมัยอยุธยา เมื่อมา
สภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศ ซึ่งเปนปจจัยสําคัญที่สงผลตอการเดินทาง
สรางบานสรางเมืองใหม จึงนํารูปแบบของวัฒนธรรมประเพณีทคี่ นุ เคยกันอยูม าปฏิบตั ิ
และการพรรณนาเรื่องราวการเดินทางในกาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง
ในเรื่องระเบียบกฎเกณฑทางสังคมในสมัยอยุธยา เคยมีระเบียบและขอหามของ
หรือใหนักเรียนชวยกันหาภาพลักษณะทางกายภาพในปจจุบัน ดูแลวอภิปราย
สามัญชนที่จะใชเครื่องแตงกายตามอยางเจานายไมได แตเนื่องจากสงครามและ
เปรียบเทียบกับบทประพันธวาเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตมากนอยเพียงใด
ความวุน วายในการกอบกูอ สิ รภาพจากพมา ทําใหกฎเกณฑเหลานัน้ เลือนรางไปบาง
เพื่อใหเกิดความเขาใจในเนื้อเรื่องมากยิ่งขึ้น
ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 จึงโปรดใหออก
พระราชบัญญัติวาดวยการแตงกายใชบังคับและหามไวใหมอีกครั้งหนึ่งวา
“ธรรมเนียมแตกอนสืบมา จะนุงผาสมปกทองนากและใสเสื้อครุย กรองคอ
กรองตนแขน กรองปลายแขน จะคาดรัดประคดหนามขนุนไดแตมหาดไทย
กลาโหม จตุสดมภ และแตงบุตรแล หลานขุนนางผูใหญผูนอยได”

คู่มือครู 99
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบExplain
ายความรู้ Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนรวมกันศึกษาบทวิเคราะหขอคิดที่
สามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได ๗.๔ ข้อคิดทีส่ ามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจ�าวัน
จากนั้นครูและนักเรียนรวมอภิปรายโดยตอบคําถาม กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง พระนิพนธ์ในเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร แม้จะมีเนื้อหา
ดังนี้ พรรณนาถึงความสวยงามของธรรมชาติระหว่างการเดินทางเป็นหลัก แต่เมื่อพิจารณาโดยละเอียด
• จากเรื่องผูเขียนพยายามโนมนาวใจใหรู จะพบว่าวรรณคดีเรือ่ งนีไ้ ด้สะท้อนข้อคิดทีส่ ามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจ�าวันไว้ดว้ ยเช่นกัน ดังนี้
คุณคาและรวมกันอนุรักษทรัพยากรและ ให้เห็นคุณค่าและร่วมกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติอยางไร เป็นวรรณคดีที่สะท้อนให้เห็นธรรมชาติของป่าที่ขบวนเสด็จพระราชด�าเนินผ่าน ซึ่งกวีพรรณนา
(แนวตอบ ผูเขียนพยายามนําเสนอความงดงาม ให้เห็นความสวยงามของต้นไม้ ดอกไม้ สัตว์ป่า และล�าธาร รวมทั้งบรรยายให้เห็นการด�ารงชีวิต
ของตนไม ปาไม สัตวปา ลําธาร และโนมนาว การหาอาหารของสัตว์ป่า ดังบทประพันธ์
ใหผูอานมีอารมณคลอยตามกับการมีความสุข ๙๘
สบายใจที่ไดเห็นธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่ งูเหลือมคอกระหวัดไม้ หางกระหวัดไว้ใฝ่อาหาร
สวยงาม รวมทั้งนําเสนอความรูเกี่ยวกับระบบ วิดน�้าในห้วยธาร โพงไปมาเอาปลากิน
นิเวศทางธรรมชาติ เชน การที่งูเหลือมวิดนํ้า งูเหลือมแบนท้องแผ่ คือกระดาน
เพื่อหาปลาเปนอาหาร เปนตน อีกทั้งยังนํา วิดน�้าหาอาหาร ใฝ่กล�้า
เสนอมุมมองที่วาหากธรรมชาติคงอยูคนและ โครมครุ่นในห้วยธาร เสียงฉ่า
สัตวก็จะอยูได แตหากธรรมชาติถูกทําลายจะ โพงสาดไปให้น�้า ซ่านสิ้นกินปลา
สงผลกระทบตอมนุษยและสัตว) จากบทประพันธ์ส1ะท้อนให้เห็นการด�ารงชีวิตของงูเหลือมที่ต้องล่าปลาเป็นอาหาร
ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของระบบนิเวศ
วศ หากป่าไม้ถูกท�าลายจะส่งผลกระทบต่อจ�านวนสัตว์ที่อยู่ในป่า
ขยายความเข้าใจ Expand ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อความเป็นอยูข่ องมนุษย์ในทีส่ ดุ ความสมบูรณ์ของพันธุส์ ตั ว์และพืชเป็นปัจจัยส�าคัญ
1. จากสถานการณที่ธรรมชาติถูกทําลายสงผล ของระบบนิเวศ ดังนั้น การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมจึงมีความจ�าเป็นอย่างยิ่ง
กระทบตอมนุษยและสัตวในปจจุบนั ใหนกั เรียน
เสนอวิธีการอนุรักษธรรมชาติและรักษาความ กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงเป็นวรรณคดีไทยที่ีมีความไพเราะ มีศิลปะ
สมบูรณของผืนปา การร้อยเรียงถ้อยคÓที่ดีเด่น ทÓให้ผู้อ่านได้รับความรู้เรื่องธรรมชาติวิทยาทั้งสัตว์บก
2. นักเรียนแตงคําขวัญเชิญชวนใหผูอื่นรูคุณคา สัตว์ปีก และสัตว์น้Ó ทั้งยังสะท้อนให้เห็นถึงสภาพความอุดมสมบูรณ์ของพรรณไม้
และรวมกันอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม และสัตว์ปา่ ของไทยในอดีต การพึง่ พากันในระบบนิเวศวิทยา ถือได้วา่ เป็นผลงานทีค่ วรค่า
ทางธรรมชาติ คนละ 1 คําขวัญ สงครูพรอมนํา แก่การศึกษาและนÓมาใช้เป็นแบบอย่างในการประพันธ์ได้เรื่องหนึ่ง
เสนอหนาชั้นเรียน

100

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
ขอใดสามารถนําไปประยุกตใชใหเขากับสภาพสังคมปจจุบัน
1 ระบบนิเวศ หมายถึง ระบบที่มีความสัมพันธกันของกลุมสิ่งมีชีวิต พรอมทั้ง
1. สัตวบางชนิดใหประโยชนตอธรรมชาติและมนุษย
สภาพแวดลอมที่ไมมีชีวิตดวย เชน อุณหภูมิ แสง ความชื้น ในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง
2. ไดรับความรูเกี่ยวกับธรรมชาติของสัตว
ซึ่งความสัมพันธนั้นหมายถึง การอาศัยอยูรวมกันของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต
3. สะทอนภาพชีวิตสัตวประเภทตางๆ
ในบริเวณหนึ่งนั่นเอง ดังนั้นในบริเวณใดๆ ที่มีสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิตมีความ
4. รักษาสมดุลทางธรรมชาติ
สัมพันธกัน เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนสารและถายทอดพลังงานระหวางกัน
วิเคราะหคําตอบ นักเรียนไดรับความรูเกี่ยวกับธรรมชาติ สัตวปา พันธุไม
บูรณาการอาเซียน ดังขอ 1. ขอ 2. และขอ 3. นักเรียนควรจะนําความรูที่ไดนั้นมาใชใหเกิด
ประโยชน โดยเฉพาะอยางยิ่งในปจจุบันธรรมชาติถูกทําลาย ความเปนอยู
ASEAN Centre for Biodiversity (ACB) หรือ ศูนยอาเซียนวาดวยความ ของมนุษยและสัตวปา เริ่มไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
หลากหลายทางชีวภาพ ตัง้ อยูใ นจังหวัดลากูนา อยูห า งออกไปทางใตของกรุงมะนิลา ดังนั้น ขอคิดที่ควรปฏิบัติ คือ เห็นคุณคาและรวมกันอนุรักษสิ่งแวดลอม
เมืองหลวงของฟลิปปนสประมาณ 60 กิโลเมตร ตั้งขึ้นเมื่อ ป ค.ศ. 2005 ทําหนาที่ ไมทําลายสิ่งแวดลอม รักษาสมดุลทางธรรมชาติ ตอบขอ 4.
รวบรวมขอมูล ขาวสาร องคความรู ศึกษา ประสานงานเครือขายดานสิ่งแวดลอม
ตางๆ ทัง้ ในอาเซียนและในโลก คอยเฝาระวังภัยคุกคามสิง่ แวดลอมอาเซียนทุกรูปแบบ

100 คู่มือครู
ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ Evaluate
Engage Explore Explain Expand
ตรวจสอบผล Evaluate
1. นักเรียนยกตัวอยางบทประพันธและวิเคราะห
การใชคําเลียนเสียงธรรมชาติ การเลือกใช
ถอยคําที่มีเสียงสระเดียวกัน หรือการใชคํา
ค�ำถำม ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้
สัมผัสทําใหเกิดความไพเราะได
๑. กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงที่น�ามาศึกษา กล่าวถึงลักษณะของพรรณพืชและวิถีชีวิตของ 2. นักเรียนยกบทประพันธที่มีการใชความเปรียบ
สัตว์ป่าไว้อย่างไรบ้าง และอธิบายการใชความเปรียบได
๒. การใช้ถ้อยค�าในกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงมีลักษณะเด่นอย่างไร 3. นักเรียนเขียนเสนทางการเดินทางไปนมัสการ
๓. เลือกกาพย์ห่อโคลง ๑ บท ที่นักเรียนชอบมากที่สุด และอธิบายว่าชอบเพราะเหตุใด รอยพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี โดยนักเรียน
๔. เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรทรงพระนิพนธ์กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงเพื่อจุดประสงค์ใด ดูแผนที่ประกอบ และนักเรียนชวยกันระบุ
๕. นักเรียนคิดว่าค�าประพันธ์บทใดแสดงธรรมชาติของพืชและสัตว์ได้ชัดเจนที่สุด จงอธิบาย สถานที่สําคัญหรือจังหวัดที่ตองผานในการ
เดินทาง

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู
1. การแตงกาพยหอโคลงชื่นชมธรรมชาติใน
โรงเรียน
2. แผนที่การเดินทางไปธารทองแดง
กิจกรรม สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้ 3. บันทึกชื่อและลักษณะของสัตวในกาพยหอโคลง
ประพาสธารทองแดง
กิจกรรมที่ ๑ เ ขียนความเรียง ๘ - ๑๐ บรรทัด พรรณนาถึงลักษณะและวิถีชีวิตของสัตว์และ
พรรณไม้ที่นักเรียนชื่นชอบมาอย่างละ ๑ ชนิด 4. การแตงคําขวัญเชิญชวนใหอนุรักษ
ทรัพยากรธรรมชาติ
กิจกรรมที่ ๒ จัดให้มีทัศนศึกษาเกี่ยวกับชีวิตของสัตว์ตามสถานที่ต่างๆ เช่น สวนสัตว์ของภาครัฐ
สวนสัตว์ของภาคเอกชน เป็นต้น แล้วให้จัดหาภาพสัตว์ต่างๆ พร้อมข้อมูลมาจัดท�า
เป็นป้ายนิเทศในชั้นเรียน

กิจกรรมที่ ๓ ใ ห้นักเรียนน�าประสบการณ์ที่เคยเลี้ยงสัตว์หรือปลูกพรรณไม้ชนิดต่างๆ แล้วมาเล่า


หน้าชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนร่วมชั้นเรียน

101

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู
1. กลาวถึงความอุดมสมบูรณของพรรณพืชนานาชนิดที่มีความสวยงาม และวิถีชีวิตของสัตวปาที่ตองมีการพึ่งพาอาศัยกันตามหวงโซอาหาร
2. ลักษณะเดนในการใชถอยคําของกาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง มีการใชถอยคําใหเกิดจินตภาพ การเลนคํา เลนเสียงสัมผัส การใชความเปรียบ และการใชคํา
เลียนเสียงธรรมชาติ
3. บทประพันธที่ชื่นชอบ เพราะมีการเลนเสียง ทั้งพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต การเลนคําซํ้ากัน เกิดจินตภาพชัดเจนวาหนูงูสูกันอยู
“ดูหนูสูรูงู งูสุดสูหนูสูงู
หนูงูสูดูอยู รูปงูทูหนูมูทู
ดูงูขูฝูดฝู พรูพรู
หนูสูรูงูงู สุดสู
งูสูหนูหนูสู งูอยู
หนูรูงูงูรู รูปถูมูทู”
4. เพื่อบันทึกเรื่องราวและความงดงามของธรรมชาติที่เสด็จประพาสใหผูอื่นไดรับทราบ และเปนแบบอยางในการแตงกาพยหอโคลง
5. คําประพันธที่กลาวถึงพืชและสัตวสะทอนธรรมชาติของทั้งพืชและสัตวไดชัดเจนทุกบท เชน บทประพันธที่กลาวถึงงูเหลือมที่กําลังหาอาหาร โดยการวิดนํ้าหาปลา
ซึ่งเปนธรรมชาติของการดํารงชีวิตของงู
“งูเหลือมคอกระหวัดไม หางกระหวัดไวใฝอาหาร
วิดนํ้าในหวยธาร โพงไปมาเอาปลากิน”
คู่มือครู 101
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Explore Explain Expand Evaluate
เปาหมายการเรียนรู
1. สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน
2. วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน
พรอมยกเหตุผลประกอบ
3. อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม
ที่อาน
4. สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพื่อประยุกต
ใชในชีวิตจริง
5. ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนดและ
บทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ

สมรรถนะของผูเรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกปญหา
4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค
1. รักชาติ ศาสน กษัตริย
2. ใฝเรียนรู
หนวยที่ ö
โคลงสุภำษิตพระรำชนิพนธ์
3. รักความเปนไทย พระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว
ตัวชี้วัด
■ สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน (ท ๕.๑ ม.๒/๑)
สุ ภาษิต เป็นค�าสอนที่ลึกซึ้งคมคายเป็น
■ วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน พรอมยกเหตุผลประกอบ วิ ธี คิ ด วิ ธี ป ฏิ บั ติ ที่ เ ป็ น สากลและมิ ไ ด้ ล ้ า สมั ย
กระตุน้ ความสนใจ Engage ■
(ท ๕.๑ ม.๒/๒)
อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน (ท ๕.๑ ม.๒/๓)
พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว
ทรงพระราชนิพนธ์สุภาษิตไว้หลายเรือ่ ง ซึง่ รวบรวม
■ สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพื่อประยุกตใชในชีวิตจริง ไว้ในหนังสือชุดโคลงสุภาษิต ส� า หรั บ โคลงสุ ภ าษิ ต
ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาเกี่ยวกับความ (ท ๕.๑ ม.๒/๔)
ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทรอยกรองที่มีคุณคาตาม โสฬสไตรยางค์ โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ และโคลง
สําคัญของวรรณคดีสุภาษิต ■

ความสนใจ (ท ๕.๑ ม.๒/๕) สุภาษิตอิศปปกรณ�าที่น�ามาศึกษานี้ได้ให้ข้อคิดสอนใจ


(แนวตอบ วรรณคดีสุภาษิตเปนเครื่องมือในการ เพื่อให้ผู้อ่านน�าค�าสอนไปปฏิบัติแ ละเกิ ด ประโยชน์ แ ก่
ถายทอดขอคิด คําสอนใหแกผูอานมาตั้งแตอดีต) สาระการเรียนรูแกนกลาง ตนเองและผู้อื่น รวมทั้งประเทศชาติสืบไป
การวิเคราะหคุณคาและขอคิดจากวรรณคดี โคลงสุ ภ าษิ ต พระราชนิ พ นธ์ ใ นพระบาทสมเด็ จ
• นักเรียนคิดวา วรรณคดีสุภาษิตเหมาะกับ

และวรรณกรรม เรื่อง โคลงสุภาษิต พระราชนิพนธ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั มีวรรณศิลปทเี่ รียบง่าย ใช้คา� ง่าย


ผูอานประเภทใด พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว แต่มีการเปรียบเทียบอย่างแยบคาย ท�าให้โคลงสุภาษิตเหล่านี้
(แนวตอบ วรรณคดีสุภาษิตเหมาะกับผูอาน มีคุณค่าทั้งด้านเนื้อหาและวรรณศิลปเป็นอย่างดี

ทุกประเภท)

เกร็ดแนะครู
ในการเรียนโคลงสุภาษิตพระราชนิพนธ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั
ซึ่งเปนวรรณคดีเกี่ยวกับสุภาษิตคําสอน ครูควรจัดการเรียนการสอนโดยเนนให
นักเรียนศึกษาคนควาเกีย่ วกับสุภาษิตตางๆ ของไทยทีม่ จี าํ นวนมาก ควบคูไ ปกับการ
เชื่อมโยงเขากับสถานการณในชีวิตจริงของนักเรียน เพื่อใหนักเรียนรูความหมาย
ของสุภาษิตและนําไปใชไดอยางถูกตอง

102 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
Engage Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
นักเรียนชวยกันบอกชื่อวรรณคดีสุภาษิตที่
โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ นักเรียนเคยเรียนหรือรูจัก
(แนวตอบ นักเรียนบอกชื่อวรรณคดีไดมากมาย
๑ ความเป็นมา ครูยกตัวอยาง เชน โคลงโลกนิติและสุภาษิต
ในจดหมายเหตุพระราชกิจรายวันพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ พระรวงที่นักเรียนเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
วั น ที่ ๔๔๕๑ (เป็ น วั น ที่ พ ระองค์ เ สด็ จ ขึ้ น ครองราชย์ ไ ด้ ๔,๔๕๑ วั น ) ซึ่ ง ตรงกั บ วั น ๒ฯ๒
๓ ค�่ า อิศรญาณภาษิต โคลงพาลีสอนนอง เปนตน)
(อ่านว่า วันจันทร์ แรม ๓ ค�่า เดือนยี่) ปีมะโรง โทศก จุลศักราช ๑๒๔๒๑ ได้กล่าวถึงการประพันธ์
โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์มีข้อความว่า “...กรมหมื่นพิชิต๒ ถวายโคลงโสฬสไตรยางค์ ซึ่งทรง
พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ไปแต่งแก้ใหม่ให้ถูกกับความในภาษาอังกฤษ” รัชกาลที่ ๕ ทรงพระกรุณา
ส�ารวจค้นหา Explore
โปรดเกล้าฯ ให้กวีในราชส�านักน�าสุภาษิตภาษาอังกฤษมาแปลและประพันธ์เป็นโคลงภาษาไทย 1. นักเรียนรวมกันสืบคนความหมายและลักษณะ
โดยพระองค์ ท รงเป็ น ผู ้ ต รวจแก้ แ ล้ ว ยั ง ทรงพระราชนิ พ นธ์ โ คลงน� า บทและตรวจแก้ ไขต้ น ฉบั บ เฉพาะของโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค
ของกรมหมื 1 ่ น พิ ชิ ต ด้ ว ยพระองค์ เ อง ต่ อ มาได้ มี ก ารรวบรวมโคลงสุ ภ าษิ ต นี้ ลงพิ ม พ์ ใ นหนั ง สื อ 2. นักเรียนสืบคนประวัติความเปนมาและประวัติ
วชิรญาณ เล่ม ๑ ฉบับที่ ๑ จุลศักราช ๑๒๔๖ (พุทธศักราช ๒๔๒๗) โดยใช้ต้นฉบับที่พระเจ้า ผูแตงโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค จากเอกสาร
น้องยาเธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร๓ ได้ทรงคัดลอกไว้จากต้นฉบับที่มีสุภาษิตภาษาอังกฤษด้วย
ตํารา และเว็บไซตที่เกี่ยวของ
และภายหลั ง ได้ 2 ร วบรวมพิ ม พ์ ไว้ ใ นหนั ง สื อ ประชุ ม โคลงสุ ภ าษิ ต พระราชนิ พ นธ์ ใ นรั ช กาลที่ ๕
ในงานศตมวารพระศพสมเด็ จ พระเจ้ าบรมวงศ์ เธอ เจ้ า ฟ้ า สุ ทธาทิ พ ยรั ต น์ สุ ขุ ม ขั ต ติ ย กั ล ยาวดี 3. นักเรียนศึกษาคนควาและทบทวนความรู
กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร์ เมื่อวันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๖ เกี่ยวกับลักษณะคําประพันธประเภท
โคลงสี่สุภาพที่เคยเรียนมา
๒ ประวัติผู้แต่ง 4. นักเรียนอานเรือ่ งยอโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั (พระราชประวัตไิ ด้กล่าวไว้แล้วในหน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๑) จากหนังสือเรียนหนา 104

๓ ลักษณะคÓประพันธ์ อธิบายความรู้ Explain


โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์แต่งด้วยฉันทลักษณ์ชนิดโคลงสี่สุภาพ เป็นโคลงบทน�า ๑ บท 1. นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับประวัติความเปนมา
เนื้อเรื่อง ๑๖ บท และบทสรุป ๑ บท ของโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค
การแต่งค�าประพันธ์โคลงสี่สุภาพ ๑ บท มี ๔ บาท ๑ บาท มี ๒ วรรค วรรคหน้ามี ๕ ค�า 2. ครูสุมนักเรียน 2-3 คน เลาประวัติความเปนมา
วรรคหลังมี ๒ ค�า ยกเว้นบาทที่ ๔ วรรคหลังจะมี ๔ ค�า ส่วนวรรคหลังบาทที่ ๑ และบาทที่ ๓ ของโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค
มีค�าสร้อยได้อีก ๒ ค�า และบังคับให้มีค�าที่มีรูปวรรณยุกต์เอก ๗ แห่ง และค�าที่มีรูปวรรณยุกต์โท 3. นักเรียนทบทวนความจําเกี่ยวกับลักษณะ
๔ แห่ง หรือใช้ค�าเอกโทษและโทโทษแทน โดยค�าเอกโทษ คือ ค�าที่ไม่ได้ใช้ไม้เอก แต่น�ามาเขียน คําประพันธโคลงสี่สุภาพ ดวยการเขียนแผนผัง
ให้เป็นค�าที่ใช้ไม้เอก เช่น สร้าง เขียนเป็น ซ่าง และค�าโทโทษ คือ ค�าที่ไม่ได้ใช้ไม้โท แต่น�ามาเขียน และโยงเสนสัมผัสโคลงสี่สุภาพใหถูกตอง
โดยใช้ไม้โท เช่น วิ่น เขียนเป็น หวิ้น ดังตัวอย่างต่อไปนี้ บนกระดานหนาชั้นเรียน

วันที ่ ๔๔๕๑ ในรัชกาลที ่ ๕ นับตัง้ แต่เสด็จขึน้ ครองราชสมบัตเิ มือ่ วันที ่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๑๑ ตรงกับวันจันทร์ที่
๑๗ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๓

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร ทรงเป็นต้นราชสกุลคัคณางค์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ารงราชานุภาพ 103

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางคตอไปนี้ ขอใดเปนบาทที่ 2
1 หนังสือวชิรญาณ เปนนิตยสารของหอพระสมุดวชิรญาณ หอพระสมุด
1. สามสิ่งควรจักตั้ง แตซองสรรเสริญ
วชิรญาณ ซึ่งตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2424 หนังสือวชิรญาณเริ่มสัมภาษณบุคคลครั้งแรก
2. ปญญาสติลํ้า เลิศญาณ
ตั้งแต พ.ศ. 2437 วัตถุประสงคของหนังสือวชิรญาณ คือ เพื่อเปนเครื่องแสวงหา
3. อํานาจศักดิ์ศฤงคาร มั่งขั้ง
ความรู ตลอดจนความบันเทิงแกสมาชิกหอพระสมุดฯ
4. มารยาทเรียบเสี่ยมสาน เสงี่ยมเงื่อน งามนอ
2 งานศตมวาร หมายถึง พิธีการทําบุญศพครบ 100 วัน
วิเคราะหคําตอบ ตามลักษณะคําประพันธโคลงสี่สุภาพบาทที่ 2 มีลักษณะ
บังคับคําเอก ดังนี้ ่ ่ ้( )
แตทั้งนี้หากไมมีคําที่มีวรรณยุกตเอกก็จะใชคําตายแทน ขอที่เปนบาทที่ 2
คือ “อํานาจศักดิ์ศฤงคาร มั่งขั้ง” สวนขออื่นๆ ขอ 1. เปนบาทที่ 4 ขอ 2. มุม IT
เปนบาทที่ 1 ขอ 4. เปนบาทที่ 3 ดังนั้นจึงตอบขอ 3.
ศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเปนมาของโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางคเพิ่มเติม
ไดที่ http://www.chanpradit.ac.th/~wanna/learn45.htm

คู่มือครู 103
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู้ Explain
1. จากการอานเรือ่ งยอโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค
ครูสุมนักเรียน 16 คน อธิบายสามสิ่งที่ควรทํา จบสามสิบหกเค้า คะแนนนับ หมวดแฮ
และไมควรทําจากจํานวน 16 ขอ
หมวดละสามคิดสรรพ เสร็จสิ้น
2. นักเรียนจับคูกับเพื่อนแลวรวมกันจับคูแนวคิด
คําสอน ทั้ง 16 ขอ โดยจับคูสิ่งที่ควรทํากับสิ่งที่ เป็นสี่สิบแปดฉบับ บอกเยี่ยง อย่างแฮ
ไมควรทํา ใหมีเนื้อความที่สอดคลองกัน ตามแบบบ่ขาดหวิ้น เสร็จแล้วบริบูรณ์

ขยายความเข้าใจ Expand ๔ เรื่องย่อ


1. นักเรียนยกตัวอยางผลงานดานการประพันธ โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ มาจากค�าว่า โสฬส ซึ่งหมายถึง สิบหก และค�าว่า ไตรยางค์
ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว หมายถึง สามส่วน โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ กล่าวถึง ข้อควรกระท�าและไม่ควรกระท�าสามประการ
ที่นักเรียนชื่นชอบคนละ 1 เรื่อง พรอมยก ซึ่งมีจ�านวนสิบหกข้อ ดังนี้
เหตุผลประกอบ
๑. สามสิ่งควรรัก ได้แก่ ความกล้า ความสุภาพ และความรักใคร่
(แนวตอบ ตัวอยางเชน การยกขาวอาชญากรรม
ที่มีการทํารายกันในสังคม ตรงกับโคลงสุภาษิต ๒. สามสิ่งควรชม ได้แก่ อ�านาจปัญญา เกียรติยศ และมีมารยาทดี
โสฬสไตรยางค ในขอสามสิ่งที่ควรเกลียด ๓. สามสิ่งควรเกลียด ได้แก่ ความดุร้าย ความหยิ่งก�าเริบ และความอกตัญญู
ซึ่งไดแก ความดุราย ความหยิ่งกําเริบและ ๔. สามสิ่งควรรังเกียจติเตียน ได้แก่ ความชั่วเลวทราม มารยา และความริษยา
ความอกตัญู) ๕. สามสิ่งควรเคารพ ได้แก่ ศาสนา ความยุติธรรม และการสละประโยชน์ส่วนตน
2. นักเรียนยกสถานการณในปจจุบันที่ตรงกับ ๖. สามสิ่งควรยินดี ได้แก่ ความงาม ความซื่อตรง และความอิ สรเสรี
คําสอนใดคําสอนหนึ่งจากคําสอน 16 ขอ และ 1
๗. สามสิ่งควรปรารถนา ได้แก่ ความสุขสบาย มิมิตรที่ดี และจิตใจสบาย
รวมกันแสดงความคิดเห็น
๘. สามสิ่งควรอ้อนวอนขอ ได้แก่ ความเชื่อถือ ความสงบ และจิตใจที่บริสุทธิ์
• นักเรียนสามารถนําคําสอนไปปรับใชกับ
ตนเองไดจริงหรือไม มากนอยเพียงใด ๙. สามสิ่งควรนับถือ ได้แก่ ปัญญา ความฉลาดทันคน และความมั่นคงไม่หวั่นไหว
(แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบไดหลากหลาย ๑๐. สามสิ่งควรจะชอบ ได้แก่ ความอารีด้วยใจสุจริต ใจดี และความสนุกสนานเบิกบาน
ขึ้นอยูกับเหตุผลของนักเรียน) ๑๑. สามสิ่งควรสงสัย ได้แก่ ค�ายกยอ ปากกับใจไม่ตรงกัน และการรักง่ายหน่ายเร็ว
๑๒. สามสิ่งควรละ ได้แก่ ความเกียจคร้าน การพู
2 ดจาเพ้อเจ้อ และการพูดจาหยาบกระด้าง
ตรวจสอบผล Evaluate ๑๓. สามสิ่งควรกระท�าให้มี ได้แก่ หนังสือดี เพื่อนดี และใจเย็น
1. นักเรียนอธิบายความหมายของโคลงสุภาษิต ๑๔. สามสิ่งควรหวงแหน ได้แก่ ชื่อเสียงเกียรติยศ ชาติบ้านเมือง และมิตรสหาย
โสฬสไตรยางคไดทั้ง 16 ขอ ๑๕. สามสิ่งควรครองไว้ ได้แก่ การระงับอารมณ์ การคิดก่อนพูด และวาจา
3
2. นักเรียนยกสถานการณในปจจุบันไดตรงกับ ๑๖. สามสิ่งควรเตรียมเผื่อไว้ ได้แก่ ความไม่เที่ยงแท้แน่นอน ความชรา และความตาย
อน ความชรา และความตาย
คําสอนในโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค
104

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
ควรกลากลากลาวถอย ทั้งหทัย แทเฮย
1 มิตรที่ดี ในทางพระพุทธศาสนาสอนหลักธรรมในการเลือกคบมิตรหรือ
สุวภาพพจนภายใน จิตพรอม
มิตรแทไว 4 ประการ คือ มิตรอุปการะ มิตรรวมสุขและรวมทุกข มิตรแนะ
ความรักประจักษใจ จริงแน นอนฤา
ประโยชน และมิตรมีนํ้าใจ
สามสิ่งควรรักนอม จิตใหสนิทจริง
2 หนังสือดี ความสําคัญของหนังสือและประโยชนของหนังสือ หนังสือมีความ ขอใดไมได กลาวถึงในบทประพันธขางตน
สําคัญและมีประโยชนกับชีวิตมาก เพราะมนุษยตองการแสวงหาคําตอบที่ตน 1. ความรักใคร
อยากรู อยากเห็นดวยวิธีการตางๆ เชน ซักถาม ฟง เปนตน แตวิธีที่มนุษยจะ 2. ความจริงใจ
แสวงหาคําตอบไดดีที่สุดและสะดวกที่สุด คือ การแสวงหาคําตอบจากหนังสือ 3. ความสุภาพ
ดังนั้นหนังสือจึงเปนแหลงอางอิงที่ดีที่สุด 4. ความกลา
3 ความไมเที่ยงแทแนนอน ความชรา และความตาย สอดคลองกับหลักคําสอน วิเคราะหคําตอบ จากบทประพันธกลาววา ควรกลาพูดสิ่งที่อยูในใจ
ทางพระพุทธศาสนา คือ ความเปนอนิจจัง หมายความวา โลกนี้ไมมีความเที่ยง พูดดวยความสุภาพออนนอม ความรักจากใจจะเห็นไดอยางชัดเจน สามสิ่ง
มีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ที่ควรรักและที่กลาวถึง ไดแก ความกลา ความสุภาพ และความรักใคร
ดังนั้นสิ่งที่ไมไดกลาวถึง คือ ความจริงใจ ตอบขอ 2.

104 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
Engage Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
นักเรียนอานโคลงสี่สุภาพบทนําโคลงสุภาษิต
๕ เนื้อเรื่อง โสฬสไตรยางค วาดวยความสามอยาง เปนทํานอง
เสนาะ จากนั้นรวมกันถอดคําประพันธโคลงบทนี้
ว่าด้วยความสามอย่าง เปนรอยแกว
(แนวตอบ ถอดคําประพันธไดวา ผูรูไดแสดง
ปราชญ์แสดงด�าริด้วย ไตรยางค์ ความรูที่เปนแนวคิดไวสามอยาง มีทั้งหมด 16
โสฬสหมดหมวดปาง ก่อนอ้าง หมวดหมู เปนแบบอยางแกบัณฑิต หวังสราง
เป็นมาติกาทาง บัณฑิต แสวงเฮย ความสุขขจัดความทุกขสืบไป)
หวังสวัสดิ์ขจัดทุกข์สร้าง สืบสร้องศุภผล
ส�ารวจค้นหา Explore
Three Things to Love
สามสิ่งควรรัก นักเรียนสืบคนขอคิดจากคําสอนใน
Courage Gentleness Affection แตละหมวดที่พบในโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค
ความกล้า ความสุภาพ ความรักใคร่ แตละบท เพื่อนําไปขยายความหมายใหเกิด
ความเขาใจรวมกันในชั้นเรียน

ควรกล้ากล้ากล่าวถ้อย ทั้งหทัย แท้แฮ
สุวภาพพจน์ภายใน จิตพร้อม
อธิบายความรู้ Explain
ความรักประจักษ์ใจ จริงแน่ นอนฤ ๅ 1. นักเรียนแบงกลุมเปน 16 กลุม จากนั้นมอบ
สามสิ่งควรรักน้อม จิตให้สนิทจริง หมายใหแตละกลุมถอดคําประพันธ แลวสง
ตัวแทนกลุมออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน
Three Things to Admire 2. จากหนา 105 นักเรียนกลุมที่ 1 และ 2 สงตัว
สามสิ่งควรชม แทนมานําเสนอการถอดคําประพันธ
Intellectual Power Dignity Gracefulness (แนวตอบ ถอดคําประพันธได ดังนี้
อ�านาจปัญญา เกียรติยศ มีมารยาทดี • กลุมที่ 1 สามสิ่งควรรัก ไดแก ความกลา
ความสุภาพ ความรักใคร

ปัญญาสติ ใจความวา ควรกลาพูดความ
1 ล�้า เลิศญาณ2
อ�านาจศักดิ์ศฤงคาร มั่งขั้ง ในใจ มีความรักที่จริงใจและ
มารยาทเรียบเสี่ยมสาน เสงี่ยมเงื่อน งามนอ มีความสุภาพออนนอม
สามสิ่งควรจักตั้ง แต่ซ้องสรรเสริญ • กลุมที่ 2 สามสิ่งควรชม ไดแก อํานาจ
ปญญา เกียรติยศ มีมารยาทดี
ใจความวา อํานาจของการมี
105 ปญญาจะทําใหมีทรัพยสินเงิน
ทองมั่งคั่ง มีชื่อเสียง ควรมีความ
สงบเสงี่ยมมีมารยาทที่ดีงาม)

กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
นักเรียนแสดงความคิดเห็นวา คําสอนหมวดใดเหมาะสมกับบุคคลใน ครูนํานักเรียนอานออกเสียงโคลงสุภาษิต เพื่อฝกทักษะการอานคําใหถูกตอง
ชวงวัยใด อาชีพใด โดยการทําตารางจําแนกคําสอนของโคลงสุภาษิต หากนักเรียนไมรูคําอานใหนักเรียนถามครู หรือคนควาคําอานจากพจนานุกรม ฉบับ
โสฬสไตรยางค ราชบัณฑิตยสถาน ทัง้ นีค้ รูแนะเพิม่ เติมวา การอานใหถกู ตองนอกจากจะทําใหเขาใจ
สารในคําประพันธแลว ยังชวยใหคําประพันธที่อานมีความไพเราะเสนาะหูอีกดวย

กิจกรรมทาทาย นักเรียนควรรู
1 ศฤงคาร อานวา สิงคาน หรือ สะหฺริงคาน หมายความวา สิ่งใหเกิด
นักเรียนรวบรวมคําสอนตามหลักพระพุทธศาสนาแลวนํามาจับคู ความรัก บริวารหญิงผูบําเรอความรัก เชน สาวศฤงคารคนใช (มหาชาติคําหลวง
ใหสอดคลองกับคําสอนในโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค แลวทําตาราง ทานกัณฑ)
การจับคูคําสอน
2 ขั้ง เปนคําโทโทษ ปกติเขียนวา “คั่ง” มีความหมายวา ออกัน ประดังกัน
แตเมือ่ ใชรว มกับคําวา “มัง่ คัง่ ” จะมีความหมายวา มีทรัพยมากมาย มีทรัพยลน เหลือ

คู่มือครู 105
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนกลุมที่ 3-5 ถอดคําประพันธเปนความ
เรียงรอยแกว แลวสงตัวแทนกลุมออกมานําเสนอ Three Things to Hate
หนาชั้นเรียน สามสิ่งควรเกลียด
(แนวตอบ ถอดคําประพันธได ดังนี้ Cruelty Arrogance Ingratitude
1
• กลุมที่ 3 สามสิง่ ควรเกลียด ไดแก ความดุรา ย ความดุุร้าย ความหยิ่งก�าเริบ อกตัญญู
ความหยิ่งกําเริบ ความอกตัญู ๓
ใจความวา จิตใจดุราย มีความ ใจบาปจิตหยาบร้าย ทารุณ
หยิ่งกําเริบ การไมรูคุณคน สามสิ่ง ก�าเริบเอิบเกินสกุล หยิ่งก้อ
นี้สั่งสอนใหควรเกลียดอยาเขาใกล อีกหนึ่งห่อนรู้คุณ ใครปลูก ฝังแฮ
• กลุมที่ 4 สามสิ่งควรรังเกียจติเตียน ไดแก สามสิ่งควรเกลียดท้อ จิตแท้อย่าสมาน
ชัว่ เลวทราม มายา ฤษยาหรือริษยา
ใจความวา จิตใจชั่วชาไมใชคน Three Things to Despise
แกลงเสแสรงมารยา อิจฉาคนที่ดี สามสิ่งควรรังเกียจติเตียน
กวาตนเอง ใครมีสามสิ่งนี้มิควร Meanness Affectation Envy
ใกลมิควรคบคาดวย ชั่วเลวทราม มารยา ฤษยา
• กลุมที่ 5 สามสิ่งควรเคารพ ไดแก ศาสนา

ความยุติธรรม สละประโยชน ใจชั่วชาติต�่าช้า ทรชน
ตนเอง ใจความวา ศาสนาสั่ง ทุจริตมารยาปน ปกไว้
สอนใหเราปฏิบัติความดี มีความ หึงจิตคิดเกลียดคน ดีกว่า ตัวแฮ
ยุติธรรม ทําเพื่อประโยชนสวนรวม สามส่วนควรเกียจใกล้ เกลียดซ้องสมาคม
สามสิ่งนี้ดีงามควรรูและเคารพจะ
เจริญรุงเรือง)
Three Things to Reverence
ขยายความเข้าใจ Expand สามสิ่งควรเคารพ
Religion Justice Self-denial
นักเรียนยกสถานการณที่เปนปญหาในชีวิต
ศาสนา ยุติธรรม สละประโยชน์ตนเอง
ประจําวัน แลวพิจารณาวาเหตุใดจึงควรหลีกเลี่ยง
สิ่งๆ นั้น ๕
ศาสนาสอนสั่งให้ ประพฤติดี
(แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น หนึ่งยุติธรรมไป่มี เลือกผู้
ไดหลากหลาย โดยคําตอบมีความเกี่ยวของกับ ประพฤติเพื่อประโยชน์ศรี สวัสดิ์ทั่ว กันแฮ
การหลีกเลี่ยงความดุราย ความหยิ่งกําเริบ สามสิ่งควรรอบรู้ เคารพเรื้องเจริญคุณ
และอกตัญู)
106

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ครูปลูกฝงแนวคิดจากโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางคใหนักเรียน โดยใหนักเรียน ศาสนาสอนสั่งให ประพฤติดี
ยกสถานการณที่เปนปญหาขึ้นมา 1 สถานการณ จากนั้นใหนักเรียนชวยกัน หนึ่งยุติธรรมไปมี เลือกผู
พิจารณาปญหาดังกลาววามีสาเหตุมาจากอะไร ครูตั้งประเด็นใหนักเรียนอภิปราย ประพฤติเพื่อประโยชนศรี สวัสดิ์ทั่ว กันแฮ
แสดงความคิดเห็นรวมกัน โดยเริ่มจากถามวา นักเรียนจะสามารถแกไขปญหาดวย สามสิ่งควรรอบรู เคารพเรื้องเจริญคุณ
แนวคิดตางๆ จากโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางคไดหรือไม อยางไร จากขอความในคําประพันธที่ยกมานี้ ขอใดคือสามสิ่งที่ควรเคารพ
1. ศาสนา ยุติธรรม สละประโยชนตนเอง
2. ภิกษุ สามเณร ผูประพฤติธรรม
นักเรียนควรรู 3. พอแม ครูอาจารย ญาติผูใหญ
4. ภิกษุ พอแม ครูอาจารย
1 อกตัญู ในสังคมหลายสังคม เชน สังคมไทย สังคมจีน ลูกหลานจะถูก วิเคราะหคําตอบ จากบทประพันธกลาววา ศาสนาสอนใหประพฤติดี
ปลูกฝงและสั่งสอนใหมีความกตัญูตอบุพการีมากเปนพิเศษ หากใครเปน มีความยุติธรรมกับทุกคน ประพฤติตนเพื่อประโยชนของสวนรวม ถารูเคารพ
ผูอกตัญู มักจะไดรับคําติฉิน ประณามจากคนในสังคม บางสังคมความกตัญู สามสิ่งนี้ คือ ศาสนา ยุติธรรม และสละประโยชนตนเองเพื่อผูอื่นจะเปนคุณ
ถูกบรรจุเปนกฎหมาย เชน ลูกที่ไมเลี้ยงดูบุพการีถือวามีความผิด เปนตน กับตนเอง ตอบขอ 1.

106 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนกลุมที่ 6-8 ถอดคําประพันธเปนความ
Three Things to Delight in เรียงรอยแกว แลวสงตัวแทนกลุมออกมานําเสนอ
สามสิ่งควรยินดี หนาชั้นเรียน
Beauty Frankness Freedom (แนวตอบ ถอดคําประพันธได ดังนี้
งาม ตรงตรง ไทยแก่ตน • กลุมที่ 6 สามสิ่งควรยินดี ไดแก ความงาม
๖ 1 ความตรงตรง ความเปนไทแกตน
สรรพางค์โสภาคพร้อม ธัญลักษณ์ ใจความวา ผูที่มีลักษณะดีพรอม
ภาษิตจิตประจักษ์ ซื่อพร้อม พูดจาดีมีความซื่อตรง และมี
เป็นสุขโสดตนรัก การชอบ ธรรมนา ความเปนอิสระ สามสิ่งนี้หากมี
สามสิ่งควรชักน้อม จิตให้ยินดี ควรยินดีนัก
• กลุมที่ 7 สามสิ่งควรปรารถนา ไดแก
ความสุขสบาย มิตรสหายที่ดีดี
Three Things to Wish for
ใจสบายปรุโปรง ใจความวา มี
สามสิ่งควรปรารถนา
ความสุขกายไมมีโรคใหรําคาญ
Health Friends a Cheerful Spirit
มีเพื่อนที่พึ่งพาได มีจิตใจผองใส
ความสุขสบาย มิตรสหายที่ดีดี ใจสบายปรุโปร่ง
มีความสุข สามสิ่งนี้ควรอยาก

สุขกายวายโรคร้อน ร�าคาญ ไดมาไว
มากเพื่อนผู้วานการ ชีพได้ • กลุมที่ 8 สามสิ่งควรออนวอน ไดแก ความ
จิตแผ้วผ่องส�าราญ รมยสุข เกษมแฮ เชื่อถือ ความสงบ ใจบริสุทธิ์
สามสิ่งควรจักให้ รีบร้อนปรารถนา ใจความวา มีศรัทธาเชื่อมั่น มี
ความสงบชวยดับความโศกเศรา
และมีจิตใจบริสุทธิ์ไมมัวหมอง
Three Things to Pray for สามสิง่ นีค้ วรเฝาอธิษฐานใหไดมา)
สามสิ่งควรอ้อนวอนขอ
Faith Peace 2 Purity of Heart ขยายความเข้าใจ Expand
ความเชื่อถือ ความสงบ ใจบริสุทธิ์
นักเรียนเสนอแนวทางจากแนวคิดที่ไดจาก

ศรัทธาท�าจิตหมั้น คงตรง บทประพันธสามสิ่งควรยินดี สามสิ่งควรปรารถนา
สงบระงับดับประสงค์ สิ่งเศร้า และสามสิ่งควรออนวอนขอ
จิตสะอาดปราศสิ่งพะวง วุ่นขุ่น หมองแฮ • นักเรียนมีแนวทางในการนําคําสอนทั้ง
สามส่วนควรใฝ่เฝ้า แต่ตั้งอธิษฐาน 3 หมวด ไปปฏิบัติอยางไร
(แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบไดหลากหลาย
107 ขึ้นอยูกับเหตุผลของนักเรียน โดยครู
พิจารณาแนวคิดของบทประพันธกับแนวทาง
ในการนําไปปฏิบัติวาสัมพันธกันหรือไม)
ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ขอใดแสดงความประสงคของผูแตง
ครูแนะใหนักเรียนจัดหองเรียนเพื่อสงเสริมการเรียนรู โดยการนําโคลงสุภาษิต
1. หวังสวัสดิ์ขจัดทุกขสราง สืบสรองศุภผล
โสฬสไตรยางคบทตางๆ ไปจัดปายนิเทศในหองเรียน เพื่อใหนักเรียนเกิดความรูสึก
2. ตามแบบบขาดหวิ้น เสร็จแลวสมบูรณ
ชิดใกลในการนําไปปฏิบัติในชีวิตประจําวัน และเปนแหลงความรูในการเรียน
3. เปนมาติกาทาง บัณฑิต แสวงเฮย
วรรณคดีและวรรณกรรมอีกที่หนึ่งที่ชวยพัฒนาความคิดและจิตใจของผูเรียน
4. จบสามสิบหกเคา คะแนนนับ หมวดแฮ
วิเคราะหคําตอบ ในโคลงบทนําของโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางคกลาว
ไววา ผูที่ปฏิบัติตามคําแนะนําผลของความดีนั้นยอมมีแตความสุข ความ นักเรียนควรรู
เจริญรุงเรือง และมีผูคนกลาวคําสรรเสริญ ซึ่งตรงกับขอ 1. “หวังสวัสดิ์
ขจัดทุกขสราง สืบสรองศุภผล” ทั้งนี้พิจารณาไดจากคําวา “หวัง” ซึ่งเปน 1 สรรพางค ปกติอานวา สัน-ระ-พาง แตเมื่ออยูในคําประพันธโคลงสี่สุภาพที่
คําที่แสดงความประสงค ตอบขอ 1. วรรคแรกมี 5 คํา จึงอานวา สัน-พาง หมายความวา ทั้งตัว ทั่วตัว มักใชเขาคูกับ
คําวา “กาย” เปน สรรพางคกาย เชน เจ็บปวดทั่วสรรพางคกาย สารพางค ก็วา
2 ความสงบ ตรงกับพุทธศาสนสุภาษิต “นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ” สุขอื่นยิ่งกวา
ความสงบไมมี

คู่มือครู 107
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนกลุมที่ 9-11 ถอดคําประพันธเปนความ
เรียงรอยแกว แลวสงตัวแทนกลุมออกมานําเสนอ Three Things to Esteem
หนาชั้นเรียน สามสิ่งควรนับถือ
(แนวตอบ ถอดคําประพันธได ดังนี้
Wisdom Prudence Firmness
1
• กลุมที่ 9 สามสิ่งควรนับถือ ไดแก ความมี
ปญญา ความฉลาด ความมั่นคง ปัญญา ฉลาด มั่นคง
ใจความวา การมีปญญา ความ ๙
ฉลาดรอบรู ความมั่นคง เปน ปัญญาตรองตริล�้า ลึกหลาย
สามสิ่งที่ควรแกการนับถือ ฉลาดยิ่งสิ่งแยบคาย คาดรู้
• กลุมที่ 10 สามสิ่งควรจะชอบ ไดแก มั่นคงไม่คืนคลาย คลอนกลับ กลายแฮ
ใจอารีสุจริต ใจดี ความสนุก สามสิ่งควรกอบกู้ กับผู้นับถือ
เบิกบานพรอมเพรียง ใจความวา
การทําสิ่งถูกตอง มีจิตใจ Three Things to Like
โอบออมอารี จิตใจโปรงใส สามสิ่งควรจะชอบ
ไมมัวหมอง มีความสุขพรอมพรั่ง Cordiality Good Humour Mirthfulness
สามสิ่งนี้ควรยินดีที่ไดมี ใจอารีสุจริต ใจดี ความสนุกเบิกบานพร้อมเพรียง
• กลุมที่ 11 สามสิ่งควรสงสัย ไดแก คํายอ ๑๐
หนาเนื้อใจเสือ พลันรักพลันจืด สุจริตจิตโอบอ้อม อารี
ใจความวา คํายกยอง หนากับ ใจโปร่งปราศราคี ขุ่นข้อง
ใจไมตรงกัน พูดจากลับไปกลับ สิ่งเกษมสุขเปรมปรี- ดาพรั่ง พร้อมแฮ
มา สามสิ่งนี้ควรตั้งขอสงสัยไว) สามสิ่งสมควรต้อง ชอบต้องยินดี

ขยายความเข้าใจ Expand Three Things to Suspect


สามสิ่งควรสงสัย
นักเรียนพิจารณาวัยและสถานภาพของการเปน
Flattery Hypocrisy 2 Sudden Affection 3
นักเรียน แลวตอบคําถามตอไปนี้
• นอกเหนือจากสามสิ่งที่ควรนับถือ คือ ยอ หน้าเนื้อใจเสือ พลันรักพลันจืด
ปญญา ฉลาด และมั่นคง มีอะไรอีกบาง ๑๑
ค�ายอยกย่องเพี้ยน ทุกประการ
ที่นักเรียนคิดวาควรนับถือ นักเรียนยกมา พักตร์จิตผิดกันประมาณ ยากรู้
3 อยาง พรอมบอกเหตุผล เร็วรัดผลัดพลันขาน ค�ากลับ4 พลันฤ ๅ
(แนวตอบ นักเรียนตอบไดหลากหลายขึ้นอยูกับ สามส่วนควรแล้วผู้ พะพ้องพึงแคลง
เหตุผลของนักเรียน เชน ความกตัญู สุจริต
108
ความพยายาม และอื่นๆ)

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
“พักตรจิตผิดกันประมาณ ยากรู” มีความหมายตรงกับสํานวนในขอใด
1 มั่นคง ในที่นี้ ความมั่นคง หมายถึง ความมั่นคงทางสภาวะอารมณ ไมหวั่น
1. ใจดีสูเสือ
ไหวไปกับสิ่งยั่วยุ
2. หนาเนื้อใจเสือ
2 หนาเนื้อใจเสือ เปนสํานวนไทยที่มีความหมายวา การที่มีหนาตายิ้มแยม 3. ปากวาตาขยิบ
แจมใส แตภายในใจดุรายหรือคิดทํารายผูอื่น สํานวนนี้มีความหมายใกลเคียงกับ 4. ปากหวานกนเปรี้ยว
สํานวน หนาซื่อใจคด ปากปราศรัยนํ้าใจเชือดคอ เปนตน
วิเคราะหคําตอบ “พักตรจิตผิดกันประมาณ ยากรู” หมายความวา
3 พลันรักพลันจืด เปนสํานวนไทยหมายถึง การไมอยูกับรองกับรอย อาการ หนาตากับจิตใจนั้นตางกันชัดเจน จึงตรงกับสํานวนวา หนาเนื้อใจเสือ
เดี๋ยวดีเดี๋ยวรายหรือการพูดกลับไปกลับมา หมายความวา แสดงความเมตตา แตจิตใจเหี้ยมโหด ตอบขอ 2.
4 พะพอง เปนคําอัพภาส คือ คําประสมที่เกิดจากคํามูลสองคําเสียงซํ้ากัน
ตอมาเสียงคําหนากรอนเหลือเปนเสียงสระอะ ในที่นี้ คือ คําวา “พอง” จากที่เปน
“พองพอง” กรอนเสียงเปน “พะพอง”

108 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนกลุมที่ 12-14 ถอดคําประพันธเปน
Three Things to Avoid ความเรียงรอยแกว แลวสงตัวแทนกลุมออกมานํา
สามสิ่งควรละ เสนอหนาชั้นเรียน
(แนวตอบ ถอดคําประพันธได ดังนี้
Idleness Loquacity Flippant Jesting • กลุมที่ 12 สามสิ่งควรละ ไดแก ความ
เกียจคร้าน วาจาฟั่นเฝือ หยอกหยาบแลแสลงฤ ๅขัดคอ เกียจคราน วาจาฟนเฝอ
๑๒
เกียจคร้านการท่านทั้ง การตน ก็ดี หยอกหยาบแลแสลงฤๅขัดคอ
พูดมากเปล่าเปลืองปน ปดเหล้น
ใจความวา ความเกียจคราน
พูดมากไมเปนความจริง คํา
ค�าแสลงเสียดแทงระคน ค�าหยาบ หยอกฤ ๅ
หยาบคําเสียดสี สามสิ่งนี้ควร
สามสิ่งควรทิ้งเว้น ขาดสิ้นสันดาน
ขจัดไปจากนิสัย
• กลุมที่ 13 สามสิ่งควรจะกระทําใหมี ไดแก
Three Things to Cultivate หนังสือดี เพื่อนดี ใจเย็นดี
สามสิ่งควรจะกระท�าให้มี ใจความวา หนังสือที่ใหความรู
Good Books Good Friends Good Humour
1 เวนการทําไมดี คบเพื่อนที่ดี
หนังสือดี เพื่อนดี ใจเย็นดี ปราศจากความโกรธ สามสิ่งนี้
๑๓
ควรกระทําใหมีไวจะเจริญ
หนังสื2อสอนสั่งข้อ วิทยา • กลุมที่ 14 สามสิ่งควรจะหวงแหนหรือตอสู
เว้นบาปเสาะกัลยาณ์ มิตรไว้ เพื่อรักษา ไดแก ชื่อเสียง
หนึ่งขาดปราศโทสา คติห่อ ใจเฮย เกียรติยศ บานเมืองของตน
สามสิ่งควรมีให้ มากยั้งยืนเจริญ มิตรสหาย ใจความวา ตอสู
เพื่อรักษาความดี และชื่อเสียง
Three Things to Contend for เกียรติยศ ปกปองประเทศของ
สามสิ่งควรจะหวงแหนฤ ๅต่อสู้เพื่อรักษา ตน และมิตรประเทศที่รวมทุกข
Honour Country Friends รวมสุขกันมา สามสิ่งนี้ควรรักษา
ชื่อเสียงยศศักดิ์ บ้านเมืองของตน มิตรสหาย ไวและปกปองจากผูคิดราย)
๑๔
ความดีมีชื่อทั้ง ยศถา ศักดิ์เฮย ขยายความเข้าใจ Expand
ประเทศเกิดกูลพงศา อยู่ยั้ง
คนรักร่วมอัธยา- ศัยสุข ทุกข์แฮ
จากโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางควาดวยสามสิ่ง
ควรละ สามสิ่งควรจะกระทําใหมี สามสิ่งควรจะ
สามสิ่งควรสงวนตั้ง ต่อสู้ผู้เบียน
หวงแหนฤๅตอสูเพื่อรักษา นักเรียนนําไปสํารวจ
109 ตนเอง ดังนี้
• นักเรียนมีหรือไมมีขอใดในโคลงสุภาษิต
ที่กลาวมา
ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ขอใดเปนคําอธิบายขยายความคําวา วาจาฟนเฝอ (Loquacity)
จากโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางคบทที่วาดวย สามสิ่งควรกระทําใหมี ครูจัด
1. คําแสลงเสียดแทงระคน คําหยาบ หยอก
กิจกรรมสงเสริมทักษะการคิดและการนําไปปฏิบัติในชีวิตประจําวัน โดยใหนักเรียน
2. คํายอยกยองเพี้ยน ทุกประการ
ระบุขอมูลและความเห็นของนักเรียนในสามสิ่งที่กลาวถึง คือ หนังสือดี เพื่อนดี
3. สุวภาพพจนภายใน จิตพรอม
และใจเย็นดี ดังนี้ หนังสือดีที่นักเรียนประทับใจคืออะไร เพื่อนดีควรเปนอยางไร
4. พูดมากเปลาเปลืองปน ปดเหลน
และใจเย็นดี นักเรียนควรปฏิบัติในสถานการณใด
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. คําที่เสียดแทง คําหยาบไมเขาหู ขอ 2. วาจาที่
กลาวยกยอกลับผิดเพี้ยนจากความจริง ขอ 3. วาจาที่สุภาพ ขอ 4. พูดมาก
ความปะปนกันยุง คําวา “วาจาฟนเฝอ” หมายความวา ถอยคําที่คลุมเครือ นักเรียนควรรู
ยุงเหยิง ปนคละกันยุง ตรงกับคําประพันธที่วา “พูดมากเปลาเปลืองปน
ปดเหลน” ตอบขอ 4. 1 ใจเย็นดี ในที่นี้ มีความหมายใกลเคียงกับคําวา มีสติ การจะทําสิ่งใดใหคิด
ไตรตรองถึงผลดีผลเสียที่จะเกิดขึ้นทั้งตอตนเองและผูอื่น
2 กัลยาณ ปกติใชเปนบทหนาสมาส หมายความวา งาม ดี ในที่นี้ คือ
กัลยาณ + มิตร หมายความวา มิตรที่ดี

คู่มือครู 109
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนกลุมที่ 15-16 ถอดคําประพันธเปน
ความเรียงรอยแกว แลวสงตัวแทนกลุมออกมานํา Three Things to Govern
เสนอหนาชั้นเรียน สามสิ่งควรครองไว้
(แนวตอบ ถอดคําประพันธได ดังนี้ Temper Impulse1 The Tongue
• กลุมที่ 15 สามสิ่งควรครองไว ไดแก กิริยา กิริยาที่เป็นในใจ มักง่าย วาจา
ที่เปนในใจ ความมักงาย และ ๑๕
อาการอันเกิดด้วย น�้าใจ แปรฤ ๅ
วาจา ใจความวา ระวังการแสดง ใจซึ่งรีบเร็วไว ก่อนรู้
อารมณที่แปรปรวน คําพูดที่จะ วาจาจักพูดใน กิจสบ สรรพแฮ
เปลงออกมา เปนสามสิ่งที่ควร สามสิ่งจ�าทั่วผู้ พิทักษ์หมั้นครองระวัง
ระมัดระวัง Three Things to Wait for
• กลุมที่ 16 สามสิ่งควรจะเตรียมเผื่อ ไดแก สามสิ่งควรจะเตรียมเผื่อ
อนิจจัง ชรา มรณะ ใจความวา Change2 Decay Death4
3
สิ่งใดใดในโลกยอมมีการ อนิจจัง ชรา มรณะ
เปลี่ยนแปลง ความแกชราที่จะ ๑๖
ออนแรงลงทุกวัน ความตายที่ สิ่งใดในโลกล้วน เปลี่ยนแปลง
หนึ่งชราหย่อนแรง เร่งร้น
ติดตามชีวิตเรา สามสิ่งนี้ควร ความตายติดตามแสวง ท�าชีพ ประลัยเฮย
เตรียมการคอยรับไว) สามส่วนควรคิ ดค้น คติรู้เตรียมคอย
๑๗
จบสามสิบหกเค้า คะแนนนับ หมวดแฮ
ขยายความเข้าใจ Expand หมวดละสามคิดสรรพ เสร็จสิ้น
เป็นสี่สิบแปดฉบับ บอกเยี่ยง อย่างแฮ
นักเรียนเสนอแนวคิดในการปฏิบัติตนใหประสบ ตามแบบ บ่ ขาดหวิ้น เสร็จแล้วบริบูรณ์
ความสําเร็จในชีวิต โดยบอกแนวคิดที่นักเรียน
ยึดปฏิบัติมา 3 ขอ และสิ่งที่นักเรียนหลีกเลี่ยง บอกเล่าเก้าสิบ
หรือไมปฏิบัติอีก 3 ขอ อาจตรงกับโคลงสุภาษิต
โสฬสไตรยางคหรือไมก็ได ไตรลักษณ์ สามสิ่งควรจะเตรียมเผื่อ
จากโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ สามสิ่งควรเตรียมเผื่อ ได้แก่ อนิจจัง ชรา มรณะ มีความ
สอดคล้องกับหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา คือ ไตรลักษณ์ อันได้แก่ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ดังนี้
ตรวจสอบผล Evaluate • อนิจจัง คือ ความไม่เที่ยง ไม่แน่นอนของทุกสิ่ง ซึ่งเป็นหนึ่งในสิ่งที่ควรเตรียมเผื่อ
• ทุกขัง คือ ความทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ ต้องแก่ชราลง เก่าลง สอดคล้องกับความชรา
1. นักเรียนถอดคําประพันธโคลงสุภาษิต
ในสามสิ่งควรจะเตรียมเผื่อ
โสฬสไตรยางคได • อนัตตา คือ ความไม่ได้เป็นของตัวตน ไม่มีสิ่งใดเป็นของตน แม้กระทั่งร่างกาย สอดคล้อง
2. นักเรียนวิเคราะหสถานการณในชีวิตประจําวัน กับมรณะ ในสามสิ่งควรเตรียมเผื่อ
(ที่มา: http://www.dhammahome.com)
โดยใชแนวคิดจากโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางคได
3. จากการอานเนือ้ เรือ่ งโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค 110
นักเรียนเสนอแนวคิดที่ยึดเปนหลักปฏิบัติใน
ชีวิตประจําวันได

กิจกรรมสรางเสริม
นักเรียนควรรู
1 มักงาย เปนคําที่แปลมาจาก impulse ในที่นี้ จึงหมายถึง ความปรารถนา นักเรียนเปรียบเทียบคําสอนที่ปรากฏในบทประพันธวาสอดคลองกับ
ที่พลุงขึ้นมาทันที ในความวา “ใจซึ่งรีบเร็วไว กอนรู” สํานวน สุภาษิต คําพังเพย คําคม พุทธศาสนสุภาษิตใดบาง บันทึกลงสมุด
2 อนิจจัง เปนหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนา หมายความถึง สิ่งใดสิ่งหนึ่ง แลวนําสงครูผูสอน
มีการเกิดเปนธรรมดา สิ่งใดสิ่งนั้นยอมมีการดับเปนธรรมดา
3 ชรา เปนหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนา หมายความถึง กําจัดความแกดวย
ทรัพยไมได สังขารเปนทุกขอยางยิ่ง กิจกรรมทาทาย
4 มรณะ เปนหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนา หมายความถึง สัตวโลกทั้งปวง
จักทอดทิ้งรางในโลก
นักเรียนแปลความหมายของคําศัพทยากที่พบในบทประพันธ จัดทํา
เปนตารางคําศัพท พรอมอธิบายความหมาย หรือคําแปลที่สอดคลองกับ
บทประพันธ แลวนําสงครูผูสอน

110 คู่มือครู
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

กระตุน ความสนใจ Engage


นักเรียนแขงขันกันรวบรวมคําที่มีเสียงสัมผัส
๖ คÓศัพท์ ทั้งสัมผัสสระ สัมผัสอักษร ในโคลงสุภาษิต
โสฬสไตรยางคบทใดบทหนึ่ง แลวจดบันทึกลงสมุด
ค�าศัพท์ ความหมาย หากใครสามารถคนหาคําสัมผัสไดครบถวนถูกตอง
กูลพงศา วงศ์ตระกูล มากทีส่ ดุ ครูควรชมเชยและมอบรางวัลใหเปนกําลังใจ
ครอง ด�ารงไว้ รักษาไว้ ในที่นี้หมายถึง ควบคุมให้ได้
1 สํารวจคนหา Explore
ไตรยางค์ สามส่วน องค์สาม
นักเรียนศึกษาความหมายของคําศัพทยากใน
โทสาคติ ความล�าเอียงเพราะความโกรธ
โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค
ธัญลักษณ์ ลักษณะดี
ภาษิต ค�ากล่าวที่ถือเป็นคติ อธิบายความรู Explain
มาติกา แม่บท แม่แบบ นักเรียนจําแนกคําศัพทในโคลงสุภาษิต
เรื้อง เรือง ตามบังคับฉันทลักษณ์ต้องการรูปโท หมายถึง สุกสว่าง โสฬสไตรยางคทใี่ หความหมายในทางเจริญงอกงาม
และที่ใหความหมายในทางตกตํ่าเสื่อมเสีย
ฤษยา ปัจจุบันเขียน ริษยา หมายถึง อาการที่ไม่อยากให้คนอื่นได้ดี
โดยอธิบายความหมายเพิ่มเติมใหชัดเจนยิ่งขึ้น
วานการ ขอให้ช่วยท�ากิจการงานแทนตัว
วายโรค หายจากโรคภัย ขยายความเขาใจ Expand
ศุภผล ผลของความดีงาม นักเรียนเลือกแปลคําศัพทภาษาอังกฤษอื่นๆ
สรรพางค์ ทั่วตัว ทั้งตัว ที่มีความหมายตรงกับคําศัพทภาษาไทยใน
สร้อง (ซ้อง) หมายถึง ร้องสรรเสริญ
โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค มานําเสนอ
แลกเปลี่ยนเรียนรูในชั้นเรียน
สวัสดิ์ ความดีงาม ความเจริญรุ่งเรือง (แนวตอบ ตัวอยางเชน คําวา “ฉลาด”
สุวภาพ สุภาพ คําภาษาอังกฤษที่มีความหมายวาฉลาด เชน
เสี่ยมสาน เสงี่ยมงาม intelligent bright smart wise)
โสภาคย์ ความโชคดี ความเจริญ ตรวจสอบผล Evaluate
2
โสฬส สิบหก
นักเรียนจําแนกคําศัพทจากความหมายของ
อธิษฐาน ต ั้งใจมุ่งผลอย่างใดอย่างหนึ่ง ตั้งจิตปรารถนา ตั้งจิตขอร้องต่อสิ่งที่ตน คําศัพทที่อยูในโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางคได
ถือว่าศักดิ์สิทธิ์เพื่อผลอย่างใดอย่างหนึ่ง
111

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ขอใดมีคําที่หมายความวา หัวขอ แมบท ซึ่งมักใชกับคําวา บังสุกุล
นักเรียนถอดความบทประพั นธบทที่นักเรียนชื่นชอบ 1 ไตรยางค มาจากคําวา ตฺรย หมายความวา สาม และ องคฺ หมายความวา
1. ปราชญ แสดงดําริดวย ไตรยางค
สวน จึงแปลวา สามสวน หรือ องคสาม
2. โสฬสหมดหมวดปาง กอนอาง
3. เปนมาติกาทาง บัณฑิต แสวงเฮย 2 โสฬส อานวา (โส-ลด) เปนคําที่ใชเรียกหนวยเงินของไทยในสมัยโบราณ
4. หวังสวัสดิ์ขจัดทุกขสราง สืบสรองศุภผล ตั้งแตสมัยสุโขทัย มีคาเทากับ 1/128 บาท หรือ 1/16เฟอง มีมาตราเทียบวัด ดังนี้
2 โสฬส เทากับ 1 อัฐ
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. กลาววาผูรูแสดงปญญาดวยไตรยางค ขอ 2. รู 2 อัฐ เทากับ 1 ไพ
โสฬสทั้งหมดกอนกลาวอาง ขอ 3. เปนแมบทใหบัณฑิตหาความรู และขอ 4. 4 ไพ เทากับ 1 เฟอง
เพื่อขจัดสิ่งไมดี สรางแตสิ่งที่ดี จึงเห็นไดวา ขอ 3. มีคําวา “มาติกา” ที่ 2 เฟอง เทากับ 1 สลึง
หมายความวา หัวขอหรือแมบท โดยมักใชวา “มาติกาบังสุกุล” ตอบขอ 3. 4 สลึง เทากับ 1 บาท
4 บาท เทากับ 1 ตําลึง
20 ตําลึง เทากับ 1 ชั่ง

คูมือครู 111
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
Engage Explore Explain Expand ตรวจสอบผล
Evaluate
กระตุน ความสนใจ Engage
1. ครูใหนักเรียนสํารวจลักษณะนิสัยของตนเอง
จากนั้นจับคูกัน ๗ บทวิเคราะห์
• เขียนขอดีและขอเสียของตนเองอยางละ
โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ทั้ง ๑๖ หมวด กล่าวถึงสิ่งที่แนะน�าบุคคลให้กระท�าและห้าม
3 ขอ ลงในสมุด และใหเพื่อนแสดงความเห็น
ไม่ให้กระท�า หมวดละ ๓ ประการ นับว่ามีคุณค่า เป็นคติข้อคิดที่น�าไปประพฤติปฏิบัติแล้วเกิดผลดี
วาเปนจริงหรือไม
และเป็นประโยชน์ต่อการด�ารงชีวิต
2. จากขอเสียของตนเองที่เพื่อนเห็นวาเปนจริง ให
นอกจากสิ่งที่ควรท�าแล้ว ยังกล่าวถึงสิ่งที่ควรละเว้น มิฉะนั้นจะท�าให้ชีวิตเป็นทุกข์ ดังความใน
นักเรียนเสนอแนวทางการปรับปรุงตนเอง
บทที่ ๔ ที่กล่าวถึง สามสิ่งควรรังเกียจติเตียน ได้แก่ ชั่วเลวทราม มารยา ริษยา อันเป็นสิ่งที่ท�าให้ชีวิต
เป็นทุกข์ จึงควรละเว้น
สํารวจคนหา Explore
๗.๑ คุณค่าด้านเนือ้ หา
1. นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับคุณคาดานเนื้อหา ๑) ให้แนวทางในการด�าเนินชีวิต โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์มีเนื้อหาที่แสดงให้
วรรณศิลปและสังคมในโคลงสุภาษิต เห็นอย่างเด่นชัดว่า สิง่ ใดเป็นสิง่ ดีทคี่ วรปฏิบตั แิ ละสิง่ ใดเป็นสิง่ ไม่ด ี ควรหลีกเลีย่ งไม่ปฏิบตั ิ แนวทางการ
โสฬสไตรยางค ด�าเนินชีวติ ทีน่ า� เสนอนีเ้ ป็นวิธปี ฏิบตั ทิ จี่ ะช่วยให้คนผูน้ นั้ เป็นคนดี สามารถพัฒนาตนเองและเกิดความสุข
2. นักเรียนศึกษาแนวทางในการนําขอคิดที่ไดจาก ในชีวิต ตัวอย่างเช่น สามสิ่งที่ควรนับถือ ได้แก่ ปัญญา ฉลาด มัน่ คง ทัง้ สามสิ่งนี้ถา้ ผูอ้ ่านน�าไปปฏิบตั ิจะ
โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางคไปปฏิบัติ ท�าให้เกิดการพัฒนาตนเอง เป็นคนที่มีสติปัญญา รู้คิด มีความคิดที่มั่นคง สามารถคิดแก้ปัญหาในชีวิต
ได้ลลุ ว่ ง หรือสามสิง่ ทีค่ วรวอนขอ ได้แก่ ความเชือ่ ถือ ความสงบ และใจบริสทุ ธิ ์ หากมีสามสิง่ นีแ้ ล้วจะมี
อธิบายความรู Explain จิตใจงาม ไม่หวั่นไหวกับสิ่งที่เข้ามากระทบในชีวิต คนผู้นั้นจึงมีความสุขปราศจากความทุกข์ เป็นต้น
๒) ให้ข้อคิดในการอยู่ร่วมกันในสังคม โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์มีเนื้อหาที่ให้
นักเรียนอานและพิจารณาคุณคาดานเนื้อหา
ข้อคิดว่าคนในสังคมควรประพฤติปฏิบัติตนอย่างไร เพื่อจะท�าให้คนทุกคนสามารถอยู่ร่วมกันในสังคม
ของโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค จากนั้นครูสุมให
ได้อย่างปกติสุข ตัวอย่างเช่น สามสิ่งควรติ ได้แก่ ความชั่ว มารยา และริษยา สามสิ่งนี้เป็นสิ่งไม่ดีที่จะ
นักเรียน 2-3 คน ตอบคําถามในประเด็นตอไปนี้
ท�าให้คนในสังคมเกิดความเข้าใจผิดกัน เกิดความขัดแย้ง ท�าให้สังคมไม่สงบสุข
• โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางคแสดงสัจธรรม
๓) แสดงสัจธรรมของชีวิต โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ได้แสดงให้เห็นสัจธรรมหรือ
ของชีวิตอยางไร
ความเป็นจริงของชีวิต ท�าให้ผู้อ่านเข้าใจความเป็1นไปและสามารถเตรียมใจรับมือกับสิ่งที่เกิดขึ้นได้
(แนวตอบ แสดงถึงความจริงของชีวิตที่มีการ
ตัวอย่างเช่น สามสิ่งควรเตรียมใจเผื่อ ได้แก่ อนิจจัง ชรา มรณะ คือ ความเปลี่ยนแปลง ความเสื่อมถอย
เกิด แก เจ็บ ตาย วาเปนธรรมดา ชีวิตมี
ของสรรพสิ่งและความดับสูญ ทั้งสามสิ่งเป็นสิ่งที่ต้องเกิดขึ้นกับทุกสิ่งในโลก ถือเป็นสัจธรรมที่ทุกคน
ความไมเที่ยงแทแนนอน เพื่อจะไดเตรียม
ควรตระหนักรู้ เพื่อจะได้เข้าใจในความไม่แน่นอนของชีวิตและเตรียมใจรับมือกับสิ่งเหล่านั้น
รับมือกับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต)
๗.๒ คุณค่าด้านวรรณศิลป์
ขยายความเขาใจ Expand ๑) กวีเลือกใช้ถ้อยค�าที่สละสลวยเข้าใจง่าย แปลศัพท์ภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย
ได้อย่างสอดคล้องเหมาะสม
2 นอกจากนี้ยังมีการอธิบายขยายความส่วนที่แปลเป็นไทย นับว่าเป็น
นักเรียนยกบทประพันธในโคลงสุภาษิต ใจของคนไทย แสดงถึงความสามารถของกวี ดังโคลงสุภาษิต
การปรับให้เข้ากับค่านิยมและความเข้าใจของคนไทย
โสฬสไตรยางคที่แสดงสัจธรรมของชีวิต หมวดที่ ๑๕
112

บูรณาการเชื่อมสาระ
เกร็ดแนะครู ครูบูรณาการความรูจากบทวิเคราะหคุณคาดานเนื้อหาในโคลงสุภาษิต
ครูแนะความรูใหนักเรียนพิจารณาโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางคในแงวรรณคดี โสฬสไตรยางค เรื่องการแสดงสัจธรรมของชีวิต ที่ใหขอคิดการปฏิบัติตน
คําสอน ซึ่งสอนเกี่ยวกับการประพฤติตนที่ครอบคลุมกวางขวางในหลายระดับ ในการดําเนินชีวิต เขากับกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และ
ตั้งแตระดับปจเจกบุคคล สังคม และประเทศชาติ อีกทั้งยังเปนขอแนะนําในเรื่อง วัฒนธรรม วิชาพระพุทธศาสนา ซึ่งเปนหลักปฏิบัติที่ทุกคนสามารถเขาใจ
การเตรียมใจใหพรอมสําหรับการเปลี่ยนแปลง ที่เปนสัจธรรมในชีวิต และนําไปปฏิบัติได ไดแก ความไมเที่ยงแทแนนอน ความชรา และ
ความตาย ซึ่งจะชวยใหเราเขาใจชีวิต ไมประมาท มีความระมัดระวัง
และรูจักยอมรับสิ่งที่เปลี่ยนแปลงในชีวิต ไมปลอยใหตัวเองทุกขเศรา
นักเรียนควรรู อยูกับเรื่องที่ผิดหวัง เขาใจธรรมชาติของชีวิต ดําเนินชีวิตอยางมีความสุข

1 อนิจจัง แปลวา ไมเที่ยง ไมยั่งยืน ไมมั่นคง ไมแนนอน หรือ ตั้งอยูในสภาวะ


เดิมไดยาก โดยทั่วไปหมายถึง สังขารธรรม อันไดแก ขันธ 5
2 คานิยม หมายถึง แนวความคิดหรือการกระทําที่สังคมใหคุณคาและปฏิบัติ
ในแนวทางเดียวกัน โดยมีที่มาจากศาสนา อาชีพ ความเปนอยู

112 คูมือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับคุณคาดานวรรณศิลป
Three Things to Govern จากประเด็นคําถามดังตอไปนี้
สามสิ่งควรครองไว้ • นักเรียนคิดวากวีมีกลวิธีเลือกใชถอยคํา
Temper Impulse The Tongue
อยางไรใหผูอานเขาใจงายขึ้น
(แนวตอบ กวีแปลศัพทภาษาอังกฤษเปน
กิริยาที่เป็นในใจ มักง่าย วาจา
ภาษาไทยอยางเหมาะสม โดยมีการอธิบาย
อาการอันเกิดด้วย น�้าใจ แปรฤ ๅ ขยายความในคําที่แปลเปนภาษาไทย
ใจซึ่งรีบเร็วไว ก่อนรู้ เพิ่มเติมอีก)
วาจาจักพูดใน กิจสบ สรรพแฮ • สัมผัสที่พบในบทประพันธมีสัมผัสชนิดใด
สามสิ่งจ�าทั่วผู้ พิทักษ์หมั้นครองระวัง บางและมีความโดดเดนอยางไร
(แนวตอบ มีสัมผัสในทั้งสัมผัสสระ
“พิทักษ์หมั้นครองระวัง” ค�าว่า ครอง ในที่นี้มิได้มีความหมายตรงตามรูปศัพท์ว่า
และสัมผัสอักษร และสัมผัสนอกที่เปน
ด�ารงไว้ แต่กล่าวถึง ๓ สิ่งที่ควรครองไว้กับตน คือ ต้องระมัดระวังอารมณ์ ความปรารถนา และวาจา
ไปตามลักษณะบังคับ เลือกใชคําที่มี
๒) มี ก ารใช้ สั ม ผั ส ในวรรค ทั้ ง สั ม ผั ส สระ สั ม ผั ส อั ก ษร ท� า ให้ บ ทประพั น ธ์ มี
ความคลองจองกัน สามารถจดจําไดงาย)
ความไพเราะ ดังบทประพันธ์

สุจริตจิตโอบอ้อม อารี ขยายความเข้าใจ Expand


ใจโปร่งปราศราคี ขุ่นข้อง นักเรียนยกโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางคที่แสดง
สิ่งเกษมสุขเปรมปรี- ดาพรั่ง พร้อมแฮ ใหเห็นวา กวีเลือกใชถอยคําที่สละสลวยเขาใจงาย
สามสิ่งสมควรต้อง ชอบต้องยินดี พรอมอธิบาย
จากบทประพันธ์ บาทที่ ๑ วรรคแรก ค�าว่า จริต - จิต เป็นสัมผัสสระ ค�าว่า โอบ - อ้อม (แนวตอบ ตัวอยางโคลงที่กวีเลือกใชคําที่สละ
เป็นสัมผัสอักษร บาทที่ ๒ ค�าว่า โปร่ง - ปราศ และ ขุ่น - ข้อง เป็นสัมผัสอักษร บาทที่ ๓ ค�าว่า สลวยเขาใจงาย เชน สามสิ่งควรนับถือ ไดแก
สิ่ง - เ(ก)ษม - สุข เปรม - ปรี และ พรั่ง - พร้อม เป็นสัมผัสอักษร เกษม - เปรม เป็นสัมผัสสระ บาทที่ ๔ ปญญา (Wisdom) ฉลาด (Prudence) มั่นคง
ค�าว่า สาม - สิ่ง - สม เป็นสัมผัสอักษร
(Firmness)
“ปญญาตรองตริลํ้า ลึกหลาย
โคลงแต่ละบทขยายความสุ
1 ภาษิตแต่ละหมวด ซึ่งมี ๓ ข้อ โคลงหนึ่งบทมี ๔ บาท
ฉลาดยิ่งสิ่งแยบคาย คาดรู
โดย ๓ บาทแรกกล่าวถึงสุภาษิตแต่ละหมวดอย่างกระชับและวรรคหน้าของบาทที่ ๔ จะขึ้นต้นด้วย
มั่นคงไมคืนคลาย คลอนกลับ กลายแฮ
ค�าว่า สามสิ่ง สามส่วน ดังตัวอย่างเช่น สามสิ่งควรรักน้อม จิตให้สนิทจริง สามส่วนควรเกียจใกล้
สามสิ่งควรกอบกู กับผูนับถือ”
เกลียดซ้องสมาคม เป็นต้น
กวีใชคําวา “ตรองตริ” “แยบคาย” “มั่นคง” “ไมคืน
ซึ่งการกล่าวซ�้าค�าว่า สามสิ่ง สามส่วน จะช่วยเน้นย�้าน�้าหนักของสิ่งที่โคลงสุภาษิต
คลายคลอน” ซึ่งเปนคําที่เขาใจงาย ชัดเจน วางคํา
สอนให้ชัดเจน เป็นการเน้นความส�าคัญของเนื้อหาได้อีกทางหนึ่ง รวมทั้งท�าให้ผู้อ่านสามารถจดจ�า สละสลวย และคํามีความหมายไปในทางเดียวกัน)
เนื้อความได้ง่ายขึ้น
113

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ขอใดมีสัมผัสในมากที่สุด
1 สุภาษิต ถอยคําหรือขอความที่กลาวสืบตอกันมาชานานแลว มีความหมาย
1. สิ่งใดในโลกลวน เปลี่ยนแปลง
เปนคติสอนใจ สุภาษิตหรือภาษิต ตองประกอบไปดวยลักษณะ 2 ประการ คือ ขอ
2. หนึ่งชราหยอนแรง เรงรน
ความสั้นๆ แตกินความลึกซึ้ง และเปนลักษณะคําสอนหรือวางหลักความจริง เชน
3. ความตายติดตามแสวง ทําชีพ ประลัยเฮย
รักยาวใหบั่นรักสั้นใหตอ นํ้าเชี่ยวอยาขวางเรือ เปนตน
4. สามสวนควรคิดคน คติรูเตรียมควร
การรูสุภาษิตมากๆ มีประโยชนอยางนอย 3 ประการ คือ ทําใหเกิดความคิด
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. สัมผัสอักษรมี โลก-ลวน, เปลี่ยน-แปลง สัมผัส ลึกซึ้ง ทําใหรูจักประพฤติตัวดีขึ้น ทําใหทราบถึงนิสัยใจคอ และจารีตประเพณีของ
สระมี ใด-ใน ขอ 2. สัมผัสอักษรมี (ช)รา-แรง, เรง-รน ขอ 3. สัมผัสอักษร สังคมตางๆ ที่สําคัญ คือ การไดแงคิด มุมมอง ที่สามารถนําไปใชกับการดํารงชีวิต
มี ตาย-ติด-ตาม สัมผัสสระมี ความ-ตาม และขอ 4. สัมผัสอักษรมี สาม- ประจําวันได
สวน, ควร-คิด-คน, ค(ติ)-ควร สัมผัสสระมี สวน-ควร ขอ 4. แทบทุกคํา
มีเสียงสัมผัสกัน ตอบขอ 4.

คู่มือครู 113
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนอานบทวิเคราะหคุณคาดานสังคม
โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค ครูสุมนักเรียน 2-3 คน ๗.๓ คุณค่าด้านสังคม
ตอบคําถามในประเด็นตอไปนี้ โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ กล่าวถึงสิ่งที่ควรท�าตามและควรละเว้นการกระท�า เพื่อให้
• โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค สะทอนคานิยม เกิดความสุขแก่ผู้ที่ปฏิบัติตาม ซึ่งสิ่งที่กวีประพันธ์ไว้ในโคลงสะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมและค่านิยมที่ดี
ในสังคมไทยอยางไรบาง ได้อย่างเด่นชัด ดังนี้
(แนวตอบ สะทอนใหเห็นสิ่งที่บุคคลในสังคม ๑) สะท้อนค่านิยม โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์สะท้อนให้เห็นสิ่งที่บุคคลส่วนใหญ่
ในสั ง คมยึ ด ถื อ ส� า หรั บ เป็ น เครื่ อ งช่ ว ยในการตั ด สิ น ใจกระท� า บางสิ่ ง บางอย่ า งหรื อ ตั ด สิ น สิ่ ง ใด
ยึดถือเปนเครื่องชวยในการตัดสินใจ และเปน สิ่งหนึ่ง ดังบทประพันธ์
คานิยมที่คนในสังคมยึดถือเปนแบบอยางที่
ดีงามในการดําเนินชีวิต เชน อํานาจปญญา Three Things to Admire
สามสิ่งควรชม
เกียรติยศ และความมีมารยาทดี)
• โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค สะทอนความ Intellectual Power Dignity Gracefulness
อ�านาจปัญญา เกียรติยศ มีมารยาทดี
เชื่อทางศาสนาอยางไรบาง
(แนวตอบ สะทอนความเชื่อทางศาสนาที่บุคคล ปัญญาสติล�้า เลิศญาณ
อ�านาจศักดิ์ศฤงคาร มั่งขั้ง
ใชความศรัทธาในการเลือกที่จะเชื่อ และหาก
มารยาทเรียบเสี่ยมสาน เสงี่ยมเงื่อน งามนอ
ปฏิบัติตามความเชื่อจะกอใหเกิดสิ่งดีงาม สามสิ่งควรจักตั้ง แต่ซ้องสรรเสริญ
แตหากไมเชื่อจะกอใหเกิดความทุกขในภาย
ภาคหนา รวมถึงสะทอนความเชื่อเรื่อง จากบทประพันธ์สะท้อนให้เห็นค่านิยมที่เป็นสากลในเรื่องการชื่นชมบุคคลผู้มีอ�านาจ
วัฏสงสาร คือการเวียนวายตายเกิดดวย) การชื่นชมผู้ที่มีเกียรติยศและมักต้องการให้ตนเองหรือบุคคลในครอบครัวเป็นคนมีเกียรติ เป็นที่เคารพ
นับถือชืน่ ชมของบุคคลทัว่ ไป รวมทัง้ สะท้อนถึงการชืน่ ชมคนทีม่ มี ารยาทดี มีความสงบเสงีย่ ม เรียบร้อย
นอกจากนีย้ งั สะท้อนให้เห็นสิง่ ทีส่ งั คมไม่ตอ้ งการให้เกิดขึน้ ด้วย ซึง่ ถือว่าหากผูใ้ ดปฏิบตั ิ
ขยายความเข้าใจ Expand ดังนี้แล้วจะเป็นที่รังเกียจของผู้อื่น ดังบทประพันธ์
นักเรียนพิจารณาเปรียบเทียบคานิยมของ Three Things to Hate
สังคมไทยในโคลงสุภาษิตกับคานิยมไทยในปจจุบัน สามสิ่งควรเกลียด
• คานิยมในปจจุบันเปรียบเทียบกับคานิยม Cruelty Arrogance Ingratitude
ที่ปรากฏในเนื้อเรื่องโคลงสุภาษิตโสฬส ความดุร้าย ความหยิ่งก�าเริบ อกตัญญู
ไตรยางค เหมือนหรือตางกันอยางไร ใจบาปจิตหยาบร้าย ทารุณ
(แนวตอบ คานิยมที่ปรากฏในสังคมไทย ก�าเริบเอิบเกิ1 นสกุล หยิ่งก้อ
ปจจุบันไดรับการถายทอดจากคานิยมในสมัย อีกหนึ่งห่อนรู้คุณ ใครปลูก ฝังแฮ
กอนที่ปรากฏในโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค สามสิ่งควรเกลียดท้อ จิตแท้อย่าสมาน
ดังนัน้ คานิยมทัง้ สองสมัยจึงไมตา งกันมากนัก จากบทประพันธ์สะท้อนให้เห็นค่านิยมของคนในสังคมที่เห็นว่าการแสดงนิสัยดุร้าย
แตดวยสภาพสังคมปจจุบันเปลี่ยนแปลงไป ความหยิง่ ยโสโอหัง และความอกตัญญูไม่รจู้ กั บุญคุณคน บุคคลในลักษณะเช่นนีเ้ ป็นทีร่ งั เกียจของสังคม
จึงทําใหคานิยมดังที่ปรากฏในโคลงสุภาษิต
โสฬสไตรยางคลดความสําคัญลง เชน สามสิ่ง 114
ควรชม สามสิ่งควรเกลียด เปนตน)

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ในการทํากิจกรรมขั้นขยายความเขาใจที่ใหนักเรียนเปรียบเทียบคานิยมในสังคม สุภาษิตหมวดใดที่เปนประโยชนแกสวนรวมมากที่สุด
ครูแนะใหนักเรียนพึงระวังที่จะไมนําคานิยมในปจจุบันไปตัดสินคานิยมในสมัยกอน 1. ศาสนา ยุติธรรม สละประโยชนสวนตน
ครูแนะใหนักเรียนเขาใจเพิ่มเติมวา การเปรียบเทียบคานิยมแตละสมัยในวรรณคดี 2. ความกลา ความสุภาพ ความรักใคร
เพื่อใหนักเรียนเขาใจจุดมุงหมายของกวีและเขาใจเนื้อเรื่องมากขึ้น และเพื่อให 3. ความเชื่อถือ ความสงบ ใจบริสุทธิ์
นักเรียนสามารถนําขอคิด คําสอนจากเนื้อเรื่องมาประยุกตใชในชีวิตของตนเองได 4. งาม ตรงตรง ไทแกตน
วิเคราะหคําตอบ สุภาษิตหมวดที่วาดวย “ศาสนา ยุติธรรม สละประโยชน
สวนตน” เปนหมวดที่วาดวย สามสิ่งควรเคารพ ถาคนเรายึดมั่นในศาสนา
นักเรียนควรรู ก็จะรูจักการเสียสละ เพราะในศาสนามีคําสอนเรื่องความเสียสละ มีความ
ยุติธรรม ดังนั้นจึงตอบขอ 1.
1 หอน หมายความวา “เคย” เชน “ไปหอนเหลือคิดขา คิดผิด แมนา” ในลิลิต
พระลอ ในคําประพันธบางคราวใชแทน “ไม” เชน “สาลิกามาตามคู ชมกันอยูสูสม
สมร แตพนี่ อี้ าวรณ หอนเห็นเจาเศราใจครวญ” บทเหชมนก ในกาพยเหเรือเจาฟากุง
ในที่นี้ “อีกหนึ่งหอนรูคุณ ใครรู ฝงแฮ” หมายความวา “ไม”

114 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนพิจารณาขอคิดจากโคลงสุภาษิตโสฬส
๒) สอดคล้องกับความเชื่อทางศาสนา โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์เป็นวรรณคดีที่ ไตรยางคที่สามารถนําไปประยุกตใชในชีวิต
สอดคล้องกับความเชือ่ ทางศาสนาโดยเชือ่ ว่าหากปฏิบตั จิ ะท�าให้เกิดความเจริญรุง่ เรืองหรือเกิดประโยชน์ ประจําวัน แลวตอบคําถามในประเด็นตอไปนี้
ต่อตนเองในภายหน้าหรือหากไม่ปฏิบัติตามจะท�าให้เกิดความทุกข์ต่อตนเอง ดังบทประพันธ์ • โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางคสอนเกี่ยวกับ
Three Things to Wait for การปฏิบัติตนใหเปนที่รักใครและประสบ
สามสิ่งควรจะเตรียมเผื่อ ความสําเร็จอยางไร
Change Decay Death (แนวตอบ แสดงใหเห็นสิ่งที่ควรปฏิบัติและ
อนิจจัง ชรา มรณะ ไมควรปฏิบัติในการดํารงชีวิต)
สิ่งใดในโลกล้วน เปลี่ยนแปลง • โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางคใดสอนใหรูวา
หนึ่งชราหย่อนแรง เร่งร้น สิง่ ใดทีไ่ มควรปฏิบตั ิ หากปฏิบตั จิ ะทําใหเปน
ความตายติดตามแสวง ท�าชีพ ประลัยเฮย ที่รังเกียจในสังคม
สามส่วนควรคิดค้น คติรู้เตรียมคอย (แนวตอบ การกระทําบางอยางไมควรแสดง
1
จากบทประพันธ์สอดคล้องกับความเชื่อทางศาสนาในเรื่องความไม่แน่นอนของชีวิต ตอผูอื่นอยางยิ่ง เชน ความฤษยา ความชั่ว
ทุกชีวิตต้องมีเกิด แก่ เจ็บ และตาย ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่จีรัง การเสแสรง หากกระทําลงไปจะทําใหเปนที่
๗.๔ ข้อคิดที่สามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวัน รังเกียจในสังคม ไมมีผูคบคาสมาคมดวย)
โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์เป็นสุภาษิตทีส่ อนให้ผอู้ า่ นเห็นถึงสิง่ ทีค่ วรกระท�าและไม่ควร
กระท�า ซึ่งผู้อ่านสามารถน�าข้อคิดที่ได้จากการอ่านมาปรับใช้ในชีวิตประจ�าวันได้ โดยโคลงสุภาษิต ขยายความเข้าใจ Expand
โสฬสไตรยางค์แบ่งเรื่องที่ควรปฏิบัติออกเป็น ๑๒ ข้อ และไม่ควรปฏิบัติ ๔ ข้อ
๑) ข้อควรปฏิบัติเพื่อการเป็นที่รักใคร่และประสบความส�าเร็จ โคลงสุภาษิต นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นในประเด็น
โสฬสไตรยางค์แสดงให้เห็นสิ่งที่ควรน�ามาปฏิบัติในชีวิตประจ�าวัน เพื่อส่งเสริมบุคลิกภาพของตน ตอไปนี้
ให้เป็นทีร่ กั ใคร่ของบุคคลทัว่ ไป เช่น สามสิง่ ควรปรารถนา ได้แก่ ความสุขสบาย มิตรทีด่ ี และจิตใจสบาย • นักเรียนมีวิธีการนําขอคิดจากโคลงสุภาษิต
ดังบทประพันธ์ โสฬสไตรยางคไปใชอยางไร จึงจะทําให
Three Things to Wish for ชีวิตประสบความสําเร็จ
สามสิ่งควรปรารถนา (แนวตอบ นักเรียนตอบไดหลากหลายขึ้นอยู
Health Friends 2 a Cheerful Spirit กับประสบการณและเหตุผลของนักเรียน
ความสุขสบาย มิตรสหายที่ดีดี ใจสบายปรุโปร่ง การนําขอคิดจากโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค
สุขกายวายโรคร้อน ร�าคาญ ไปประยุกตใช ลวนแลวแตเปนหนทางสูการ
มากเพื่อผู้วานการ ชีพได้ ประสบความสําเร็จในชีวิต)
จิตแผ้วผ่องส�าราญ รมยสุข เกษมแฮ
สามสิ่งควรจักให้ รีบร้อนปรารถนา

115

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
สิ่งใดในโลกลวน เปลี่ยนแปลง
1 ความเชื่อทางศาสนา พระพุทธศาสนากับคนไทยมีความสัมพันธแนบแนนเปน
หนึ่งชราหยอนแรง เรงรน
อันหนึ่งอันเดียวกัน ดังเห็นไดจากภาษาไทยมีถอยคําสวนใหญมาจากภาษาบาลีและ
ความตายติดตามแสวง ทําชีพ ประลัยเฮย
ภาษาสันสกฤต นอกจากภาษาแลว วรรณกรรมไทยสวนใหญกม็ าจากคัมภีรพ ระพุทธ
สามสวนควรคิดคน คติรูเตรียมคอย
ศาสนา กวีนพิ นธและวรรณคดีทเี่ ปนมรดกสืบทอดมาก็เปนเรื่องของพระพุทธศาสนา
คําประพันธที่ยกมานี้บอกถึง อนิจจัง ชรา และมรณะ ตรงกับขอใด
โดยตรง เชน ไตรภูมิพระรวง ปฐมสมโพธิกถา มหาชาติคําหลวง ปุณโณวาทคําฉันท
1. สุขใดไปสุขเถา นฤพาน
เปนตน แมแตในวรรณกรรมปจจุบัน นักเรียนจะสังเกตไดวามีคติทางพระพุทธศาสนา
2. โคควายวายชีพได เขาหนัง
อยูดวย เชน ในเรื่องการทําดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว ความกตัญูกตเวที เปนตน
3. ใดใดในโลกลวน อนิจจัง
4. สนิมเหล็กเกิดแตเนื้อ ในตน 2 มิตรสหายที่ดีดี ตรงกับสํานวนที่วา “คบคนพาลพาลพาไปหาผิด คบบัณฑิต
บัณฑิตพาไปหาผล” สํานวนนี้ มีความหมายหรือคําบรรยายอยูในตัวแลว คือคบ
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. หมายความวา ความสุขสูงสุด คือ การนิพพาน คนชั่ว คนชั่วก็ชักพาเราใหพลอยไปทําชั่วดวย ถาคบคนดีมีความรู ก็ทําใหเราไดรับ
ขอ 2. หมายความวา โคควายเมื่อตายไปแลวยังเหลือเขาและหนังไวทํา ผลดีหรือไดรับความรูตามไปดวย ดังนั้นจึงควรคบมิตรที่ดี เพื่อใหเราจะไดไปใน
ประโยชน ขอ 3. หมายความวา ทุกสิ่งทุกอยางในโลกไมมีอะไรแนนอน ทางที่ดีดวย
และขอ 4. สนิมหรือบาปเกิดจากตนเอง ขอที่สอดคลองกับอนิจจัง ชรา
และมรณะ คือ ไมมีอะไรแนนอน ตอบขอ 3.
คู่มือครู 115
ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ Expand Evaluate
Engage Explore Explain
ขยายความเข้าใจ Expand
นักเรียนเขียนความเรียงขนาดสั้นเกี่ยวกับ
“การปฏิบัติตนใหเปนที่รักใครของคนทั่วไป” จากบทประพันธ์แสดงให้เห็นว่าสิง่ ทีท่ กุ คนปรารถนา คือ ความสุขสบาย มีใจทีป่ ลอดโปร่ง
ความยาว 1 หนากระดาษรายงาน จะท�าให้เกิดความส�าราญ การมีเพื่อนที่ดีสามารถช่วยเหลือเกื้อกูลกันได้เป็นสิ่งที่ควรจะท�าให้เกิดขึ้น
๒) ข้อไม่ควรปฏิบตั หิ ากผูใ้ ดท�าแล้วจะเป็นทีร่ งั เกียจของสังคม โคลงสุภาษิตโสฬส
ตรวจสอบผล Evaluate ไตรยางค์แสดงให้เห็นสิง่ ทีไ่ ม่ควรน�ามาปฏิบตั ิ เพราะอาจเกิดผลเสียต่อตนเอง เช่น สามสิง่ ทีค่ วรรังเกียจ
ติเตียน ดังบทประพันธ์
1. นักเรียนยกบทประพันธในโคลงสุภาษิต
โสฬสไตรยางคที่แสดงสัจธรรมของชีวิต Three Things to Despise
2. นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นในการนํา สามสิ่งควรรังเกียจติเตียน
ขอคิดจากโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางคไปใชให
Meanness Affectation Envy
ชีวิตประสบความสําเร็จ
ชั่วเลวทราม มารยา ฤษยา
ใจชั่วชาติต�่าช้า ทรชน
ทุจริตมารยาปน ปกไว้
หึงจิตคิดเกลียดคน ดีกว่า ตัวแฮ
สามส่วนควรเกียจใกล้ เกลียดซ้องสมาคม

จากบทประพันธ์ให้ข้อคิดว่า คนที่มีความประพฤติชั่วช้า เลวทราม มีความคดโกง มี


เล่ห์เหลี่ยม เล่ห์กล เสแสร้งท�ามารยา และผู้ที่มีจิตใจอิจฉาริษยาไม่อยากให้ผู้อื่นได้ดี จะเป็นที่รังเกียจ
ของคนในสังคม ไม่มีผู้ใดอยากคบหาด้วย
โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ

๑ ความเป็นมา 1
เป็นวรรณคดีประเภทค�าสอนทีพ่ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงพระราชนิพนธ์ขนึ้
โดยแปลจากภาษาอังกฤษมาเป็นโคลงสี่สุภาพ เนื้อหาแบ่งเป็น ๓ ส่วน ได้แก่ บทน�า ๑ บท เนื้อเรื่อง
๑๐ บท และบทสรุป ๑ บท เริ่มจากบทน�ากล่าวว่า ผู้รู้ที่ได้ไตร่ตรองแล้วจึงกล่าวค�าสอนเป็นแนวทาง
ที่ควรประพฤติ ๑๐ ประการ ชื่อว่า ทศนฤทุมนาการ หมายถึง กิจ ๑๐ ประการที่ผู้ประพฤติยังไม่เคย
เสียใจ ส่วนเนือ้ เรือ่ งเป็นข้อแนะน�าทัง้ ทางด้านการคิด การพูด และการกระท�าเพือ่ ให้ประพฤติปฎิบตั ติ น
ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และบทสรุปกล่าวว่า ทุกคนควรพิจารณาแนวทางทั้ง ๑๐ ประการนี้ ถึงแม้จะ
ประพฤติตามไม่ครบถ้วน แต่ประพฤติได้บ้างก็ยังดี

116

กิจกรรมสรางเสริม
นักเรียนควรรู
1 วรรณคดีประเภทคําสอน มีสาระสําคัญที่เนนการอบรม สั่งสอนในดานตางๆ นักเรียนหานิทานที่มีคติเตือนใจสอดคลองกับคําสอนในโคลงสุภาษิต
เชน ศิลปะ ปรัชญา หรือใหขอคิด คติเตือนใจ คติชีวิตที่มีคุณคาตอการดํารงชีวิต โสฬสไตรยางค แลวสรุปลงในสมุด
ซึ่งเปนประโยชนตอการนําไปประยุกตใชในสังคมปจจุบัน โดยวรรณคดี
ประเภทคําสอนนี้สามารถพบไดทุกภูมิภาค ไดแก
• ภาคเหนือ เชน คําสอนพญามังราย โคลงเจาวิทูรสอนโลก กิจกรรมทาทาย
• ภาคใต เชน สุภาษิตสอนหญิงคํากาพย ลักษณะเมียเจ็ดสถาน
• ภาคอีสาน เชน พญาคํากองสอนไพร กาพยปูสอนหลาน
• ภาคกลาง เชน โอวาทกระษัตรีย กฤษณาสอนนองคําฉันท นักเรียนเขียนงานสรางสรรคเชิงเลาประสบการณที่ตรงกับแนวคิดแนว
สาระคําสอนมีการกลาวสอนคนทุกระดับชั้น ทุกเพศ ทุกวัย ถาเปนคนชั้น ปฏิบัติกับโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค โดยนักเรียนตั้งชื่อเรื่องใหนาสนใจ
ปกครองจะสอนใหมีความยุติธรรม ไมรังแกผูที่ออนแอกวา ถาเปนคนทั่วไปจะสอน และสอดคลองกับเนื้อเรื่อง
ใหมีความขยันหมั่นเพียร มีคุณธรรม ถาเปนผูชายจะสอนใหรับราชการ มีความ
อดทน ถาเปนผูหญิงจะสอนใหมีกิริยา มารยาทเรียบรอย ทํางานบานงานเรือน

116 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

กระตุน้ ความสนใจ Engage


ครูและนักเรียนรวมกันแปลความหมายของ
๒ ประวัติผู้แต่ง คําวา “นฤทุมนาการ” จากนั้นนักเรียนแตละคน
อานจับใจความประวัติความเปนมาของเรื่อง
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั (พระราชประวัตไิ ด้กล่าวไว้แล้วในหน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๑) จากหนังสือเรียนหนา 116

๓ ลักษณะคÓประพันธ์ ส�ารวจค้นหา Explore


โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๕ ใช้ค�าประพันธ์ประเภทโคลงสี่สุภาพ
เหมือนกับโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ โดยมีความเปรียบแทรกอยูใ่ นบทพระราชนิพนธ์ ดังบทประพันธ์ 1. นักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับประวัติความ
เปนมาของโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการจาก
จากบทพระราชนิพนธ์ที่ ๔ มี
1 ดังนี้ หนังสือเรียน เอกสาร ตําราและเว็บไซตที่
ค�าพูดพ่างลิลิขิต เขียนร่าง เรียงแฮ เกี่ยวของ จากนั้นนํามาแลกเปลี่ยนเรียนรูกัน
ในชั้นเรียน
จากบทพระราชนิพนธ์ปรากฏค�าว่า “พ่าง” หมายถึง เพียง เหมือน เช่น โดยใช้เป็นค�าแสดง 2. นักเรียนศึกษาลักษณะคําประพันธของโคลง
ความเปรียบให้เห็นว่า ก่อนจะพูดควรพิจารณาให้รอบคอบก่อน ค�าพูดที่ออกมาจึงจะไพเราะราวกับ สุภาษิตนฤทุมนาการ
เขียนร่างไว้แล้ว 3. นักเรียนอานเรื่องยอของโคลงสุภาษิต
นฤทุมนาการ
๔ เรื่องย่อ
โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ แปลความว่า “ผู้ประพฤติตามกิจ ๑๐ ประการนี้ ยังไม่เคยได้รับ อธิบายความรู้ Explain
ความเสียใจเลย” ในบทประพันธ์จะมีบทน�า ๑ บท ซึ่งกล่าวว่าโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ เป็นสิ่งที่ผู้รู้ จากการอานความเปนมาของโคลงสุภาษิต
ได้พิจารณาและน�ามาสั่งสอน ตอนท้ายมีบทสรุป ๑ บท ส่วนเนื้อเรื่องมี ๑๐ บท รวมทั้งสิ้น ๑๒ บท นฤทุมนาการ นักเรียนอธิบายประโยชนของ
โดยเนื้อเรื่องทั้ง ๑๐ บท มีดังนี้ การชําระรวบรวมวรรณคดี
๑. ควรท�าความดีกับบุคคลทั่วไป
(แนวตอบ มีการจัดหมวดหมู ทําใหทรงพระราช
๒. ควรระงับความโกรธ ริษยา และค�าพูดไม่ดี
นิพนธโคลงสุภาษิตทีส่ อดแทรกคติและขอคิดเพิม่ เติม)
๓. ควรมีความหนักแน่น คิดใคร่ครวญก่อนตัดสินใจ
๔. ควรมีสติในการพูด ล�าดับถ้อยค�าให้ดีก่อนพูด
๕. ควรมีความอดกลั้น ไม่พูดขณะที่ยังโกรธ ขยายความเข้าใจ Expand
๖. ควรมีความกรุณาต่อผู้ที่ได้รับความทุกข์ หลังการอานเรื่องยอโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
๗. ควรขอโทษเมื่อตนท�าผิด นักเรียนเขียนวิเคราะหเปรียบเทียบความเหมือน
๘. ควรอดกลั้นไม่ให้โต้เถียงกันรุนแรง และความตางดานคําสอนระหวางโคลงสุภาษิต
๙. ไม่พูดเพ้อเจ้อ นินทาให้ร้ายผู้อื่น
โสฬสไตรยางคกับโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
๑๐. ไม่หลงเชื่อข่าวลือที่ไม่ดีและไม่ตื่นเต้นก่อนสอบถามให้ทราบแน่ชัดก่อน

117
ตรวจสอบผล Evaluate
นักเรียนเปรียบเทียบความเหมือนและความ
แตกตางของโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางคกับ
นฤทุมนาการได
ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ขอปฏิบัติเรื่องการพูดขอใดตางจากขออื่น
ครูแนะขอสันนิษฐานเกี่ยวกับโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการใหนักเรียนฟงวา
1. คําหยาบจาบจวงอา- ฆาตขู เข็ญเฮย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั ทรงพระราชนิพนธโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
2. ไปหมิ่นนินทาบาย โทษใหผูใด
เมือ่ ป พ.ศ. 2423 ทรงแปลจากภาษาอังกฤษ แลวทรงพระราชนิพนธเปนโคลงสีส่ ภุ าพ
3. ยังบดวนยักยาย ชตื่นเตน กอนกาล
มีบทนํา 1 บท เนื้อเรื่อง 10 บท และบทสรุป 1 บท เนื้อหาของโคลงเปนขอแนะนํา
4. เท็จและจริงจานเจือ คละเคลา
ทั้งทางดานมโนกรรม วจีกรรม และกายกรรม ซึ่งครอบคลุมและเหมาะสมที่จะเปน
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. กลาววา ใชคําหยาบและมีวาจารุนแรงใสผูอื่น เครื่องปองกันผูประพฤติไมใหเสียใจจากสิ่งที่ตนคิด พูด และทํา
ขอ 2. ไมนินทาใสรายปายสีผูอื่น ขอ 3. ยังไมรูเรื่องดีก็ดวนตื่นตัวไปกอน
และขอ 4. ความจริงความเท็จสับสนปนกันใหยุง ดังนั้น ขอที่ตางจากขออื่น
คือ “ไปหมิ่นนินทาบาย โทษใหผูใด” เพราะกลาวเตือนสติในเรื่องการพูด นักเรียนควรรู
ในขณะที่ขออื่นกลาวถึงพฤติกรรมตางๆ ที่ไมดี ตอบขอ 2.
1 ลิขิต ถาเปนคํานาม หมายถึง หนังสือ จดหมาย (นิยมใชเฉพาะจดหมาย
ของพระสงฆ) แตหากเปนคํากริยาจะหมายถึง เขียน กําหนด เชน พระพรหมได
ลิขิตชีวิตไวแลว เปนตน

คู่มือครู 117
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
Engage Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูและนักเรียนรวมกันอานออกเสียงบทนําเปน
ทํานองเสนาะ จากนั้นรวมกันสรุปใจความที่ไดจาก
บทประพันธนี้
๕ เนื้อเรื่อง
(แนวตอบ ผูร ไู ดใหความรูไ วเพือ่ สอนสุภาษิตทัง้ สิบ กิจ ๑๐ ประการที่ผู้ประพฤติยังไม่เคยเสียใจ
อยางนี้ ที่ผูใดปฏิบัติก็ยังไมเคยไดรับความเสียใจ) 1
บัณฑิตวินิจแล้ว แถลงสาร สอนเอย
ทศนฤทุมนาการ ชื่อชี้
ส�ารวจค้นหา Explore เหตุผู้ป2ระพฤติปาน ดังกล่าว นั้นนอ
นักเรียนสืบคนใจความสําคัญของโคลงสุภาษิต โทมนัสเพราะกิจนี้ ห่อนได้เคยมี
นฤทุมนาการจากหนังสือเรียน เอกสาร ตํารา และ ๑. เพราะความดีทั่วไป
จากเว็บไซตตางๆ ที่เกี่ยวของ
ท�าดีไป่เลือกเว้น ผู้ใด ใดเฮย
แต่ผูกไมตรีไป รอบข้าง
อธิบายความรู้ Explain ท�าคุณอุดหนุนใน การชอบ ธรรมนา
3
นักเรียนแบงกลุมเปน 10 กลุม แตละกลุมถอด ไร้ศัตรูปองมล้าง กลับซ้องสรรเสริญ
4
คําประพันธ แลวมานําเสนอหนาชั้นเรียน ๒. เพราะไม่พูดร้ายต่อใครเลย
(แนวตอบ นักเรียนแตละกลุม ถอดคําประพันธ ดังนี้ เหิน5ห่างโมหะร้อน ริษยา
• กลุมที่ 1 เพราะทําความดีทั่วไป ความวา สละส่อเสียดมารษา ใส่ร้าย
การทําความดีไมควรเลือกกระทํา การสนับสนุน ค�าหยาบจาบจ้วงอา- ฆาตขู่ เข็ญเฮย
ความสุจริตเปนสิ่งที่ดี จะทําใหปราศจากศัตรู ไป่หมิ่นนินทาบ้าย โทษให้ผู้ใด
มีผูกลาวคํา ชื่นชม
• กลุมที่ 2 เพราะไมพูดรายตอใครเลย ความ ๓. เพราะถามฟังความก่อนตัดสิน
วา หลีกเลี่ยงความโมโห ความริษยา การใสราย ยินคดีมีเรื่องน้อย ใหญ่ไฉน ก็ดี
ปายสี คําหยาบคาย การพูดสอเสียด คําอาฆาต ยัง บ่ ลงเห็นไป เด็ดด้วน
และคําหมิ่นประมาทกลาวโทษผูอื่น ฟังตอบขอบค�าไข คิดใคร่ ครวญนา
• กลุมที่ 3 เพราะถามฟงความกอนตัดสิน ห่อนตัดสินห้วนห้วน เหตุด้วยเบาความ
ความวา เมื่อไดยินเรื่องเล็กหรือใหญก็ดี หากยังไม ๔. เพราะคิดเสียก่อนจึงพูด
เห็นดวยตนเองอยาเพิ่งตัดสินใจเชื่อ ฟงคําพูดใครมา
พาทีมีสติรั้ง รอคิด
ตองใครครวญใหถวนถี่ อยาหูเบาเชื่องายๆ อยา
รอบคอบชอบแลผิด ก่อนพร้อง
ตัดสินใจเชื่ออยางไมมีเหตุผล ค�าพูดพ่างลิขิต เขียนร่าง เรียงแฮ
• กลุมที่ 4 เพราะคิดเสียกอนจึงพูด ความวา ฟังเพราะเสนาะต้อง โสตทั้งห่างภัย
ควรใชสติคิดกอนพูด คิดใหรอบคอบกอนจะพูด
คําพูดเหมือนการเขียนที่ตองเตรียมรางกอน คําพูดที่ 118
ไพเราะตองหูจะไมทําใหเกิดภัย)

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
ขอใดมีความหมายสอดคลองกับขอความที่วา “ความอดกลั้นตอผูอื่น”
1 วินิจ เปนคํากริยา หมายความวา ตรวจตรา พิจารณา เชน วินิจฉัย คือ การ
1. หยอนทิฐิมานะ ออนนอม
ดูอยางละเอียดรอบคอบเพื่อตัดสินหรือชี้ขาด เปนตน
2. หยุดคิดพิจารณา แพชนะ กอนนา
2 โทมนัส เปนคําราชาศัพท แปลวา เสียใจ ตรงขามกับคําวา “โสมนัส” ที่แปล 3. ขันตีมีมากหมั้น สันดาน
วา ดีใจ 4. รอบคอบชอบแลผิด กอนพรอง
3 มลาง หมายความวา ลาง ฆา ผลาญ วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. ลดความถือมั่นลง รูจักออนนอม ขอ 2. หยุดคิด
4 ไมพูดราย คําตางๆ ในบาทที่ 2, 3 และ 4 ของโคลงบทนี้ แสดงถึงวจีทุจริต พิจารณาอยาคิดแตเรื่องแพหรือชนะ ขอ 3. มีขันติ คือ ความอดทนอดกลั้น
10 ประการ ไดแก สอเสียด กลาวเท็จ ใสราย หยาบคาย จาบจวง อาฆาต ขูเข็ญ ในตัว และขอ 4. คิดใหรอบคอบวาดีหรือไมกอ นพูด ดังนัน้ ขอทีส่ อดคลองกับ
ดูหมิ่น นินทา และปดความผิดใหแกผูอื่น คํารายไมดีนี้จึงควรละเสีย “ความอดกลัน้ ตอผูอ นื่ ” คือ “ขันตีมมี ากหมัน้ สันดาน” มีความอดทนอดกลัน้
ใหมาก ตอบขอ 3.
5 มารษา หมายถึง คําปด คําเท็จ เปนคําที่แผลงมาจากสันสกฤตวา มฺฤษา
คําบาลีใช มุสา

118 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนกลุมที่ 5-9 ถอดคําประพันธ กิจ 10
๕. เพราะอดพูดในเวลาโกรธ ประการที่ผูประพฤติยังไมเคยเสียใจ กิจประการที่
5-9
สามารถอาจห้ามงด วาจา ตนเฮย
(แนวตอบ นักเรียนถอดคําประพันธ กิจประการ
ปางเมื่อยังโกรธา ขุ่นแค้น
ที่ 5-9 ที่ผูประพฤติยังไมเคยเสียใจ ไดดังนี้
หยุดคิดพิจารณา แพ้ชนะ ก่อนนา • กลุม ที่ 5 เพราะงดพูดในเวลาโกรธ ความวา
ชอบผิดคิดเห็นแม้น ไม่ยั้งเสียความ ควรงดพูดในขณะที่กําลังอยูในอารมณโกรธ หยุด
๖. เพราะได้กรุณาต่อคนที่ถึงอับจน คิดเรื่องการแพ ชนะ หากคําพูดเปนโทษจะไดไม
เสียเรื่อง
กรุณานรชาติผู้ พ้องภัย พิบัติเฮย
• กลุมที่ 6 เพราะไดกรุณาตอคนที่ถึงที่อับจน
ช่วยรอดปลอดความกษัย สว่างร้อน ความวา มีความกรุณาแกมนุษยและสัตวที่เดือด
ผลจักเพิ่มพูนใน อนาคต กาลแฮ รอน ชวยใหรอดตาย พบทางสวาง จะสงผลใน
ชนจักชูชื่อช้อน ป่างเบื้องปัจจุบัน อนาคต มีแตคนชื่นชมมาถึงปจจุบัน
๗. เพราะขอโทษบรรดาที่ได้ผิด • กลุมที่ 7 เพราะขอโทษบรรดาที่ไดผิด
ความวา ใครเคยทําผิดใหผานไป ลดทิฐิลงสราง
ใดกิจผิดพลาดแล้ว ไป่ละ ลืมเลย
ความนอบนอม มีสัมมาคาราวะ หากผิดแลว
หย่อนทิฐิมานะ อ่อนน้อม ขอโทษดีกวาพูดโกหก
ขอโทษเพื่อคารวะ วายบาด หมางแฮ • กลุมที่ 8 เพราะความอดกลั้นตอผูอื่น
ดีกว่าปดอ้อมค้อม คิดแก้โดยโกง ความวา ฝกความอดทนอดกลั้นใหเปนนิสัย
๘. เพราะอดกลั้นต่อผู้อื่น อยาเกเรใคร อยาทําตัวเหมือนคนพาล ทําให
1 พอแมเดือดรอน หากกระทําไดจะดีมาก
ขันตีมีมากหมั้น สันดาน • กลุมที่ 9 เพราะไมฟงคําคนพูดเพศนินทา
ใครเกะกะระราน อดกลั้น ความวา อยาฟงคนที่พูดไรสาระ เพราะมีทั้งขอเท็จ
ไป่ฉุนเฉียบเฉกพาล พาเดือด ร้อนพ่อ จริงและเสริมเติมแตงปะปนกันไป เหมือนมือที่ถือ
ผู้ประพฤติดั่งนั้น จักได้ใจเย็น มีดทํารายผูอื่น ฟงคนพวกนี้มากๆ นารําคาญ)
๙. เพราะไม่ฟังค�าคนพูดเพศนินทา
ขยายความเข้าใจ Expand
ไป่ฟังคนพูดฟุ้ง ฟั่นเฝือ
เท็จและจริงจานเจือ คละเคล้า นักเรียนยกสํานวนไทยที่กลาวถึงคนพาล
คือมีดเที่ยวกรีดเถือ ท่านทั่ว ไปนา พรอมอธิบายขยายความหมายใหชัดเจน
ฟังจะพาพลอยเข้า พวกเพ้อรังควาน (แนวตอบ “คบคนพาลพาลพาไปหาผิด
คบบัณฑิตบัณฑิตพาไปหาผล” มีความหมายในตัว
119 วา คบคนชั่ว คนชั่วก็ชักพาเราใหพลอยไปทําชั่ว
ดวย ถาคบคนดีมีความรู ก็ทําใหเราไดรับผลดีหรือ
ไดรับความรูดีตามไปดวย)
ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ขอใดเปนผลจากการฟงคําคนพูดเพศนิทาน
1 ขันตี หรือขันติ คือ ความอดทน หมายถึง การรักษาปกติภาพของตนไวได
1. ไรศัตรูปองมลาง กลับซองสรรเสริญ
เมื่อถูกกระทบดวยสิ่งที่ไมพึงปรารถนา ขันติ กลาวโดยสรุปได 2 ประเภท ดังนี้
2. ฟงเพราะเสนาะตอง โสตทั้งหางภัย
1. ความอดทนตอการดําเนินชีวิตทั่วๆ ไป เชน อดทนตอความหิวกระหาย
3. ฟงจะพาพลอยเขา พวกเพอรําคาญ
ความเหนือ่ ย ความหนาว ความรอน ความเจ็บปวด ความอดทนลักษณะนี้
4. ชนจักชูชื่อชอน ปางเบื้องปจจุบัน
สรุปได 3 ประการ ดังนี้
วิเคราะหคําตอบ คนที่พูดเพศนิทาน คือ คนที่ชอบพูดจาเพอเจอเกินจริง • อดทนตอความลําบากตรากตรําในการทํางาน ทนตอความลําบากใน
พูดจริงบางเท็จบางปนกันใหสับสน ทําใหผูฟงรําคาญ ซึ่งตรงกับขอ 3. การทํางานสุจริต
“ฟงจะพาพลอยเขา พวกเพอรําคาญ” ตอบขอ 3. • อดทนตอทุกขเวทนา คือ เมื่อเจ็บปวดก็ไมแสดงอาการทุรนทุรายจน
เกินเหตุ
• ความอดทนตออํานาจกิเลส คือ เมื่อเกิดกิเลสใดๆ ไดแก ความโลภ
ความอยากไดที่ไมสิ้นสุด ความโกรธ ความหลงในลาภยศสรรเสริญ
2. อดทนตอการลวงเกินของคนอื่น กลาวคือ อดทนตอความเจ็บใจ ทนตอ
การพูดจากระทบกระแทกของคนอื่น ซึ่งเปนการอดทนที่กลาวถึงในโคลงสุภาษิต
ความวา “ขันตีมีมากหมั้น สันดาน”
คู่มือครู 119
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนกลุมที่ 10 ถอดคําประพันธกิจ 10
ประการที่ผูประพฤติยังไมเคยเสียใจ กิจ ๑๐. เพราะไม่หลงเชื่อข่าวร้าย
ประการที่ 10
(แนวตอบ กิจประการที่ 10 ถอดคําประพันธได อีกหนึ่งไป่เชื่อถ้อย ค�าคน ลือแฮ
วา อยาหลงเชื่อขาวลือที่ไรเหตุผล ตรวจสอบให บอกเล่าข่าวเหตุผล เรื่องร้าย
แนชัด อยาดวนตัดสินใจเชื่อทันที) สืบสอบประกอบจน แจ่มเท็จ จริงนา
2. ครูและนักเรียนสรุปเนื้อเรื่องกิจ 10 ประการที่ ยัง บ่ ด่วนยักย้าย ตื่นเต้นก่อนกาล
ผูประพฤติยังไมเคยเสียใจรวมกัน ข้อความตามกล่าวแก้ สิบประการ นี้นอ
(แนวตอบ ขอความที่กลาวมาทั้ง 10 ขอนั้น ควร ควรแก่ความพิจารณ์ ทั่วผู้
นําไปพิจารณากันทุกคน แมจะไมปฏิบัติตาม ก็ แม้ละไป่ขาดปาน โคลงกล่าว ก็ดี
รับฟงไวบางยังดี สรุปแลวบทประพันธในเรื่องนี้ ควรระงับดับสู้ สงบบ้างยังดี
มีขอคิด คําสอนที่สามารถนําไปปฏิบัติตามแลว
จะเกิดผลดีแกตนเอง จํานวน 10 ประการ) บอกเล่าเก้าสิบ

ขยายความเข้าใจ Expand โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการกับกาลามสูตร


จากการสรุปเนื้อเรื่องกิจ 10 ประการที่ผู โคลงสุภาษิตทีก่ ล่าวถึงกิจ ๑๐ ประการทีผ่ ปู้ ระพฤติยงั ไม่เคยเสียใจ ซึง่ มีกจิ อยูห่ ลายข้อทีเ่ กีย่ วกับ
การเชื่อค�าพูดของผู้อื่น เช่น ถามฟังความก่อนตัดสิน ไม่หลงเชื่อข่าวร้าย เป็น1ต้น การสอนเกี่ยวกับ
ประพฤติยังไมเคยเสียใจรวมกัน นักเรียนอภิปราย การเชื่อในโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ มีความสอดคล้องกับหลักกาลามสูตร ร ซึ่งเป็นหลักธรรมใน
ในประเด็น ตอไปนี้ พระพุทธศาสนา ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับหลักแห่งความเชื่อ ๑๐ ประการ ดัดังนี้
• หลักแหงความเชื่อ 10 ประการ นี้สอนใหเรา ๑. อย่าเพิ่งเชื่อเพราะฟังตามกันมา
เปนคนอยางไร ๒. อย่าเพิ่งเชื่อตามที่ท�าต่อๆ กันมา
๓. อย่าเพิ่งเชื่อตามค�าเล่าลือ
(แนวตอบ ใชปญญาไตรตรองสิ่งที่รับรูมา ๔. อย่าเพิ่งเชื่อโดยอ้างคัมภีร์หรือต�ารา
ไมเชื่อโดยไรเหตุผล สามารถดํารงชีวิตอยูใน ๕. อย่าเพิ่งเชื่อโดยคิดเอาเอง
สังคมไดอยางรูเทาทันและมีความสุข) ๖. อย่าเพิ่งเชื่อโดยคาดคะเน
๗. อย่าเพิ่งเชื่อโดยตรองเอาตามอาการที่ปรากฏ
๘. อย่าเพิ่งเชื่อเพราะต้องกับความคิดเห็นของตน
ตรวจสอบผล Evaluate ๙. อย่าเพิ่งเชื่อเพราะผู้พูดน่าเชื่อถือ
๑๐. อย่าเพิ่งเชื่อเพราะผู้พูดเป็นครูของเรา
1. นักเรียนถอดคําประพันธโคลงสุภาษิต กาลามสูตร ๑๐ ประการนี้ ถือเป็นหลักแห่งความเชื่อ โดยการไตร่ตรองด้วยปัญญาให้เห็นคุณ
นฤทุมนาการ กิจ 10 ประการที่ผูประพฤติยัง หรือโทษของสิ่งที่ได้รับรู้มา ไม่เชื่อสิ่งใดโดยไร้เหตุผล ท�าให้ด�ารงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างรู้เท่าทันและ
ไมเคยเสียใจ มีความสุข
2. นักเรียนยกสํานวนไทยที่มีแนวคิดคําสอน (ที่มา: กาลามสูตรกับยุคโลกาภิวัตน์)
สอดคลองกับโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการได
120

บูรณาการเชื่อมสาระ
นักเรียนควรรู ครูบูรณาการความรูกับกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม วิชาพระพุทธศาสนา เกี่ยวกับหลักคําสอนในพระพุทธศาสนาที่
1 กาลามสูตร เปนพระสูตรหนึ่งในพระพุทธศาสนา ชื่อกาลามสูตรนี้ไมไดมี
สามารถนํามาเปนแนวทางในการดําเนินชีวิตใหมีความสุข ซึ่งแสดงใหเห็น
ปรากฏอยูใ นพระไตรปฎก หากมีแตชอื่ วา “เกสปุตตสูตร” ทัง้ นีก้ เ็ พราะวา พระพุทธเจา
วาการวางแนวทางในการดําเนินชีวิตที่ดีไดรับอิทธิพลจากหลักธรรมคําสอน
ทรงแสดงพระสูตรนี้แกชาวกาลามะ ซึ่งอยูในเกสปุตตนิคม เพราะฉะนั้นจึงตั้งชื่อ
ของพระพุทธศาสนา และความเชื่อมโยงของโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
พระสูตรนี้ตามชื่อของนิคมนี้วา “เกสปุตตสูตร” แตคนที่อยูในนิคมหรือตําบลนี้เปน
พระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวกับกาลามสูตร
เชื้อสายหรือมีสกุลเดียวกัน คือ สกุลกาลามะ จึงเรียกประชาชนเหลานั้นวา
10 ประการตามคําสอนในพระพุทธศาสนา ที่มีจุดมุงหมายในการนําไป
กาลามชน ซึ่งมีโคตรอันเดียวกันสกุลเดียวกัน คือ กาลามโคตร
ปฏิบัติเพื่อใหดําเนินชีวิตอยางมีความสุขเหมือนกัน
การเรียกชือ่ ทีอ่ นื่ มักจะเรียกพระสูตรนีว้ า “กาลามสูตร” เพราะเรียกไดงา ยกวา
พระสูตรนี้เปนพระสูตรที่ไมยาว แตมีใจความลึกซึ้งนาคิดประกอบดวยเหตุผล
ซึ่งผูนับถือพระพุทธศาสนาหรือผูศึกษาพระพุทธศาสนาควรจะไดศึกษาเปนอยางยิ่ง
เพราะเปนการใชเหตุผลตามหลักวิทยาศาสตร สอดคลองกับกฎทางวิทยาศาสตร

120 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
Engage Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
1. ครูนําบัตรคําศัพทยากที่พบในโคลงสุภาษิต
๖ คÓศัพท์ นฤทุมนาการมาใหนักเรียนอานออกเสียง
พรอมกัน
ค�าศัพท์ ความหมาย 2. ครูสุมนักเรียน 2-3 คน มาเขียนคําอานของ
กิจ ธุระ การงาน คําศัพทยากบนกระดาน และเพื่อนในชั้นเรียน
โกรธา (โกรธ) ไม่พอใจอย่างมาก รวมตรวจสอบความถูกตอง
ขันตี (ขันติ) ความอดทน อดกลั้น
ไข อธิบาย ส�ารวจค้นหา Explore
กษัย การสิ้นไป นักเรียนศึกษาสืบคนความรูเ กีย่ วกับความหมาย
คารวะ การแสดงความเคารพ ความนับถือ ของคําศัพทยากจากบทเรียน เอกสาร ตําราและ
จานเจือ เผื่อแผ่ อุดหนุน เว็บไซตที่เกี่ยวของ จากนั้นนํามาแลกเปลี่ยนเรียนรู
ชอบธรรม ถูกตามหลักธรรม ถูกตามนิิตินัย กันในชั้นเรียน
ซ้อง ร้องสรรเสริญ
เด็ดด้วน (เด็ดขาด) เป็นอันขาด ไม่เปลี่ยนแปลง อธิบายความรู้ Explain
ถ้อย ค�าพูด
1. นักเรียนจับคูกันแลวจับบัตรคําศัพท จากนั้น
เถือ เชือดเฉือน
นักเรียนแตละคูหยิบบัตรคําศัพท คูละ 1 ใบ
แถลง บอก กล่าว
บอกความหมายของคําศัพท
ทศ สิบ
2. นักเรียนนําคําศัพทที่จับไดไปตรวจสอบ
ทิฐิ ความเห็น
ความหมายกับคําประพันธในเนื้อเรื่องวา
ทุ ไม่ดี
มีความหมายถูกตองตรงกับเนื้อเรื่องหรือไม
โทมนัส เสียใจ
นรชน คน
นฤ ไม่ ไม่มี
บัณฑิต ผู้รู้ ผู้มีปัญญา
บ้าย (ป้าย) ซัดความผิดให้ผู้อื่น
ปด (โป้ปด) โกหก พูดเท็จ พูดไม่จริง
ประการ อย่าง ชนิด ท�านอง แบบ
ปาง ป่าง ครั้ง คราว เมื่อ
ไป่ ไม่
พร้อง พูด กล่าว ร้อง
121

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ “นฤทุมนาการ”
ครูใหความรูเกี่ยวกับคําศัพทคําวา “นฤทุมนาการ” ซึ่งเปนชื่อโคลงสุภาษิต
1. มาจาก นฤทุมน+อาการ แปลวา สภาพที่ทําใหไมเสียใจ
นฤทุมนาการเปนคําสมาสที่มีการเชื่อมเสียง แยกไดดังนี้
2. มาจาก นฤ+ทุมนาการ แปลวา สภาพที่ทําใหไมเสียใจ
นฤทุมนาการ
3. มาจาก นฤทุมน+อาการ แปลวา สภาพที่ทําใหเสียใจ
4. มาจาก นฤ+ทุมนาการ แปลวา สภาพที่ทําใหเสียใจ
นฤทุมน อาการ (สภาพ กิริยา)
วิเคราะหคําตอบ คําวา “นฤทุมนาการ” เปนวิธีสรางคําดวยวิธีสมาส
อยางมีสนธิระหวางคําวา นฤทุมน กับ อาการ โดยคําวา นฤทุมน มาจาก นฤ (ไม) ทุมน (“ทุ” เปนอุปสรรคแปลวาไมดี “มน” แปลวาใจ)
นฤ+ทุมน และ ทุมน มาจาก ทุ+มน ดังนั้น ในเบื้องตน “นฤทุมนาการ”
แยกไดวา นฤทุมน+อาการ โดยมีความหมายวา สภาพที่ปราศจากความ ทุ มน
เสียใจ หรือสภาพที่ทําใหไมเสียใจ ตอบขอ 1.
รวมความไดวา สภาพที่ปราศจากความเสียใจ สภาพที่ทําใหไมเสียใจ

คู่มือครู 121
ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ Expand Evaluate
Engage Explore Explain
ขยายความเข้าใจ Expand
1. จากการศึกษาความหมายของคําศัพท นักเรียน
คัดเลือกคําศัพทจากบทเรียน จํานวน 5 คํา ค�าศัพท์ ความหมาย
บอกความหมาย ที่มา และชนิดของคํา พ้อง ตรงกัน ต้องกัน
2. นักเรียนนําคําศัพททั้ง 5 คํา ที่คัดเลือกมา พ่าง เพียง เช่น เหมือน
ในขางตน มาแตงประโยคความซอน คําละ พาที ค�าพูด ถ้อยค�า
1 ประโยค ลงในสมุด
พิจารณ์ (พิจารณา วิจารณ์) ตรวจตรา ตริตรอง สอบสวน
พิบัติ โทษ ความผิด ความฉิบหาย
ตรวจสอบผล Evaluate
เพ้อ (เพ้อเจ้อ) พูดมาก
1. นักเรียนอธิบายความหมายของคําศัพทใน ฟั่นเฝือ ยุ่งเหยิง
บทเรียนได ภัย อันตราย
2. นักเรียนแตงประโยคความซอนจากคําศัพทใน มน ใจ
บทเรียนได มานะ ความพยายาม ความตั้งใจจริง ความถือตัว
มารษา ค�าเท็จ ค�าปด ค�าไม่จริง
แม้น เหมือน คล้าย
โมหะ ความหลง ความเขลา ความโง่
ไมตรี ความเป็นเพื่อน ความหวังดีต่อกัน
ยั้ง (ยับยั้ง) หยุดไว้ พัก ชะงัก
ระงับ ยับยั้งไว้ ท�าให้สงบ
ริษยา ไม่ต้องการให้คนอื่นได้ดี
ละ ละเว้น หมายถึง ละด้วยวิธีไม่ให้เข้ามาด้วยการงดเว้นไป
ละวาง หมายถึง ละด้วยวิธีปล่อยวาง
ละทิ้ง หมายถึง ทิ้งไป
ศัตรู ผู้จองเวร ข้าศึก
สติ 1 ความรู้สึกผิดชอบ
สันดาน อุปนิสัยที่มีมาแต่ก�าเนิด (มักใช้ในทางไม่ดี)
โสต หู
ห้วน สั้น
ห่อน เคย ไม่ (ใช้ในบทประพันธ์)
อาฆาต พยาบาท ผูกใจเจ็บและต้องการแก้แค้น
อุดหนุน ช่วยเหลือ เอื้อเฟื้อ
122

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ครูสงเสริมกิจกรรมการเรียนรูคําศัพท โดยใหนักเรียนจับคูกันฝกฝนการอธิบาย คําศัพทในขอใดไมได มีคําที่หมายถึงคําพูด
ความหมายของคําศัพทกับเพื่อน เพื่อเพิ่มทักษะการจดจําคําศัพท สามารถเขาใจ 1. พาทีมีสติรั้ง รอคิด
และใชคําศัพทในการสื่อสารฟง พูด อาน และเขียนไดถูกตองตรงตามความหมาย 2. รอบคอบชอบแลผิด กอนพรอง
3. คําพูดพางลิขิต เขียนราง เรียงแฮ
4. ฟงเพราะเสนาะตอง โสตทั้งหางภัย
นักเรียนควรรู วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. มีคําวา “พาที” ที่หมายความวา คําพูด ขอ 2.
มีคําวา “พรอง” ที่หมายความวา พูด กลาว รอง ขอ 3. มีคําวา “คําพูด”
1 สันดาน สามารถโยงถึงคําวา “นิสัย” และ “อุปนิสัย” คําวา “นิสัย” เปนคํานาม
แตขอที่ 4. มีความวา “ฟงแลวตองหูจะหางภัย” ซึ่งไมมีคําใดที่หมายถึง
หมายถึง ความประพฤติทเี่ คยชิน เชน เขาตืน่ เชาจนเปนนิสยั สวนคําวา “อุปนิสยั ” เปน
คําพูด ตอบขอ 4.
คํานาม หมายถึง ความประพฤติที่เคยชินเปนพื้นมาในสันดาน และยังหมายถึง
ความประพฤติทเี่ คยชินจนเกือบเปนนิสยั เชน นักเรียนคนนีม้ อี ปุ นิสยั ดี ดังนัน้ ความหมาย
ของคําวา สันดาน นิสัย และอุปนิสัย มีความแตกตางกัน จึงควรพิจารณาเลือกใชคํา
ใหเหมาะสมกับบริบทและกาลเทศะ

122 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
Engage Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาเกี่ยวกับการ
๗ บทวิเคราะห์ พิจารณาคุณคาของวรรณคดีเรื่องนี้ จากนั้นครู
ถามนักเรียนวา หลังจากที่ไดศึกษาเรื่องนี้จบแลว
โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ เป็นสุภาษิตที่เชิญชวนให้ผู้อ่านคิดและประพฤติตาม ถ้าผู้ใดปฏิบัติ นักเรียนไดรับอะไรจากวรรณคดีเรื่องนี้บาง
ตามแนวทางที่ผู้แต่งแนะน�าไว้ จะเป็นผู้ที่อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ผู้ที่อยู่รอบข้างจะชื่นชมยินดี (แนวตอบ นักเรียนตอบไดหลากหลายขึ้นอยูกับ
นับว่าเป็นคนมีเสน่ห์น่าคบ ความเขาใจของนักเรียน เชน สอนวิธีที่จะอยูรวม
๗.๑ คุณค่าด้านเนือ้ หา กับผูอื่น สอนใหคิดอยางรอบคอบ เปนตน)
๑) สอนวิธีที่จะอยู่ร่วมกับผู้อื่น โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการมีเนื้อหาประกอบไปด้วย
ค�าสอนในการด�าเนินชีวติ หลายประการ ทัง้ ด้านจิตใจ ความคิด ด้านการพูด และการกระท�า เป็นค�าสอน ส�ารวจค้นหา Explore
ในเรื่องการกระท�าที่มีความเกี่ยวข้องกับผู้อื่นทั้งสิ้น ดังนั้น โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการจึงเป็นค�าสอน
นักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับบทวิจารณ
ที่มีเพื่อให้มนุษย์สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสงบสุข เช่น ไม่พูดร้ายกับใคร การพูดร้ายท�าให้เกิด
วรรณคดีเรื่องนี้จากหนังสือเรียน เอกสาร ตํารา
ความบาดหมางกันขึน้ หรือค�าสอนให้ทา� ดีกบั คนทัว่ ไปจะท�าให้คนอืน่ ชืน่ ชอบในตัวเรา เป็นการสร้างมิตร
และเว็บไซตที่เกี่ยวของแลวนํามาแลกเปลี่ยนเรียนรู
๒) สอนให้คิดอย่างรอบคอบ โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการมีเนื้อหาที่แสดงให้ผู้อ่าน
กับเพื่อนในชั้นเรียน
เห็นความส�าคัญของการฟังและการคิดอย่างมีเหตุผล ได้แก่ ไม่ฟังค�านินทา ไม่หลงเชื่อข่าวร้าย ซึ่ง
แสดงให้เห็นถึงความส�าคัญของการสื่อสารรับรู้เรื่องราวที่ต้องอาศัยการคิดอย่างรอบคอบ มีเหตุผล อธิบายความรู้ Explain
จึงจะท�าให้เกิดผลดีกับตนเอง
๗.๒ คุณค่าด้านวรรณศิลป์ นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับคุณคาดานเนื้อหาที่
โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ เป็นค�าประพันธ์สั้นๆ มีความประณีตในการใช้ นักเรียนไดรับในประเด็นตอไปนี้
1 ถ้อยค�า • โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการสอนใหนักเรียน
คือ ใช้ค�าง่าย ท�าให้เนื้อความเด่น เกิดเสียงไพเราะ แม้จะมีค�าโบราณและค�าบาลีสันสกฤตบ้างง แต่ก็
ไม่ยากเกินจะท�าความเข้าใจ โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการมีความโดดเด่นในด้านวรรณศิลป์ ดังนี้ อยูรวมกับผูอื่นอยางไร
โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ มีการใช้ถ้อยค�าส�านวนและการเปรียบเทียบ ดังนี้ (แนวตอบ โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการมีเนื้อหา
๑) ค�าเหมาะกับประเภทค�าประพันธ์ มีการใช้ค�าโบราณซึ่งเหมาะสมกับลักษณะ ที่เปนคําสอนในการดํารงชีวิตทั้งดานคําพูด
ของค�าประพันธ์ประเภทโคลง เช่น ห่อน ไป่ บ้าย บ่ โสต ปาง ป่าง เป็นต้น ความคิด จิตใจและการกระทํา ดังนั้น หาก
๒) ค�าบาลี สันสกฤต ท�าให้เกิดความไพเราะและมีค�าให้ใช้อย่างหลากหลายยิ่งขึ้น นําไปปฏิบัติตาม เชน ไมนินทาวารายใคร
ได้แก่ บัณฑิต ทศ นฤ ทุมน โมหะ โสต อาฆาต นรชน กษัย ทิฐิ ขันตีกาล เป็นต้น ไมเชื่อขาวลือ คิดใหรอบคอบ เปนตน
๓) ค�าเปรียบเทียบ ท�าให้ผู้อ่านสามารถเห็นภาพชัดเจนและเกิดความซาบซึ้งกับ จะเกิดความสุขในการดํารงชีวิตอยางยิ่ง)
บทพระราชนิพนธ์ เช่น
• โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการสอนใหนักเรียน
คิดอยางรอบคอบอยางไร
จากบทพระราชนิพนธ์ที่ ๙ มีดังนี้ (แนวตอบ สอนใหคิดอยางมีเหตุผล และเห็น
คือมีดเที่ยวกรีดเถือ ท่านทั่ว ไปนา ความสําคัญของการรับรูขอมูลขาวสารวา
ควรมีเหตุผลนาเชื่อถือ)
123

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
อีกหนึ่งไปเชื่อถอย คําคน ลือแฮ
ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ชวยใหนักเรียนเกิดความรูความเขาใจในเนื้อเรื่อง
บอกเลาขาวเหตุผล เรื่องราย
โดยนําสํานวนสุภาษิตไทยมาใชในการทํากิจกรรม โดยใหนักเรียนศึกษาสํานวน
สืบสวนประกอบจน แจมเท็จ จริงนา
สุภาษิตเกี่ยวกับการพูด การฟง จากนั้นใหนักเรียนรวมกันยกสํานวนสุภาษิตที่
ยังบดวนยักยาย ตื่นเตนตลอดกาล
สอดคลองกับโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ กิจ 10 ประการที่ผูประพฤติยังไมเคย
ขอคิดใดสอดคลองกับคําประพันธขางตน
เสียใจ แลวใหนักเรียนอธิบายความสอดคลองกัน
1. อยาเชื่อโดยคาดคะเน
2. อยาเชื่อโดยเหตุนึกเอา
3. อยาเชื่อวาผูพูดเปนผูที่ควรเชื่อถือ นักเรียนควรรู
4. อยาเชื่อโดยตื่นวาไดยินอยางนั้นอยางนี้
1 คําบาลีสันสกฤต เริ่มเขามาปะปนในภาษาไทยเมื่อพระพุทธศาสนาไดเผยแผ
วิเคราะหคําตอบ จากบทประพันธกลาววา อยาเชื่อคําลือโดยเฉพาะ
เขามาสูประเทศไทย และคนไทยไดยอมรับนับถือเปนศาสนาหลักของชาติ ดังนั้น
เรื่องรายที่ไมมีเหตุผล ควรตรวจสอบใหรูขอเท็จจริงเสียกอน อยาดวนเชื่อ
จึงไดเกิดคําภาษาบาลีและสันสกฤตใชในภาษาไทยมากขึ้น เพราะนอกจากการรับ
และตื่นตามที่เขาพูด ขอที่สอดคลองกับบทประพันธขางตน คือ อยาเชื่อ
นับถือพระพุทธศาสนาแลว ไทยยังไดรับเอาความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี
โดยตื่นวาไดยินอยางนั้นอยางนี้ ตอบขอ 4.
พิธีกรรมตางๆ รวมทั้งวรรณคดีบาลีและสันสกฤตเขามาเปนสวนหนึ่งของ
วัฒนธรรมไทยดวย
คู่มือครู 123
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับคุณคาดานวรรณศิลป
ของโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการในประเด็นตอไปนี้ ๔) ค�าซ�้า เพื่อย�้าความให้ชัดเจนมากขึ้น เช่น ใดใด ห้วนห้วน เป็นต้น
• โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ มีการใชถอยคํา ๕) ค�าซ้อน เพื่อย�้าความให้ชัดเจนและเกิดสัมผัสอักษร ท�าให้เกิดความไพเราะ เช่น
สํานวนและการเปรียบเทียบอยางไร อุดหนุน ส่อเสียด จาบจ้วง ขูขู1่เข็ญ เด็ดด้วน ขุ่นแค้น เป็นต้น
(แนวตอบ โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการมีการใช ๖) ส�านวน นวน แสดงเนื้อหาที่ให้ข้อคิดสอนใจ ซึ่งตรงกับส�านวนไทย เช่น
ถอยคําสํานวนและการเปรียบเทียบ ดังนี้ บทที่ ๑ ตรงกับส�านวนว่า ท�าดีได้ดี ท�าชั่วได้ชั่ว
1. มีการใชคําโบราณซึ่งสอดคลองกับคํา บทที่ ๙ ตรงกับส�านวนว่า ฟังหู ไว้หู
บทที่ ๑๐ ตรงกับส�านวนว่า กระต่ายตื่นตูม
ประพันธประเภทโคลง เชน หอน ไป ปาง ๗) ค�าอนุโลม คือ ค�าทีป่ กติไม่ใช้กนั แต่ใช้ในบทร้อยกรองได้ในกรณีทหี่ าค�าตามลักษณะ
เปนตน บังคับของฉันทลักษณ์นั้นๆ ไม่ได้ เช่น
2. มีการใชคําที่หลากหลาย โดยนําคําบาลี • ค�าโทโทษ “ขันตีมีมากหมั้น สันดาน” หมั้น เป็นค�าโทโทษแทนค�าว่า มั่น
สันสกฤตมาใช เชน ทศ นฤ บัณฑิต นรชน • ค�าสลับที่ “ใดกิจผิดพลาดแล้ว ไป่ละ ลืมเลย” ใดกิจ สลับค�าจาก กิจใด
ทิฐิ เปนตน • ค�าเอก - ค�าโท “สามารถอาจห้ามงด วาจา ตนเฮย” ห้ามงด สลับต�าแหน่ง
3. มีการใชคําเปรียบเทียบ ทําใหผูอานเกิด ค�าเอก - ค�าโท โดยค�าว่า งด เป็นค�าตายที่ใช้แทนค�าเอก
จินตภาพชัดเจน เปนตนวา 2 • ค�ายัติภังค์ “ค�าหยาบจาบจ้วงอา - ฆาตขู่ เข็ญเฮย” แยกค�ามาจากค�าว่า อาฆาต
“คําพูดพางลิขิต เขียนราง เรียงแฮ” โดยใช้ยัติภังค์ เพื่อให้รู้ว่าเป็นค�าเดียวกัน
4. มีการใชคําซํ้า เชน ใดใด หวนหวน เปนตน ๘) ค�าสัมผัส การเล่นค�าสัมผัสในวรรคและระหว่างวรรคช่วยให้เกิดเสียงไพเราะและ
เน้นเนือ้ ความให้เด่นชัดขึน้ ในโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการมีทงั้ สัมผัสอักษรและสัมผัสสระ ดังบทประพันธ์
5. มีการใชคําซอน เชน จาบจวง ขูเข็ญ
ขุนแคน เปนตน เพราะไม่พูดร้ายต่อใครเลย
6. มีการใชสํานวน เชน ทําดีไดดี ทําชั่วได เหินห่างโมหะร้อน ริษยา
ชั่ว คิดกอนพูดอยาพูดกอนคิด ฟงหูไวหู สละส่อเสียดมารษา ใส่ร้าย
เปนตน ค�าหยาบจาบจ้วงอา- ฆาตขู่ เข็ญเฮย
7. มีการใชคําอนุโลม ไดแก คําเอกโทษโทโทษ ไป่หมิ่นนินทาบ้าย โทษให้ผู้ใด
เชน มั่น-หมั้น เปนตน คําสลับที่ เชน
กิจใด-ใดกิจ เปนตน จากบทประพันธ์มคี �าสัมผัสอักษร ได้แก่ เหิน - ห่าง - (โม)หะ ร้อน - ริษ(ยา) สละ - ส่อ -
เสียด - (มาร)ษา - ใส่ จาบ - จ้วง ฆาต - ขู่ - เข็ญ (นิน)ทา - โทษ และมีสัมผัสสระ ได้แก่ หยาบ - จาบ
8. มีการใชคํายัติภังค เชน คําหยาบจาบจวง
หมิ่น - นิน(ทา) ให้ - ใด
อา- ฆาตขู เข็ญเฮย เปนตน
9. มีการใชคําสัมผัส เชน รอน-ริษยา เพราะไม่ฟังค�าคนพูดเพศนินทา
สอ-เสียด-ใส หมิ่น-นินทา เปนตน ไป่ฟังคนพูดฟุ้ง ฟั่นเฝือ
10. มีการอธิบายเนื้อความชัดเจน เชน สอน เท็จและจริงจานเจือ คละเคล้า
เกี่ยวกับการพูดวา พูดแลว ดีเราเสียเขา คือมีดเที่ยวกรีดเถือ ท่านทั่ว ไปนา
ไมควรพูด พูดแลว ดีเขา เสียเรา ไมควรพูด ฟังจะพาพลอยเข้า พวกเพ้อรังควาน
เปนตน) 124

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
ขอใดใชคําเปรียบเทียบ
1 สํานวน เปนคํานาม มีหลายความหมาย ดังนี้
1. ขอโทษเพื่อคารวะ วายบาด หมางแฮ
• ถอยคําที่เรียบเรียงหรือโวหาร บางทีก็ใชวาสํานวนโวหาร เชน สารคดี
2. คําพูดพางลิขิต เขียนราง เรียงแฮ
เรื่องนี้สํานวนดี ความเรียงเรื่องนี้สํานวนลุมๆ ดอนๆ
3. ควรจะระงับดับสู สงบบางยังดี
• ถอยคําหรือขอความ ที่กลาวสืบตอกันมาชานานแลว มีความหมาย
4. เท็จและจริงจานเจือ คละเคลา
ไมตรงตามตัว หรือมีความหมายอื่นแฝงอยู เชน สอนจระเขใหวายนํ้า
รําไมดีโทษปโทษกลอง เปนตน วิเคราะหคําตอบ ขอ 2. มีคําวา “พาง” เปนคําที่มีความหมายวา เหมือน
• ถอยคําที่แสดงออกมาเปนถอยคําพิเศษเฉพาะภาษาหนึ่งๆ เชน สํานวน ซึ่งเปนคําที่แสดงความเปรียบวา คําพูดก็เหมือนการเขียนที่ตองรางหรือ
ฝรั่ง สํานวนบาลี เปนตน คิดกอน เรียบเรียงใหดี ใหถวนถี่เสียกอน ดังนั้นจึงตอบขอ 2.
• ชั้นเชิงหรือพวงทํานองในการแตงหนังสือหรือพูด เชน สํานวนเจาพระยา
พระคลัง (หน) สํานวนยาขอบ เปนตน
2 ยติภงั ค เปนเครือ่ งหมายวรรคตอน (-) ราชบัณฑิตยสถานไดกาํ หนดหลักการใช
วา “ใชเขียนไวที่สุดบรรทัดเพื่อตอพยางคหรือคําสมาส ซึ่งจําเปนตองเขียนแยก
บรรทัดกัน เนื่องจากมาอยูตรงสุดบรรทัดและไมมีที่พอจะบรรจุคําเต็มลงได”

124 คู่มือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนอธิบายความรูเกี่ยวกับคุณคาดาน
จากบทประพันธ์มคี า� สัมผัสอักษร ได้แก่ ฟัง - ฟ้งุ - ฟัน่ - เฝือ จริง - จาน - เจือ คละ - เคล้า วรรณศิลปหนา 125
เที่ยว - เถือ - ท่าน - ทั่ว พา - พวก - เพ้อ และมีสัมผัสสระ ได้แก่ มีด - กรีด • โคลงสุภาษิตนฤทุมนามีการใชคําอธิบาย
๙) ค�าอธิบายเนื้อความเด่นชัด คือ การใช้ค�าน้อยแต่กินความมาก ความหมายของค�า เนื้อความใหเดนชัดอยางไร
อธิบายความได้ชัดเจน ดังบทประพันธ์ (แนวตอบ โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ ใชคํา
นอยแตกินความมาก ใชคําสื่อความตรงไป
เพราะอดพูดในเวลาโกรธ ตรงมาชัดเจน)
สามารถอาจห้ามงด วาจา ตนเฮย
ปางเมื่อยังโกรธา ขุ่นแค้น ขยายความเขาใจ Expand
หยุดคิดพิจารณา แพ้ชนะ ก่อนนา นักเรียนยกโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการที่มี
ชอบผิดคิดเห็นแม้น ไม่ยั้งเสียความ การใชคําอธิบายเนื้อความเดนชัด
(แนวตอบ ตัวอยางโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการที่มี
จากบทประพันธ์ กล่าวถึง การรู้จักหักห้ามไม่ให้พูดในขณะที่ยังโกรธ โดยให้หยุด คําอธิบายเนื้อความชัดเจน ดังบทที่วา
พิจารณาถึงผลทีจ่ ะตามมา ซึง่ หากไม่รจู้ กั ยับยัง้ ชัง่ ใจก็อาจเกิดผลเสียหายขึน้ ได้ ในบทประพันธ์นจี้ ะเห็นว่า “ทําดีไปเลือกเวน ผูใด ใดเฮย
กวีได้เลือกสรรค�าทีส่ นั้ กระชับ แต่มคี วามหมายกว้างขวางออกไป เช่น แพ้ - ชนะ ค�าว่า แพ้ มีความหมาย
1 แตผูกไมตรีไป รอบขาง
ตามศัพท์ หมายถึง สู้ไม่ได้ ทนไม่ได้ แต่เจตนาของกวีมีความหมายกว้างออกไป งออกไป หมายถึง ผลที่ไม่เกิด ทําบุญอุดหนุนใน การชอบ ธรรมนา
ประโยชน์หรือผลเสียที่จะเกิดแก่ตัวผู้พูด ส่วนค�าว่า ชนะ มีความหมายตามศัพท์ หมายถึง ท�าให้แพ้ ไรศัตรูปองมลาง กลับซองสรรเสริญ”
คือการท�าให้สู้ไม่ได้ ทนไม่ได้ แต่เจตนาของกวีมีความหมายกว้างออกไป หมายถึง ผลดีหรือผลที่จะเกิด
หมายความวา ทําดีไมเลือกคน ผูกไมตรีกับ
ทุกคนรอบขาง ทําบุญใฝในธรรม ไมมีใครจะ
ประโยชน์แก่ตัวผู้พูด
ปองราย มีแตคนคอยสรรเสริญ)
๗.๓ คุณค่าด้านสังคม
โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการเป็นโคลงสุภาษิตที่สะท้อนให้เห็นค่านิยมทางความประพฤติ
ของคนในสังคม เพื่อให้เกิดความเรียบร้อย และผู้กระท�าจะมีความสุข ไม่มีความทุกข์ใดๆ
๑) สะท้อนให้เห็นค่านิยมด้านความประพฤติ โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ แสดงให้
เห็นว่าการมีความประพฤติที่ดีจะเป็นรากฐานของการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ดังบทประพันธ์
๑. เพราะความดีทั่วไป
ท�าดีไป่เลือกเว้น ผู้ใด ใดเฮย
แต่ผูกไมตรีไป รอบข้าง
ท�าคุณอุดหนุนใน การชอบ ธรรมนา
ไร้ศัตรูปองมล้าง กลับซ้องสรรเสริญ
125

ขอสอบเนน การคิด
แนว NT O-NE T เกร็ดแนะครู
จบสามสิบหกเคา คะแนนนับ หมวดแฮ
ครูเนนความสําคัญของบทวิเคราะหคุณคาดานสังคม ใหนักเรียนทบทวน
หมวดละสามคิดสรรพ เสร็จสิ้น
ความเขาใจเกี่ยวกับเรื่องคานิยมที่ปรากฏในโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ ครูจัดให
เปนสี่สิบแปดฉบับ บอกเยี่ยง อยางแฮ
นักเรียนทํากิจกรรมเพิ่มเติม ใหนักเรียนนําแนวคิดจากโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ตามแบบบขาดหวิ้น เสร็จแลวบริบูรณ
มาเขียนเรียงความหรือรวมกันแสดงความคิดเห็นเรื่อง “รากฐานของความสงบสุข”
บทประพันธขางตนมีความหมายตรงกับขอใด
1. ควรปฏิบัติใหไดอยางนอยครึ่งหนึ่ง
2. ควรปฏิบัติบางดีกวาไมปฏิบัติเลย
3. ควรปฏิบัติใหครบ 10 ประการ
นักเรียนควรรู
4. ควรปฏิบัติใหไดมากที่สุด 1 เจตนาของกวี การรูและเขาใจเจตนาในการประพันธผลงานของกวี จะตอง
วิเคราะหคําตอบ โคลงขางตนกลาววา กิจทั้ง 10 ประการควรปฏิบัติ พิจารณาจากสิ่งตางๆ ดังนี้
ตามอยางใหครบทั้ง 10 ประการ เพื่อใหเกิดความสุข ดังนั้น • ความหมายของบทประพันธ
จึงตรงกับขอที่วา ควรปฎิบัติใหครบ 10 ประการ ตอบขอ 3. • สํานวนภาษาของกวี
• บริบททางสังคมหรือสภาพแวดลอมที่กวีอาศัยอยู
• ขอมูลสวนตัวของกวี
คูมือครู 125
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับคุณคาดานสังคมใน
ประเด็นตอไปนี้ จากบทประพันธ์สะท้อนให้เห็นการให้คุณค่าและชื่นชมผู้ที่กระท�าความดีต่อผู้อื่น
• โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการสะทอนคานิยม โดยไม่เลือกเฉพาะกับผู้หนึ่งผู้ใด ย่อมเป็นคนที่มีมิตรมากมายคอยให้การสนับสนุน เป็นที่สรรเสริญ
ดานความประพฤติอยางไร ในความดีอย่างจริงใจ
(แนวตอบ สะทอนคานิยมที่แสดงรากฐานของ ๒) สะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมด้านการพูด สังคมไทยเป็นสังคมที่ให้ความส�าคัญ
การอยูรวมกันในสังคมใหสงบสุข เชน ชื่นชม กับค�าพูด วิธีการพูด และมารยาทในการพูด ซึ่งกวีได้สะท้อนให้เห็นในโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการด้วย
และเห็นคุณคาผูที่กระทําความดี สรรเสริญ ดังบทประพันธ์
ยกยองในความดีอยางแทจริง)
๔. เพราะคิดเสียก่อนจึงพูด
• โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการสะทอนใหเห็น
พาทีมีสติรั้ง รอคิด
วัฒนธรรมดานการพูดอยางไร
รอบคอบชอบแลผิด ก่อนพร้อง
(แนวตอบ สะทอนวัฒนธรรมทางสังคมไทยที่ ค�าพูดพ่างลิขิต เขีย1นร่าง เรียงแฮ
ควรมีมารยาทในการพูด คิดไตรตรองกอนพูด ฟังเพราะเสนาะต้อง โสตทั้งห่างภัย
พูดแตเรื่องที่นาฟง และพูดจาไพเราะนาฟง)
• โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการสะทอนใหเห็น จากบทประพันธ์สะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมด้านการพูดของคนไทยที่ต้องกลั่นกรอง
ความเชื่อทางศาสนาอยางไร ค�าพูดก่อนเสมอ หากพูดด้วยค�าทีไ่ พเราะเสนาะหู พูดเรือ่ งทีน่ า่ ฟังย่อมสร้างเสน่หใ์ ห้กบั ผูพ้ ดู แต่หากพูด
(แนวตอบ แสดงความเชื่อทางศาสนาที่เหมือน โดยไม่คิดไตร่ตรองก่อนอาจน�าภัยมาสู่ตัวผู้พูดได้เช่นกัน
กันของทุกศาสนา เรื่องของการทําความดี ๓) สะท้อนให้เห็นความเชื่อทางศาสนา หลักธรรมทางศาสนาสอนให้คนประพฤติ
การชวยเหลือเกื้อกูลกันและแฝงความเชื่อทาง ตนเป็นคนดี ให้คนท�าดีต่อกัน ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ดังบทประพันธ์
พระพุทธศาสนาเรื่องภพนี้ภพหนา) ๖. 2เพราะได้กรุณาต่อคนที่ถึงอับจน
กรุณานรชาติผู้ พ้องภัย พิบัติเฮย
ขยายความเข้าใจ Expand ช่วยรอดปลอดความกษัย สว่างร้อน
1. จากคุณคาดานสังคมของโคลงสุภาษิต ผลจักเพิ่มพูนใน อนาคต กาลแฮ
นฤทุมนาการ สะทอนใหเห็นวาคนโบราณนิยม ชนจักชูชื่อช้อน ป่างเบื้องปัจจุบัน
ใหความสําคัญเกี่ยวกับสิ่งใดบาง จากบทประพันธ์สะท้อนให้เห็นความเชื่อทางศาสนาว่าการช่วยเหลือผู้อื่นให้คลาย
(แนวตอบ การพูด การประพฤติปฏิบัติตน ความเดือดร้อนเป็นการท�าความดีก่อให้เกิดความสุขแก่ตนเอง ท�าให้ผู้คนระลึกถึงและยังเป็นการ
การอยูรวมกันในสังคม มารยาทและวัฒนธรรม สะสมผลบุญเอาไว้ใช้ในภายภาคหน้าตามความเชื่อในพระพุทธศาสนาด้วย
ที่ดีงามของไทย) นอกจากนี้ โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการยังสอดคล้องกับหลักกาลามสูตร ซึ่งเป็นหลัก
2. นักเรียนยกพุทธศาสนสุภาษิตที่สอนเกี่ยวกับ ค�าสอนให้คิด ไตร่ตรองพิจารณาให้ถี่ถ้วนก่อนเชื่อเรื่องหนึ่งเรื่องใด แสดงให้เห็นว่าโคลงสุภาษิต
การพูด การประพฤติปฏิบัติตน การอยูรวมกัน นฤทุมนาการสะท้อนหลักธรรมความเชื่อทางพระพุทธศาสนาอย่างเด่นชัด ดังบทประพันธ์
ในสังคม มารยาทและวัฒนธรรมที่ดีงาม
ของไทย คนละ 1 สํานวน
126

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ครูสรุปความรูจากโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการใหนักเรียนฟงอีกครั้งวา มีเนื้อหา พาทีมีสติรั้ง รอคิด
แสดงกิจ 10 ประการ ที่เปนขอแนะนําการประพฤติตนใหเหมาะสมทั้งการคิด รอบคอบชอบแลผิด กอนพรอง
การพูด และการกระทํา ไดแก ไมพูดรายใหผูอื่น ฟงกอนตัดสิน คิดใหดีกอนพูด คําพูดพางลิขิต เขียนราง เรียงแฮ
ไมพูดเวลาโกรธหรือขาดสติ กรุณาตอผูอับจนหนทาง กลาวขอโทษเมื่อทําความผิด ฟงเพราะเสนาะตอง โสตทั้งหางภัย
มีความอดทนอดกลั้นตอผูที่ทําใหไมพอใจ ไมฟงคําไรสาระ และไมหลงเชื่อขาวราย คําประพันธที่ยกมานี้นาจะตรงกับสํานวนเกี่ยวกับการพูดในขอใด
โดยไมตรวจสอบ 1. พูดจนลิงหลับ 2. พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตําลึงทอง
3. พายเรือในอาง 4. พอแยมปากก็เห็นไรฟน
วิเคราะหคําตอบ สํานวนขอที่ 1. หมายความวา พูดมากจนผูฟงเบื่อ
นักเรียนควรรู สํานวนขอ 2. หมายความวา พูดไปก็ไมมีอะไรดีขึ้นสูไมพูดจะดีกวา
สํานวนขอ 3. พูดมากวกวน และสํานวนขอ 4. รูเทาทันความคิดของ
1 ตองโสต หมายความวา ถูกหู นาฟง ผูพูด สวนความหมายของคําประพันธ คือ คิดใหดีกอนพูด จึงใกลเคียง
2 นรชาติ หมายความวา คน กับสํานวน “พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตําลึงทอง” มากที่สุด ตอบขอ 2.

126 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับขอคิดที่สามารถนําไป
๑๐. เพราะไม่หลงเชื่อข่าวร้าย ประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดในประเด็นตอไปนี้
อีกหนึ่งไป่เชื่อถ้อย ค�าคน ลือแฮ • การพูดที่สรางมิตรและเปนที่ชื่นชมไดแก
บอกเล่าข่าวเหตุผล เรื่องร้าย การพูดในลักษณะใดบาง
สืบสอบประกอบจน แจ่มเท็จ จริงนา (แนวตอบ การพูดที่กอใหเกิดความสุข
ยัง บ่ ด่วนยักย้าย ตื่นเต้นก่อนกาล การพูดที่สรางสรรค การพูดที่กอประโยชน
การพูดที่ไพเราะนาฟง)
จากบทประพันธ์ให้เนื้อความสอดคล้องกับหลักกาลามสูตร ข้อที่ ๓ คือ อย่าเพิ่งเชื่อ • การทําความดีที่สรางมิตรและเปนที่ชื่นชม
ตามค�าเล่าลือ โดยการฟังเรื่องที่เล่าลือกันมาผู้ฟังต้องรู้จักหาเหตุผลประกอบเพื่อพิจารณาก่อนที่ ไดแกการทําสิ่งใดบาง
จะเชื่อถือ (แนวตอบ การไมเลือกปฏิบัติ)
• การคิดอยางมีเหตุผลมีลักษณะอยางไร
๗.๔ ข้อคิดที่สามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวัน (แนวตอบ การใชสติปญญาไตรตรองกอน
โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการเป็นโคลงที่ให้ข้อคิดเรื่องการด�าเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นได้ ตัดสินใจเชื่อเรื่องราวตางๆ)
อย่างสงบสุข ซึ่งการกระท�าทุกอย่างของบุคคลหนึ่งอาจส่งผลกระทบต่อบุคคลหนึ่งได้ ดังนั้นการศึกษา
ข้อคิดในด้านต่างๆ จากวรรณคดีจงึ มีประโยชน์อย่างยิง่ ซึง่ โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการได้ให้ขอ้ คิดทีส่ า� คัญ ขยายความเข้าใจ Expand
๓ ข้อ ดังนี้
นักเรียนรวมกันระดมความคิดเห็นวา
๑) การพูดที่ดีย่อมสร้างมิตรและเป็นที่ชื่นชม จากโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
• นักเรียนจะนําแนวคิดและคําสอนจากโคลง
ให้ข้อคิดเรื่องการพูดได้เป็นอย่างดีว่า การพูดที่ดีย่อมสร้างความสุข สร้างความนิยมชมชอบให้กับผู้ที่
สุภาษิตนฤทุมนาการไปปรับใชกับตนเองได
พูดจาไพเราะน่าฟัง พูดแต่เรื่องที่สร้างสรรค์ ก่อให้เกิดประโยชน์ ในขณะเดียวกัน คนที่พูดในขณะที่มี อยางไรบาง
ความโกรธแค้น ขุ่นเคือง พูดโดยไม่คิดพิจารณาไตร่ตรอง หรือพูดจาหยาบกระด้างก็สามารถสร้างภัย (แนวตอบ เปนตนวา
ให้แก่ตนเองได้ 1. เมือ่ ไดรบั ขาวสารขอมูลใดมาควรพิจารณา
๒) การท�าความดีย่อมสร้างมิตรและเป็นที่ชื่นชม จากโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ ไตรตรองใหรอบคอบกอนตัดสินใจเชื่อ
แสดงให้เห็นว่าการกระท�าความดีอยู่เสมอโดยไม่เลือกปฏิบัติจะส่งผลให้ผู้นั้นมีความสุข เป็นที่รู้จักด้าน 2. ศึกษาธรรมะที่เกี่ยวกับการประพฤติดี
การท�าดีและสอดคล้องกับหลักธรรมเรื่องการท�าดีแล้วจะได้รับผลดีตอบแทนด้วย ทั้งกาย วาจา และใจ)
๓) การคิดอย่างมีเหตุผลย่อมท�าให้รู้เท่าทันเรื่องราวต่างๆ ได้ จากโคลงสุภาษิต
นฤทุมนาการแสดงให้เห็นว่าการได้ยินเรื่องราวต่างๆ ในชีวิตประจ�าวันต้องอาศัยการไตร่ตรองด้วยสติ ตรวจสอบผล Evaluate
ปัญญาและเหตุผลอย่างรอบคอบ เพือ่ ตัดสินใจเชือ่ ถือเรือ่ งราวนัน้ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม รูเ้ ท่าทันและ 1. นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับคุณคาดานเนื้อหาของ
ไม่หลงเชื่อสิ่งผิดๆ โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
2. นักเรียนยกโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการที่มีการ
ใชคําอธิบายเนื้อความเดนชัดได
127 3. นักเรียนยกพุทธศาสนสุภาษิตเรื่องแนวทาง
การปฏิบตั ติ นทีส่ อดคลองกับโคลงสุภาษิต
นฤทุมนาการได

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ขอใดสอนใหคนใชวิจารณญาณในการฟง
ครูเนนใหนักเรียนเห็นความสําคัญของการนําขอคิดจากโคลงสุภาษิต
1. เหินหางโมหะรอน ริษยา
นฤทุมนาการไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ทั้งเรื่องการพูด การคิด และปฏิบัติ
สละสอเสียดมารษา ใสราย
ซึ่งครอบคลุมการดําเนินชีวิตในทุกดาน ครูแนะใหนักเรียนนําสิ่งที่ไดเรียนรูจาก
2. พาทีมีสติรั้ง รอคิด
โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการมาปรับใชเพื่อการดําเนินชีวิตอยางมีความสุข
รอบคอบชอบแลผิด กอนพรอง
ดังโคลงบทสุดทายที่แนะวา กิจ 10 ประการนี้ ทุกคนควรพิจารณา ถึงแมจะ
3. ยินคดีมีเรื่องนอย ใหญไฉน ก็ดี
ประพฤติตนไดไมครบถวน แตปฏิบัติไดบาง ก็ยังดีกวาไมปฏิบัติเลย
ยังบลงเห็นไป เด็ดดวน
4. สามารถอาจหามงด วาจา ตนเฮย
ปางเมื่อยังโกรธา ขุนแคน
มุม IT
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. ขอ 2. และขอ 4. สอนใหคิดเกี่ยวกับการพูด
สวนขอ 3. สอนเกี่ยวกับการฟง วาเมื่อไดยินเรื่องใดมาอยาพึ่งดวนเชื่อ ศึกษาเกี่ยวกับขอคิดที่ไดจากโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการเพิ่มเติม ไดที่
ตอบขอ 3. http://www.dek-d.com/board/view.php?id=2058292

คู่มือครู 127
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
Engage Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูสนทนารวมกับนักเรียนเกี่ยวกับนิทานอีสป
ครูใหนักเรียนชวยกันอธิบายความหมายของนิทาน โคลงสุภาษิตอิศปปกรณ�า
อีสปตามความเขาใจของนักเรียน
(แนวตอบ นิทานอีสปเปนนิทานที่ใหขอคิดที่เปน ๑ ความเป็นมา
สัจธรรมของชีวิต) นิทานอีสป เป็นนิทานที่แปลจากนิทานกรีก
• นักเรียนเคยอานหรือเคยฟงนิทานอีสป ฉบั บ ภาษาอั ง กฤษ เนื้ อ หาแฝงด้ ว ยสั จ ธรรม
เรื่องใดบาง ซึ่งเป็นอมตะมานานกว่า ๑,๕๐๐ ปี แม้ในปัจจุบัน
(แนวตอบ ครูขออาสาสมัคร 1-2 คน ที่เคยอาน ความนิยมในนิทานอีสปก็ยังไม่เสื่อมคลาย
หรือเคยฟงนิทานอีสปมาเลาเรื่องยอให นิ ท านอี ส ปมี ม ากมายหลายร้ อ ยเรื่ อ ง
เพื่อนฟง) มี ก ารแปลเป็ น ภาษาต่ า งๆ เผยแพร่ ไ ปทั่ ว โลก
เล่ากันว่า อิศป หรืออีสป (Aesop) เป็นทาสชาวกรีก
ส�ารวจค้นหา Explore ที่ มี ชี วิ ต อยู ่ ใ นช่ ว งศตวรรษที่ ๖ ก่ อ นคริ ส ตกาล
มี ร ่ า งกายพิ ก ลพิ ก าร แต่ ส ติ ป ั ญ ญาเฉลี ย วฉลาด
1. นักเรียนสืบคนเกี่ยวกับประวัติความเปนมาและ อี ส ปเป็ น นั ก เล่ า นิ ท านที่ ช อบยกนิ ท านมาเล่ า ภาพวาดอีสป (Aesop) นักเล่านิทานชาวกรีก
ประวัติผูแตงที่มีสวนในการแตงโคลงสุภาษิต เปรียบเปรยให้ผู้เป็นนายได้คิดหรือแก้ไขเหตุการณ์ วาดโดย ดิเอโก เวลาสเควซ (Diego Velasquez)
อิศปปกรณํา จากหนังสือเรียน เอกสาร ตํารา ที่ร้ายให้กลายเป็นดีได้
และเว็บไซตที่เกี่ยวของ อีสป เป็นทาสของอิดมอนหรือเอียดมอน เขาได้มอบหมายหน้าที่ให้อีสปเป็นครูสอนหนังสือ
2. นักเรียนพิจารณาลักษณะคําประพันธของโคลง ลูกๆ ของเขา ที่บ้านของอิดมอนเป็นที่พบปะสังสรรค์ของหมู่คนส�าคัญๆ ของกรีก และเมื่ออิดมอน
สุภาษิตอิศปปกรณํา ไปพบคนใหญ่คนโตของกรีกก็มักพาอีสปไปด้วยเสมอ เมื่ออีสปได้เล่านิทานให้คนเหล่านั้นฟัง ทุกคน
ต่างก็ติดใจในเนื้อหา ข้อคิด คติเตือนใจ อีสปจึงเป็นที่ชื่นชอบของทุกคน
อธิบายความรู้ Explain ด้วยสติปัญญาไหวพริบปฏิภาณดีเยี่ยม ทั้งยังมีความสามารถในการเล่านิทาน ท�าให้ทาส
อย่างอีสปสามารถเป็นไทได้ นิทานที่อีสปเล่าหลายร้ 1 อยเรื่องนิยมเรียกกันว่า นิทานอีสป ซึ่งเป็นนิทาน
นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับประวัติความเปนมาของ
สอนคนทั่วไปในด้านศีลธรรม ตัวละครในนิทานส่วนใหญ่เป็นสัตว์ เช่น ราชสีห์กับหนู หมาจิ้งจอก
โคลงสุภาษิตอิศปปกรณํา
กับองุ่น กบเลือกนาย โดยใช้สัตว์เหล่านั้นเป็นสัญลักษณ์แทนมนุษย์ที่มีพฤติกรรมไม่แตกต่างกัน
• เนื้อเรื่องนิทานอีสปมีลักษณะเดนอยางไร นิทานอีสปเล่าขานด้วยปากเปล่า ไม่มีการจดบันทึกเป็นหลักฐานเอาไว้ จนสมัยต่อมาจึงมีผู้บันทึกไว้
(แนวตอบ เนื้อหาแฝงสัจธรรมของชีวิต ตัว ท�าให้คนรุ่นหลังได้รับรู้ค�าสอนจากนิทานอีสป
ละครในนิทานสวนใหญเปนสัตว นิทานอีสป ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์แปล
ในอดีตถายทอดดวยวิธีมุขปาฐะ คือ การเลา นิทานอีสปไว้ ๒๔ เรื่อง และทรงพระราชนิพนธ์โคลงสุภาษิตประกอบนิทานร่วมกับกวีอีก ๓ ท่าน
ปากตอปาก ไมมีการจดบันทึกเปนลายลักษณ คือ กรมหลวงพิชิตปรีชากร พระยาศรีสุนทรโวหาร และพระยาราชสัมภารากร โคลงสุภาษิตนี้
อักษร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาอยูหัว ให้ชื่อว่า โคลงสุภาษิตอิศปปกรณ�า ท�าให้นิทานอีสปแพร่หลายในประเทศไทย โดยต้นฉบับสมุดไทย
ทรงพระราชนิพนธนทิ านอีสปไวจาํ นวน 24 เรือ่ ง อิศปปกรณ�า ยังคงเก็บรักษาไว้ที่หอสมุดแห่งชาติจวบจนทุกวันนี้
โดยทรงพระราชนิพนธรวมกับกรมหลวง-
พิชิตปรีชากร พระยาศรีสุนทรโวหารและ 128
พระยาราชสัมภารากร)

บูรณาการเชื่อมสาระ
เกร็ดแนะครู นิทานอีสปสวนมากตัวละครในเรื่องจะเปนสัตว ซึ่งสะทอนวา แมแตสัตว
ในการเรียนนิทานอีสป ครูควรยกสํานวนที่นักเรียนรูจักมา แลวใหนักเรียนเลา เหลานั้นยังมีคุณธรรม แลวเราเปนคนเหตุใดจึงมีคุณธรรมเชนเดียวกับสัตว
นิทานซึ่งเปนที่มาของสํานวนดังกลาว เพราะนิทานอีสปเปนสิ่งที่ใกลตัวนักเรียน เหลานั้นไมได ครูบูรณาการเชื่อมสาระเกี่ยวกับตัวละครในนิทานอีสปที่เปน
เปนหนังสือแบบแรกๆ ที่นักเรียนไดเรียน อาน และรูเรื่องราวจากการฟง และนําไป สัตวตางๆ เขากับกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เพื่อใหนักเรียนไดนํา
เลาตอ ซึ่งเปนกระบวนการพัฒนาทักษะทางภาษา ครูเชื่อมโยงประสบการณของ ความรูจากการเรียนรูพฤติกรรมของสัตวในวิชาวิทยาศาสตรมาสังเกต
การอาน การรูเกี่ยวกับนิทานอีสปของนักเรียนมาตอยอดเพิ่มเติม โดยใหนักเรียนยก ลักษณะนิสยั ของตัวละครในนิทานวา ชวยใหเกิดความสมจริงไดอยางไร เชน
สํานวนใหสอดคลองกับนิทานอีสป เชน นิทานเรื่องไกกับพลอยที่มาของสํานวนวา สุนขั จิง้ จอกทีม่ เี ล็บ เขีย้ ว มักเปนสัตวเจาเลหแ ละดุรา ย สิงโตคํารามเสียงดัง
“ไกไดพลอย” เปนตน มีแผงคอ เปนลักษณะของผูนํามีอํานาจ เปนตน
ตัวละครของสัตวในนิทานอีสปจะมีลักษณะคลายชีวิตจริงของสัตวทั่วไป
เชน นิทานเรื่องกบเลือกนายจะเห็นพฤติกรรมที่เปนจริงของนกกระสาที่จับ
นักเรียนควรรู และกินกบเปนอาหาร เปนตน ดังนัน้ การมีความรูเ กีย่ วกับสัตวชนิดตางๆ และ
สภาพแวดลอมที่อยูอาศัยของสัตวแตละชนิด จะชวยใหเขาใจการดําเนินเรือ่ ง
1 ตัวละครในนิทาน เปนตัวละครมิติเดียว คือ ตัวละครที่มีลักษณะนิสัยเพียง และจุดมุง หมายของเรือ่ งไดดียิ่งขึ้น
ดานเดียว หรือ 2 ดาน เชน ขี้ขลาด ดื้อรั้น ฉลาดแกมโกง กลาหาญเด็ดเดี่ยว
และจะยืนหยัดรักษาลักษณะนิสัยนี้ไวอยางไมยอมเปลี่ยนแปลง
128 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนสรุปความสามารถดานการประพันธ
ของผูแตงโคลงสุภาษิตอิศปปกรณําแตละทาน
๒ ประวัติผู้แต่ง (แนวตอบ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราชนิพนธ์โคลงสุภาษิตประกอบนิทาน มีพระปรีชาสามารถดานอักษรศาสตร เห็นไดจาก
ร่วมกับกวีอีก ๓ ท่าน ได้แก่ กรมหลวงพิชิตปรีชากร พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) และ
ผลงานนับรอยเรื่อง กรมหลวงพิชิตปรีชากร
พระยาราชสัมภารากร
มีความสามารถดานกฎหมายและภาษา พระยา-
๒.๑ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ศรีสุนทรโวหาร (นอย อาจารยางกูร) เปนผูมี
(พระราชประวัติได้กล่าวไว้แล้วในหน่วยการเรียนรู้ที่ ๑) ความรูดานภาษาไทยดี)
๒.๒ กรมหลวงพิชิตปรีชากร
กรมหลวงพิชิตปรีชากร พระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล พระราชโอรส ขยายความเข้าใจ Expand
ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและเจ้าจอมมารดาพึ่ง ประสูติเมื่อวันที่ ๒๙ ตุลาคม 1. นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็น
พ.ศ. ๒๓๙๘ เมือ่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัต ิ จึงโปรดเกล้าฯ ให้
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร รับหน้าที่เป็นนายด้านการสร้างหอพระคันธารราษฎร์
ตอไปนี้
ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม • นักเรียนคิดวา เพราะสาเหตุใดที่ทําให
กรมหลวงพิชิตปรีชากรทรงมีพระปรีชาสามารถด้านกฎหมายและด้านภาษาเป็น นิทานอีสปเปนอมตะ
อย่างดี โดยเฉพาะความสามารถทางด้
1 านภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส เศส ทรงมีส่วนร่วมในการจัดตั้ง (แนวตอบ เพราะนิทานอีสปมีเนื้อเรื่อง
หอพระสมุดวชิรญาณและทรงเป็ นสภานายกหอพระสมุด วชิร ญาณถึง ๒ สมั ย ในยุคนั้ นมีเรื่อง สนุกสนาน นาสนใจ แฝงขอคิด คติธรรม
ทีไ่ ด้รบั ความนิยมคือเรือ่ ง “สนุกนิน์ กึ ” โดยอยูใ่ นหนังสือ “วชิรญาณวิเสศ” และ “วชิรญาณ” รายเดือน มากมาย และจบเรื่องไดนาจดจํา)
ของหอพระสมุดวชิรญาณ เป็นเรื่องที่บรรยายถึงความรู้สึกของพระวัดบวรนิเวศ ๔ รูป ก�าลังจะสึก 2. นักเรียนจัดทํารายงานเกี่ยวกับประวัติผูแตง
พูดถึงเรื่องทางโลก อาชีพ และอนาคต อย่างสมจริงจนมีผู้เข้าใจว่าเป็นเรื่องจริง อย่างไรก็ตาม ดวยการแบงกลุมศึกษาคนควาและรวบรวม
แสดงให้ เ ห็ น ว่ า เรื่ อ ง “สนุ ก นิ์ นึ ก ” คงเป็ น เรื่ อ งแปลกใหม่ ส� า หรั บ ยุ ค นั้ น เป็ น อั น มาก นั บ ได้ ว ่ า ขอมูลเพื่อจัดทํารายงานเปนรูปเลมสงครู
กรมหลวงพิชิตปรีชากรทรงเป็นผู้บุกเบิกวรรณกรรมไทยสมัยใหม่ที่ส�าคัญพระองค์หนึ่ง
กรมหลวงพิชิตปรีชากรสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ ๑๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๒ ขณะทรงด�ารง
พรอมนําเสนอหนาชั้นเรียน
พระยศเป็น พลตรี และเป็นต้นราชสกุล “คัคณางค์”
๒.๓ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)
พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เกิดเมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๕ ในสมัยรัชกาลที่ ๓
ที่เมืองฉะเชิงเทรา ได้บวชเป็นสามเณรที่วัดสระเกศและเล่าเรียนที่วัดนั้นจนสอบได้เปรียญเอก
มีความรู้กว้างขวางเชี่ยวชาญทั้งภาษาบาลี สันสกฤต และไทย จนเป็นที่ยกย่องของรัชกาลที่ ๔
ต่อมาลาสิกขา เข้ารับราชการในกรมพระอาลักษณ์ได้ยศเป็นขุนประสิทธิ์อักษรศาสตร์ และในรัชกาล
ที่ ๕ ได้เลื่อนเป็นขุนสารประเสริฐ พระศรีภูริปรีชา พระศรีสุนทรโวหาร พระยาศรีสุนทรโวหาร
ตามล�าดับ และได้รับยกย่องว่าเป็นศาลฎีกาทางภาษาไทย เป็นพระอาจารย์ถวายการสอนภาษาไทย
แก่พระเจ้าลูกยาเธอในรัชกาลที่ ๕ หลายพระองค์ เป็นกรรมการหอพระสมุดวชิรญาณ เป็นเลขานุการ
องคมนตรีและเป็นองคมนตรี
129

กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
นักเรียนศึกษานิทานอีสปพระราชนิพนธแปลในพระบาทสมเด็จ- ครูมอบหมายใหนักเรียนศึกษาพระราชประวัติและผลงานสําคัญของบุคคล
พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวเรื่องอื่น นอกเหนือจากหนังสือเรียน จากนั้น ตางๆ ที่มีความเกี่ยวของกับการแตงโคลงสุภาษิตอิศปปกรณํานอกเหนือจาก
เลือกเรื่องที่นักเรียนสนใจมา 1 เรื่อง ถอดคําประพันธโคลงสี่สุภาพ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ซึ่งไดแก กรมหลวงพิชิตปรีชากร
ของเรื่อง แลวบันทึกลงสมุด สงครูผูสอน พระยาศรีสุนทรโวหาร (นอย อาจารยางกูร) และพระยาสัมภารากร

นักเรียนควรรู
กิจกรรมทาทาย
1 หอพระสมุดวชิรญาณ ปจจุบันเปนหอสมุดแหงชาติ โดยการรวมหอ
พระมณเฑียรธรรม หอพระสมุดวชิรญาณ และหอพุทธสาสนสังคหะเขาดวยกัน
นักเรียนศึกษานิทานอีสปพระราชนิพนธแปลในพระบาทสมเด็จ- ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณา
พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวเรื่องอื่นๆ ที่นอกเหนือจากหนังสือเรียน โปรดเกลาฯ ใหมีพระบรมราชโองการประกาศจัดการ “หอพระสมุดวชิรญาณ”
ซึ่งมีอีก 20 เรื่อง โดยนักเรียนบอกขอคิดที่ไดในแตละเรื่อง บันทึกลงสมุด ใหเปนหอสมุดสําหรับพระนคร เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พุทธศักราช 2448 และได
แลวนําสงครูผูสอน วิวัฒนาการเปนสํานักหอสมุดแหงชาติปจจุบัน
คู่มือครู 129
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนตอบคําถามเกีย่ วกับลักษณะคําประพันธ
โคลงสุภาษิตอิศปปกรณัม ดังตอไปนี้ งานวรรณกรรมที่ส�าคัญของพระยาศรีสุนทรโวหารเกือบทั้งหมดเป็นงานทางวิชาการ
• ลักษณะคําประพันธของโคลงสุภาษิต เริ่มด้วยค�าฉันท์กล่อมพระเศวตวรวรรณและแบบเรียนภาษาไทยชุดหนึ่งมี ๖ เล่ม คือ มูลบทบรรพกิจ
อิศปปกรณํามีลักษณะเปนอยางไร วาหนิติ์นิกร อักษรประโยค สังโยคพิธาน ไวพจน์พิจารณ์ และพิศาลการันต์
(แนวตอบ แตงเปนรอยแกวและสรุปดวย พระยาศรีสนุ ทรโวหารถึงแก่กรรมเมือ่ วันที ่ ๒๑ กันยายน พ.ศ. ๒๔๓๔ รวมอายุได้ ๗๐ ปี
โคลงสี่สุภาพ) ๒.๔ พระยาราชสัมภารากร
2. นักเรียนอานเรื่องยอนิทานอีสปทั้ง 4 เรื่องในใจ พระยาราชสัมภารากร ข้าหลวงในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
จากนั้นครูสุมนักเรียนใหเลาเรื่องยอนิทานอีสป
เรียงตอกัน ๓ ลักษณะคÓประพันธ์
นิทานแต่ละเรือ่ งแต่งเป็นร้อยแก้วและสรุปด้วยโคลงสีส่ ภุ าพ ๑ บท เป็นคติสอนใจทีไ่ ด้จากนิทาน
ขยายความเข้าใจ Expand เรื่องนั้นๆ ในท้ายเรื่อง

นักเรียนสรุปใจความสําคัญของเรื่องยอนิทาน ๔ เรื่องย่อ
อีสปทั้ง 4 เรื่อง ลงในสมุด โคลงสุภาษิตอิศปปกรณ�าที่คัดมาให้ศึกษาเป็นตัวอย่าง ๔ เรื่อง คือ
(แนวตอบ สรุปใจความสําคัญของเรื่องยอนิทาน
อีสปทั้ง 4 เรื่อง ไดดังนี้ นิทานสุภาษิตเรื่อง ราชสีห์กับหนู
ราชสีห์จะฆ่าหนูที่มาวิ่งบนหน้าของราชสีห์ แต่หนูร้องขอชีวิตและบอกว่าจะตอบแทนบุ
1 ญคุณ
• เรื่องราชสีหกับหนู คือ บางครั้งผูที่ออนแอกวา
เมื่อได้ฟังดังนั้น ราชสีห์ก็หัวเราะเยาะ แต่ราชสีห์ก็ปล่อยหนูไป ต่ต่อมาราชสีห์ติดบ่วงแร้วของนายพราน
ก็สามารถชวยเหลือผูที่มีกําลังกวาได ที่ดักไว้ หนูก็ช่วยกัดบ่วงเชือกจนขาดราชสีห์จึงรอดชีวิตมาได้
• เรื่องบิดากับบุตรทั้งหลาย คือ ความสามัคคี
จะทําใหสามารถตอสูกับศัตรูและอุปสรรคตางๆ ได นิทานสุภาษิตเรื่อง บิดากับบุตรทั้งหลาย 2
• เรื่องสุนัขปากับลูกแกะ คือ คนพาลยอมไม ชายผู ้ ห นึ่ ง มี บุ ต รหลายคน บุ ต รของเขามั ก ทะเลาะวิ ว าทกั น เสมอ เขาจึ ง คิ ด หาอุ บ าย
สั่งสอนบุตร โดยน�าไม้เรียวก�าหนึ่งมาให้บุตรแต่ละคนหัก แต่ก็หักไม่ได้ บิดาจึงแก้มัดและส่งไม้เรียว
มองถึงเหตุผลแตจะทําในสิ่งที่ตนเองตองการเทานั้น ให้บุตรหักคนละอัน บุตรก็สามารถหักไม้เรียวได้ บิดาจึงสอนบุตรว่า ถ้าสามัคคีรวมเป็นหนึ่งเดียวกัน
• เรื่องกระตายกับเตา คือ ความประมาทหลง เหมือนไม้เรียวทั้งก�าก็จะไม่มีใครท�าอันตรายได้ แต่ถ้าแตกแยกกัน ย่อมเป็นอันตรายโดยง่าย
ตัวเองนํามาซึ่งความพายแพลมเหลว
นิทานสุภาษิตเรื่อง สุนัขป่ากับลูกแกะ
สุนัขป่าต้องการจับลูกแกะกินเป็นอาหาร จึงพยายามกล่าวโทษลูกแกะในเรื่องต่างๆ เพื่อจะได้
ตรวจสอบผล Evaluate
ใช้เป็นข้ออ้างในการจับลูกแกะกินเป็นการลงโทษ แต่ลูกแกะสามารถหาเหตุผลมาชี้แจงข้อกล่าวโทษ
1. นักเรียนเลาเรื่องยอของนิทานอีสปเรื่องราชสีห ของสุนัขป่าได้ทั้งหมด แต่สุดท้ายสุนัขป่าก็จับลูกแกะกินเป็นอาหารโดยไม่มีเหตุผลใดๆ
กับหนู เรื่องบิดากับบุตรทั้งหลาย เรื่องสุนัขปา นิทานสุภาษิตเรื่อง กระต่ายกับเต่า
กับลูกแกะ และเรื่องกระตายกับเตาได เต่าถูกกระต่ายหัวเราะเยาะว่าขาสั้น เดินช้า เต่าจึงท้าวิ่งแข่ง ในวันแข่งเต่าก้าวไปช้าๆ
2. นักเรียนสรุปใจความสําคัญของเรื่องยอนิทาน แต่เดินไปเรื่อยๆ ไม่หยุด กระต่ายประมาทมัวนอนหลับเพลินอยู่ เมื่อตื่นขึ้นก็รีบวิ่งไปที่เส้นชัย
อีสปทั้ง 4 เรื่องได แต่เห็นเต่ารออยู่ที่ปลายทางแล้ว
130

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ครูแนะใหนักเรียนนําทักษะการอานจับใจความ จากความรูในหนังสือเรียน ขอใดเปนขอคิดเตือนสติเรื่องความไมประมาท
หลักภาษาและการใชภาษา ตอนที่ 1 การพัฒนาทักษะการอาน หนวยที่ 2 การอาน 1. สิงโตติดคางบุญคุณหนู
ในชีวิตประจําวัน และทักษะที่ฝกฝนมาจากชั้น ม.1 นํามาใชเปนหลักในการฝก 2. บุตรทั้งหลายวิวาทกัน
การอานจับใจความนิทานอีสปทั้ง 4 เรื่อง 3. ลูกแกะเสียทีสุนัขปา
4. เตาเอาชนะกระตาย
วิเคราะหคําตอบ ขอที่ใหขอคิดเตือนใจเรื่องความไมประมาท คือ การที่
นักเรียนควรรู เตาซึ่งเดินชาสามารถเอาชนะกระตายได ทั้งนี้เพราะความหลงตัวเอง
ของกระตาย ประมาทในความมานะพยายามของฝายตรงขาม ทําใหเตา
1 บวงแรว หมายถึง เครื่องมือดักสัตวของนายพรานที่ทําจากเชือก สามารถเอาชนะกระตายได จึงเปนขอคิดเตือนใจในการดําเนินชีวิตวาอยา
2 อุบาย หมายถึง การวางแผนกระทําการอยางใดอยางหนึ่งเพื่อใหบรรลุตาม ประมาทหรือประเมินฝายตรงขามตํ่าเกินไป เพราะจะนํามาซึ่งความผิดหวัง
จุดมุงหมาย พายแพ ตอบขอ 4.

130 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
Engage Explore Explain Expand ตรวจสอบผล
Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูสนทนารวมกับนักเรียนเกี่ยวกับตัวละครใน
๕ เนื้อเรื่อง นิทานเรื่องราชสีหกับหนู
• ราชสีหและหนูเปนสัญลักษณของสิ่งใด
ราชสีห์กับหนู (แนวตอบ “ราชสีห” แทนความยิ่งใหญ
มีอํานาจ “หนู” แทนความออนแอ
ดอยความสามารถ มีอํานาจนอย)

ส�ารวจค้นหา Explore
นักเรียนศึกษาขอคิดที่ไดจากนิทานอีสปเรื่อง
ราชสีหกับหนู เรื่องบิดากับบุตรทั้งหลาย เรื่องสุนัข
ปากับลูกแกะ และเรื่องกระตายกับเตา

อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนอานออกเสียงทํานองเสนาะโคลงสี่
สุภาพเรื่องราชสีหกับหนูพรอมกัน และรวมกันถอด
คําประพันธ
(แนวตอบ ถอดคําประพันธไดวา ไมดูหมิ่นใน
ความสามารถของผูที่ออนแอ เพราะเมื่อใดมีเหตุที่
ไดรับความเดือดรอนอาจตองพึ่งพาผูนั้น)
มีราชสีหต์ วั หนึง่ นอนหลับ มีหนูตวั หนึง่ วิง่ ไปบนหน้า ราชสีหน์ นั้ ตกใจตืน่ ลุกขึน้ ด้วยความโกรธ
จับหนูไว้ได้จะฆ่าเสีย หนูจึ่งอ้อนวอนว่า ถ้าเพียงแต่ท่านไว้ชีวิตข้าพเจ้า ข้าพเจ้าคงจะแทนคุณท่าน ขยายความเข้าใจ Expand
ที่มีใจดีเป็นแน่ ราชสีห์หัวเราะแล้วปล่อยเขาไป อยู่มาไม่ช้ากว่านี้นัก ราชสีห์ต้องพรานจับผูกไว้
ด้วยเชือกแข็งแรงหลายเส้น หนูได้ยินราชสีห์ร้องจ�าได้ ก็ขึ้นมาช่วยกัดเชือก ปล่อยราชสีห์ออกได้ นักเรียนยกสัญลักษณอื่นๆ อาจเปนสิ่งมีชีวิต
แล้วจึง่ ร้องว่า ท่านยิม้ เยาะความคิดข้าพเจ้าทีว่ า่ คงสามารถทีจ่ ะช่วยท่าน ท่านไม่หมายว่าจะได้รบั อันใด หรือไมมีชีวิต ตามเงื่อนไขตอไปนี้ เงื่อนไขละ 1
ตอบแทนนั้น เดี๋ยวนี้ท่านคงทราบแล้วว่า ถึงเป็นเพียงหนูตัวหนึ่ง ก็อาจที่จะให้ความอุปถัมภ์ท่านได้ อยาง
• มีอํานาจ
อย่าควรประมาทผู้ ทุรพล (แนวตอบ ไดแก พญาชางสาร พระอาทิตย)
สบเคราะห์คราวขัดสน สุดรู้ • ไมมีอํานาจ
เกลือกเขาสบร้ายดล ใดเหตุ มีแฮ (แนวตอบ ไดแก ลูกไก ทารก)
มากพวกคงมีผู้ ระลึกเค้าคุณสนอง
131

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T บูรณาการอาเซียน
อยาควรประมาทผู ทุรพล
อาจารยสมบัติ พลายนอย ศิลปนแหงชาติสาขาวรรณศิลป ดานสารคดี เรื่องสั้น
สบเคราะหคราวขัดสน สุดรู
ป พ.ศ. 2553 กลาวเกี่ยวกับนิทานฟลิปปนสวาในประเทศฟลิปปนสมีภาษาที่ใชพูด
เกลือกเขาสบรายดล ใดเหตุ มีแฮ
หลายภาษา คือ นอกจากภาษาหลักที่เปนภาษาอังกฤษ ภาษาสเปน และภาษา
มากพวกคงมีผู ระลึกเคาคุณสนอง
ตากาล็อกแลว ยังมีภาษาพื้นเมืองอีกประมาณ 80 ภาษา นอกจากนี้ ยังไดรับอิทธิพล
ขอใดสอดคลองกับบทประพันธขางตน
ของอเมริกาไวมาก รวมทั้งนิยาย นิทานก็มีปะปนอยูดวย เรื่องที่ทราบกันดีเรื่องหนึ่ง
1. อยาปฏิเสธที่จะคบใครเพราะดอยกวาตน
คือ เรื่อง “เทพารักษกับคนตัดตนไม” ในหนังสือนิทานอีสปที่เคยใชเปนแบบเรียน
2. อยาพูดโออวดวาเหนือกวาผูอื่น
ของไทย ปรากฏวาในหนังสือแบบเรียนของฟลิปปนสก็มี เพียงแตเปลี่ยนจาก
3. อยาประมาทกําลังศัตรูวามีนอย
เทพารักษเปนเทพธิดาเทานั้น
4. อยาเกลือกลั้วกับผูดอยกวาตน
นิทานอีสปเปนนิทานที่แพรหลายไปทั่วโลก โดยนํามาใชเปนแบบเรียนสําหรับเด็ก
วิเคราะหคําตอบ จากบทประพันธขางตนมีใจความวา ผูที่ออนแอกวา ที่ผูใหญอานได เพราะเรื่องมีขนาดสั้นและใหขอคิด นิทานจึงถือวาเปนคัมภีรสอนใจ
อาจเปนผูที่ชวยเหลือผูแข็งแรงกวาไดในบางครั้ง ดังนั้น อยาดวนตัดสินที่ และมีประโยชนอยางยิ่งสําหรับผูอาน ทั้งนี้ครูใหนักเรียนศึกษาคนควานิทานอีสป
จะรูจักคบหาเพียงเพราะเขาออนแอหรือดอยกวา ตอบขอ 1. ที่ใชเปนแบบเรียนในประเทศสมาชิกอาเซียนเพิ่มเติม เพื่อสะทอนใหเห็นการปลูกฝง
คุณธรรมความคิดผานทางนิทานอีสป

คู่มือครู 131
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนอานเนื้อเรื่องยอบิดากับบุตรทั้งหลาย
พรอมกันแลวตอบคําถาม ดังนี้ บิดากับบุตรทั้งหลาย
• การทําลายไมหนึ่งอันกับไมหนึ่งกํามีความ
แตกตางกันอยางไร
(แนวตอบ ไมหนึ่งอันสามารถทําลายไดโดยงาย
แตไมหนึ่งกํากลับทําลายไดยาก)
• บิดาใชไมหนึ่งอันกับไมหนึ่งกํานําไปสอนบุตร
เรื่องใด
(แนวตอบ บิดาสอนเรือ่ งความสามัคคีรกั ใครกนั
ในหมูพี่นอง โดยใชไมเปนสิ่งเปรียบเทียบ
ใหบุตรทั้งหลายไดเห็นและรูดวยตนเองวา
ไมหนึ่งอันแทนคนๆ เดียวสามารถหักหรือ
ทําลายไดงาย ตางจากไมหนึ่งกํามัดรวมกัน
เมื่อหักหรือทําลายก็ทําไดยากเชนเดียวกับ
บุตรทั้งหลายหากมีความสามัคคีกลมเกลียว
กันก็ยากที่จะมีศัตรูมาทํารายได)
2. นักเรียนอานออกเสียงทํานองเสนาะโคลงสีส่ ภุ าพ
เรื่องบิดากับบุตรทั้งหลายพรอมกัน จากนั้นครู
สุมเรียกนักเรียนถอดคําประพันธ ชายผู้หนึ่งมีบุตรหลายคน บุตรนั้นวิวาทกันและกันมิิใคร่ขาด บิดาแก้ไขวิวาทโดยค�าตักเตือน
(แนวตอบ ถอดคําประพันธไดวา คนที่เปนพี่นอง สั่งสอนสักเท่าใดบุตรก็มิฟัง อยู่มาวันหนึ่ง บิดาจึ่งสั่งบุตรทั้งหลายให้ไปหาไม้เรียวมัดมาให้ก�าหนึ่ง
ครั้นได้มาแล้ว จึ่งเรียกบุตรทั้งปวงมาทีละคน ให้หักก�าไม้เรียวนั้นให้เป็นท่อนเล็กๆ บุตรทั้งปวงต่างคน
วงศตระกูลเดียวกัน หากเอาแตริษยากันเอง
ต่างหักจนหมดก�าลังก็ไม่สามารถที่จะให้หักออกได้ บิดาจึ่งแก้ก�าออกเสีย แล้วเอาไม้เรียวนั้นทีละอัน
ยอมถูกศัตรูทําลายไดโดยงาย แตหากรวมจิต
ส่งให้บุตรทั้งปวงหัก ก็หักได้โดยง่าย บิดาจึ่งว่ากับบุตรทั้งหลายว่า ลูกเอ๋ย ถ้าเจ้าเป็นใจเดียวกัน เข้ากัน
รวมใจกันสู แมมีศัตรูมาเปนหมื่นก็แพไปเพราะ
อุดหนุนกันแลกัน เจ้าจะเหมือนไม้ทั้งก�านี้ ศัตรูทั้งหลายจะปองร้าย ก็ไม่มีอันตรายอันใดได้ แต่ถ้า
ความสามัคคีกัน) เจ้าจะต่างคนต่างแตกกัน ก็จะพลันอันตราย เหมือนไม้เรียวทั้งปวงอันเดียวๆ นี้

ขยายความเข้าใจ Expand เชื้อ1วงศ์วายรักร้อย ริษยา กันเฮย


1. นักเรียนจัดกลุม กลุมละ 3-4 คน เพื่อแสดง ปรปักษ์เบียนบีฑา ง่ายแท้
บทบาทสมมุติประกอบนิทานอีสปเรื่องบิดากับ ร่วมสู้ร่วมรักษา จิตร่วม รวมแฮ 2
บุตรทั้งหลาย หมื่นอมิตร บ มิแพ้ เพราะพร้อมเพรียงผจญ
2. สงตัวแทนกลุมนําเสนอขอคิดที่ไดจากนิทาน 132
ที่แสดง

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ครูใหนกั เรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นวา ความสามัคคีกนั ชวยเหลือซึง่ กันและกัน “ชายผูหนึ่งมีบุตรหลายคน บุตรของเขามักจะทะเลาะวิวาทกันเสมอ
จะมีประโยชนตอตนเอง สังคม และประเทศชาติอยางไร จากนั้นใหนักเรียนสรุป เขาจึงคิดสั่งสอนบุตร วันหนึ่งเขานําไมเรียวมากําหนึ่งสงใหบุตร
ความคิดเห็นลงสมุด แตละคนหัก แตก็หักไมได บิดาจึงสงใหบุตรหักคนละอันก็หักไดโดยงาย”
จากขอความขางตนบิดาสอนบุตรเรื่องใด
1. ความตั้งใจทํางานหาเลี้ยงชีพ
นักเรียนควรรู 2. ความสามัคคีเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน
3. ความเอื้อเฟอเผื่อแผชวยเหลือซึ่งกันและกัน
1 เบียนบีฑา (-ทา) เปนคํากริยา หมายความวา เบียดเบียน บีบคั้น รบกวน 4. ผูเปนพี่ตองรักใครดูแลปกปองนองๆ แทนพอ
เจ็บปวด วิเคราะหคําตอบ จากเนื้อความที่ยกมาบิดาสอนบุตรโดยใชไมกําหนึ่ง
2 ผจญ หรือ เปนคําเขมร หมายถึง พยายามตอสู พยายามเอาชนะ อาทิ แทนลูกๆ ที่มีกันหลายคนวา เมื่อมีเรื่องรายมีใครมาทําลายก็ไมสามารถ
มารผจญ หรือตอสูดิ้นรนเพื่อเอาชนะ เชน ผจญความทุกขยาก ผจญอุปสรรค ทําไดหากไมมัดรวมกันอยู ตางจากไมที่แยกกันจะหักทําลายไดงาย สิ่งที่
มีความหมายเหมือน ประจญ หรือ ประจัญ บิดาตองการสอน คือ ใหรักใครกลมเกลียวเปนอันหนึ่งอันเดียวกันเหมือน
ไมที่มัดรวมกัน เพื่อไมใหแตกแยกกัน ตอบขอ 2.

132 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนอานเนือ้ เรือ่ งยอสุนขั ปากับลูกแกะในใจ
สุนัขป่ากับลูกแกะ แลวตอบคําถาม ดังนี้
• สุนัขปากลาวหาโทษของลูกแกะวาอยางไร
(แนวตอบ ลูกแกะมากินหญาในทําเลของตน
และกินนํ้าในบอของตน)
2. นักเรียนอานออกเสียงทํานองเสนาะ
โคลงสี่สุภาพเรื่องสุนัขปากับแกะพรอมกัน
จากนั้นครูสุมเรียกนักเรียนถอดคําประพันธ
(แนวตอบ ถอดคําประพันธไดวา นิสยั ความดุรา ย
ที่ติดมาตั้งแตเกิด มักจะหาเรื่องพาลคนอื่น
แมคนอื่นจะพูดจาดวยไพเราะหรือมีเหตุผล
เพียงใด สุดทายก็พาลหาเรื่องใหไดดั่งใจ
ตนเองอยูดี)

ขยายความเข้าใจ Expand
1. นักเรียนจัดกลุม กลุมละ 3-4 คนเพื่อแสดง
บทบาทสมมุติประกอบนิทานอีสปเรื่องสุนัขปา
กับลูกแกะ
2. สงตัวแทนกลุมนําเสนอขอคิดที่ไดจากนิทาน
สุนัขตัวหนึ่งมาพบลูกแกะพลัดฝูงมาตัวหนึ่ง คิดว่าเราจะให้ลูกแกะนั้นลงเนื 1 ้อเห็นว่าสุนัขป่านั้น ที่แสดง
สมควรจะกินตัวเขาเอง จึ่งได้กล่าวถ้อยค�าว่า เฮ้ยเมื่อปีกลายนี้ มึงดูถูกกูใหญ่นัก ลูกแกะจึ่งตอบด้วย
ค�าน�้าเสียงเศร้าโศกว่าไม่มีเลย เมื่อนั้น2ข้าพเจ้ายังไม่เกิด สุนัขป่าจึ่งว่า เจ้ากินหญ้าในท�าเลของข้า
ลูกแกะตอบว่าหามิ ไ ด้ เลยเจ้ าขะ ดี ฉั น ยั ง ไม่ รู้ รสหญ้ าเลยจนเดี๋ ย วนี้ ยั งไม่ เ คยกิ น สุ นัข ป่ า จึ่ งว่ า
เจ้ากินน�้าในบ่อของข้า ลูกแกะว่าหามิได้ ดีฉันยังไม่เคยกินน�้าเลย เพราะในเวลานี้น�้านมมารดาดีฉัน
เท่านั้นเป็นทั้งอาหารทั้งน�้า สุนัขป่ามิรู้ที่จะว่าอย่างไร ก็เข้าจับลูกแกะแล้วว่า เถอะข้าไม่อดอาหาร
เปล่าละ ถึงเจ้าจะปฏิเสธก็ช่างเจ้า

ชาติกักขฬะดุร้าย สันดาน
คงจะหาสิ่งพาล โทษให้
ถึงจะกล่าวค�าหวาน ค�าชอบ ก็ดี
หาญหักเอาจนได้ ดั่งข้อเขาประสงค์
133

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ชาติกักขฬะดุราย สันดาน
1 ใหญนัก หมายความวา มากนัก ในความวา “ดูถูกกูใหญนัก”
คงจะหาสิ่งพาล โทษให
ถึงจะกลาวคําหวาน คําชอบ ก็ดี 2 ดีฉัน เปนคําโบราณใชแทนตัวผูพูดที่เปนผูชาย ถาเปนหญิงใชวา อีฉัน แตใน
หาญหักเอาจนได ดั่งขอเขาประสงค ปจจุบนั มีการเปลีย่ นแปลงความหมาย คือ “ดิฉนั ” หรือ “ดีฉนั ” แรกเริม่ ทีเดียวคาดวา
ขอใดตรงกับคําประพันธที่ขีดเสนใต เปนสรรพนามของคนทั่วไปใชพูดกับพระสงฆ ผูเปนที่นับถืออยางสูง มาจากคําวา
1. ขมขูใหผูอื่นกลัว เพื่อใหเขาทําตามที่ตนตองการ “ดิรัจฉาน” คือ ยกยองพระสงฆวาเปนผูประเสริฐกวาสัตวทั้งปวง ขณะเดียวกันผูพูด
2. หักหาญนํ้าใจผูอื่นไมสนใจวาเขาตองการอะไร ก็ถอมตัววา ตนนั้นหากเปรียบกับพระสงฆก็ยังเปนเพียงดิรัจฉาน จึงเรียกตัวเองวา
3. เอาแตใจตัวเองไมถามความเห็นของผูอื่น “ดิรัจฉาน” ตอมาเสียงกรอนเหลือแตพยางคตนกับทาย กลายเปน “ดีฉาน” “ดิฉัน”
4. ฝนใจผูอื่นเพื่อใหไดดั่งใจตนเอง เดิมใชคํานี้ทั้งผูชาย ผูหญิง แตตอมาใชกันแตในหมูพวกผูชาย สวนผูหญิงนั้น
ในวรรณคดีและจดหมายเหตุ เห็นใชวา “ฉัน” บาง “อีฉัน” บาง ดังวรรณคดีเรื่อง
วิเคราะหคําตอบ บทประพันธกลาวถึงลักษณะนิสัยของคนพาล ขอ 1.
ขุนชางขุนแผน เมื่อทองประศรีนําพลายงามไปหาขุนแผนที่ในคุก ขุนแผนสั่งสอน
ไมไดมีการขมขูใหกลัว แตตองการใหยอมจํานน ขอ 2. เขาประสงค
พลายงามวาจะพาไปฝากพระหมื่นศรีใหชวยพาไปถวายตัว
หมายถึง คนพาล ไมใชคนที่ถูกพาล ขอ 3. คนพาลไมไดถามเพื่อขอ
“พลายงามนอยสรอยเศรารับเจาคะ ดิฉันจะพากเพียรเรียนใหได”
ความเห็น ดังนั้นบาทที่วา “หาญหัก เอาจนได ดั่งขอเขาประสงค”
จึงหมายถึง ฝนใจผูอื่นเพื่อใหไดดั่งใจตนเอง ตอบขอ 4.
คู่มือครู 133
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนอานเนื้อเรื่องยอกระตายกับเตา
พรอมกัน แลวตอบคําถาม ดังนี้ กระต่ายกับเต่า
• การกระทําของกระตายสอนใหรูถึงเรื่องอะไร
(แนวตอบ ความประมาท)
2. นักเรียนอานออกเสียงทํานองเสนาะโคลงสีส่ ภุ าพ
เรือ่ งกระตายกับเตาพรอมกัน จากนัน้ ครูสมุ เรียก
นักเรียนถอดคําประพันธ
(แนวตอบ ถอดคําประพันธไดวา ถึงแมจะมี
ความสามารถและมีสติปญญาดี แตหากมีความ
ประมาท ไมมีความพยายามอยางไรก็ไมพบ
ความสําเร็จ)

ขยายความเข้าใจ Expand
1. นักเรียนจัดกลุม กลุมละ 3-4 คน ชวยกัน
แตงนิทานที่มีขอคิดเหมือนกับนิทานอีสปเรื่อง
กระตายกับเตา
2. สงตัวแทนแตละกลุมมาเลานิทานเรื่องที่ชวยกัน
แตงหนาชั้นเรียน
วันหนึ่ง กระต่ายตัวหนึ่งยิ้มเยาะเต่าว่าเท้าสั้นเดินก็ช้า เต่าหัวเราะแล้วตอบว่า ถึึงท่านเร็ว
ตรวจสอบผล Evaluate เหมือนกับลม ถ้าวิ่งแข่งกันข้าพเจ้าจะเอาชนะท่านได้ กระต่ายเห็นว่าเต่าจะไม่วิ่งเร็วได้เหมือนดั่งที1่
1. นักเรียนถอดคําประพันธโคลงสี่สุภาพจาก เต่าอวดตัว ก็รับสัญญาจะแข่งกัน แล้วนัดกันว่าจะให้สุนัขจิ้งจอกเป็นผู้เลือกทาง แลก� แลก�าหนดที่แพ้ชนะ
นะ
นิทานอีสปทั้ง 4 เรื่องได ครั้นถึงวันก�าหนด กระต่ายกับเต่าก็ออกเดินพร้อมกัน เต่านั้นเดินไม่ได้หยุดสักอึดใจเดียว ถึงก้าวช้า
2. นักเรียนแตงนิทานที่มีขอคิดเหมือนกับนิทาน แต่ฝีเท้าเสมอตรงไปจนถึงที่สุดทาง กระต่ายนั้นเชื่อความเร็วแห่งธรรมดาของตัว ก็ไม่สู้จะเอาใจใส่ใน
อีสปเรื่องกระตายกับเตาได การที่จะแข่ง ไปหน่อยหนึ่งก็ฟุบตัวลงนอนเสียข้างทางก็เลยหลับไป ครั้นตื่นขึ้นคิดขึ้นได้ วิ่งไปโดยเร็ว
เต็มก�าลังเมื่อถึงที่หยุดก็เห็นเต่าอยู่ที่นั้นก่อนนานแล้ว
2
เชื่อเร็วแรงเรี่ยวทั้ง เชาวน์ชาญ เชี
าญ ่ยวแฮ
แม้นประมาทมละการ ก็ล้า
โฉดช้าอุตส่าห์หาญ ห่อนหยุด ยั้งเฮย
ดังเต่ากระต่ายท้า แข่งช้าชนะเร็ว
134

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ในการเรียนนิทานเรื่องกระตายกับเตา ครูใหนักเรียนทํากิจกรรม “สรรหา ขอใดใชภาพพจน
สัญลักษณ” โดยใหนักเรียนหาสิ่งมีชีวิตหรือไมมีชีวิตมาแทนกระตายกับเตา โดย 1. เชื่อเร็วแรงเรี่ยวทั้ง เชาวนชาญ เชี่ยวแฮ
สิ่งที่มาแทนนั้นตองมีคุณสมบัติบางอยางเหมือนกัน เชน เร็วเหมือนกระตาย 2. แมนประมาทมละการ ก็ลา
ชาเหมือนเตา หรือ สงบนิ่งเหมือนเตา คุยโวโออวดเหมือนกระตาย เปนตน จากนั้น 3. โฉดชาอุตสาหหาญ หอนหยุด ยั้งเฮย
ใหนักเรียนพิจารณาสิ่งที่นํามาแทนนั้นเพื่อนเขาใจไดตรงกับนักเรียนหรือไม 4. ดังเตากระตายทา แขงชาชนะเร็ว
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. ความวา เชื่อในกําลังความเร็ว และสติปญญาของ
ตนเอง ขอ 2. เพราะประมาทจึงลดกําลังลง ขอ 3. ในขณะที่คนชามีความ
นักเรียนควรรู อุตสาหะพยายามไมยอมหยุดพัก ขอ 4. เหมือนกระตายกับเตาที่แขงวาใคร
จะถึงเสนชัยเร็วกวากัน ใชภาพพจนอุปมาแสดงความเปรียบ คือ
1 กําหนดที่แพชนะ ปจจุบันใชวา กําหนดเสนชัย “ดังเตากระตายทา แขงชาชนะเร็ว” ตอบขอ 4.
2 เชาวน หมายถึง ปญญาหรือความคิดฉับไว มีปฏิภาณไหวพริบ

134 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

กระตุน้ ความสนใจ Engage


ครูนําบัตรคําศัพทยากที่พบในเนื้อเรื่องมาให
๖ คÓศัพท์ นักเรียนอานออกเสียงพรอมกัน แลวสุมนักเรียน
2-3 คน มาเขียนคําอานบนกระดาน และใหเพื่อน
คำ�ศัพท์ คว�มหม�ย ในชั้นเรียนรวมตรวจสอบการสะกดคําและการ
กักขฬะ หยาบคาย อธิบายความหมายใหถูกตอง
เกลือก เผื่อว่า ส�ารวจค้นหา Explore
ค�าชอบ ค�าพูดถูกต้อง
นักเรียนศึกษาและสืบคนความรูเกี่ยวกับ
เค้า ร่องรอย เหตุเดิม ความหมายของคําศัพทยากจากบทเรียนใน
เจ้าขะ เจ้าค่ะ หนังสือเรียน เอกสาร ตํารา และเว็บไซตทเี่ กีย่ วของ
โฉด โง่เขลา เบาปัญญา จากนั้นนํามาแลกเปลี่ยนเรียนรูกันในชั้นเรียน
ช้าชนะเร็ว ในที่นี้หมายถึง ความช้าของเต่าเอาชนะความเร็วของกระต่ายได้
อธิบายความรู้ Explain
เชื้อวงศ์ ผู้สืบสาย เผ่าพันธุ์ ญาติพี่น้อง
นักเรียนจับคูแลวเขาแถวเรียงตอกัน
เชาวน์ชาญ ปัญญาดี
จากนัน้ ครูใหนกั เรียนหยิบบัตรคําศัพท คูล ะ 1 บัตร
ดีฉัน สรรพนามบุรุษที่ ๑ ใช้แทนชื่อผู้พูดที่สุภาพ เป็นสรรพนามที่โบราณ ใหนักเรียนบอกความหมายของคําศัพท
ใช้แทนตัวผู้พูดที่เป็นชาย
ทุรพล มีก�าลังน้อย อ่อนแอ ขยายความเข้าใจ Expand
เบียน เบียดเบียน รบกวน ท�าให้เดือดร้อน นักเรียนคัดเลือกคําศัพทในหนา 135 จํานวน
ปรปักษ์ ข้าศึก ศัตรู ฝ่ายตรงข้าม 5 คํา จากนั้นครูใหนักเรียนนําคําศัพททั้ง 5 คําไป
ผจญ ต่อสู้
แตงประโยคความรวม คําศัพทละ 1 ประโยค
ลงในสมุด
พาล ชั่วร้าย เกเร
มละ ละ ตรวจสอบผล Evaluate
ร้อยริษยา มีแต่ความริษยากัน นักเรียนนําคําศัพทในบทเรียนหนา 135 มา
ลงเนื้อเห็นด้วย เห็นพ้องต้องกัน แตงประโยคความรวมได
สบ พบ
อมิตร ข้าศึก ศัตรู
135

กิจกรรมสรางเสริม

นักเรียนเลือกนิทานที่สนใจมาคนละ 1 เรื่อง พรอมแตงโคลงสี่สุภาพ


จํานวน 1 บท ประกอบนิทาน

กิจกรรมทาทาย

นักเรียนศึกษาที่มาของคําศัพทในบทเรียนที่ใชตางจากปจจุบัน
นักเรียนยกคําศัพทนั้นมา 5 คํา จากนั้นพิจารณาการเปลี่ยนแปลงดาน
เสียงและความหมายของคํา จัดทําเปนใบงานสงครู

คู่มือครู 135
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
Engage Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูทบทวนความรูความจําของนักเรียนหลังการ
อานเนื้อเรื่อง ๗ บทวิเคราะห์
• นักเรียนไดรับขอคิดอะไรจากการอานนิทาน
นิทานอีสป เป็นนิทานที่ได้รับความนิยมแพร่หลายไปทั่วโลก นอกจากจะให้ความเพลิดเพลิน
อีสปทั้ง 4 เรื่อง
เมื่ออ่านแล้ว เนื้อหายังแฝงไว้ด้วยสัจธรรม คติสอนใจที่เป็นสากล สามารถใช้ได้ทุกยุคสมัยและทุกสังคม
ส�ารวจค้นหา Explore นิทานอีสปมีจดุ เด่นทีก่ ารใช้ตวั ละคร ตัวละครส่วนใหญ่เป็นสัตว์ตา่ งๆ และน�าพฤติกรรมของสัตว์เหล่านัน้
มาผูกเป็นเรื่องโดยใส่ความรู้สึกนึกคิด การเจรจา และกิริยาประกอบคล้ายกับมนุษย์ เพื่อให้ผู้อ่าน
นักเรียนศึกษาและสืบคนการพิจารณาคุณคา ได้ข้อคิดเปรียบเทียบสอนใจทั้งผู้ใหญ่และเด็ก โคลงสุภาษิตอิศปปกรณ�าที่ยกตัวอย่างมาทั้ง ๔ เรื่อง
วรรณคดีโคลงสุภาษิตอิศปปกรณําจากหนังสือเรียน มีคุณค่าดังต่อไปนี้
เอกสาร ตํารา และเว็บไซตที่เกี่ยวของ
๗.๑ คุณค่าด้านเนือ้ หา
๑) ให้ข้อคิดคติสอนใจว่าไม่ควรดูถูกผู้ที่ด้อยกว่าตน ดังนิทานเรื่อง ราชสีห์กับหนู
อธิบายความรู้ Explain
โดยหนูเป็นสัญลักษณ์แทนผู้ด้อยกว่าและราชสีห์เป็นผู้มีอ�านาจเหนือกว่า เมื่อราชสีห์ติดบ่วงของ
นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับคุณคาดานเนื้อหาตาม นายพรานหนูก็มาช่วยไว้ ทั้งที่ราชสีห์ไม่เคยคิดว่าหนูจะสามารถช่วยเหลืออะไรตนได้ เป็นข้อคิดว่า
ประเด็นคําถาม ตอไปนี้ อย่าดูถูกผู้ด้อยกว่า ถ้าท�าดีกับผู้น้อย สักวันเขาจะสามารถช่วยเหลือให้เรารอดพ้นอันตรายได้ ดังนั้น
• ขอคิดใดจากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณําที่ไม ผู้มีอ�านาจไม่ควรหลงตนและเยาะเย้ยผู้น้อย
สามารถแกไขไดจากตัวเราเอง เพราะเหตุใด ๒) ให้ตระหนักในพลังแห่งความสามัคคี ดังนิทานเรื่อง บิดากับบุตรทั้งหลาย โดย
(แนวตอบ ขอคิดจากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณํา บิดาใช้ไม้เรียวทั้งก�าแทนคนที่มีความสามัคคี ไม่ว่าบุตรจะหักอย่างไรก็ไม่สามารถหักได้ เหมือนคนที่
เรื่องสุนัขปากับแกะ สะทอนใหเห็นวิสัยของ สามัคคีกนั ก็จะไม่มใี ครท�าอันตรายได้ แต่ถา้ แตกแยกกันก็เหมือนไม้เรียวเพียงท่อนเดียวทีส่ ามารถหักได้
คนพาลที่เอาแตมุงราย เปนเรื่องที่เราไม อย่างง่ายดาย เป็นข้อคิดว่า ถ้าคนในครอบครัวกลมเกลียวกันหรือคนในประเทศชาติสามัคคีปรองดอง
สามารถแกไขโดยการใชเหตุผลได ดังนั้น จะท�าให้ชาติเข้มแข็ง เจริญก้าวหน้ามั่นคง ไม่มีใครมาท�าลายได้
เราจึงควรหลีกเลี่ยงจากคนประเภทนี้) ๓) สะท้อนให้เห็นวิสัยของคนพาล ดัง1นิทานเรื่อง สุนัขป่ากับลูกแกะ สุนัขป่าเป็น
สัญลักษณ์แทนคนพาลทีห่ าเรือ่ งผูไ้ ม่มคี วามผิด สะท้
สะท้อนวิสยั ของคนพาลทีช่ วั่ ร้าย มุ
ย ง่ แต่จะหาเรือ่ งคนอืน่
๔) ให้เห็นโทษแห่งความประมาท ดังนิทานเรือ่ ง กระต่ายกับเต่า ทีก่ ระต่ายประมาท
ว่าเต่าเดินช้า อย่างไรเสียตนก็ต้องวิ่งแข่งชนะ จึงนอนหลับไป เมื่อตื่นมาวิ่งไปถึงเส้นชัย ก็พบว่าตน
แพ้เต่าไปเสียแล้ว เป็นการตั้งตนอยู่ในความประมาท ไม่ระมัดระวังท�าให้เกิดความเสียหาย
๗.๒ คุณค่าด้านวรรณศิลป์
๑) ลีลาในการเล่าเรื่อง ใช้ถ้อยค�าที่เรียบง่าย แต่เรียบเรียงได้ไพเราะสละสลวย
มีค�าบรรยายสลับกับการเจรจาอย่างกระชับ กินความได้กว้างและเข้าใจง่าย ล�าดับความดี ทั้งเนื้อหา
ส่วนที่เป็นอุปมาโวหาร ทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง ดังในวรรค “ดังเต่ากระต่่ายท้า แข่งช้าชนะเร็ว”
เปรียบความช้าของเต่าเอาชนะความเร็วของกระต่ายได้
136

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ครูจัดกิจกรรมเลานิทานทบทวนความรู โดยกิจกรรมการเลานิทานมีจุดมุงหมาย ขอใดไมกลาวถึง ขอคิด
เพือ่ สรางความสนุกสนานเพลิดเพลินใหแกผฟู ง ฝกผูฟ ง ใหมจี นิ ตนาการไปตามเรือ่ ง 1. เพราะในเวลานี้นํ้านมมารดาดีฉันเทานั้นเปนทั้งอาหารและนํ้า
ที่ฟง การสอดแทรกขอคิด คติธรรม หรือเรื่องราวใดๆ แฝงเขาไปในเรื่อง จะทําให 2. ไมหลายอันเมื่อมัดรวมกันเหมือนคนหลายคนที่รวมมือรวมใจกัน
ผูฟงซึมซับไปโดยไมรูตัว การเลานิทานจึงเปนกิจกรรมที่เด็กๆ ชื่นชอบมาก จึงเปน 3. ถาเจาเปนใจเดียวกันเขากันแลอุดหนุนกันเจาจะเหมือนไมทั้งกํานี้
การกระตุนเราใหเด็กรักการอาน และเปนการปลูกฝงความรัก ความซาบซึ้งใน 4. เดีย๋ วนีท้ า นคงทราบแลววา ถึงเปนหนูตวั หนึง่ ก็อาจใหความอุปถัมภทา นได
วรรณกรรมและวรรณคดีตางๆ การเลานิทานเปนกิจกรรมประกอบการสอนและ วิเคราะหคําตอบ จากนิทานเรื่องสุนัขปากับแกะ เปนคํากลาวของแกะ
กิจกรรมสงเสริมการอาน แตนกั เรียนตองเรียนรูเ ทคนิคการเลานิทานทีจ่ ะสรางความ ทีไ่ มไดใหขอ คิดอะไร ขอ 2. และขอ 3. จากนิทานเรือ่ งบิดากับบุตรทัง้ หลาย
เพลิดเพลินหรือความประทับใจในเรื่องใหผูฟงติดตามเรื่องไปจนจบอยางไมรูเบื่อ ใหขอคิดเรื่องการรวมมือกันสามัคคีกันเหมือนไมเปนกํา ขอ 4. จากนิทาน
เรื่องราชสีหกับหนู จากที่กลาววา “ถึงเปนหนูตัวหนึ่งก็ใหความอุปถัมภ
ทานได” หมายความวา แมจะเปนเพียงสัตวตัวเล็กๆ ในบางครั้งก็สามารถ
นักเรียนควรรู ใหความชวยเหลือได ตอบขอ 1.
1 วิสัย เปนคํานาม หมายถึง ขอบ เขต แดน ลักษณะที่เปนอยู นําไปประกอบ
กับคําอื่น เชน ทัศนวิสัย เปนคํานาม หมายถึง ระยะทางไกลที่สุดที่มองเห็น

136 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1 1. นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับคุณคาดานวรรณศิลป
นอกจากนี้ยังมีแนวทางการใช้สัญลักษณ์แทนมนุษย์ เป็นลีลาการเล่านิทานเชิงเสียดสี ที่พบในเนื้อเรื่องตามประเด็นคําถามตอไปนี้
ผู้มีอ�านาจ ลีลาการเล่าเรื่องแบบนี้ท�าให้ผู้อ่านจะต้องคิดวิเคราะห์และเปรียบเทียบอีกด้วย • นิทานอีสปเรื่องราชสีหกับหนูมีการใช
๒) บทเจรจา บทเจรจาที่ใช้เหมาะสมกับตัวละคร เช่น บทเจรจาบอกถึงวัยไร้เดียงสา บทเจรจาหรือบทสนทนาเหมาะสมกับ
และใสซื่อของลูกแกะ เมื่อถูกสุนัขป่าใช้วิสัยพาลหาเหตุกินลูกแกะเป็นอาหารให้จงได้ ดังข้อความ ตัวละครหรือไม อยางไร
(แนวตอบ นิทานอีสปเรื่องราชสีหกับหนู
...สุ นั ข ป่ า จึ่ ง ว่ า เจ้ า กิ น หญ้ า ในท� า เลของข้ า ลู ก แกะตอบว่ า หามิ ไ ด้ เ ลยเจ้ า ขะ มีการใชบทเจราจาเหมาะสมกับตัวละคร
ดีฉนั ยังไม่รรู้ สหญ้าเลยจนเดีย๋ วนี ้ ยังไม่เคยกิน สุนขั ป่าจึง่ ว่า เจ้ากินน�า้ ในบ่อของข้า ลูกแกะว่า ดังจะเห็นไดวา หนู เมื่อตกอยูในสถานการณ
หามิได้ ดีฉันยังไม่เคยกินน�้าเลย เพราะในเวลานี้น�้านมมารดาดีฉันเท่านั้นเป็นทั้งอาหาร ที่ลําบากจะเจรจากับราชสีหดวยนํ้าเสียง
ทั้งน�้า... ออนวอนขอรอง และแมจะเปนฝายได
ชวยเหลือราชสีหแลวก็เจรจาดวยความ
เคารพ เรียกราชสีหวา “ทาน” ซึ่งทําใหรูสึก
2 ๓) การใช้ภาษาเชิงเปรียบเปรย จากนิทานเรื่อง บิดากับบุตรทั้งหลาย เป็นการ
เปรียบเทียบจากนามธรรมให้เห็นเป็นรูปธรรม ดั
ธรรม งข้อความ ถึงอํานาจที่เหนือกวาของอีกฝาย)
• โคลงสี่สุภาพของนิทานอีสปทั้ง 4 เรื่อง
...บิดาจึ่งว่ากับบุตรทั้งหลายว่า ลูกเอ๋ย ถ้าเจ้าเป็นใจเดียวกัน เข้ากัน อุดหนุนกันแล มีการเลนเสียงในลักษณะใด
กัน เจ้าจะเหมือนไม้ทั้งก�านี้ศัตรูทั้งหลายจะปองร้าย ก็ไม่มีอันตรายอันใดได้... (แนวตอบ มีการเลนเสียงสัมผัสอักษร เชน
หมื่น-มิตร, แพ-เพราะ-พรอม)
จากบทประพันธ์กล่าวเปรียบเทียบว่าไม้หลายอันเมื่อมัดรวมกัน เหมือนคนหลายคน 2. นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับคุณคาดานสังคม
ที่ร่วมมือร่วมใจกัน สามัคคีกัน ใครๆ ก็ไม่อาจท�าร้ายได้โดยง่าย ในประเด็นตอไปนี้
๔) การเล่นค�า เล่นสัมผัสอักษร ท�าให้เกิดจังหวะและเพิ่มความไพเราะ ดังเช่น • นิทานเรื่องบิดากับบุตรทั้งหลายสะทอน
ในวรรค “หมื่นอมิตร บ มิแพ้ เพราะพร้อมเพรียงผจญ” มีสัมผัสอักษรที่ไพเราะในค�าว่า หมื่น - มิตร - มิ ใหเห็นความสําคัญของสถาบันครอบครัว
และ ค�าว่า แพ้ - ผจญ ค�าว่า เพราะ - พร้อม - เพรียง เป็นต้น อยางไร
๗.๓ คุณค่าด้านสังคม (แนวตอบ สะทอนเรื่องการอบรมสั่งสอนดวย
๑) สะท้อนให้เห็นความส�าคัญของสถาบันครอบครัว จากเรือ่ งบิดากับบุตรทัง้ หลาย วาจาของบุพการี ที่มีการหยิบยกขอคิดที่
คมคายมาเปนตัวอยาง)
สะท้อนให้เห็นภาพสังคมที่ให้ความส�าคัญกับสถาบันครอบครัวเป็นสถาบันหลักในการอบรมเลี้ยงดู
บุตรหลาน แสดงให้เห็นการอบรมด้วยวาจา การยกตัวอย่างเปรียบเทียบอย่างคมคายและท�าให้
ขยายความเข้าใจ Expand
ลูกตระหนักในความส�าคัญของความสามัคคีในหมู่พี่น้องได้เป็นอย่างดี
๒) สะท้อนให้เห็นการพึง่ พาอาศัย จากเรือ่ งราชสีหก์ บั หนู สะท้อนให้เห็นสภาพสังคม นักเรียนคิดวาขอคิดของโคลงสุภาษิต
ที่ต่างต้องพึ่งพาอาศัยกัน ไม่ว่าจะมีอ�านาจ ยศถาบรรดาศักดิ์มากมายเท่าใดก็ต้องอาศัยอยู่ร่วมกันกับ อิศปปกรณําบทใดที่สามารถนํามาใชในการ
คนที่มีอ�านาจน้อยกว่า ต้องพึ่งพาอาศัยกัน ดังนั้นการอยู่ร่วมกันจึงต้องถ้อยทีถ้อยอาศัย เตรียมตัวในการเรียนและการทํางานได
(แนวตอบ จากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณํา
137 เรื่องกระตายกับเตาที่สอนเรื่องความไมประมาท
อยาชะลาใจในกิจที่ทํา เพราะจะทําใหไมประสบ
ความสําเร็จ)
ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ขอใดกลาวถึงคุณคาดานวรรณศิลปของโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค
1 การเลานิทาน หรือชาดกใหใครฟงจะตองรูจักนิสัยและภูมิหลังรวมทั้งปญหา
โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการและโคลงสุภาษิตอิศปปกรณํา
ของบุคคลนั้น จึงจะเลือกนิทานใหเหมาะสมแกบุคคลนั้น ตัวอยางเชน ในชาดก
1. มีคุณคาทางสํานวนภาษา ใชคําเรียบงายและมีความเปรียบคมคาย
พระพุทธเจายกเรือ่ ง “สุชาดาชาดก” มาสอนนางสุชาดาผูเ ปนสะใภของอนาถบิณฑิก-
2. มีคุณคาทางดานเนื้อหาสอนใหประชาชนนําไปประพฤติปฏิบัติ
เศรษฐี นางเปนผูที่มีนิสัยมานะ กระดาง ถือตัว ชอบใชวาจาหยาบคาย จนในที่สุด
3. มีคุณคาในการนําสุภาษิตมาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
นางบรรลุโสดาปตติผลกลายเปนคนนุมนวล เปนตน สวนนิทานอีสป ตัวอยางเชน
4. มีคุณคาในการนําสุภาษิตมาใหนักเรียนไดเรียนรู
อีสปเลือกเรื่องกบเลือกนายมาเลาใหชาวเอเธนสฟง โดยมีจุดประสงคเพื่อใหชาวเมือง
วิเคราะหคําตอบ โจทยถามเกี่ยวกับกลวิธีการใชภาษาดานวรรณศิลป เกิดความพอใจในเจาครองนครคนเดิม เปนตน
ซึ่งมีลักษณะการแตง การใชถอยคําสํานวน คําที่มีความหมายเขาใจงาย 2 การเปรียบเทียบ ก็คือการนําสิ่งที่เหมือนกันมาเทียบกัน ชวยสรางสีสันใหแก
แตมีการใชความเปรียบที่คมคาย จึงทําใหมีคุณคาทางวรรณศิลป เนื้อเรื่อง ทําใหการพรรณนาชัดเจนขึ้น ในตําราการเขียนจะแบงประเภทการเปรียบ
ตอบขอ 1. เทียบไวหลายแบบ แบบที่กลาวถึงกันมากกวาแบบอื่นๆ ก็คือ อุปมาและอุปลักษณ

คู่มือครู 137
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับคุณคาดานสังคมที่พบ
ในเนื้อเรื่องตามประเด็นคําถามตอไปนี้ ๓) สะท้อนให้เห็นวิสยั ของคนพาล จากเรือ่ งสุนขั ป่ากับลูกแกะ สะท้อนให้เห็นบุคคล
• นิทานเรื่องราชสีหกับหนูสะทอนใหเห็นเรื่อง ที่ควรหลีกเลี่ยง คือ คนพาล วิสัยของคนพาลมักจะไม่มีเหตุผลในการกระท�าสิ่งต่างๆ ไม่มีเพื่อนแท้
การพึ่งพาอาศัยกันอยางไร การคบคนพาลจะน�ามาซึ่งความเดือดร้อน ประพฤติตนไปในทางเสื่อมเสีย สร้างความเดือดร้อนให้แก่
(แนวตอบ สะทอนภาพการพึ่งพากันในสังคม ตนเองและผู้อื่น รวมทั้งควรหลีกเลี่ยงไม่อยู่ใกล้ชิดกับคนพาล เพราะเป็นผู้ที่ไม่มีเหตุผล
ผูที่มีอํานาจยศถาบรรดาศักดิ์และผูที่มีอํานาจ
นอยกวายอมตองมีเรื่องที่ตองพึ่งพาอาศัยกัน)
๗.๔ ข้อคิดที่สามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวัน
โคลงสุภาษิตอิศปปกรณ�ามีเนือ้ หาทีม่ งุ่ เน้นการให้ขอ้ คิดผ่านนิทานทีม่ เี รือ่ งราวสนุกสนาน
ขยายความเข้าใจ Expand กระชับ น่าติดตาม ดังนี้
๑) การตระหนักในคุณค่าและความส�าคัญของบุคคล จากเรื่องราชสีห์กับหนู
ครูเสริมทักษะการสรุปขอคิดจากนิทานอีสป ให้ขอ้ คิดทีส่ า� คัญคือ การให้ความส�าคัญแก่คนทุกกลุม่ อย่างเหมาะสม แต่ละคนมีหน้าทีแ่ ละความส�าคัญ
ทั้ง 4 เรื่อง โดยใหนักเรียนทํากิจกรรมตามตัวชี้วัด แตกต่างกัน แต่สามารถช่วยเหลืออุปถัมภ์กันได้
จากแบบวัดฯ ภาษาไทย ม.2 กิจกรรมที่ 1.11
๒) ความสามัคคีคือพลังเอาชนะอุปสรรค จากเรื่องบิดากับบุตรทั้งหลายให้ข้อคิด
ใบงาน ✓ แบบวัดฯ แบบฝกฯ
เรื่องความสามัคคี เมื่อเกิดความสามัคคีในหมู่คณะย่อมสร้างพลังเอาชนะอุปสรรคและปัญหาต่างๆ ได้
ภาษาไทย ม.2 กิจกรรมที่ 1.11 ๓) คนพาลมักหาความผิดให้แก่ผู้อื่นได้เสมอ จากเรื่องสุนัขป่ากับลูกแกะให้ข้อคิด
เร�่อง ข้อคิดจากโคลงสุภาษิตฮิศปปกรณ�า ว่าคนพาลมักจะกล่าวร้ายป้ายความผิดให้แก่ผู้อื่นเพื่อหาเหตุระราน โดยปราศจากเหตุผล
๔) ความประมาทจะน�าพามาซึ่งความล้มเหลว จากเรื่องกระต่ายกับเต่าให้ข้อคิด
1
กิจกรรมที่ ๑.๑๑ ใหนักเรียนสรุปขอคิดจากโคลงสุภาษิตอิศปปกรณํา
ที่สามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได (ท ๕.๑ ม.๒/๔)
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
ñð ว่าความประมาทหรือหยิ่งทระนงในความสามารถของตัวเองจะท�าให้การกระท�าสิ่งต่างๆ ล้มเหลวได้

ควรใหโอกาสผูอื่นเมื่อยามที่เขาเขาตาจนอยางเทาเทียมกัน
..............................................................................................................................................
แมเขาจะเปนผูที่ดอยกวาก็ตาม เราตองไมดูถูกวาเขาจะไมมี
..............................................................................................................................................
โคลงสุภาษิตที่ได้นÓมาศึกษา นับเป็นโคลงสุภาษิตที่สอนให้ผู้อ่าน คิด พูด
กําลังชวยเหลือเราได เพราะหากเขาเปนคนดีเขาจะชวย
..............................................................................................................................................
เหลือเราในยามที่เราลําบาก
..............................................................................................................................................
และกระทÓสิง่ ใด ในชีวติ อย่างระมัดระวัง ตัง้ ตนอยูใ่ นความไม่ประมาท ด้วยเนือ้ หาอันเป็น
ราชสีหกับหนู ..............................................................................................................................................
สากล เหมาะกับผูอ้ า่ นทุกยุคทุกสมัย นอกจากคุณค่าด้านเนือ้ หาแล้ว โคลงสุภาษิตเหล่านี้
ควรรู  จั ก สามั ค คี กั น โดยเฉพาะเมื่ อ เป น พี่ น  อ งเป น
..............................................................................................................................................
ครอบครัวเดียวกัน จะตองอาศัยพึ่งพากันจึงควรเปน
..............................................................................................................................................
มิตรที่ดีตอกัน เมื่อเผชิญกับปญหาก็สามารถผานพนไปได
ยังมีความดีเด่นในการเลือกใช้คÓทีเ่ รียบง่าย ทÓให้ผอู้ า่ นจดจÓทÓความเข้าใจได้โดยง่าย
..............................................................................................................................................
ฉบับ โอกาสที่จะประสบความสําเร็จก็มีมาก
เฉลย ..............................................................................................................................................

บิดากับบุตรทั้งหลาย ..............................................................................................................................................

ควรหลีกเลีย่ งใหหา งจากคนพาล เพราะคนพาลไมมเี หตุผล


..............................................................................................................................................
ทําอะไรก็มกั จะทําตามความตองการของตนเองโดยไมคาํ นึง
..............................................................................................................................................
วาจะทําใหผอู นื่ เดือดรอนอยางไร ดังนัน้ จึงควรระมัดระวัง
..............................................................................................................................................
ไมเขาไปยุงเกี่ยวกับคนพาล
..............................................................................................................................................

สุนัขปากับลูกแกะ ..............................................................................................................................................

ในการทํางานใดๆ ตองไมประมาท แมจะเปนเพียงเรื่อง


..............................................................................................................................................

เล็กนอยก็ตาม เพราะความประมาทจะนําไปสูค วามผิดพลาด


..............................................................................................................................................

ความลมเหลวได และอาจทําใหเกิดความเดือดรอนแก
..............................................................................................................................................

ตนเองและผูอื่นได
..............................................................................................................................................

กระตายกับเตา ..............................................................................................................................................

๙๒
138

ขอสอบเนน การคิด
บูรณาการ
เศรษฐกิจพอเพียง แนว  NT  O-NE T
ขอใดตรงกับขอคิดที่วา “ความประมาทจะนํามาซึ่งความลมเหลว”
ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 - 6 คน แตละกลุมรวมกันสืบคนหรือแตงนิทาน 1. อยาควรประมาทผู ทุรพล
เกีย่ วกับ “ความพอเพียง” มากลุม ละ 1 เรือ่ ง นักเรียนในกลุม แลกเปลีย่ นความคิดเห็น สบเคราะหคราวขัดสน สุดรู
ที่ไดจากนิทานรวมกัน จากนั้นสงตัวแทนมาเลานิทานและบอกขอสรุปที่ไดจากเรื่อง 2. เชื้อวงศวายรักรอย ริษยา กันเฮย
ปรปกษเบียนบีฑา งายแท
3. ชาติกักขฬะดุราย สันดาน
คงจะหาสิ่งพาล โทษให
4. เชื่อเร็วแรงเรี่ยวทั้ง เชาวนชาญ เชี่ยวแฮ
แมนประมาทมละการ ก็ลา
นักเรียนควรรู วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. อยาดูถูกผูที่ออนแอกวา เพราะเมื่อเกิดปญหา
ผูที่ออนแอกวาอาจชวยเหลือได ขอ 2. พี่นองวงคตระกูลเมื่อริษยาเกลียด
1 ความประมาทหรือหยิ่งทระนง พุทธสุภาษิตสอนเรื่องความไมประมาท ดังนี้ ชังกันจะถูกศัตรูทําลายไดงาย ขอ 3. ผูที่มีนิสัยดุรายอันธพาลมักจะหา
• อปฺปมตฺตา น มียนฺติ ผูไมประมาท ยอมไมตาย เรื่องพาลใสผูอื่นเสมอ และขอ 4. มั่นใจในกําลังและปญญาของตนมากจะ
• อปฺปมตฺโต หิ ฌายนฺโต ผูไมประมาทพินิจอยู ยอมถึงสุขอันไพบูลย ทําใหเสียการ ตอบขอ 4.
138 คู่มือครู
ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ Evaluate
Engage Explore Explain Expand
ตรวจสอบผล Evaluate
1. นักเรียนเชื่อมโยงขอคิดที่ไดจากโคลงสุภาษิต
อิศปปกรณํามาแกไขสถานการณในชีวิต
ประจําวันได
ค�ำถำม ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้
2. นักเรียนอธิบายคุณคาวรรณศิลปเรื่องบทเจรจา
๑. ข้อคิดใดจากโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการที่สามารถน�าไปใช้เป็นหลักในการพิจารณาข้อมูลที่ได้รับ ที่มีความเหมาะสมของตัวละครได
๒. นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดนิทานอีสปจึงเป็นที่รู้จักแพร่หลายไปทั่วโลก
๓. เนื้อหาสาระที่กล่าวในโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ และถ้าปฏิบัติตามจะเกิด
ผลดีอย่างไรบ้าง หลักฐานแสดงผลการเรียนรู
๔. ให้นักเรียนเลือกบทประพันธ์ในหน่วยการเรียนรู้นี้ ๑ บท มาถอดค�าประพันธ์และบอกข้อคิดหรือ
ประโยชน์ที่จะได้รับจากการปฏิบัติตาม 1. การแตงประโยคความซอนจากคําศัพท
๕. นิทานอีสปแต่ละเรื่องที่น�ามาศึกษาให้ข้อคิดอย่างไรบ้าง จงอธิบาย ในบทเรียน
2. การสํารวจตนเองและนําขอคิดจากเรื่องไปใช
ปรับปรุงตนเอง
3. การแตงนิทานที่ใหขอคิดเหมือนเรื่องกระตาย
กับเตา
4. การเลานิทานอีสป
5. การแสดงบทบาทสมมุติตามเนื้อเรื่องนิทาน
อีสป
กิจกรรม สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้

กิจกรรมที่ ๑ ใ ห้นกั เรียนอ่านนิทานอีสปเรือ่ งอืน่ ๆ เพิม่ เติม แล้วน�ามาเล่าหน้าชัน้ เรียน ระบุขอ้ คิด
ที่ได้รับจากเรื่อง

กิจกรรมที่ ๒ เ ขียนเรียงความแสดงความคิดเห็น โดยน�าหัวข้อจากโคลงสุภาษิตมาเป็นประเด็น


เช่น มิตรสหายที่ดี หนังสือดี อ�านาจปัญญา เป็นต้น

กิจกรรมที่ ๓ ใ ห้นักเรียนแต่งค�าขวัญที่มีเนื้อความสอดคล้องกับโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ โดยใช้


ค�าไม่เกิน ๒๐ ค�า แต่งให้มีสัมผัสคล้องจอง

139

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู
1. สามารถนําแนวคิดเกี่ยวกับการใชเหตุผลในการพิจารณาขอมูล ขาวสารที่ไดรับอยางรอบคอบ พิจารณาไตรตรองอยางถวนถี่เพื่อคนหาขอเท็จจริง ไมดวนตัดสินใจเชื่อ
โดยทันที
2. สาเหตุที่นิทานอีสปเปนที่นิยมแพรหลายไปทั่วโลก เนื่องจากนิทานอีสปมีเคาโครงเรื่องที่ไมซับซอน เขาใจงาย ขนาดเรื่องไมยาวมากนัก ประกอบกับมีการสอดแทรก
ขอคิดดีๆ ที่สามารถนําไปปรับใชไดจริง เนื้อหามีความสนุกสนานเพลิดเพลิน
3. เห็นดวยอยางยิ่ง ถาปฏิบัติตามจะนํามาซึ่งความสุข ทั้งกายและใจ มีความเจริญกาวหนาในชีวิต
4. ตัวอยางเชน โคลงสุภาษิตอิศปปกรณํา เรื่องสุนัขปากับลูกแกะ ถอดคําประพันธไดวา ความดุรายที่ติดเปนนิสัยมาตั้งแตเกิด มักจะหาเรื่องพาลคนอื่น แมคนอื่นจะ
พูดจาดวยความไพเราะหรือมีเหตุผลเพียงใด สุดทายก็พาลหาเรื่องใหไดดั่งใจตนเองอยูดี
5. นิทานอีสปเรื่องราชสีหกับหนูใหขอคิดเรื่องการตระหนักในคุณคาของบุคคล นิทานอีสปเรื่องบิดากับบุตรทั้งหลายใหขอคิดเรื่องความสามัคคี นิทานอีสปเรื่องสุนัขปา
กับลูกแกะใหขอคิดเกี่ยวกับคนพาลที่มักจะทําใหผูอื่นเดือดรอนเสมอ นิทานอีสปเรื่องกระตายกับเตาใหขอคิดวาความประมาทหรือความทระนงในความสามารถ
ของตนเองทําใหการกระทําสิ่งใดๆ ไมประสบความสําเร็จ

คู่มือครู 139
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Explore Explain Expand Evaluate
เปาหมายการเรียนรู
1. สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน
2. วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน
พรอมยกเหตุผลประกอบ
3. อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม
ที่อาน
4. สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพื่อประยุกต
ใชในชีวิตจริง
5. ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนดและ
บทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ

สมรรถนะของผูเรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกปญหา
4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค
1. รักชาติ ศาสน กษัตริย
2. ใฝเรียนรู
หน่วยที่ ๗
3. รักความเปนไทย กลอนดอกสร้อยร�ำพึงในป่ำช้ำ
ตัวชี้วัด
■ สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน (ท ๕.๑ ม.๒/๑)
วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน พร้อมยกเหตุผลประกอบ
ใ นสมัยรัชกาลที่ ๖ วรรณคดีตะวันตกได้เข้ามา

มีอิทธิพลต่อกวีไทยมากขึ้น มีการแปลวรรณคดี
กระตุน้ ความสนใจ Engage ■
(ท ๕.๑ ม.๒/๒)
อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน (ท ๕.๑ ม.๒/๓) ตะวันตกเป็นร้อยแก้ว มีการน�ามาเรียบเรียงเป็น
■ สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านเพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ร้อยกรอง แล้วดัดแปลงให้สอดคล้องกับวัฒนธรรม
ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับปาชาอันเปน (ท ๕.๑ ม.๒/๔) และรสนิยมของคนไทย
ท่องจำาบทอาขยานตามที่กำาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตาม
สถานที่แหงความตาย จากนั้นครูถามนักเรียน ■

ความสนใจ (ท ๕.๑ ม.๒/๕)


กลอนดอกสร้อยร�าพึงในป่าช้า เป็นบทประพันธ์ทถี่ อด
ความมาจากเรื่อง “Elegy Written in a Country
เกี่ยวกับภาพหนาหนวยวา นักเรียนดูภาพแลวมี Churchyard” ของกวีชาวอังกฤษ โดยน�ามาดัดแปลง
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ความรูสึกอยางไร ภาพปาชาในหนาหนวยตรงกับ ให้เข้ากับธรรมเนียมไทย ด้วยเนื้อหาที่แสดงความเข้าใจ
■ การวิเคราะห์คุณค่าและข้อคิดจากวรรณคดี
จินตนาการของนักเรียนหรือไม อยางไร และวรรณกรรม เรื่อง กลอนดอกสร้อยรำาพึงในป่าช้า ธรรมชาติ ข องมนุ ษ ย์ ผ สมผสานกั บ ความงามทางด้ า น
บทอาขยานตามที่กำาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า วรรณศิลป์ กลอนดอกสร้อยร�าพึงในป่าช้าจึงเป็นบทประพันธ์
(แนวตอบ นักเรียนตอบไดหลากหลายขึ้นอยูกับ ■

ทีม่ คี ณ
ุ ค่าเหมาะสมทีจ่ ะได้รบั คัดเลือกให้เป็นบทเรียนในระดับ
ความเห็นและประสบการณของนักเรียน เชน รูสึก มัธยมศึกษา เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนอย่างแท้จริง
วังเวงใจ นากลัว เงียบงัน เปนตน)

เกร็ดแนะครู
กลอนดอกสรอยรําพึงในปาชา มุงเสนอความจริงเกี่ยวกับชีวิต โดยผูแตง
เสนอหลักแนวคิดวา มนุษยทั้งหลายตองตาย ซึ่งเปนสัจธรรมที่เที่ยงแทแนนอนใน
ชีวิต ครูจัดกิจกรรมใหนักเรียนเห็นคุณคาและความสําคัญของชีวิต นักเรียนเสนอ
แนวทางในการใชชีวิตใหมีความสุข โดยใหนักเรียนบอกคติพจนในการดําเนินชีวิต
ของแตละคน พรอมทั้งใหนักเรียนแตละคนอธิบายเหตุผลของการยึดคติพจนนั้น

140 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
Engage Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูกระตุนความสนใจของนักเรียน โดยการ
๑ ความเป็นมา ตั้งคําถามที่นําเขาสูเนื้อเรื่อง ดังนี้
กลอนดอกสร้อยร�ำพึงในป่ำช้ำ มีทมี่ ำจำกกวีนพิ นธ์ชอื่ Elegy Written in a Country Churchyard • นักเรียนเคยอานหรือรูจักงานแปลหรือไม
ของ ทอมัส เกรย์ (Thomas Gray) กวีชำวอังกฤษ ซึ่งประพันธ์ขึ้นเมื่อประมำณ พ.ศ. ๒๒๘๕ หลังจำก อยางไร
ญำติและเพื่อนของผู้ประพันธ์เสียชีวิตลงในเวลำใกล้เคียงกัน (แนวตอบ นักเรียนตอบไดหลากหลายขึ้นอยู
พระยำอุปกิตศิลปสำร (นิ่ม กำญจนำชีวะ) เป็นผู้ประพันธ์กลอนดอกสร้อยร�ำพึงในป่ำช้ำ กับประสบการณของนักเรียน วรรณกรรมที่
จำกต้นฉบับแปลของเสฐียรโกเศศ ก่อนที่จะขึ้นกลอนดอกสร้อยจะมีบทกถำมุขหรือบทน�ำเรื่อง ซึ่ง กําหนดใหเรียนรู เชน ราชาธิราช ตอน
นำคะประทีปเป็นผู้เรียบเรียงไว้ ซึ่งก่อนเข้ำสู่เนื้อเรื่องผู้ประพันธ์ได้ระบุข้อควำมที่เกี่ยวกับกำรแปล สมิงพระรามอาสา เปนตน และอาจมีเรื่อง
เรือ่ งนีไ้ ว้วำ่ “จำกภำษำอังกฤษซึง่ ท่ำนเสฐียรโกเศศแปลให้ ข้ำพเจ้ำได้แต่งดัดแปลงให้เข้ำกับธรรมเนียม อื่นๆ ที่นักเรียนรูจัก เชน สามกก เปนตน)
ไทยบ้ำง” ดังบทประพันธ์
๑๕
ซำกเอ๋ยซำกศพ อำจเป็นซำกนักรบผู้กล้ำหำญ ส�ารวจค้นหา Explore
เช่นชำวบ้ำนบำงระจันขันร�ำบำญ กับหมู่ม่ำนมำประทุษอยุธยำ
ไม่เช่นนั้นท่ำนกวีเช่นศรีปรำชญ์ นอนอนำถเล่ห์ใบ้ไร้ภำษำ 1. นักเรียนสืบคนหาความรูเกี่ยวกับประวัติ
หรือผู้กู้บ้ำนเมืองเรืองปัญญำ อำจจะมำนอนจมถมดินเอย ความเปนมาและประวัติผูแตงจากหนังสือเรียน
เอกสาร ตํารา และเว็บไซตที่เกี่ยวของ
จำกค�ำประพันธ์ตัวอย่ำงข้ำงต้น จะเห็นว่ำมีกำรดัดแปลงโดยกล่ำวถึงชำวบ้ำนบำงระจัน
2. นักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับลักษณะบังคับ
เหล่ำผู้กล้ำของไทยเมื่อครั้งเสียกรุงศรีอยุธยำครั้งที่ ๒ และศรีปรำชญ์ กวีของไทยในสมัยอยุธยำ
เป็นกำรดัดแปลงเนื้อควำมบำงส่วนให้สอดคล้องกับสังคมไทย และฉันทลักษณของการแตงกลอนดอกสรอย
จากหนังสือเรียนหนา 143 หรือจากเอกสาร
๒ ประวัติผู้แต่ง ตําราและเว็บไซตที่เกี่ยวของ จากนั้นนํามา
แลกเปลี่ยนเรียนรูในชั้นเรียน
๒.๑ พระยาอุปกิตศิลปสาร (นิม่ กาญจนาชีวะ)
พระยำอุปกิตศิลปสำร (นิ่ม กำญจนำชีวะ) เกิดเมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภำคม พ.ศ. ๒๔๒๒
ได้รบั กำรศึกษำขัน้ ต้นทีว่ ดั บำงประทุนนอกและทีว่ ดั ประยุรวงศำวำส ต่อมำได้บวชเป็นสำมเณรและเป็น
อธิบายความรู้ Explain
พระภิกษุทวี่ ดั สุทศั นเทพวรำรำม ระหว่ำงทีบ่ วชได้ศกึ ษำพระธรรมวินยั จนสอบได้เปรียญธรรม ๖ ประโยค นักเรียนอานบทกถามุขหรือบทนําเรื่อง และ
พระยำอุปกิตศิลปสำรเริ่มเข้ำรับรำชกำร โดยท�ำงำนเป็นครูฝึกสอนอยู่ที่โรงเรียน ตอบคําถามในประเด็นตอไปนี้
ฝึกหัดอำจำรย์สำยสวลีสัณฐำคำร ฝ่ำยสอนหนังสือที่โรงเรียนสวนกุหลำบและโรงเรียนฝึกหัดอำจำรย์ • พระยาอุปกิตศิลปสารดัดแปลงตนฉบับแปล
บ้ำนสมเด็จเจ้ำพระยำ นอกจำกนีพ้ ระยำอุ1ปกิตศิลปสำรยังเคยด�ำรงต�ำแหน่งข้ำหลวงตรวจกำร ภำยหลัง
ของเสฐียรโกเศศอยางไร
รในกระทรวงธรรมกำร พนักงำนกรมรำชบัณฑิต ปลัดกรมต�ำรำหัวหน้ำกำรพิมพ์
เข้ำมำรับรำชกำรในกระทรวงธรรมกำร
แบบเรียน หัวหน้ำแผนกอภิธำนสยำม จนได้บรรดำศักดิ์เป็นอ�ำมำตย์เอก พระยำอุปกิตศิลปสำร
(แนวตอบ ดัดแปลงใหเขากับเรื่องราวและ
พระยำอุปกิตศิลปสำรเป็นผู้มีควำมรู้ควำมเชี่ยวชำญทำงภำษำไทย ภำษำบำลี และ ประสบการณของคนไทย ดัดแปลงใหเขากับ
วรรณคดีโบรำณ เคยเป็นอำจำรย์พิเศษคณะอักษรศำสตร์ จุฬำลงกรณ์2มหำวิทยำลัยและเคยเป็น ธรรมเนียมไทยที่จะทําใหผูอานเขาใจ
อำจำรย์พิเศษสอนภำษำไทยชุดครูมัธยมและเป็นกรรมกำรช� รช�ำระปทำนุกรม เนื้อเรื่องและสารที่กวีตองการสื่อ)

141

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ขอใดคือคุณคาดานเนื้อหาของกลอนดอกสรอยรําพึงในปาชา
1 กระทรวงธรรมการ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
1. ตองการแสดงคุณคาของชีวิต
ไดมีการกอตั้ง “กระทรวงธรรมการ” ขึ้นเพื่อทําหนาที่ดูแลศาสนา การศึกษา
2. ตองการแสดงสัจธรรมของชีวิต
การพยาบาล และพิพิธภัณฑ เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2435 ซึ่งกระทรวงธรรมการ
3. ตองการแสดงความสําคัญของชีวิต
มีการเปลี่ยนชื่อไปมาหลายครั้งระหวางชื่อ “กระทรวงธรรมการ” และ “กระทรวง
4. ตองการแสดงความเปนไปของชีวิต
ศึกษาธิการ” อยางไรก็ตาม ตั้งแตป พ.ศ. 2484 ก็ไดใชชื่อวา “กระทรวงศึกษาธิการ”
วิเคราะหคําตอบ กลอนดอกสรอยรําพึงในปาชาตองการแสดงสัจธรรม ตั้งแตนั้นมา โดยมีที่ทําการอยูที่ “วังจันทรเกษม” จนถึงปจจุบัน
ของชีวิต คือ ความจริงแทตามธรรมชาติมีการเกิด แก เจ็บ และตายไป 2 ปทานุกรม เปนหนังสือสําหรับคนควาหาความหมายของคําที่เรียบเรียงตาม
เปนธรรมดาโดยไมตองพิสูจน ตอบขอ 2. ลําดับบทเปนเรื่องๆ ไป ใหความรูเกี่ยวกับคํา และถอยคําที่ใชในภาษา และคําที่ใช
กันมากในชีวติ ประจําวัน ไดแก ความหมายของคําศัพทตา งๆ ทัง้ คําในชีวติ ประจําวัน
คําศัพทในวรรณคดีและศัพททางวิชาการ เรียงตามลําดับตัวอักษร มีคําพองรูป
คําพองเสียง คําที่มักเขียนผิด ประมวลคําอาน สํานวนไทย คํายอ ฯลฯ

คู่มือครู 141
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนสรุปเกี่ยวกับผลงานการประพันธของ
ผูแตงกลอนดอกสรอยรําพึงในปาชา ดังนี้ ผลงำนส�ำคัญทำงด้ำนภำษำและวรรณคดีไทย ได้แก่ สยำมไวยำกรณ์ เป็นต�ำรำ
• พระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนะชีวะ) ไวยำกรณ์ไทย มี ๔ เล่ม ได้แก่ อักขรวิธี วจีวิภำค วำกยสัมพันธ์ และฉันทลักษณ์ สงครำมภำรตค�ำกลอน
(แนวตอบ เปนผูมีความรูความเชี่ยวชาญทาง ชุมนุมนิพนธ์ อ.น.ก. ค�ำประพันธ์บำงเรื่อง ค�ำประพันธ์โคลงสลับกำพย์ บทกลอนและปำฐกถำต่ำงๆ
ภาษาไทย ภาษาบาลี และวรรณคดีโบราณ เกี่ยวกับวรรณคดีและกำรใช้ภำษำ
ผลงานที่สําคัญอยางยิ่งเกี่ยวกับไวยากรณไทย ๒.๒ พระยาอนุมานราชธน
านราชธน (ยง เสฐี
1 ยรโกเศศ)
และมีตําราเกี่ยวกับคําประพันธอื่นๆ) พระยำอนุมำนรำชธนหรือนนำมปำกกำว่ำ เสฐียรโกเศศ ชื่อเดิม หลีกวงหยง ต่อมำ
• พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) ได้เปลี่ยนเป็น ยง และได้รับพระรำชทำนนำมสกุลจำกพระบำทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ำเจ้ำอยู่หัวว่ำ
(แนวตอบ พระยาอนุมานราชธนเปนผูขวนขวาย “เสฐียรโกเศศ” ได้รับกำรศึกษำขั้นต้นด้วยกำรเรียนกับบิดำ หลังจำกนั้นมำรดำจึงพำไปฝำกเข้ำเรียนที่
ความรู เปนปราชญคนสําคัญของไทย มีผลงาน โรงเรียนบ้ำนพระยำนำนำ ต่อมำจึงเข้ำศึกษำต่อที่โรงเรียนอัสสัมชัญ แต่มีเหตุให้ต้องออกจำกโรงเรียน
แพรหลายและเปนที่ยอมรับอยางกวางขวาง อย่ำงไรก็ตำม พระยำอนุมำนรำชธนกลับขวนขวำยหำควำมรู้จนนับได้ว่ำเป็นนักปรำชญ์คนส�ำคัญ
จนไดรับการยกยองจากองคการยูเนสโกให ของไทยและได้รับกำรยกย่องจำกองค์กำรยูเนสโกให้เป็นผู้มีผลงำนดีเด่นทำงด้ำนวัฒนธรรมและเป็น
หนึ่งในบุคคลส�ำคัญของโลกชำวไทย ประจ�ำ พ.ศ. ๒๕๓๑
เปนผูมีผลงานดีเดนทางดานวัฒนธรรม
พระยำอนุมำนรำชธนได้เริ่มต้นชีวิตกำรท�ำงำนโดยไม่ได้รับค่ำตอบแทนด้วยกำรฝึกหัด
ใน พ.ศ. 2531 ตัวอยางผลงาน เชน กามนิต ผสมยำที่โอสถศำลำของรัฐบำล จำกนั้นลำออกไปท�ำงำนที่โรงแรมโอเรียลเต็ล ต่อมำได้เข้ำรับรำชกำร
อาหรับราตรี หิโตปเทศ เรื่องของชาติไทย ที่กรมศุลกำกรในต�ำแหน่งเสมียนจนได้รับพระรำชทำนบรรดำศักดิ์เป็นพระยำ ต�ำแหน่งสุดท้ำยในชีวิต
การศึกษาวรรณคดีแงวรรณศิลป) กำรท�ำงำนของท่ำนคือ อธิบดีกรมศิลปำกร
• พระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป) ผลงำนกำรประพันธ์ของพระยำอนุมำนรำชธน นับว่ำเป็นองค์ควำมรู้ทำงด้ำนวรรณคดี
(แนวตอบ พระสารประเสริฐ เปนผูเชี่ยวชาญ ศำสนำ ศิลปวัฒนธรรมประเพณี เช่น หิโตปเทศ เรื่องของชำติไทย กำรศึกษำวรรณคดีแง่วรรณศิลป์
ดานอักษรศาสตร โดยเฉพาะอยางยิ่งภาษา อำหรับรำตรี ลัทธิของเพื่อน กำมนิต ลัทธิ-ศำสนำ เป็นต้น
บาลี มักมีผลงานทางวรรณกรรมรวมกับ ๒.๓ พระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป)
พระยาอนุมานราชธน ทั้งหนังสือแปล พระสำรประเสริฐ ชื่อเดิม ตรี นำคะประทีป ผู้เชี่ยวชำญวิชำอักษรศำสตร์ภำษำไทย
และหนังสือที่รวมกันประพันธเอง) ได้รับกำรศึกษำขั้นต้นที่โรงเรียนสวนกุหลำบวิทยำลัย จำกนั้นจึงบวชเป็นสำมเณรสอบได้เปรียญ
๗ ประโยค มีหน้ำที่สอนภำษำบำลีในส�ำนักวัดเทพศิรินทรำวำส เรียกกันโดยทั่วไปว่ำ “พระมหำตรี”
ขยายความเข้าใจ Expand พระสำรประเสริ ฐ ได้ เริ่ ม ต้ นชี วิ ต กำรท� ำ งำนหลั งจำกลำสิ ก ขำออกมำเป็ น ฆรำวำส
โดยเข้ำรับรำชกำรเป็นอนุศำสนำจำรย์ประจ�ำกระทรวงกลำโหม ต่อมำได้ย้ำยมำรับรำชกำรที่กระทรวง
นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ศึกษำธิกำรในต�ำแหน่งผู้ช่วยแผนกอภิธำนสยำมในกรมต�ำรำ ได้บรรดำศักดิ์เป็นหลวงธุรกิจภิธำนและ
ความสําคัญของผูแตงกลอนรําพึงดอกสรอยใน ได้ยำ้ ยไปรับรำชกำรในกรมรำชเลขำธิกำรต�ำแหน่งปลัดกรมพระอำลักษณ์ ได้รบั พระกรุณำโปรดเกล้ำฯ
ปาชาทีส่ รางคุณประโยชนตอ ภาษาและวรรณคดีไทย ให้เลือ่ นบรรดำศักดิเ์ ป็นพระสำรประเสริฐ จำกนัน้ ลำออกจำกรำชกำรมำเป็นอำจำรย์พเิ ศษประจ�ำแผนก
จากนั้นแลกเปลี่ยนเรียนรูกับเพื่อนในชั้นเรียน วิชำภำษำบำลี คณะอักษรศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย
(แนวตอบ ผูประพันธทั้ง 3 ทาน ลวนแลวแตมี พระสำรประเสริฐร่วมงำนด้ำนอักษรศำสตร์และด้ำนวรรณกรรมอย่ำงใกล้ชิดกับ
สวนสําคัญอยางยิง่ ตอการศึกษาภาษาและวรรคดีไทย พระยำอนุมำนรำชธน นับตัง้ แต่กำรร่วมแปลหิโตปเทศ โดยผลงำนทีท่ ำ่ นเขียนขึน้ เอง ได้แก่ พระธรรมบท
เพราะนอกจากจะสรางงานวรรณกรรมเพื่อความรู หมวดพำลแทรกชำดกและคัมภีร์อภิธำรัปปทีปิกำ
และความบันเทิงแลว ยังวางกฎเกณฑสรางแบบแผน 142
การศึกษาภาษาและวรรณคดีไทย ใหคนรุนหลังไดใช
เปนแนวทางในการเรียนภาษาและวรรณคดีไทยสืบมา)
บูรณาการเชื่อมสาระ
นักเรียนควรรู ครูใหนักเรียนสืบคนผลงานกวีนิพนธเรื่อง Elegy Written in a coutry
Churchyard จากนัน้ บูรณาการกับรายวิชาภาษาอังกฤษ ดวยการเปรียบเทียบ
1 พระยาอนุมานราชธน ไดรับมอบหมายใหเปนผูรางพระราชบัญญัติจัดตั้ง
ชื่อเรื่องที่เปนตนฉบับกับชื่อที่เปนฉบับแปลภาษาไทย โดยนักเรียนใช
โรงเรียนศิลปากรแผนกชาง ซึง่ เดิมคือโรงเรียนประณีตศิลปกรรมขึน้ เปนมหาวิทยาลัย
กระบวนการแปลความ และตีความมาพิจารณาชื่อเรื่องวามีสารสัมพันธ
ศิลปากร เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2486 ผลงานสําคัญที่ทานไดริเริ่มรวมกับ
อยางไร และกวีไทยคงจุดมุง หมายของเรือ่ งไวอยางไร เพือ่ ชวยขยายขอบเขต
ศาสตราจารยศิลป พีระศรี คือ การจัดการแสดงศิลปกรรมแหงชาติขึ้นเปนครั้งแรก
ความเขาใจของนักเรียนที่ตองศึกษาวรรณกรรมที่มีลักษณะขามวัฒนธรรม
เมื่อป พ.ศ. 2492 และยังคงมีการจัดแสดงจนถึงปจจุบันนี้ นับเปนการจัดการแสดง
โดยครูแนะใหนักเรียนพิจารณาจากชื่อเรื่องเปนเบื้องตน
งานศิลปะที่มีระยะเวลาการจัดแสดงยาวนานที่สุดในประเทศไทย

มุม IT
ศึกษาเกี่ยวกับประวัติของผูประพันธกลอนดอกสรอยรําพึงในปาชาเพิ่มเติม ไดที่
http://sathirakoses-nagapradipa.org/index.php?option=com_content&vie
w=article&id=136&Itemid=4

142 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู้ Explain
1. จากแผนผังกลอนดอกสรอยในหนังสือเรียน
๓ ลักษณะคÓประพันธ์ หนา 143 นักเรียนรวมกันสังเกตแผนผังลักษณะ
คําประพันธและรวมกันตอบคําถาม
กลอนดอกสร้อยร�ำพึงในป่ำ ช้ำนี้แต่งเป็นกลอนดอกสร้อยจ�ำนวน ๓๓ บท เพิ่มขึ้นจำก • กลอนดอกสรอยมีลักษณะเหมือนและ
บทประพันธ์ภำษำอังกฤษหนึ่งบท กลอนดอกสร้อยบทหนึ่งประกอบด้วยกลอนสุภำพจ�ำนวน ๒ บท ตางจากกลอนสุภาพอยางไรบาง
หรือ ๔ ค�ำกลอน (มี ๘ วรรค) วรรคแรกมี ๔ ค�ำ โดยค�ำที่ ๒ ของวรรคแรกจะใช้ค�ำ “เอ๋ย” และ (แนวตอบ กลอนดอกสรอยกับกลอนสุภาพ
จบค�ำสุดท้ำยของบทด้วยค�ำว่ำ “เอย” ส่วนลักษณะสัมผัสเหมือนกลอนสุภำพทุกประกำร (กลอนแปด) ฉันทลักษณคลายกันคือ
แผนผังและตัวอย่าง กลอนดอกสร้อย กลอนดอกสรอย 1 บท มี 8 วรรค หรือ 4
คํากลอน ในขณะที่กลอนสุภาพ 1 บท มี 4
 
เอ๋ย  
    
  
  
  

วรรค หรือ 2 คํากลอน จํานวนคําในแตละ
วรรค ยกเวนวรรคแรกที่มี 4-5 คํา บังคับ
   
  
  
  
  
   
  
  
  
 คําวา “เอย” ใหเปนคําที่สองของวรรคแรก
   
  
  
  
  
   
  
  
  

ในแตละบท สวนสัมผัสบังคับในตําแหนง
ตางๆ มีเหมือนกัน และกลอนดอกสรอย
   
  
  
  
  
   
  
  
  
เอย ลงทายดวยคําวา “เอย” ในแตละบทเสมอ)

• นอกจากกลอนดอกสรอยจะเหมือนกลอน
ยำมเอ๋ยยำมนี้ ปถพีมืดมัวทั่วสถำน สุภาพ ยังเหมือนกลอนชนิดอื่นอีกหรือไม
อำกำศเย็นเยือกหนำวครำววิกำล สงัดปำนป่ำใหญ่ไร้ส�ำเนียง อยางไร
มีก็แต่จังหรีดกระกรีดกริ่ง! เรไรหริ่ง! ร้องขรมระงมเสียง (แนวตอบ กลอนดอกสรอยเหมือนกับกลอน
คอกควำยวัวรัวเกรำะเปำะเปำะ! เพียง รู้ว่ำเสียงเกรำะแว่วแผ่วแผ่วเอย สักวา เพราะลงทายบทดวยคําวา เอย)
2. นักเรียนรวมกันสรุปประเด็นสําคัญจากเรื่องยอ

๔ เรื่องย่อ ขยายความเข้าใจ Expand


ในเวลำเย็นใกล้ 1 ค�่ำ ชำยผู้หนึ่งเข้ำไปนั่งอยู่ในวัดชนบทแห่งหนึ่งที่มีแต่ควำมเงียบสงบ เมื่อได้ยิน นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน นําประเด็น
เสียงระฆังย�่ำบอกเวลำใกล้ค�่ำ เขำมองเห็นชำวนำพำกันจูงวัวควำยเดิ 2 นทำงกลับบ้ำน เมื่อสิ้นแสงตะวัน สําคัญที่ไดจากการสรุปเรื่องยอมาแตงกลอน
ได้ ยิ น เสี ย งหรี ด หริ่ ง เรไรและเสี ย งเกรำะในคอกสั ต ว์ นกแสกที่ จั บ อยู ่ บ นหอระฆั ง ก็ ส ่ ง เสี ย งร้ อ ง ดอกสรอย หัวขอ “ชีวติ กับความตาย” จํานวน 2 บท
ณ บริเวณโคนต้นโพธิ์ ต้นไทรนั่นเอง มีหลุมฝังศพต่ำงๆ อยู่มำกมำย ควำมเงียบสงบและควำมวิเวก จากนั้นสงตัวแทนกลุมออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน
ก่อให้เกิดควำมรู้สึกซำบซึ้งในสัจธรรมของชีวิต ท่ำนผู้นั้นจึงร�ำพึงร�ำพันออกมำเป็นบทกวีว่ำแม้ผู้ดี
มีจน นำย ไพร่ นักรบ กษัตริย์ ต่ำงก็มีจุดจบคือ ควำมตำย เหมือนกัน ตรวจสอบผล Evaluate
เนื้อเรื่องของกลอนดอกสร้อยร�ำพึงในป่ำช้ำ ในหนังสือเรียนเล่มนี้ คัดมำเพื่อให้ศึกษำจ�ำนวน
๒๑ บท จำกทั้งหมด ๓๓ บท 1. นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความ
143 สําคัญของผูแตงกลอนดอกสรอยรําพึงในปาชา
ที่มีคุณประโยชนตอภาษาและวรรณคดีไทย
2. นักเรียนแตงกลอนดอกสรอยจากการสรุป
ประเด็นสําคัญของเรื่องยอได
ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ยามเอยยามนี้ ปถพีมืดมัวทั่วสถาน
1 เสียงระฆังยํ่าบอกเวลา ตามวัดตางๆ ในชนบทมักจะ “ยํ่ากลอง” หรือ
อากาศเย็นเยือกหนาวคราววิกาล สงัดปานปาใหญไรสําเนียง
“ยํา่ ฆอง” “ยํา่ ระฆัง” เพือ่ บอกเวลาใหชาวบานรู ปกติการตีระฆังจะมีการตี 2 ชวงเวลา
มีก็แตจังหรีดกระกรีดกริ่ง เรไรหริ่งรองขรมระงมเสียง
เพื่อสวดมนตทําวัตร คือ ครั้งแรก ตีประมาณ 08.00 น. เพื่อสงสัญญาณใหพระลง
คอกควายวัวรัวเกราะเปาะเปาะเพียง รูวาเสียงเกาะแววแผวแผวเอย
ทําวัตรเชา และตีอีกครั้งหนึ่งเวลาประมาณ 16.00 น จะตี 3 ลา (มาจากตีรัวจนกวา
ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับบทประพันธขางตน
ขอมือจะลา) ทั้งนี้จะใชเวลาตีไมเกิน 10 -15 นาที เพื่อสงสัญญาณใหพระลงประชุม
1. ลงทายดวยคําวา “เอย” เหมือนกลอนสุภาพ
ทําวัตรเย็น
2. สัมผัสในและสัมผัสนอกเหมือนกลอนสุภาพ
3. วรรคสดับขึ้นตนเหมือนกลอนสุภาพ 2 นกแสก คือนกชนิดหนึ่งที่ออกหากินยามกลางคืน มีขนาดปานกลางถึงใหญ
4. จํานวนบท 2 บทเทากลอนสุภาพ ลักษณะใบหนาเปนรูปหัวใจกลมชัด หัวโต บริเวณแขงยาว ในสมัยโบราณมีความเชื่อ
กันวา ถานกแสกไปเกาะหลังคาบานใครแสดงวาบานนั้นจะมีคนเสียชีวิต จึงเรียกกัน
วิเคราะหคําตอบ สัมผัสในของกลอนสุภาพ คือ คําสุดทายของวรรคแรก วา “นกผี” เปนสัญลักษณของความตาย
สัมผัสกับคําที่ 3 หรือ 5 ของวรรคที่ 2 และคําสุดทายของวรรคที่ 2 สัมผัสกับ
คําสุดทายของวรรคที่ 3 และคําที่ 3 หรือ 5 ของวรรคที่ 4 มีสัมผัสนอก
ตรงที่คําสุดทายของวรรคที่ 4 สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่ 2 ของบท
ถัดไป ซึ่งเหมือนกับกลอนดอกสรอย ตอบขอ 2.
คู่มือครู 143
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
Engage Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูทบทวนเนื้อเรื่องยอกลอนดอกสรอยรําพึงใน
ปาชา จากนั้นครูสุมเรียกนักเรียนใหอานบทกถามุข
ใหเพื่อนในหองฟง และรวมกันแสดงความคิดเห็น
๕ เนื้อเรื่อง
1
เกี่ยวกับบรรยากาศของเรื่อง กถามุข
(แนวตอบ บรรยากาศในเรื่องเปนสิ่งที่จะพบไดใน ดังได้ยินมำ สมัยหนึ่ง ผู้มีชื่อต้องกำรควำมวิเวก, เข้ำไปนั่งอยู่ ณ ที่สงัดในวัดชนบท เวลำ
ชนบท การมีวถิ ชี วี ติ ทีเ่ รียบงายรายลอมดวยธรรมชาติ ตะวันรอนๆ, จนเสียงระฆังย�่ำบอกสิ้นเวลำวัน ฝูงโคกระบือ และพวกชำวนำพำกันกลับที่อยู่เป็นหมู่ๆ.
สะทอนความจริงของชีวิตที่ทุกชีวิตตองตาย) เมื่อสิ้นแสงตะวันแล้ว ได้ยินแต่เสียงจังหรีดเรไรกับเสียงเกรำะในคอกสัตว์. นกแสกจับอยู่บนหอระฆัง
ก็ร้องส่งส�ำเนียง. ณ ที่นั้นมีต้นไทรต้นโพธิ์สูงใหญ่ ใต้ต้นล้วนมีเนินหญ้ำ กล่ำวคือที่ฝังศพต่ำงๆ
ส�ารวจค้นหา Explore อันแลเห็นด้วยเดือนฉำย. ศพในที่เช่นนั้นก็เป็นศพพวกชำวไร่ชำวนำนั่นเอง. ผู้นั้นมีควำมรู้สึกซึ้ง
1. นักเรียนสืบคนเกี่ยวกับความหมาย ลักษณะ เยือกเย็นใจอย่ำงไร แล้วร�ำพึงอย่ำงไรในหมู่ศพ, ได้เขียนควำมในใจนั้นออกมำสู่กันดังต่อไปนี้
และความสําคัญของกถามุข (กถามุขนี้ นาคะประทีป เรียบเรียง)
2. นักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับเนื้อเรื่องกลอน ดอกสร้อย
ดอกสรอยรําพึงในปาชาเพิ่มเติม ๑
วังเอ๋ยวังเวง หง่ำงเหง่ง! ย�่ำค�่ำระฆังขำน
อธิบายความรู้ Explain ฝูงวัวควำยผ้ำยลำทิวำกำล ค่อยค่อยผ่ำนท้องทุ่งมุ่งถิ่นตน
ชำวนำเหนื่อยอ่อนต่ำงจรกลับ ตะวันลับอับแสงทุกแห่งหน
1. นักเรียนจับคูกันถอดคําประพันธเปนรอยแกว ทิ้งทุ่งให้มืดมัวทั่วมณฑล และทิ้งตนตูเปลี่ยวอยู่เดียวเอย
บทประพันธที่เลือกมาคูละ 1 บทลงในสมุด ๒
ยำมเอ๋ยยำมนี้ ปถพีมืดมัวทั่วสถำน
จากนั้นนักเรียนแตละคูออกมานําเสนอ
อำกำศเย็นเยือกหนำวครำววิกำล สงัดปำนป่ำใหญ่ไร้ส�ำเนียง
หนาชั้นเรียน
2. นักเรียนรวมกันอธิบายอารมณและความรูสึก มีก็แต่จังหรีดกระกรีดกริ่ง! เรไรหริ่ง! ร้องขรมระงมเสียง
ของกวีที่ถายทอดผานบทประพันธที่นักเรียน คอกควำยวัวรัวเกรำะเปำะเปำะ! เพียง รู้ว่ำเสียงเกรำะแว่วแผ่วแผ่วเอย

สรุปได นกเอ๋ยนกแสก จับจ้องร้องแจ๊กเพียงแถกขวัญ
(แนวตอบ สรุปการถอดคําประพันธหนา 144 อยู่บนยอดหอระฆังบังแสงจันทร์ มีเถำวัลย์รุงรังถึงหลังคำ
ไดดังนี้ เหมือนมันฟ้องดวงจันทร์ให้ผันดู คนมำสู่ซ่องพักมันรักษำ
บทที่ 1 แสดงอารมณเหงา วังเวงใจ เปลา ถือเป็นที่รโหฐำนนมนำนมำ ให้เสื่อมผำสุกสันต์ของมันเอย
เปลี่ยวใจ ๔
ต้นเอ๋ยต้นไทร สูงใหญ่รำกย้อยห้อยระย้ำ
บทที่ 2 สะทอนความรูสึกเงียบสงัดในยาม และต้นโพธิ์พุ่มแจ้แผ่ฉำยำ มีเนินหญ้ำใต้ต้นเกลื่อนกล่นไป
คํ่าคืน
ล้วนร่ำงคนในเขตประเทศนี้ ดุษณีนอนรำย ณ ภำยใต้
บทที่ 3 แสดงความรูสึกกลัว เพราะนกแสก
แห่งหลุมลึกลำนสลดระทดใจ เรำยิ่งใกล้หลุมนั้นทุกวันเอย
เปนสัญลักษณแหงความตาย
บทที่ 4 สะทอนความเชื่อเรื่องการปลูกตนโพธิ์ 144
ตนไทร บริเวณวัดหรือปาชา)

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ครูใชบทอาขยานนําเขาสูบ ทเรียน โดยใหนกั เรียนอานบทประพันธกลอนดอกสรอย ตนเอยตนไทร สูงใหญรากยอยหอยระยา
รําพึงในปาชาที่เปนบทอาขยานตั้งแตบทที่ 1-4 พรอมกัน ครูพิจารณาวาออกเสียงได และตนโพธิ์พุมแจแผฉายา มีเนินหญาใตตนเกลื่อนกลนไป
ถูกตองชัดเจนหรือไม ในการนําบทอาขยานไปใชประกอบการเรียนการสอน ครูตอง ลวนรางคนในเขตประเทศนี้ ดุษณีนอนราย ณ ภายใต
ใหนักเรียนถอดคําประพันธควบคูกันไปดวย แหงหลุมลึกลานสลดระทดใจ เรายิ่งใกลหลุมนั้นทุกวันเอย
จากคําประพันธที่ยกมานี้ ตนโพธิ์ ตนไทร อยูบริเวณใด
1. บริเวณวัดและปาชา 2. บริเวณสวนสาธารณะ
นักเรียนควรรู 3. บริเวณอุทยานตามสถานที่พักผอน 4. บริเวณหลังอาคารรางและบานราง
วิเคราะหคําตอบ จากบทประพันธบริเวณที่มีตนโพธิ์ ตนไทร คือ
1 กถามุข หมายถึง เบื้องตนของเนื้อความหรือการอธิบายเนื้อเรื่องโดยรวมเพื่อ
ที่ที่มีหลุมศพ จึงหมายถึงบริเวณวัดและปาชา ตอบขอ 1.
นําเขาสูเนื้อเรื่องทั้งหมด

144 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนรวมกันอธิบายอารมณและความรูสึก

หมดเอ๋ยหมดห่วง หมดดวงวิญญำณลำญสลำย ของกวีที่ถายทอดผานบทประพันธ ในหนา 145
ถึงลมเช้ำชวยชื่นรื่นสบำย เตือนนกแอ่นลมผำยแผดส�ำเนียง และสรุปแตละบท
อยู่ตำมโรงมุงฟำงข้ำงข้ำงนั้น ทั้งไก่ขันแข่งดุเหว่ำระเร้ำเสียง (แนวตอบ สรุปการถอดคําประพันธหนา 145
โอ้เหมือนปลุกร่ำงกำยนอนรำยเรียง พ้นส�ำเนียงที่จะปลุกให้ลุกเอย
ไดดังนี้
๖ บทที่ 5 สะทอนบรรยากาศยามเชาทุกสรรพ
ทอดเอ๋ยทอดทิ้ง ยำมหนำวผิงไฟล้อมอยู่พร้อมหน้ำ
สิ่งยังคงดําเนินตอไป แมจะมีรางที่ไร
ทิ้งเพื่อนยำกแม่เหย้ำหำข้ำวปลำ ทุกเวลำเช้ำเย็นเป็นนิรันดร์
ซึ่งเสียงใดจะปลุกใหลุกขึ้นมาได
ทิ้งทั้งหนูน้อยน้อยร่อยร่อยรับ เห็นพ่อกลับปลื้มเปรมเกษมสันต์ บทที่ 6 สะทอนภาพความเปนครอบครัวที่
เข้ำกอดคอฉอเลำะเสนำะกรรณ สำรพันทอดทิ้งทุกสิ่งเอย สูญหายไปเมื่อสมาชิกตายไปอยาง

กองเอ๋ยกองข้ำว กองสูงรำวโรงนำยิ่งน่ำใคร่ ไมมีวันกลับ
เกิดเพรำะกำรเก็บเกี่ยวด้วยเคียวใคร ใครเล่ำไถครำดฟื้นพื้นแผ่นดิน บทที่ 7 สะทอนภาพความทรงจําดีๆ ที่เคย
เช้ำก็ขับโคกระบือถือคันไถ ส�ำรำญใจตำมเขตประเทศถิ่น ทํานารวมกัน
ยึดหำงยำมยักไปตำมใจจินต์ หำงยำมผินตำมใจเพรำะใครเอย บทที่ 8 ถายทอดนํ้าเสียงเชิงประชดประชัน

ตัวเอ๋ยตัวทะยำน อย่ำบันดำลดลใจให้ใฝ่ฝัน ผูที่มักใหญใฝสูงแลวดูถูกชาวนา
ดูถูกกิจชำวนำสำรพัน และควำมครอบครองกันอันชื่นบำน บทที่ 9 ถายทอดนํ้าเสียงเชิงประชดประชัน
เขำเป็นสุขเรียบเรียบเงียบสงัด มีปวัตน์เป็นไปไม่วิตถำร ผูมีฐานะรํ่ารวย เมื่อตายไปก็นําอะไร
ขออย่ำได้เย้ยเยำะพูดเรำะรำน ดูหมิ่นกำรเป็นอยู่เพื่อนตูเอย ไปดวยไมได

สกุลเอ๋ยสกุลสูง ชักจูงจิตฟูชูศักดิ์ศรี บทที่ 10 ถายทอดนํ้าเสียงเชิงตัดพอตอวาหรือ
นอยใจที่คนจนเมื่อตายแลวไมมีสิ่งใด
อ�ำนำจน�ำควำมสง่ำอ่ำอินทรีย์ ควำมงำมน�ำให้มีไมตรีกัน
เปนที่ระลึกถึงเหมือนคนรวย
ควำมร�่ำรวยอวยสุขให้ทุกอย่ำง เหล่ำนี้ต่ำงรอตำยท�ำลำยขันธ์
บทที่ 11 เมื่อตายไปแลวสิ่งดีงามทั้งหลายไม
วิถีแห่งเกียรติยศทั้งหมดนั้น แต่ล้วนผันมำประจบหลุมศพเอย อาจถูกกลาวถึงใหไดยิน จะเปนแต
๑๐
ตัวเอ๋ยตัวหยิ่ง เจ้ำอย่ำชิงติซำกว่ำยำกไร้ ที่ชูเกียรติใหแกญาติที่ยังมีชีวิตอยู)
เห็นจมดินน่ำสลดระทดใจ ที่ระลึกสิ่งไรก็ไม่มี
ไม่เหมือนอย่ำงบำงศพญำติ1ตบแต่ง เครือ่ งแสดงเกียรติเลิศประเสริฐศรี
สร้ำงสถำนกำรบุ รบุญหนุนพลี เป็นอนุสำวรีย์สง่ำเอย
๑๑
ที่เอ๋ยที่ระลึก ถึงอธึกงำมลบในภพพื้น
ก็ไม่ชวนชีพที่ดับให้กลับคืน เสียงชมชื่นเชิดชูคุณผู้ตำย
เสียงประกำศเกียรติเอิกเกริกลั่น จะกระเทือนถึงกรรณนั้นอย่ำหมำย
ล้วนเป็นคุณแก่ผู้ยังไม่วำงวำย ชูเกียรติญำติไปภำยภำคหน้ำเอย
145

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
คําประพันธในขอใดไมใช คําถามเชิงวาทศิลป
1 พลี เปนคําพองรูป มี 3 ความหมาย ดังนี้
1. เกิดเพราะการเก็บเกี่ยวดวยเคียวใคร
1. พลี อานวา พะ-ลี เปนคํานาม แปลวา การบวงสรวง เครื่องบวงสรวง สวย
2. หรือใตทองหองสมุทรสุดสายตา
การบูชา (ตามแบบมี 5 คือ ญาติพลี สงเคราะหญาติ อติถิพลี ตอนรับแขก
3. ใครเลาไถคราดพื้นฟนแผนดิน
เปตพลี ทําบุญอุทศิ ใหผตู าย ราชพลี ถวายเปนหลวง มีเสียภาษีอากร เปนตน
4. ใครจะยอมละทิ้งซึ่งสิ่งสุข
เทวตาพลี ทําบุญอุทิศใหเทวดา ซึ่งแบงเปน 2 อยาง คือ ธรรมพลี อุทิศ
วิเคราะหคําตอบ การใชคําถามเชิงวาทศิลป หมายถึง การใชคําถามที่ กุศลให และอามิสพลี ใหสิ่งของ) ในที่นี้หมายถึงความหมายนี้
ผูถามไมตองการคําตอบ หรือรูคําตอบกันดีอยูแลว ไมจําเปนตองตอบ 2. พลี อานวา พลี เปนคํากริยา แปลวา เสียสละ เชน พลีชีพเพื่อชาติ
ขอที่จะเปนคําถามเชิงวาทศิลปตองมีลักษณะดังกลาว ขอที่ไมชัดเจนวาเปน บวงสรวงเชิญเอามา (ใชแก ยาสมุนไพร) เชน ไปพลียาที่ตนเทียน คือ ไป
คําถามหรือไม คือ ขอ 2. หรือใตทองหองสมุทรสุดสายตา จึงเปนขอที่ไมใช บวงสรวงเก็บตนเทียน หรือสวนใดสวนหนึ่งของตนเทียนมาทํายารักษาโรค
คําถามเชิงวาทศิลป ตอบขอ 2. 3. พลี อานวา พะ-ลี เปนคําวิเศษณ แปลวา มีกําลัง

คู่มือครู 145
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนรวมกันอธิบายอารมณและความรูสึก
๑๒
ของกวีที่ถายทอดผานบทประพันธ ในหนา 146 ร่ำงเอ๋ยร่ำงกำย ยำมตำยจมพื้นดำษดื่นหลำม
และสรุปแตละบท อย่ำดูถูกถิ่นนี้ว่ำที่ทรำม อำจขึ้นชื่อลือนำมในก่อนไกล
(แนวตอบ สรุปการถอดคําประพันธหนา 146 อำจจะเป็นเจดีย์มีพระศพ แห่งจอมภพจักรพรรดิกษัตริย์ใหญ่
ไดดังนี้ ประเสริฐด้วยสัตตรัตน์จรัสชัย ณ สมัยก่อนกำลบุรำณเอย
บทที่ 12 ถายทอดนํ้าเสียงในเชิงตักเตือนวา ๑๓
ควำมเอ๋ยควำมรู้ เป็นเครื่องชูชี้ทำงสว่ำงไสว
อยาดูถูกบริเวณที่เปนที่ฝงซากศพ หมดโอกำสที่จะชี้ต่อนี้ไป ละห่วงใยอยำกรู้ลงสู่ดิน
บทที่ 13 ถายทอดนํ้าเสียงในเชิงเตือนใจไมให อันควำมยำกหำกให้ไร้ศึกษำ ย่นปัญญำควำมรู้อยู่แค่ถิ่น
ประมาทในการใชชีวิต ใหเห็นความ
หมดทุกข์ขลุกแต่กิจคิดหำกิน กระแสวิญญำณงันเพียงนั้นเอย
สําคัญของการศึกษาและสะทอนภาพ ๑๔
ดวงเอ๋ยดวงมณี มักจะลี้ลับอยู่ในภูผำ
สังคมยุคกอนซึ่งผูที่ยากจนไมมีโอกาส
จะไดไปเรียนไกลบาน หรือใต้ท้องห้องสมุทรสุดสำยตำ ก็เสื่อมซำสิ้นชมนิยมชน
บทที่ 14 ถายทอดนํ้าเสียงในเชิงตัดพอวาให บุปผชำติชูสีและมีกลิ่น อยู่ในถิ่นที่ไกลเช่นไพรสณฑ์
เห็นคุณคาและความสําคัญของคน ไม่มีใครได้เชยเลยสักคน ย่อมบำนหล่นเปล่ำดำยมำกมำยเอย
๑๕
ขึ้นอยูกับถิ่นเกิด ซำกเอ๋1ยซำกศพ อำจเป็นซำกนักรบผู้กล้ำหำญ 2
บทที่ 15 ซากศพที่กลาวถึงมีทั้งผูมีความเกง เช่นชำวบ้ำนบำงระจันขันร�ำบบำญ 3 กับหมู่มำ่ นมำประทุษอยุธยำ
กลาอยางชาวบานบางระจันกับพมา ไม่เช่นนั้นท่ำนกวีเช่นศรีปรำชญ์ นอนอนำถเล่ห์ใบ้ไร้ภำษำ
ขาศึก และแมแตกวีศรีปราชญตางก็ หรือผู้กู้บ้ำนเมืองเรืองปัญญำ อำจจะมำนอนจมถมดินเอย
นอนจมอยูใตดิน ๑๘
มักเอ๋ยมักใหญ่ ก่นแต่ใฝ่ฝันฟุ้งตำมมุ่งหมำย
บทที่ 18 แสดงความจริงของชีวิต วาแมจะ อ�ำพรำงควำมจริงใจไม่แพร่งพรำย ไม่ควรอำยก็ต้องอำยหมำยปิดบัง
มีความมักใหญใฝสูงแลวปดบังไว มุ่งแต่โปรยเครื่องปรุงจรุงกลิ่น คือควำมฟูมฟำยสินลิ้นโอหัง
เพราะอาย ความเสแสรง ความ ลงในเพลิงเกียรติศักดิ์ประจักษ์ดัง เปลวเพลิงปลั่งหอมกลบตลบเอย
เยอหยิ่งสุดทายชีวิตก็จบลงที่กองไฟ ๑๙
ห่ำงเอ๋ยห่ำงไกล ห่ำงจำกพวกมักใหญ่ฝักใฝ่หำ
บทที่ 19 อบรมตักเตือนวาหากอยากมีชีวิตที่
แต่สิ่งซึ่งเหลวไหลใส่อำตมำ ควำมมักน้อยชำวนำไม่น้อมไป
สงบสุขไมควรอยูใกลกับพวกมักใหญ
ใฝสูง และควรนําวิถีชีวิตที่มีความ เพื่อรักษำควำมสรำญฐำนวิเวก ร่มชื้อเฉกหุบเขำล�ำเนำไศล
เรียบงาย ไมฟุงเฟออยางชาวนามา สันโดษดับฟุ้งซ่ำนทะยำนใจ ตำมวิสัยชำวนำเย็นกว่ำเอย
๒๐
เปนแบบอยางในการดําเนินชีวิต ศพเอ๋ยศพไพร่ ไม่มีใครขึ้นชื่อระบือขำน
บทที่ 20 ถายทอดนํ้าเสียงเชิงประชดประชันวา ไม่เกรงใครนินทำว่ำประจำน ไม่มีกำรจำรึกบันทึกคุณ
คนสามัญธรรมดามักไมไดรับความ ถึงบำงทีมีบ้ำงเป็นอย่ำงเลิศ ก็ไม่ฉูดฉำดเชิดประเสริฐสุนทร์
สนใจ หรือไดรับการเชิดชูจากสังคม พอเตือนใจได้บ้ำงในทำงบุญ เป็นเครื่องหนุนน�ำเหตุสังเวชเอย
แมสิ้นชีวิตก็ไมมีใครสนใจ) 146

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
หางเอยหางไกล หางจากพวกมักใหญฝกใฝหา
1 ชาวบานบางระจัน ชาวบานบางระจันไดรวมผูคนมากมายตอสูกับพมา
แตสิ่งซึ่งเหลวไหลใสอาตมา ความมักนอยชาวนาไมนอมไป
และสามารถเอาชนะกองทัพพมาไดถึง 7 ครั้ง จนถึงครั้งที่ 8 ชาวบานบางระจัน
เพื่อรักษาความสราญฐานวิเวก รมชื้อเฉกหุบเขาลําเนาไศล
จึงพายแพ ในวันจันทร แรม 2 คํ่า เดือน 8 ปจอ พ.ศ. 2309 รวมเวลาที่ไทยรบกับ
สันโดษดับฟุงซานทะยานใจ ตามวิสัยชาวนาเย็นกวาเอย
พมาทั้งสิ้น 5 เดือน คือ ตั้งแตเดือน 4 ปลายประกา พ.ศ. 2308 ถึงเดือน 8 ปจอ
สาระสําคัญของกลอนดอกสรอยบทนี้คืออะไร
พ.ศ. 2309
1. เราไมควรหาสิ่งเหลวไหลมาใสตัว
2 หมูมานมาประทุษอยุธยา หมายถึง พมาที่ยกกองทัพมาตีกรุงศรีอยุธยาอีกครั้ง 2. เราควรวิเวกไปหาปาเขาลําเนาไพรจะดีที่สุด
หลังจากสมเด็จพระนเรศวรทรงประกาศอิสรภาพไดไมนาน 3. เราจงอยูใหหางจากพวกมักใหญใฝสูงไวจะดีกวา
3 ศรีปราชญ เปนกวีเอกคนหนึ่งในประวัติศาสตรชาติไทย ในรัชสมัยสมเด็จ- 4. เราควรมักนอยหรือพอใจในสิ่งที่มีเหมือนชาวนาดีกวา
พระนารายณมหาราช เปนบุตรของพระโหราธิบดี หลังแตนั้นมาจึงกลายเปนกวีเอก วิเคราะหคําตอบ สาระสําคัญของบทประพันธขางตน คือ เราควรมัก
ของพระนารายณมหาราช แตสดุ ทายดวยความสามารถของตน ทําใหมผี คู ดิ ปองราย นอยหรือพอใจในสิ่งที่มีเหมือนชาวนาดีกวา พิจารณาคําวา “สันโดษ”
ใสรายศรีปราชญ จนถูกสั่งประหารชีวิตในที่สุด ซึ่งหมายความวา พอใจเทาที่ตนมีอยูหรือเปนอยู ตอบขอ 4.

146 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนรวมกันอธิบายอารมณและความรูสึก
1
๒๑
ศพเอ๋ยศพสูง เป็นเครื่องจูงจิตให้เลื่อมใสศำนต์ ของกวีที่ถายทอดผานบทประพันธที่นักเรียนสรุป
2 ได
จำรึกค�ำส�ำนวนชวนสักกำร ผิดกับฐำนชำวนำคนสำมัญ
ซึ่งอย่ำงดีก็มีกวีเถื่อน จำรึกชื่อปีเดือนวันดับขันธ์
(แนวตอบ สรุปการถอดคําประพันธหนา 147
ไดดังนี้
อุทิศสิ่งซึ่งสร้ำงตำมทำงธรรม์ ของผู้นั้นผู้นี้แก่ผีเอย
๒๒ บทที่ 21 กลาวดวยนํ้าเสียงประชดประชัน
ห่วงเอ๋ยห่วงอะไร ไม่ยิ่งใหญ่เท่ำห่วงดวงชีวิต ถึงการเปรียบเทียบความแตกตาง
แม้คนลืมสิ่งใดได้สนิท ก็ยังคิดขึ้นได้เมื่อใกล้ตำย ระหวางชนชั้นสูงกับสามัญชน
ใครจะยอมละทิ้งซึ่งสิ่งสุข เคยเป็นทุกข์ห่วงใยเสียได้ง่ำย บทที่ 22 เตือนสติใหรูจักการปลอยวางเพราะ
ใครจะยอมละแดนแสนสบำย โดยไม่ชำยตำใฝ่อำลัยเอย สุดทายของชีวิตก็จะตองทิ้งทุกยาง
๒๓
ดวงเอ๋ยดวงจิต ลืมสนิทกิจกำรงำนทั้งหลำย ไป
ย่อมละชีพเคยสุขสนุกสบำย เคยเสียดำยเคยวิตกเคยปกครอง บทที่ 23 เตือนสติใหรูจักปลอยวาง ชี้ใหเห็น
ละถิ่นที่ส�ำรำญเบิกบำนจิต ซึ่งเคยคิดใฝ่เฝ้ำเป็นเจ้ำของ วาสุดทายเมื่อตายก็ไมไดอะไรติดตัว
หมดวิตกหมดเสียดำยหมดหมำยปอง ไม่ผินหลังเหลียวมองด้วยซ�้ำเอย ไปแมแตอยางเดียว)

ขยายความเข้าใจ Expand
นักเรียนรวมกันวิเคราะหแนวคิดเรื่องความ
เรียบงายอยางวิถีชีวิตของชาวนากับแนวทาง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ตรวจสอบผล Evaluate
1. นักเรียนเขียนวิเคราะหสัจธรรมแหงชีวิตมนุษย
ที่ปรากฏในบทประพันธซึ่งสอดคลองกับหลัก
ธรรมทางพระพุทธศาสนา
2. นักเรียนรวมกันสรุปขอคิดที่ไดรับจากการ
ศึกษา กลอนดอกสรอยรําพึงในปาชา คนละ 1
ขอคิด แลวนําเสนอใหเพื่อนฟง

147

กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
นักเรียนเลือกบทประพันธจากที่เพื่อนถอดคําประพันธ แลวแลกเปลี่ยน ครูแนะความรูใหนักเรียนเรื่องธรรมเนียมการจัดพิธีศพในสมัยโบราณ หากเปน
กันตรวจสอบความถูกตองกับเพื่อนคูอื่นๆ นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็น เจาขุนมูลนาย นิยมใหกวีที่มีชื่อเสียงเรียบเรียงถอยคําที่ไพเราะเพื่อเชิดชูเกียรติ
เกี่ยวกับบทประพันธที่เลือก สรรเสริญยกยองผูตาย เพื่อเปนที่ระลึกในวาระสุดทายของชีวิต ความเชื่อเรื่องการ
อุทิศสวนกุศลใหผูตาย มีมาตั้งแตสมัยโบราณจนถึงปจจุบัน เพราะเชื่อวาผูตายจะ
ไดรับสวนบุญที่อุทิศให เพื่อใหดวงวิญญาณไปสูสุคติ

กิจกรรมทาทาย
นักเรียนควรรู
นักเรียนดูภาพในหนา 147 แลวแตงคําประพันธประเภทกลอน 1 ศานต อานวา สาน หรือ ศานต อานวา สาน-ตะ เปนคําวิเศษณ แปลวา สงบ
ดอกสรอยรําพึงในปาชา 1 บท พรอมตั้งชื่อบทประพันธใหนาสนใจ
แลวนําสงครูผูสอนตรวจพิจารณา คัดเลือกผลงานที่ประพันธไดดีนําไป 2 สักการ ปกติอานวา สัก-กา-ระ แตในที่นี้เพื่อใหสัมผัสกับคําวา “ศานต” และ
จัดแสดงที่ปายนิเทศ “ฐาน” จึงอานวา สัก-กาน แปลวา บูชาดวยสิ่งหรือเครื่องอันพึงบูชา เชน ดอกไม
ธูป เทียน บางทีก็ใชเขาคูกับคํา “บูชา” เปน สักการบูชา

คู่มือครู 147
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
Engage Explore Explain Expand ตรวจสอบผล
Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูสนทนากับนักเรียนเกีย่ วกับคําศัพททนี่ า สนใจ
ที่พบในเนื้อเรื่อง จากนั้นครูใหนักเรียนชวยกัน ๖ คÓศัพท์
ยกตัวอยางคําศัพททนี่ กั เรียนชืน่ ชอบคนละ 1 คําศัพท
คำาศัพท์ ความหมาย
ส�ารวจค้นหา Explore เกรำะ เครื่องบอกสัญญำณท�ำด้วยไม้ ใช้ตีหรือสั่นให้ดัง เพื่อแจ้งเหตุ
ขลุก ง่วนอยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือในที่ใดที่หนึ่ง
นักเรียนสืบคนความหมายของคําศัพทที่พบใน
ขันธ์ ตัว หมู่ กอง ในที่นี้หมำยถึงร่ำงกำย
เนื้อเรื่องจากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
จากนั้นนํามาแลกเปลี่ยนเรียนรูกับเพื่อนในชั้นเรียน งัน หยุดชะงัก จังงัง
ชื้อ เย็น ร่ม ชื้น
อธิบายความรู้ Explain ดุษณี อำกำรนิ่งสงบ
แถกขวัญ แถก หมำยถึง เสือกไป ตรงไป ในควำมว่ำ แถกขวัญ จึงหมำยถึง
นักเรียนรวมอภิปรายความหมายของคําศัพท ท�ำให้ตกใจ
ทายบทเรียนและคําศัพทที่เพื่อนรวมชั้นเรียน ทิวำกำล เวลำกลำงวัน
นําเสนอมา บ�ำเหน็จ รำงวัล ค่ำควำมชอบพิเศษ
ปวัตน์ (ปะ - วัด) หมำยถึง ควำมเป็นไป
ขยายความเข้าใจ Expand ผ้ำย เคลื่อนจำกที่
มณฑล บริเวณ
นักเรียนเลือกคําศัพทที่ชื่นชอบคนละ 1 คํา
ม่ำ1น ชนชำติพม่ำ
นํามาแตงประโยคสามัญ ความรวม และความซอน
ย�่ำ ตี ฆ ้ อ งหรื อ กลองถี่ ๆ หลำยครั้ ง เพื่ อ บอกเวลำส� ำ หรั บ เปลี่ ย นยำม
คําละ 1 ประโยค แลวนําเสนอหนาชั้นเรียน เรียกว่ำ ย�่ำฆ้องย�่ำกลอง ถ้ำกระท�ำในเวลำค�่ำ เรียกว่ำ ย�่ำค�่ำ
รโหฐำน ที่เฉพำะส่วนตัว
ร�ำบำญ แผลงมำจำกค�ำว่ำ รำญ หมำยถึง รบ
ลำญ แตก หัก ท�ำลำย
สัตตรัตน์ แก้ว ๗ ประกำร ได้แก่ ทอง เงิน มุกดำ ทับทิม เพชร โกเมน และ
ไพฑูรย์ แต่ในที่นี้หมำยถึง แก้ว ๗ ประกำรของพระจักรพรรดิ ได้แก่
ช้ำงแก้ว นำงแก้ว ขุนพลแก้ว ขุนคลังแก้ว ม้ำแก้ว แก้วมณี และ
จักรแก้ว
หง่ำงเหง่ง เสียงอย่ำงเสียงระฆัง
หำงยำม หำงไถส�ำหรับใช้มือจับเวลำไถ
อธึก ยิ่ง เกิน มำก
อับแสง มืด
148

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
“เขาเปนสุขเรียบเรียบเงียบสงัด มีปวัตนเปนไปไมวิตถาร”
1 ยํ่า ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ไดใหความหมายไววา
คําที่ขีดเสนใตมีความหมายวาอยางไร
เปนคํากริยา หมายถึง เหยียบหนักๆ ซํ้าๆ ถาเหยียบในลักษณะเชนนั้น
1. ความเปนจริง, นอยเกินไป
อยูกับที่ เรียกวา ยํ่าเทา เดินในลักษณะคลายคลึงเชนนั้น และหมายถึง ตีกลอง
2. ความเปนไป, มากเกินไป
หรือฆองถี่ๆ หลายครั้งเพื่อบอกเวลาสําหรับเปลี่ยนยาม เรียกวา ยํ่ากลอง ยํ่าฆอง
3. ความมีชีวิต, นอยเกินไป
ยํ่ายาม ก็เรียก ถากระทําในเวลาเชา เรียกวา ยํ่ารุง (ราว 6 นาฬกา) ถาทําใน
4. ความคิดถึง, มากเกินไป
เวลาคํ่า เรียกวา ยํ่าคํ่า (ราว 18 นาฬกา)
ในเวลา 18 นาฬกานั้นตามวัดตางๆ ในชนบททานมักจะ “ยํ่ากลอง” หรือ วิเคราะหคําตอบ จากคําประพันธวา “เขาเปนสุขเรียบเรียบเงียบสงัด
“ยํ่าฆอง” หรือ “ยํ่าระฆัง” เพื่อบอกเวลาใหชาวบานรับรู เพราะในสมัยกอนบานเมือง มีปวัตนเปนไปไมวิตถาร” ขยายความไดวา เขามีความสุขในแบบเรียบๆ
ยังไมเจริญอยางในปจจุบันนี้ นาฬกามักจะมีเฉพาะตามวัดเทานั้น พระทานก็ตอง คือ งายๆ สงบ มีความเปนไปไมมากเกินไป ปวัตน หมายถึง ความเปนไป
ตีกลองหรือฆองระฆัง เปนสัญญาณบอกใหทราบเวลาเปนระยะๆ ไป เดี๋ยวนี้ ซึ่งจะไมขัดแยงกับคําที่ตามหลังวา “เปนไป” และ “วิตถาร” หมายถึง
ชาวบานมีนาฬกาใชกันทั่วไปแลว การยํ่ากลอง ยํ่าฆอง หรือยํ่าระฆัง ในปจจุบัน มากเกินไป เพราะเมื่อตามหลังคําวา “ไม” จะมีความหมายสอดคลองกับ
จึงคอยๆ หมดความสําคัญลงไป วรรคแรกที่วา “เรียบเรียบเงียบสงัด” ไมมากเกินไป คือ มีนอย ตอบขอ 2.

148 คู่มือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู Explain
นักเรียนสรุปเรื่องเกี่ยวกับการใชคําวา “สวัสดี”
บอกเล่าเก้าสิบ ในการทักทายของคนไทย
(แนวตอบ ผูร เิ ริม่ การใชคาํ วา สวัสดี คือ พระยา-
คําทักทาย อุปกิตศิลปสาร คําวา สวัสดี เปนคําที่มาจากภาษา
ค�าทักทายว่า “สวัสดี” นั้น มีที่มาจากเจ้าหน้าที่วิทยุกระจายเสียงนิยมใช้ค�าว่า “ราตรีสวัสดิ์” สันสกฤต ในภาษาบาลีใชวา โสตถิ เริ่มใชคําวา
ลงท้ายค�าพูดเมื่อจบการกระจายเสียง เลียนค�ามาจาก good night ในภาษาอังกฤษ แต่มีผู้คัดค้าน สวัสดี ครั้งแรกเมื่อ 22 มกราคม 2486 คําวา สวัสดี
ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงจึงขอให้กรรมการช�าระปทานุกรมของกระทรวงธรรมการในสมัยนั้น มีความหมายวา ความดี ความงาม ความเจริญ
ช่วยคิดหาค�าใหม่ใช้แทนค�าว่า “ราตรีสวัสดิ์” รุงเรืองใชเปนคําทักทายที่ตองกระทําควบคูกับการ
พระยาอุ ป กิ ต ศิ ล ปสาร ซึ่ ง ขณะนั้ น เป็ น อาจารย์ ส อนที่ ค ณะอั ก ษรศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์
มหาวิทยาลัย ได้น�าค�าว่า “สวัสดี” ไปให้นิสิตคณะอักษรศาสตร์ทักทายเมื่อแรกพบกัน โดยท่าน ประนมมือไหว)
ได้อธิบายที่มาของค�าว่า มาจากศัพท์ “โสตถิ” ในภาษาบาลี หรือ “สวัสดิ” ในภาษาสันสกฤต ต่อมา
จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในขณะนัน้ เห็นชอบกับการใช้คา� ว่า “สวัสดี” ทักทายหรือ ขยายความเขาใจ Expand
กล่าวลาแทนค�าว่าราตรีสวัสดิ์ จึงมอบให้กรมโฆษณาการ (กรมประชาสัมพันธ์ในปจจุบัน) ออกข่าว
ประกาศเมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๖ จึงกล่าวได้ว่าคนไทยใช้ค�าว่า “สวัสดี” มาเป็นเวลาเกือบ นักเรียนจับคูกัน แลวฝกแสดงการทักทายดวย
๗๓ ปแล้ว การไหวและกลาวคําวา สวัสดี แกกัน เพื่อรวม
ค�าว่า “สวัสดี” ไม่ได้เป็นเพียงค�าทักทายเท่านัน้ แต่มลี กั ษณะพิเศษทีส่ ะท้อนไปถึงความปรารถนาดี
ต่อผูท้ เี่ ราสนทนาด้วย เพราะค�าว่า “สวัสดี” หมายถึงความดี ความงาม ความเจริญรุง่ เรือง “สวัสดี” สงเสริมการอนุรักษวัฒนธรรมที่ดีงามของคนไทย
จึงเป็นค�าทักทายที่เปยมไปด้วยไมตรีจิต เป็นการทักทายและอวยพรไปพร้1 อมๆ กัน
การทักทายด้วยค�าว่า “สวัสดี” พร้อมประนมมือไหว้นับเป็นวัฒนธรรมที่งดงามยิ่งของคนไทย ตรวจสอบผล Evaluate
ฉะนั้นคนไทยจึงควรออกเสียงและใช้ค�าว่า “สวัสดี” ให้ถูกต้องและเหมาะสมกับกาลเทศะเพื่อ
ช่วยกันรักษาวัฒนธรรมทางภาษาที่ดีงามให้คงอยู่สืบไป นักเรียนแตงประโยคสามัญ ประโยคความรวม
และประโยคความซอน โดยใชคําศัพทจาก
เนื้อเรื่อง

การทักทายดวยการไหว พรอมกลาวคําวา “สวัสดี” แสดงถึงความออนนอมของคนไทย

14๙

กิจกรรมสรางเสริม
นักเรียนควรรู
นักเรียนศึกษาวัฒนธรรมไทยที่งดงามและทรงคุณคา จากนั้นใหนักเรียน 1 ประนมมือไหว เริ่มจากการประนมมือ ยกมือทั้งสองขึ้นประกบกัน ตั้งเปน
เลือกวัฒนธรรมไทยที่นักเรียนประทับใจมา 1 อยาง สรุปความสําคัญพรอม กระพุมมือประนมไวระหวางอก ใหปลายมือตั้งขึ้น ขางบนนิ้วมือทั้งสองขางทุกนิ้ว
บอกเหตุผลที่นักเรียนประทับใจ แนบชิดสนิทกัน อยาใหเหลื่อมลํ้ากัน อยาใหกางหางออกจากกัน ขอศอกทั้งสอง
แนบชิดชายโครง และการไหวแบบตางๆ มีรายละเอียด ดังนี้
1. การไหวพระสงฆ ยกมือประนมขึ้นพรอมกับกมศีรษะลงเล็กนอย ใหนิ้ว
หัวแมมือทั้งสองอยูระหวางคิ้ว ใหปลายนิ้วชี้จรดหนาผาก ทําเพียงครั้งเดียว
กิจกรรมทาทาย แลวลดมือลงตามเดิม
2. การไหวผูสูงอายุ การไหวนิยมยกกระพุมมือขึ้นไหวใหปลายนิ้วชี้อยูระหวาง
คิ้ว นิ้วหัวแมมือทั้งสองอยูบนดั้งจมูก พรอมกับกมศีรษะนอมตัวลงพองาม
นักเรียนศึกษาวัฒนธรรมไทยที่งดงามและทรงคุณคา จากนั้นยก 3. การไหวบุคคลผูมีอาวุโสเสมอกัน นิยมยกมือกระพุมขึ้นไหวใหปลายนิ้วชี้
วัฒนธรรมไทยที่ตรงกับคํากลาววา “เปนเสนหและแบบอยางที่งดงามของ อยูที่ดั้งจมูก นิ้วหัวแมมือทั้งสองอยูที่คางกมศีรษะเล็กนอย
คนไทย” พรอมอธิบายเหตุผลประกอบ 4. การรับไหวบคุ คลผูม อี าวุโสนอยกวา นิยมยกกระพุม มือขึน้ ประนมอยูร ะหวาง
อกหรือที่หนา ใหปลายนิ้วชี้อยูที่ดั้งจมูก ปลายนิ้วหัวแมมืออยูที่คาง สายตา
มองดูผูไหว
คูมือครู 149
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู
Engage Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน ความสนใจ Engage
ครูสนทนารวมกับนักเรียนเกี่ยวกับการวิเคราะห
คุณคาวรรณคดีดานเนื้อหา ๗ บทวิเคราะห์
• นักเรียนไดรับขอคิดคําสอนใดบางจาก
กลอนดอกสรอยรําพึงในปาชา กลอนดอกสร้ อ ยร� ำ พึ ง ในป่ ำ ช้ ำ แม้ จ ะเป็ น บทดอกสร้ อ ยที่ ไ ม่ ย ำวนั ก แต่ มี เ นื้ อ หำสำระ
(แนวตอบ นักเรียนตอบไดหลากหลายขึ้นอยูกับ ที่ให้ข้อคิด คติเตือนใจ มีควำมไพเรำะด้วยกำรใช้ถ้อยค�ำ เสียงและควำมหมำย ให้ตระหนักถึง
ประสบการณของนักเรียน เชน ความประมาท ควำมจริงที่ว่ำควำมตำยเป็นที่สุดท้ำยของมนุษย์ ไม่มีใครหนีพ้นจำกควำมตำยได้
ความไมแนนอน เปนตน) ๗.๑ คุณค่าด้านเนือ้ หา
กลอนดอกสร้อยร�ำพึงในป่ำช้ำ เป็นวรรณคดีทนี่ บั ได้วำ่ มีคณุ ค่ำสูงส่ง เนือ่ งด้วยเนือ้ หำอัน
สํารวจคนหา Explore
เป็นสำกลได้ถูกถ่ำยทอดผ่ำนฉันทลักษณ์และกำรเลือกใช้คำ� จนเกิดเป็นควำมงำมทำงวรรณศิลป์ คุณค่ำ
นักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับบทวิเคราะห ทำงด้ำนเนื้อหำของกลอนดอกสร้อยร�ำพึงในป่ำช้ำได้ถ่ำยทอดแนวคิดหลัก คือ ควำมไม่เที่ยงแท้ของ
คุณคาวรรณคดีดานเนื้อหา ดานวรรณศิลป ดาน ทุกสรรพสิ่ง สะท้อนให้เห็นถึงควำมไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เช่นเดียวกับมนุษย์เมื่อเกิดมำแล้ว
สังคมและขอคิดที่สามารถนําไปใชในชีวิตประจําวัน ย่อมมีควำมเปลี่ยนแปลงจำกวัยเด็ก วัยผู้ใหญ่ สู่วัยชรำ มีควำมเจ็บป่วย ทรมำน และควำมตำยในที่สุด
จากกลอนดอกสรอยรําพึงในปาชา ขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ มนุษย์ต่ำงดิ้นรน แก่งแย่ง ชิงดีชิงเด่นกัน แต่สุดท้ำยทุกคนไม่ว่ำจะเป็นใคร ชนชั้น
ฐำนะใด ล้วนต้องตำยทุกคน ดังบทประพันธ์
อธิบายความรู Explain

สกุลเอ๋ยสกุลสูง ชักจูงจิตฟูชูศักดิ์ศรี
นักเรียนตอบคําถามเกี่ยวกับจุดมุงหมายในการ
อ�ำนำจน�ำควำมสง่ำอ่ำอินทรีย์ ควำมงำมน�ำให้มีไมตรีกัน
แตงกลอนดอกสรอยรําพึงในปาชา
ควำมร�่ำรวยอวยสุขให้ทุกอย่ำง เหล่ำนี้ต่ำงรอตำยท�ำลำยขันธ์
• แนวคิดสําคัญของกลอนดอกสรอยรําพึง
ในปาชาคืออะไร วิถีแห่งเกียรติยศทั้งหมดนั้น แต่ล้วนผันมำประจบหลุมศพเอย
(แนวตอบ ความไมเที่ยงแทของทุกสรรพสิ่ง นอกจำกนีก้ ลอนดอกสร้อยร�ำพึงในป่ำช้ำยังถ่ำยทอดแนวคิดรองทีส่ ำ� คัญอีกประกำร คือ
สะทอนสัจธรรมของชีวิต คือ อนิจจัง คือ ควำมเรียบง่ำยของชีวิตถือเป็นควำมสุขที่แท้จริง โดยเตือนใจไม่ให้กล่ำวดูถูกเยำะเย้ยผู้ที่มีควำมเป็นอยู่
ความไมเที่ยงแท แนนอนในชีวิต ทุกขัง คือ
เรียบง่ำยหรือใช้ชีวิตอย่ำงสันโดษ ดังบทประพันธ์
ความยากลําบากกายและใจ อนัตตา คือ
ความไมมีตัวตน เพราะมนุษยยอมมีเกิด แก ๘
ตัวเอ๋ยตัวทะยำน อย่ำบันดำลดลใจให้ใฝ่ฝัน
เจ็บ และตาย) ดูถูกกิจชำวนำสำรพัน และควำมครอบครองกั1นอันชื่นบำน
• จากเนื้อเรื่องแสดงแนวคิดสําคัญเกี่ยวกับ เขำเป็นสุขเรียบเรียบเงียบสงัด มีปวัตน์เป็นไปไม่วิตถำร
ความเรียบงายของชีวิตซึ่งเปนความสุขที่แท ขออย่ำได้เย้ยเยำะพูดเรำะรำน ดูหมิ่นกำรเป็นอยู่เพื่อนตูเอย
จริงอยางไร
(แนวตอบ การนําวิถีชีวิตชาวนามาเปนแบบ
อยางของการใชชีวิตที่เรียบงายแตมีความสุข
ที่แทจริง) 150

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
หางเอยหางไกล หางจากพวกมักใหญใฝฝนหา
1 วิตถาร อานวา วิด-ถาน เปนคําบาลีมาจากคําวา “วิตถฺ าร” ซึง่ แปลวา กวางขวาง
แตสิ่งซึ่งเหลวไหลใสอาตมา ความมักนอยชาวนาไมนอมไป
มากเกินไป พิสดาร แตเรานํามาใชในอีกความหมายหนึง่ คือหมายความวา นอกแบบ
เพื่อรักษาความสราญฐานวิเวก รมชื้อเฉกหุบเขาลําเนาไศล
นอกทาง เกินวิสัยปรกติ เชน เขาเปนคนชอบเลนวิตถาร ถาหากจะใชในความหมาย
สันโดษดับฟุงซานทะยานไกล ตามวิสัยชาวนาดีกวาเอย
เดิมทีห่ มายถึง กวางขวาง พิสดาร เรามักจะไมใชโดดๆ คือ ตองหาคําอืน่ มาประกอบ
สาระสําคัญของบทประพันธนี้คือขอใด
เชน “พระไตรปฎกฉบับวิตถารนัย” หมายถึงพระไตรปฎกที่มีนัยอันพิสดาร
1. ขอใหอยูหางไกลจากพวกมักใหญใฝสูงจะดีกวา
สวนคําวา “พิสดาร” มาจากคําภาษาสันสกฤตวา “วิสฺตาร” ซึ่งหมายความวา
2. จงมักนอยหรือถือสันโดษแบบชาวนาดีกวา
“กวางขวาง” หรือถาใชแตเนื้อความก็หมายความวา “ละเอียดลออ” เชน เรื่องนี้
3. ควรไปหาความสงบจากปาเขาลําเนาไพร
มีขอความพิสดารดังนี้ หรือหนังสือ “ประวัติศาสตรฉบับพิสดาร” ก็คือ หนังสือ
4. ไมควรหาสิ่งเหลวไหลมาใสตัว
ประวัติศาสตรที่มีขอความรายละเอียดกวางขวาง ละเอียดลออมาก แตบางทีก็นํา
มาใชกับภาษาพูด หมายความวา “แปลกพิลึก” ก็ได เชน เด็กคนนี้ชอบเลนอะไร วิเคราะหคําตอบ สาระสําคัญของบทประพันธขางตน คือ จงมักนอยหรือ
พิสดารอยูเรื่อยๆ ก็คือ ชอบเลนอะไรแปลกๆ ผิดมนุษยมนาทั่วๆ ไป แตคงจะฟงดู ถือสันโดษแบบชาวนาดีกวา โดยพิจารณาจากความวา “ความมักนอยชาวนา
ระรื่นหูกวา “เลนวิตถาร” ไมนอมไป” และ “สันโดษดับฟุงซานทะยานไกล” ตอบขอ 2.

150 คูมือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนรวมกันวิเคราะหคุณคาดานเนื้อหา
จำกบทประพันธ์กวีได้สะท้อนแนวคิด1รองเกีย่ วกับควำมเรียบง่ำยของชีวติ โดยเลือก ในประเด็นตอไปนี้
กล่ำวถึงชำวนำทีม่ วี ถิ ชี วี ติ เรียบง่ำย มีควำมสุขตำมอั ภำพ ซึง่ กำรเลือกกล่ำวถึงชำวนำอันเป็นอำชีพของ
มอัตภำพ • จากเนื้อเรื่องแสดงแนวคิดสําคัญเกี่ยวกับ
บรรพบุรุษไทยอยู่คู่คนไทยมำช้ำนำน นับเป็นกลวิธีกำรน�ำเสนอที่ท�ำให้ผู้อ่ำนเกิดควำมรู้สึกคล้อยตำม ธรรมเนียม ความเชื่อ คานิยม และความ
ศรัทธาทางพระพุทธศาสนาอยางไร
ไปกับบทประพันธ์ได้ง่ำย
(แนวตอบ สะทอนความเชื่อเกี่ยวกับสัตวตาม
นอกจำกคุณค่ำด้ำนแนวคิดของเรื่องแล้ว กลอนดอกสร้อยร�ำพึงในป่ำช้ำยังมี
ความเชื่อของคนไทย คือ นกแสก ที่เปน
เนื้อหำที่เสนอธรรมเนียม ค่ำนิยม ควำมเชื่อ ควำมศรัทธำ อีกทั้งกวียังมีกลวิธีกำรถ่ำยทอดโดย สัญลักษณแหงความตาย สะทอนคานิยมใน
ปรับเนื้อหำให้สอดคล้องกับธรรมชำติในเมืองไทย ซึ่งจะท�ำให้ผู้อ่ำนได้รับอรรถรสในกำรอ่ำนและเกิด การปลูกตนโพธิ์และตนไทร ไมยืนตนขนาด
อำรมณ์สะเทือนใจ คล้อยตำมไปกับบทประพันธ์ ดังบทประพันธ์ ใหญที่หยั่งรากลึก บริเวณลานวัดและ
ที่รกราง อยางเชน ปาชา เปนตน)

นกเอ๋ยนกแสก จับจ้องร้องแจ๊กเพียงแถกขวัญ
อยู่บนยอดหอระฆังบังแสงจันทร์ มีเถำวัลย์รุงรังถึงหลังคำ ขยายความเข้าใจ Expand
เหมือนมันฟ้องดวงจันทร์ให้ผันดู คนมำสู่ซ่องพักมันรักษำ ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตามตัวชี้วัด
ถือเป็นที่รโหฐำนนมนำนมำ ให้เสื่อมผำสุกสันต์ของมันเอย จากแบบวัดฯ ภาษาไทย ม.2 กิจกรรมที่ 1.12

ใบงาน ✓ แบบวัดฯ แบบฝกฯ


จำกบทประพันธ์กวีได้ใช้ถ้อยค�ำเพื่อปรับเนื้อหำให้เข้ำกับธรรมชำติของไทย
ภาษาไทย ม.2 กิจกรรมที่ 1.12
และเกี่ยวโยงถึงสัตว์ที่ผูกพันกับควำมเชื่อของคนไทย นั่นคือ นกแสก จึงท�ำให้วรรณคดีเรื่องนี้สำมำรถ เร�่อง แนวคิดส�าคัญของกลอนดอกสร้อยร�าพึงในปาช้า
เข้ำถึงจิตใจของผู้อ่ำนได้เป็นอย่ำงดี คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๑.๑๒ ใหเลือกบทประพันธจากกลอนดอกสรอยรําพึงในปาชามา ๑ บท ñð
ใหสอดคลองกับรูปภาพพรอมบอกแนวคิด (ท ๕.๑ ม.๒/๒)


ต้นเอ๋ยต้นไทร สูงใหญ่รำกย้อยห้อยระย้ำ
และต้นโพธิ์พุ่มแจ้แผ่ฉำยำ มีเนินหญ้ำใต้ต้นเกลื่อนกล่นไป
2
ล้วนร่ำงคนในเขตประเทศนี้ อนรำย ณ ภำยใต้
ดุษณีนอนร
แห่งหลุมลึกลำนสลดระทดใจ เรำยิ่งใกล้หลุมนั้นทุกวันเอย ตัวเอยตัวทะยาน อยาบันดาลดลใจใหใฝฝน
บทประพันธ : .........................................................................................................................................................................................................................
ดูถูกกิจชาวนาสารพัน และความครอบครองกันอันชื่นบาน
.............................................................................................................................................................................................................................................................

เขาเปนสุขเรียบเรียบเงียบสงัด มีปวัตนเปนไปไมวิตถาร
............................................................................................................................................................................................................................................................. ฉบับ
เฉลย
ขออยาไดเยยเยาะพูดเราะราน ดูหมิ่นการเปนอยูเพื่อนตูเอย
.............................................................................................................................................................................................................................................................

จำกบทประพันธ์กวีได้ใช้ถ้อยค�ำเพื่อถ่ำยทอดบรรยำกำศ โดยดัดแปลงให้เข้ำกับ อยาหลงตัวเองวาดีกวาคนอื่น ดีกวาชาวนา เพราะถึงแมชาวนาจะทํางานที่ลําบาก แตเขาก็รูจัก


แนวคิด ...........................................................................................................................................................................................................................................
ความสุขที่เรียบงาย
.............................................................................................................................................................................................................................................................

ประเทศไทย ด้วยกำรกล่ำวถึงต้นไม้ คือ ต้นไทรและต้นโพธิ์ ซึ่งเป็นต้นไม้ใหญ่ขึ้นตำมสถำนที่รกร้ำง กิจกรรมที่ ๑.๑๓ ใหนกั เรียนยกบทประพันธทสี่ มั พันธกบั คําสําคัญทีก่ าํ หนดให
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
ñð
และบอกแนวคิดของบทประพันธนั้น (ท ๕.๑ ม.๒/๒)
ป่ำช้ำและบริเวณวัด จึงท�ำให้ผู้อ่ำนเกิดจินตนำกำรและเกิดอำรมณ์คล้อยตำมบทประพันธ์ ชื่อเสียง บทที่ ๑๑ ที่เอยที่ระลึก ถึงอธึกงามลบในภพพื้น
.............................................................................................................................................................................................................................................................

ก็ไมชวนชีพที่ดับใหกลับคืน เสียงชมชื่นเชิดชูคุณผูตาย
.............................................................................................................................................................................................................................................................

เสียงประกาศเกียรติเอิกเกริกลั่น จะกระเทือนถึงกรรณนั้นอยาหมาย
.............................................................................................................................................................................................................................................................

151 ลวนเปนคุณแกผูยังไมวางวาย ชูเกียรติญาติไปภายภาคหนาเอย


.............................................................................................................................................................................................................................................................

ชื่อเสียงของผูตายจะเปนที่เชิดชูเกียรติใหกับญาติพี่นอง
แนวคิด ...........................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

๙๓

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ตัวเอยตัวทะยาน อยาบันดาลดลใจใหใฝฝน
ครูแนะความรูเกี่ยวกับความเชื่อเรื่องความตายและปาชา ที่ปรากฏในสังคมไทย
ดูถูกกิจชาวนาสารพัน และความครอบครองกันอันชื่นบาน
ทั้งในสมัยโบราณและในยุคปจจุบัน แนวคิดหลักของเรื่องเกี่ยวกับความตายของ
เขาเปนสุขเรียบเรียบเงียบสงัด มีปวัตนเปนไปไมวิตถาร
ไทยกับของตะวันตกมีความเหมือนกัน แตแนวคิดสําคัญของไทยนั้นสอดคลองกับ
ขออยาไดเยยเยาะพูดเราะราน ดูหมิ่นการเปนอยูเพื่อนตูเอย
คติธรรมทางพระพุทธศาสนาที่สอนวาสรรพสิ่งลวนไมเที่ยงแทแนนอน
จากเนื้อหาของคําประพันธที่ยกมานี้บอกถึงแนวคิดสําคัญในขอใด
1. ชีวติ ทีม่ คี วามเรียบงายของชาวนา ไมมคี วามสุขเพราะเหน็ดเหนือ่ ยจาก
การงาน
2. ชีวิตที่มีความเรียบงายของชาวนาตองเหนื่อยยากจากภัยธรรมชาติ
นักเรียนควรรู
3. ชีวิตที่มีความเรียบงายของชาวนา มีความพอใจ มีความสุขจากการเก็บ 1 อัตภาพ อานวา อัด-ตะ-พาบ แปลวา ตน ลักษณะความเปนตัวตนหรือบุคคล
เกี่ยวขาวในนา ใชหมายถึงตัวตน รางกาย ชีวติ รูปลักษณะ เปนคําบงบอกถึงอวัยวะตางๆ ในรางกาย
4. ชีวิตที่มีความเรียบงายของชาวนาที่ทํานาทั้งป ตองทนตอการดูหมิ่นวา ของคน ตลอดถึงบุคลิกภาพและความเปนอยูแหงชีวิตโดยภาพรวม มีความหมาย
ยากจน เดียวกับคําวา อัตตา ซึ่งแปลวาตัวตนเหมือนกัน สํานวนไทยที่สอดคลองกับคําวา
วิเคราะหคําตอบ กลาวถึงความสุขที่เรียบงายของชาวนาที่แมจะทํางาน อัตภาพ เชน คับที่อยูได คับใจอยูยาก เปนตน
หนัก แตก็มีความสุขได จึงไมควรดูถูกในสิ่งที่เขาทํา ตอบขอ 3. 2 ดุษณี แปลวา อาการนิ่งซึ่งแสดงถึงการยอมรับ
คู่มือครู 151
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนรวมกันอภิปรายความรูจากการ
วิเคราะหคุณคาดานวรรณศิลป จากนั้นนักเรียน ๗.๒ คุณค่าด้านวรรณศิลป์
ตอบคําถามในประเด็นตอไปนี้ กลอนดอกสร้อยร�ำพึงในป่ำช้ำ แม้จะเป็นบทประพันธ์สั้นๆ พรรณนำสภำพที่ใคร
• จากเนื้อเรื่องมีการใชถอยคําเรียบงายแต คนหนึ่งอยู่โดดเดี่ยวในป่ำช้ำยำมค�่ำคืน แต่ผู้เขียนก็สำมำรถใช้ค�ำที่ไพเรำะด้ำนวรรณศิลป์ ท�ำให้
สะทอนจินตภาพที่ชัดเจนอยางไรบาง ผู้อ่ำนเห็นภำพและเกิดอำรมณ์สะเทือนใจ เกิดควำมรู้สึกกลัว หวำดหวั่น เงียบเหงำ วังเวงใจ และเมื่อ
(แนวตอบ การใชถอยคําเรียบงายเพื่อพรรณนา ได้รู้สัจธรรมจำกเรื่องก็ท�ำให้รู้สึกปลงได้ กลอนดอกสร้อยร�ำพึงในป่ำช้ำจึงมีคุณค่ำในด้ำนวรรณศิลป์
ภาพของชาวนาจูงวัว ควาย เดินทางกลับ ดังต่อไปนี้
บานยามเย็น กับบรรยากาศสบายๆ เชน ๑) ใช้คำาที่ทำาให้เกิดภาพที่ชัดเจน
ดวงตะวันกําลังจะลับขอบฟา ฟาคอยๆ มืดลง 1
๑.๑) การใช้คำาที่เข้าใจง่าย เพื่อพรรณนำถึงวิถีชีวิตของชำวนำในยำมเย็
ในยำมเย็น ท�ำให้
มีเสียงระฆังที่ดังเหงงหงางเพื่อบอกเวลาคํ่า ผู้อ่ำนเห็นภำพ เกิดอำรมณ์และควำมรู้สึกคล้อยตำมได้ ดังบทประพันธ์
และการพรรณนาใหเกิดความกลัว เชน

นกแสกเกาะอยูบนหอระฆังที่มีเถาวัลยรก วังเอ๋ยวังเวง
2 หง่ำงเหง่ง! ย�่ำค�่ำระฆังขำน
เลื้อยและสงเสียงรอง) ฝูงวัวควำยผ้ำยลำทิทิวำกำล ค่อยค่อยผ่ำนท้องทุ่งมุ่งถิ่นตน
• จากเนื้อเรื่องมีการใชอุปมาโวหารอยางไรบาง ชำวนำเหนื่อยอ่อนต่ำงจรกลับ ตะวันลับอับแสงทุกแห่งหน
(แนวตอบ มีการใชอุปมาโวหารเปนการ ทิ้งทุ่งให้มืดมัวทั่วมณฑล และทิ้งตนตูเปลี่ยวอยู่เดียวเอย
เปรียบเทียบใหเห็นภาพ แตตองอาศัย
การตีความของผูอานรวมดวย) จำกบทประพันธ์ผอู้ ำ่ นจะมองเห็นภำพชำวนำทีเ่ หนือ่ ยล้ำจำกกำรท�ำงำน จูงวัวควำย
เดินทำงกลับบ้ำน ผ่ำนป่ำช้ำในยำมเย็นขณะที่ดวงตะวันก�ำลังจะลับขอบฟ้ำ มีเสียงระฆังที่ดังหง่ำงเหง่ง
ขยายความเข้าใจ Expand บอกเวลำย�่ำค�่ำ ฟ้ำค่อยๆ มืดลงๆ ท�ำให้บรรยำกำศมืดมัว จนเกิดควำมรู้สึกอ้ำงว้ำงในจิตใจ
นอกจำกนี้ยังมีกำรใช้ถ้อยค�ำพรรณนำให้เห็นภำพของนกแสก ที่ก�ำลังแสดง
นักเรียนยกบทประพันธที่มีการใชอุปมาโวหาร อำกัปกิริยำที่ก่อให้เกิดควำมสะพรึงกลัว ดังบทประพันธ์
บันทึกลงในสมุด จากนั้นครูสุมเรียกนักเรียน ๓
1-2 คน มานําเสนอหนาชั้นเรียน นกเอ๋ยนกแสก จับจ้องร้องแจ๊กเพียงแถกขวัญ
อยู่บนยอดหอระฆังบังแสงจันทร์ มีเถำวัลย์รุงรังถึงหลังคำ
เหมือนมันฟ้องดวงจันทร์ให้ผันดู คนมำสู่ซ่องพักมันรักษำ
ถือเป็นที่รโหฐำนนมนำนมำ ให้เสื่อมผำสุกสันต์ของมันเอย

จำกบทประพันธ์กวีใช้ถ้อยค�ำพรรณนำให้เห็นภำพของนกแสกซึ่งก�ำลังเกำะอยู่
บนหอระฆังที่เต็มไปด้วยเถำวัลย์รกเลื้อยรุงรังและก�ำลังส่งเสียงร้องอันเป็นเอกลักษณ์ ท�ำให้คนที่ได้ยิน
เกิดควำมหวำดกลัว
๑.๒) การใช้อุปมา คือ กำรเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเหมือนอีกสิ่งหนึ่ง โดยต้องอำศัย
กำรตีควำมจำกผู้อ่ำนเป็นส�ำคัญ ดังบทประพันธ์
152

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ครูแนะใหนักเรียนศึกษาความงดงามทางวรรณศิลปในกลอนดอกสรอยรําพึง คําประพันธในขอใดมีสัมผัสสระมากที่สุด
ในปาชา โดยพิจารณารูปแบบคําประพันธกับภาษาหรือคําศัพทที่ใชวา กวีเลือกคําที่ 1. คอกควายวัวรัวเกราะเปาะเปาะเพียง
แสดงอารมณไดเปนอยางดี เปนถอยคํางายๆ สือ่ ความไดชดั เจนเหมาะกับฉันทลักษณ 2. สันโดษดับฟุงซานทะยานใจ
ประเภทกลอนดอกสรอย ซึ่งแมจะเปนรูปแบบที่จดจําไดงาย และใชภาษางาย 3. เรไรหริ่งรองขรมระงมเสียง
แตสอดแทรกแนวคิดไวอยางลึกซึ้งถายทอดเรื่องราวสัจธรรมของชีวิตมนุษย 4. มีก็แตจังหรีดกระกรีดกริ่ง
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. มีคําวา วัว-รัว, เกราะ-เปาะ ขอ 2. ซาน-ทะยาน
ขอ 3. ขรม-ระงม และขอ 4. จังหรีด-กรีด ดังนั้น คําประพันธที่วา
นักเรียนควรรู “คอกควายวัวรัวเกราะเปาะเปาะเพียง” มีสัมผัสสระมากที่สุด ตอบขอ 1.
1 ยามเย็น หรือเรียกวา สายัณห ถาเวลาเย็นของวันใดที่มีแสงแดดสะทอนกลับ
มาเปนแสงสวางในเวลาจวนพลบคํ่า ก็จะเรียกแสงในชวงนั้นวา “ผีตากผาออม”
2 ทิวากาล แปลวา เวลากลางวัน และคําวา รัตติกาล แปลวา เวลากลางคืน

152 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนรวมกันอภิปรายความรูจากการ
๑๔
ดวงเอ๋ยดวงมณี มักจะลี้ลับอยู่ในภูผำ วิเคราะหคุณคาดานวรรณศิลป จากนั้นนักเรียน
หรือใต้ท้องห้องสมุทรสุดสำยตำ ก็เสื่อมซำสิ้นชมนิยมชน ตอบคําถามในประเด็นตอไปนี้
บุปผชำติชูสีและมีกลิ่น อยู่ในถิ่นที่ไกลเช่นไพรสณฑ์ • จากเนื้อเรื่องมีการใชโวหารบุคคลวัต
ไม่มีใครได้เชยเลยสักคน ย่อมบำนหล่นเปล่ำดำยมำกมำยเอย อยางไรบาง
(แนวตอบ ในเนื้อเรื่องมีการสมมุติใหสิ่งที่
จำกบทประพันธ์กวีเปรียบผู้ที่ท�ำควำมดีเหมือนดวงมณีอันมีค่ำแต่อยู่ในท้องถิ่น ไมใชมนุษยแสดงอาการคลายมนุษย เชน
ที่ห่ำงไกลจึงไม่มีผู้ใดเห็นควำมดี เหมือนดอกไม้ที่งดงำมด้วยสีและหอมด้วยกลิ่น แต่บำนในป่ำเขำที่ ทะเลไมเคยหลับ ฟาหลั่งนํ้าตา ตะวันทิ้งทุง
ห่ำงไกล เมื่อบำนแล้วก็จะร่วงหล่นไปน่ำเสียดำยที่ไม่มีใครเห็นควำมสวยงำม ใหมืดมัว)
๑.๓) ใช้บุคคลวัต คือ กำรท�ำสิ่งที่เป็นนำมธรรมหรือสิ่งไม่มีชีวิตให้มีพฤติกรรม • จากเนื้อเรื่องมีการใชโวหารสัทพจน
เหมือนสิ่งมีชีวิต เช่น ทะเลไม่เคยหลับ ฟ้ำหลั่งน�้ำตำ ดังบทประพันธ์ อยางไรบาง
๑ (แนวตอบ ในเนื้อเรื่องมีการใชคําเลียนเสียง
วังเอ๋ยวังเวง หง่ำงเหง่ง! ย�่ำค�่ำระฆังขำน
ธรรมชาติ เชน หงางเหงง เปนเสียงของ
ฝูงวัวควำยผ้ำยลำทิวำกำล ค่อยค่อยผ่ำนท้องทุ่งมุ่งถิ่นตน
ระฆัง เปาะเปาะ เปนเสียงของเกราะที่คลอง
ชำวนำเหนื่อยอ่อนต่ำงจรกลับ ตะวันลับอับแสงทุกแห่งหน
คอวัวควาย)
ทิ้งทุ่งให้มืดมัวทั่วมณฑล และทิ้งตนตูเปลี่ยวอยู่เดียวเอย

จำกบทประพันธ์ปรำกฏกำรใช้บคุ คลวัตโดยให้ “ตะวัน” ซึง่ เป็นสิง่ ทีไ่ ม่มชี วี ติ แสดง ขยายความเข้าใจ Expand
อำกัปกิริยำได้รำวกับสิ่งมีชีวิต ในที่นี้คือค�ำว่ำ “ทิ้ง” ซึ่งกวีกล่ำวว่ำเมื่อตะวันอับแสงลงได้ทิ้งทุ่งให้มืดมัว
นักเรียนยกตัวอยางการใชภาพพจนบุคคลวัต
และทิ้งคนคนหนึ่งให้อยู่อย่ำงเดียวดำย
หรือสัทพจนที่ปรากฏในเนื้อเรื่อง นอกเหนือจาก
๒) ใช้คำาที่เกิดเสียงไพเราะ ที่ยกมาแลวในหนา 153
๒.๑) สัทพจน์ คือ ค�ำเลียนเสียงธรรมชำติเป็นสื่อให้ผู้อ่ำนรับรู้บรรยำกำศของ
(แนวตอบ ตัวอยางบทประพันธที่มีการใชโวหาร
เรื่องได้ชัดเจนมำกขึ้น ท�ำให้ผู้อ่ำนสำมำรถจินตนำกำรถึงเสียงตำมที่ได้ยินในเรื่อง เกิดควำมรู้สึกวังเวง
สัทพจน เชน
ดังบทประพันธ์
“นกเอยนกแสก

ยำมเอ๋ยยำมนี้ ปถพีมืดมัวทั่วสถำน จับจองรองแจกเพียงแถกขวัญ
อำกำศเย็นเยือกหนำวครำววิกำล สงัดปำนป่ำใหญ่ไร้ส�ำเนียง อยูบนยอดหอระฆังบังแสงจันทร
มีก็แต่จังหรีดกระกรีดกริ่ง! เรไรหริ่ง! ร้องขรมระงมเสียง มีเถาวัลยรุงรังถึงหลังคา”
คอกควำยวัวรัวเกรำะเปำะเปำะ! เพียง รู้ว่ำเสียงเกรำะแว่วแผ่วแผ่วเอย จากบทประพันธมีการใชคําเลียนเสียงรองของ
นกแสกวา “แจก”)
จำกบทประพันธ์ปรำกฏค�ำเลียนเสียงธรรมชำติปรำกฏอยูท่ ำ� ให้เหมือนกับว่ำผูอ้ ำ่ น
ได้ยินเสียงจิ้งหรีดร้องระงม และเสียงรัวเกรำะในคอกวัวคอกควำยเสียงดังเปำะเปำะ! เปำะเปำะ! แว่ว
มำแผ่วๆ ท�ำให้เกิดอำรมณ์เหงำและวังเวง
153

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ขอใดใชภาพพจนสัทพจน
ครูยกโคลงโลกนิติเปรียบเทียบกับกลอนดอกสรอยรําพึงในปาชาบทที่ 14 เพื่อ
1. ใครจะยอมละทิ้งซึ่งสิ่งสุข เคยเปนทุกขหวงใยเสียไดงาย
ใหนักเรียนเห็นแนวคิดวา เราจะประสบความสําเร็จไมได ถาหากไมมีคนใหการ
2. วังเอยวังเวง หงางเหงง! ยํ่าคํ่าระฆังขาน
สนับสนุนสงเสริม ซึ่งเราจะตองมีความออนนอมถอมตน
3. หวงเอยหวงอะไร ไมยิ่งใหญเทาหวงดวงชีวิต
“แมนมีความรูดั่ง สัพพัญู
4. แมคนลืมสิ่งใดไดสนิท ก็ยังคิดขึ้นไดเมื่อใกลตาย
ผิบมีคนชู หอนชู
วิเคราะหคําตอบ สัทพจน เปนภาพพจนทางเสียง มีคําเลียนเสียงธรรมชาติ หัวแหวนคาเมืองตรู ตาโลก
หรือถายทอดเสียงวัตถุสิ่งของ เชน เสียงดนตรี เสียงสัตว เสียงคลื่น เสียงลม ทองบรองรับพื้น หอนแกวมีศรี”
เสียงฝนตก เสียงนํ้าไหล ฯลฯ การใชภาพพจนประเภทนี้จะทําใหเหมือน และพุทธสุภาษิตวา “คุณี สพฺพูุตุลฺโยป น โสภติ อนิสฺสโย” และ
ไดยินเสียงนั้นจริง ๆ ขอที่มีการเลียนเสียง คือ “วังเอยวังเวง หงางเหงง! “อนคฺโฆป มณิเสฏโฐ เหมํ นิสฺสาย โสภเต”
ยํ่าคํ่าระฆังขาน” มีคําเลียนเสียงระฆังดัง “หงางเหงง” ตอบขอ 2. แมมคี ณ
ุ เทียบเทาพระสัพพัญู แตไรผอู มุ ชู ยอมไมสงางาม แกวมณีแมจะดูไรคา
เมื่อไดอาศัยเรือนทองรองรับ จึงดูงามลํ้าคา

คู่มือครู 153
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนรวมกันอภิปรายความรูจากการ
วิเคราะหคุณคาดานวรรณศิลป จากนั้นนักเรียน ๒.๒) มีเสียงสัมผัสใน ทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษรทุกบท ดังบทประพันธ์
ตอบคําถามในประเด็น ตอไปนี้ ๒
ยำมเอ๋ยยำมนี้ ปถพีมืดมัวทั่วสถำน
• จากเนื้อเรื่องมีความโดดเดนเรื่องการใช
อำกำศเย็นเยือกหนำวครำววิกำล สงัดปำนป่ำใหญ่ไร้ส�ำเนียง
สัมผัสในอยางไร มีก็แต่จังหรีดกระกรีดกริ่ง! เรไรหริ่ง! ร้องขรมระงมเสียง
(แนวตอบ พบการใชสัมผัสอักษร เชน มืด-มัว คอกควำยวัวรัวเกรำะเปำะเปำะ! เพียง รู้ว่ำเสียงเกรำะแว่วแผ่วแผ่วเอย
เย็น-เยือก ปาน-ปา คอก-ควาย เปนตน
และพบการใชสัมผัสสระ เชน หนาว-คราว จำกบทประพันธ์ปรำกฏค�ำที่มีสัมผัส ดังนี้
ใหญ-ไร หรีด-กรีด ขรม-งม เปนตน) • สัมผัสอักษร ได้แก่ มืด - มัว เย็น - เยือก สงัด - ส�ำ(เนียง) ปำน - ป่ำ กระ - กรีด - กริง่
• จากเนื้อเรื่องมีการใชคําที่ลึกซึ้งอยางไร เร - ไร - หริง่ - ร้อง - ระ
(แนวตอบ มีการใชกลวิธีการตั้งคําถามเพื่อให • สัมผัสสระ ได้แก่ มัว - ทัว่ หนำว - ครำว ใหญ่ - ไร้ หรีด - กรีด ขรม - งม วัว - รัว
ผูอานคิดตาม เชน ใครเกี่ยวขาว ใครไถนา เกรำะ - เปำะ แว่ว - แผ่ว
ใครไถคราด เปนตน ใชการยกเรื่องราวหรือ ๓) ใช้คำาที่ให้ความหมายลึกซึ้ง กลอนดอกสร้อยเรื่อง “ร�ำพึงในป่ำช้ำ” ใช้กลวิธี
ในกำรน�ำเสนอด้วยกำรตั้งค�ำถำมเพื่อให้ผู้อ่ำนเกิดควำมอยำกรู้และคิดตำม ดังบทประพันธ์
เหตุการณทางประวัติศาสตรมาสอดแทรกเพื่อ

ใหความรูแกผูอานและกระตุนใหผูอานเกิด กองเอ๋ยกองข้ำว กองสูงรำวโรงนำยิ่งน่ำใคร่
ความสนใจมากขึ้น) เกิดเพรำะกำรเก็บเกี่ยวด้วยเคียวใคร ใครเล่ำใครครำดฟื้นพื้นแผ่นดิน
เช้ำก็ขับโคกระบือถือคันไถ ส�ำรำญใจตำมเขตประเทศถิ่น
ขยายความเข้าใจ Expand ยึดหำงยำมยักไปตำมใจจินต์ หำงยำมผินตำมใจเพรำะใครเอย
“ดวงเอยดวงมณี จำกบทประพันธ์นี้แสดงให้เห็นถึงชำวนำชำวไร่ผู้ที่พลิกฟื้นผืนดินท�ำกำรเกษตร
มักจะลี้ลับอยูในภูผา เลี้ยงปำกท้องคนไทย แม้จะเหนื่อยยำกเพียงใด เขำก็มีควำมสุขตำมอัตภำพ ผู้ที่ได้รับประโยชน์จำก
หรือใตทองหองสมุดสุดสายตา ชำวไร่ชำวนำจึงควรคิดถึงบุญคุณของชำวไร่ชำวนำผู้ยำกไร้
ก็เสื่อมซาสิ้นชมนิยมชน ๑๕
ซำกเอ๋ยซำกศพ อำจเป็นซำกนักรบผู้กล้ำหำญ
บุปผชาติชูศรีและมีกลิ่น เช่นชำวบ้ำนบำงระจันขันร�ำบำญ กับหมู่ม่ำนมำประทุษอยุธยำ
อยูในถิ่นที่ไกลเชนไพรสณฑ ไม่เช่นนั้นท่ำนกวีเช่นศรีปรำชญ์
ไมมีใครไดเชยเลยสักคน 1 นอนอนำถเล่ห์ใบ้ไร้ภำษำ
หรือผู้กู้บำ้ นเมืองเรืองปัญญำ
ญำ อำจจะมำนอนจมถมดินเอย
ยอมบานหลนเปลาดายมากมายเอย”
จากบทประพันธขางตนใหนักเรียนพิจารณา จำกบทประพันธ์กล่ำวถึงซำกศพที่ทับถมจมดินในป่ำช้ำนี้ อำจจะเป็นซำกของ
ลักษณะทางวรรณศิลป นักรบ เช่น ชำวบ้ำนบำงระจั 2 นที่ได้ต่อสู้กับพม่ำที่มำรุกรำนกรุงศรีอยุธยำ ไม่เช่นนั้นก็อำจเป็น
(แนวตอบ เปนบทประพันธที่มีความไพเราะใน นักกวีที่ยิ่งใหญ่เช่นศรีปรำชญ์ หรือผู้ที่กู้บ้ำนกู้เมือง ผู้มีควำมรู้มีปัญญำทั้งหลำยก็ได้ แต่ไม่ว่ำใครจะ
การใชคําที่มีเสียงสัมผัสทั้งสัมผัสสระและอักษร ยิ่งใหญ่แค่ไหน มีปัญญำมำกแค่ไหน ทุกคนก็หนีไม่พ้นควำมตำย ผู้ที่ยังมีชีวิตอยู่จึงควรนึกถึงซำกศพ
เหมือนบทอื่นๆ กวีใชโวหารแสดงความเปรียบอยาง ที่ถูกฝังดินอยู่ด้วยควำมเคำรพคำรวะ เพรำะคนเหล่ำนี้ท�ำประโยชน์ให้กับประเทศชำติ
แยบยล เปรียบคนที่มีความรูมีปญญาดังดวงมณี 154
และบุปผชาติที่มีอยูมากมาย แตสุดทายก็ดับหายไป
เพราะอยูไกลหรือมีถิ่นกําเนิดที่ไมมีใครจะยกชู)
ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
คําประพันธในขอใดใชคําถามเชิงวาทศิลป
1 ผูกูบานเมืองเรืองปญญา ในบทประพันธฉบับภาษาอังกฤษที่เปนตนฉบับ 1. ยอมละชีพเคยสุขสนุกสบาย เคยเสียดายเคยวิตกเคยปกครอง
บางบทไดอางถึงบุคคลที่มีชื่อเสียงเปนที่รูจักดีในชาติตะวันตก แตเมื่อนํามาแปล 2. ทิ้งทุงใหมืดมัวทั่วมณฑล และทิ้งตนตูเปลี่ยวอยูเดียวเอย
กวีไดเปลี่ยนใหเปนชื่อของบุคคลไทย โดยมีนัยไวเชนเดียวกับตนฉบับ และหาก 3. ใครจะยอมละแดนแสนสบาย โดยไมชายตาไปอาลัยเลย
นํามาเทียบเคียงบุคคลสําคัญของไทยได กวีก็จะกลาวถึงความสําคัญโดยไมเจาะจง 4. ไมเชนนั้นทานกวีเชนศรีปราชญ นอนอนาถเลหใบไรภาษา
หรือระบุนามวา “ผูกูบานเมืองเรืองปญญา”
2 ศรีปราชญ เปนกวีเอกของไทยสมัยอยุธยาที่พระยาอุปกิตศิลปสารไดปรับ วิเคราะหคําตอบ คําถามเชิงวาทศิลป คือคําถามที่ถามโดยไมตองการ
เปลี่ยนอางถึงแทนจอหน มิลตัน กวีเอกของอังกฤษ โดยคํานึงถึงความเหมาะสม คําตอบ การตั้งคําถามแตมิไดหวังคําตอบ เพราะเปนคําตอบที่ผูถาม
หลายอยาง ทั้งดานความสามารถในการประพันธ และชวงเวลาที่มีชีวิตอยูใกล และผูตอบรูดีอยูแลว การใชคําถามวาทศิลปเพื่อเราอารมณผูอานหรือสื่อ
เคียงกัน จอหน มิลตัน มีชีวิตอยูตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถและสมเด็จ ความหมาย และขอคิดที่ตองการ คําประพันธที่มีการใชคําถามวาทศิลป
พระนารายณมหาราช สมัยอยุธยา คือ “ใครจะยอมละแดนแสนสบาย โดยไมชายตาไปอาลัยเลย” แมจะเปน
ประโยคคําถามวา “ใคร” แต “ใคร” ในที่นี้เปนที่รูกันดีวา หมายถึง ทุกคนที่
ตางก็ตองการความสบาย เปนการกลาวถึงขอเท็จจริงทั่วไป ตอบขอ 3.

154 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนตอบคําถามเกี่ยวกับคุณคาดานสังคม
๗.๓ คุณค่าด้านสังคม ของกลอนดอกสรอยรําพึงในปาชา ในประเด็น
กลอนดอกสร้อยร�ำพึงในป่ำช้ำ นอกจำกจะสะท้อนให้เห็นถึงแนวคิดส�ำคัญของชีวติ แล้ว คําถามตอไปนี้
ยังสะท้อนให้เห็นสภำพสังคม คติ ค่ำนิยม ควำมเชื่อของสังคม ดังต่อไปนี้ • สะทอนใหเห็นภาพวิถีชีวิตของคนในชนบท
๑) สะท้อนให้เห็นภาพวิถีชีวิตของคนในชนบท กลอนดอกสร้อยร�ำพึงในป่ำช้ำ อยางไร
สะท้อนให้เห็นวิถีกำรด�ำรงชีวิตของผู้คนในสังคมเกษตรกรรม ดังบทประพันธ์ (แนวตอบ สภาพการดํารงชีวิตของชาวนาที่
๑ ลําบาก การทําภารกิจประจําวัน การเลีย้ งชีพ
วังเอ๋ยวังเวง หง่ำงเหง่ง! ย�่ำค�่ำระฆังขำน
การอยูกับธรรมชาติที่เรียบงาย แมจะ
ฝูงวัวควำยผ้ำยลำทิวำกำล ค่อยค่อยผ่ำนท้องทุ่งมุ่งถิ่นตน
เหน็ดเหนื่อยและลําบาก แตก็มีความสุข)
ชำวนำเหนื่อยอ่อนต่ำงจรกลับ ตะวันลับอับแสงทุกแห่งหน
• สะทอนคานิยมของคนในสังคมไทย
ทิ้งทุ่งให้มืดมัวทั่วมณฑล และทิ้งตนตูเปลี่ยวอยู่เดียวเอย
มีอะไรบาง
จำกบทประพันธ์สะท้อนให้เห็นถึงวิถีกำรด�ำรงชีวิตของชำวนำในชนบทที่หลังจำก (แนวตอบ การใหความเคารพผูที่มีฐานะและ
เสร็จภำรกิจกำรปฏิบัติงำนประจ�ำวัน ต่ำงจูงฝูงวัวควำยพำกันเดินทำงกลับบ้ำนด้วยควำมเหนื่อยล้ำ มีชื่อเสียงในสังคม และการเปนคนมีการ
เมื่อยำมตะวันจะลับขอบฟ้ำเรียกว่ำ ยำมย�่ำค�่ำ คือ เวลำประมำณ ๑๘.๐๐ น. พระสงฆ์จะเคำะระฆังดัง ศึกษาจะทําใหเปนที่ยอมรับ)
หง่ำงเหง่ง! หง่ำงเหง่ง! เรียกว่ำ กำรย�่ำยำม • ชี้ใหเห็นธรรมชาติของมนุษยอยางไร
๒) สะท้อนให้เห็นความเชื่อของคนในสังคมไทย ควำมเชื่อเป็นสิ่งที่ผูกพันอยู่กับ (แนวตอบ ชี้ใหเห็นวาทายที่สุดมนุษยก็ตอง
วิถีชีวิตของชำวไทยและโดยทั่วไปจะมีควำมเกี่ยวโยงกับจิตวิญญำณและควำมตำย ดังบทประพันธ์ ถึงกาลอวสานแหงชีวิต สภาพทางธรรมชาติ

นกเอ๋ยนกแสก จับจ้องร้องแจ๊กเพียงแถกขวัญ ของมนุษยมีความเทาเทียมกัน จึงควรปลอย
อยู่บนยอดหอระฆังบังแสงจันทร์ มีเถำวัลย์รุงรังถึงหลังคำ วางจากสิ่งที่ไมยั่งยืนทั้งหลาย ชื่อเสียง
เกียรติยศ ทรัพยสินเงินทอง)
จำกบทประพันธ์สะท้อนให้เห็นควำมเชื่อของคนไทยที่ว่ำ นกแสกเป็นทูตแห่ง
ควำมตำยหรื 1 อสัญลักษณ์แห่งควำมตำย ควำมน่ำสะพรึงกลัว ซึง่ นกแสกเป็นนกชนิดเดียวกับนกเค้ำแมว ขยายความเข้าใจ Expand
และนกฮูกตตำมทีป่ รำกฏในบทประพันธ์เดิม เนือ่ งจำกมีสำยตำดีจงึ หำกินในเวลำกลำงคืนโดยซุม่ จับเหยือ่
ในที่รกและมืด เมื่อถูกรบกวนหรือจับเหยื่อได้จะส่งเสียงร้องเสียงดัง ในควำมเงียบสงัดจึงเป็นเสียงที่ นักเรียนยกบทประพันธที่กวีไดแทรกความคิด
สร้ำงควำมน่ำกลัวให้เกิดขึ้น สําคัญเรื่องการศึกษา
๓) สะท้อนให้เห็นค่านิยมของคนในสังคม เช่น กำรให้ควำมเคำรพนับถือผูท้ มี่ ฐี ำนะ (แนวตอบ บทประพันธเกี่ยวกับการศึกษา เชน
หรือมีชื่อเสียงในสังคม ดังบทประพันธ์ “ความเอยความรู
๒๑ เปนเครื่องชูชี้ทางสวางไสว
ศพเอ๋ยศพสูง เป็นเครื่องจูงจิตให้เลื่อมใสศำนต์
หมดโอกาสที่จะชี้ตอนี้ไป
จำรึกค�ำส�ำนวนชวนสักกำร ผิดกับฐำนชำวนำคนสำมัญ
ละหวงใยอยากรูลงสูดิน
ซึ่งอย่ำงดีก็มีกวีเถื่อน จำรึกชื่อปีเดือนวันดับขันธ์
อุทิศสิ่งซึ่งสร้ำงตำมทำงธรรม์ ของผู้นั้นผู้นี้แก่ผีเอย อันความยากหากใหไรศึกษา
ยนปญญาความรูอยูแคถิ่น
155 หมดทุกขขลุกแตกิจคิดหากิน
กระแสวิญญาณงันเพียงนั้นเอย”)

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
หวงเอยหวงอะไร ไมยิ่งใหญเทาหวงดวงชีวิต
1 นกฮูก ในหลายๆ พื้นที่ของโลกถือวาเปนสัตวที่มีความเกี่ยวของกับโชคราย
แมคนลืมสิ่งใดไดสนิท ก็ยังคิดขึ้นไดเมื่อใกลตาย
และความตาย แตถึงกระนั้นก็ใชวานกฮูกจะเปนสัตวที่ถูกนําไปโยงเกี่ยวกับสิ่งชั่ว
ใครจะยอมละทิ้งซึ่งสิ่งสุข เคยเปนทุกขหวงใยเสียไดงาย
รายเพียงอยางเดียว เพราะนกฮูกยังแสดงถึงความสุขุมรอบคอบ และความรํ่ารวย
ใครจะยอมละแดนแสนสบาย โดยไมชายตาใฝอาลัยเลย
จากการเปนสัตวของเทพเจาในบางวัฒนธรรมอีกดวย เชน ในญี่ปุนเชื่อวานกฮูก
จากบทประพันธขางตนขอใดเปนธรรมชาติของมนุษย
เปนผูนําสารจากเทพเจา เปนสัญลักษณดานบวก ในขณะที่นกฮูกยุงหรือนกแสก
1. มนุษยยอมรักลูกของตน
ถือเปนนกปศาจ ซึ่งเปนสัญลักษณดานลบ สวนวัฒนธรรมอินเดีย ถือวานกฮูกที่มี
2. มนุษยยอมรักชีวิตของตน
สีขาวเปนสัตวขางกายของเทพเจาแหงความสมบูรณมั่งคั่ง เปนผูนํามาซึ่งความ
3. มนุษยยอมรักพอแมของตน
เจริญรุงเรือง
4. มนุษยยอมรักชื่อเสียงของตน
สําหรับทวีปยุโรปนั้น ตามตํานานเทพเจาของชาวกรีก นกฮูกจิ๋ว มักจะมี
วิเคราะหคําตอบ จากคําประพันธที่วา “หวงเอยหวงอะไร ไมยิ่งใหญ ความเกี่ยวของกับเทพีอเธนา เทพีแหงนกของกรีก ผูซึ่งมักจะปรากฏกายมาใน
เทาหวงดวงชีวิต” แสดงใหเห็นวาชีวิตสําคัญที่สุด เพราะชีวิตหมายความ รูปแบบของนกฮูก นอกจากจะเปนเทพีแหงนกแลว เทพีอเธนายังเปนเทพีแหง
รวมถึงการใชชีวิต การมีชีวิตที่อยูในที่ที่มีความสุขสบาย ดังนั้น จึงเปน ปญญา ศิลปะ และทักษะความชํานาญ เพราะฉะนั้น จึงมีการนํานกฮูกมาใชเปน
ธรรมชาติของมนุษยที่จะรักชีวิตตนเอง ตอบขอ 2. สัญลักษณของการสอน และตราของสถาบันการศึกษาตางๆ หลายแหงอีกดวย

คู่มือครู 155
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนตอบคําถามเกี่ยวกับคุณคาดานสังคม
ของกลอนดอกสรอยรําพึงในปาชา ในประเด็น จำกบทประพันธ์สะท้อนให้เห็นค่ำนิยมของกำรให้ควำมส�ำคัญแก่บุคคลแตกต่ำง
คําถามตอไปนี้ กัน กล่ำวคือ ผู้เสียชีวิตที่มีฐำนะร�่ำรวยมักมีกำรจำรึกค�ำหรือสร้ำงสิ่งก่อสร้ำงเป็นอนุสรณ์ แต่ถ้ำ
• จากเนื้อเรื่องชี้ใหเห็นธรรมชาติของมนุษย ผูเ้ สียชีวติ เป็นชำวนำชำวไร่หรือผูม้ ฐี ำนะยำกจนมักไม่มใี ครเห็นคุณค่ำหรือควำมส�ำคัญ อย่ำงมำกก็มเี พียง
อยางไรบาง กำรจำรึกชื่อและวัน เดือน ปี ที่เสียชีวิตเท่ำนั้น
(แนวตอบ มนุษยทุกคนยอมรักและหวงความ ๔) ชี้ให้เห็นธรรมชาติของมนุษย์ มนุษย์ทุกคนย่อมรักตัวเอง ห่วงควำมสุขสบำย
สุขสบาย กลัวความตายแตสุดทายของชีวิต ที่เคยได้รับ กลัวควำมตำย แต่ทุกคนก็หนีไม่พ้นควำมตำย ดังบทประพันธ์
ก็หนีไมพนความตายกันทุกคน) ๒๒
2. นักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับขอคิดที่พบใน ห่วงเอ๋ยห่วงอะไร ไม่ยิ่งใหญ่เท่ำห่วงดวงชีวิต
กลอนดอกสรอยรําพึงในปาชา ซึ่งสามารถนําไป แม้คนลืมสิ่งใดได้สนิท ก็ยังคิดขึ้นได้เมื่อใกล้ตำย
ใชในชีวิตประจําวันได ใครจะยอมละทิ้งซึ่งสิ่งสุข เคยเป็นทุกข์ห่วงใยเสียได้ง่ำย
• ทุกสรรพสิ่งในโลกลวนไมเที่ยงหมายความวา ใครจะยอมละแดนแสนสบำย โดยไม่ชำยตำใฝ่อำลัยเอย
อยางไร
(แนวตอบ โลกมนุษยไมมีความเที่ยงแท จำกบทประพันธ์กล่ำวว่ำคนทุกคนย่อมรักชีวิตของตนเอง รักทรัพย์สิน รักควำม
แนนอน ไมมีอะไรยั่งยืนมั่นคง ทุกอยาง สะดวกสบำยทีเ่ คยได้รบั แต่เมือ่ ถึงเวลำทุกคนก็ตอ้ งตำย ทรัพย์สมบัต ิ สิง่ ของอันเป็นทีร่ กั ไม่มใี ครสำมำรถ
เกิด แตก และดับไปตามกาลเวลา ตองรูจัก น�ำติดตัวไปได้เลย
เตรียมกายเตรียมใจเอาไว) ๕) ชี้ให้เห็นความแตกต่างของขนบธรรมเนียม ในแต่ละสังคมย่อมมีธรรมเนียม
• ความสงบสุขที่แทจริงคืออะไร ที่แตกต่ำงกัน เช่น ชำวตะวันตกนิยมฝังศพในสุสำน ส่วนคนไทยใช้กำรฌำปนกิจ ดังบทประพันธ์
(แนวตอบ การมีชีวิตที่เรียบงายและการไดทํา ๑๐
ตัวเอ๋ยตัวหยิ่ง เจ้ำอย่ำชิงติซำกว่ำยำกไร้
ประโยชนเพื่อประเทศชาติ)
เห็นจมดินน่ำสลดระทดใจ ที่ระลึกสิ่งไรก็ไม่มี
ไม่เหมือนอย่ำงบำงศพญำติตบแต่ง เครื่องแสดงเกียรติเลิศประเสริฐศรี
ขยายความเข้าใจ Expand
สร้ำงสถำนกำรบุญหนุนพลี เป็นอนุสำวรีย์สง่ำเอย
นักเรียนยกโฆษณาที่มีอิทธิพลตอการดําเนิน
ชีวิตประจําวัน โดยใชถอยคําภาษาสื่อความเกี่ยวกับ จำกบทประพันธ์เป็นกำรกล่ำวตักเตือนผูเ้ ย่อหยิง่ ไม่ให้ตำ� หนิซำกศพผูย้ ำกไร้ ทีไ่ ม่มี
การคงสภาพไมเปลี่ยนแปลง นักเรียนแสดงความ สิ่งของประดับตกแต่ง ต่ำงจำกบำงศพที่ญำติประดับด้วยเครื่องแสดงเกียรติยศและเก็บไว้ในสถำนที่
คิดเห็นเกี่ยวกับถอยคําภาษาดังกลาว ฝังศพอย่ำงดี
(แนวตอบ ทุกสิ่งในโลกไมมีอะไรเที่ยงแทยั่งยืน ๗.๔ ข้อคิดทีส่ ามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจ�าวัน
เชน โฆษณาเครื่องสําอาง ที่ชวยคงสภาพความ กลอนดอกสร้อยร�ำพึงในป่ำช้ำเป็นวรรณคดีที่มีคุณค่ำ เนื่องด้วยสะท้อนให้เห็นสัจธรรม
หนุมสาว แมปจจุบันจะมีวิทยาการทางวิทยาศาสตร
ของชีวิต รวมถึงสะท้อนสภำพสังคมในด้ำนค่ำนิยมและควำมเชื่อ นอกจำกนี้ผู้อ่ำนยังจะได้รับข้อคิดที่
ชวยชะลอวัยไมใหเปลี่ยนแปลง แตสุดทายก็ไมอาจ
สำมำรถน�ำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน ดังนี้
หยุดหรือยับยั้งความแกชราได มนุษยควรเตรียมใจ
156
ยอมรับสภาพความจริง จึงจะใชชวี ติ อยางมีความสุข)

ขอสอบเนน การคิด
บูรณาการอาเซียน แนว  NT  O-NE T
“วิถีแหงเกียรติยศทั้งหมดนั้น แตลวนผันมาประจบหลุมศพเอย”
จากการเรียนกลอนดอกสรอยรําพึงในปาชา ซึ่งเปนเรื่องที่ใหแงคิดเกี่ยวกับ
คําประพันธนี้ใหขอคิดเรื่องอะไร
ความไมเที่ยงแทแนนอนของชีวิต และความตายซึ่งเปนธรรมชาติของมนุษย ครูนํา
1. เราจะไดเกียรติยศเมื่อใกลตาย
แงคิดดังกลาวนี้มาเปนประเด็นในการบูรณาการอาเซียน เพราะเนื่องจากพิธีกรรม
2. ความตายเปนสิ่งจริงแทแนนอน
เกี่ยวกับความตายในแตละที่ แตละสังคมไมวาจะเหมือนและตางกัน ก็ลวนแลว
3. หลุมฝงศพเปนเกียรติยศของคนเรา
แตเปนเครื่องบงบอกถึงวัฒนธรรมของสังคมนั้นๆ ดังที่เห็นไดจากประเทศใน
4. เกียรติยศจะยังคงอยูแมจะตายไปแลว
แถบเอเชียตะวันออกเฉียงใตไดผสมผสานระหวางความเชื่อเดิม คือ การนับถือผี
บรรพบุรุษเขากับศาสนาพราหมณ-ฮินดูและพุทธอยางกลมกลืน แตขณะเดียวกันก็มี วิเคราะหคําตอบ จากคําประพันธขางตน แมจะกลาวถึงเกียรติยศ แตก็
บางแหงที่ไดรับอิทธิพลของศาสนาอื่น เชน คริสต อิสลาม และลัทธิตางๆ เปนตน แสดงใหเห็นสัจธรรมของชีวิตที่ไมวาจะยากดีมีจนอยางไร มีหรือไมมีเกียรติ
ครูแนะใหนักเรียนเรียนรูวัฒนธรรมความเปนอยูของประเทศเพื่อนบานผาน อยางไร สุดทายก็ “มาประจบที่หลุมศพ” คือ พบกับความตาย ดังนั้น ขอคิด
พิธีกรรมเกี่ยวกับความตาย โดยเรียนรูจากขอคิด คติแฝงใจที่อยูในความเชื่อของ ที่ไดจากเรื่องนี้ คือ ความตายเปนสิ่งจริงแทแนนอน ตอบขอ 2.
พิธีกรรมนี้ ซึ่งมีอิทธิพลในการชวยยํ้าเตือนใหผูที่ยังมีชีวิตอยูไดขอคิดในการดําเนิน
ชีวิต ทั้งนี้นักเรียนยกวรรณกรรมอาเซียนที่สะทอนเรื่องราวความเปนอยูของคนใน
สังคมมาทําแผนพับใหความรู

156 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนตอบคําถามเกี่ยวกับขอคิด จากกลอน
๑) ทุกสรรพสิง่ ในโลกล้วนไม่เทีย่ ง กลอนดอกสร้อยร�ำพึงในป่ำช้ำให้ขอ้ คิดแก่ผอู้ ำ่ น ดอกสรอยรําพึงในปาชาที่สามารถนําไปใชใน
ว่ำทุกสรรพสิง่ บนโลกมนุษย์ไม่มคี วำมเทีย่ งแท้ ไม่มคี วำมจีรงั ยัง่ ยืน ล้วนตัง้ อยูแ่ ละแตกดับไปตำมสังขำร ชีวิตประจําวันได
และกำลเวลำ จึงควรที่จะเตรียมใจเผื่อไว้ส�ำหรับสิ่งนี้ เมื่อเวลำนั้นเดินทำงมำถึงจะได้สำมำรถยอมรับได้ • สอนใหเราไมยึดติดอยางไร
อย่ำงไม่วุ่นวำยทรมำน (แนวตอบ กลาวสอนวามนุษยไมควรยึดถือ
๒) ความเรียบง่ายคือความสุขที่แท้จริง กลอนดอกสร้อยร�ำพึงในป่ำช้ำ มีเนื้อหำ ในยศถาบรรดาศักดิ์ ความรํ่ารวย เพราะ
บำงส่วนที่กล่ำวชื่นชมวิถีชีวิตอันเรียบง่ำยของชำวนำ แม้ว่ำในยำมจำกไปจะไม่มีผู้ใดจำรึกเกียรติคุณไว้ เมื่อตายไปแลวก็ไมสามารถนําอะไรติดตัว
แต่หลุมศพของชำวนำจะเป็นเครื่องเตือนให้ผู้พบเห็นได้ไตร่ตรองถึงควำมสันโดษ ควำมธรรมดำสำมัญ ไปไดเลย คงเหลือไวเพียงคุณงามความดีที่
อันเป็นควำมสุขที่แท้จริงของชีวิต ไดกระทําเมื่อยังมีชีวิต เพื่อใหชนรุนหลังได
๓) อย่ายึดติดกับวัตถุ กล่ำวคือ มนุษย์ไม่ควรยึดติดในยศถำบรรดำศักดิห์ รือทรัพย์สนิ นําไปเปนแบบอยางในการดําเนินชีวิต และ
เงินทอง ไม่ว่ำใครจะมีควำมรู้สูงส่งเพียงใดเมื่อตำยไปทุกสิ่งย่อมจบสิ้นหมดไปไม่สำมำรถน�ำสิ่งใดติดตัว
ประโยชนที่เหลือไวใหประเทศชาติ)
ไปได้เลย นอกจำกควำมดีควำมชั่วอันเป็นสิ่งที่ให้คนรุ่นหลังได้กล่ำวขำน
มนุษย์ทุกคนไม่ว่ำร�่ำรวยหรือยำกจนต่ำงเท่ำเทียมกันในเรื่องควำมตำย แต่บุคคล ขยายความเข้าใจ Expand
ที่อุทิศตนท�ำควำมดี ประพฤติปฏิบัติหน้ำที่ของตนเองอย่ำงเต็มก�ำลังควำมสำมำรถ เมื่อเสียชีวิตย่อม นักเรียนเขียนความเรียง ความยาวครึ่งหนาที่
ได้รับค�ำสรรเสริญจำกคนรุ่นหลัง มีจุดมุงหมายในการเสนอแนวทางที่ชวยสนับสนุน
แนวคิด “อยายึดติดกับวัตถุ”
กลอนดอกสร้อยรÓพึงในป่าช้า แม้จะเป็นคÓประพันธ์ทแี่ ปลมาจากกวีนพ ิ นธ์องั กฤษ (แนวตอบ นักเรียนตอบไดหลากหลาย เชน
แต่ผู้ประพันธ์ก็สามารถปรับเปลี่ยนเนื้อเรื่องให้ผู้อ่านได้เห็นบรรยากาศ สภาพวิถีชีวิต การบริจาค ชวยเหลือผูที่ขาดแคลนตามสภาพ
ความคิด ความเชื่อแบบไทยได้ โดยผู้เขียนเลือกสรรคÓง่าย สื่อให้ผู้อ่านเกิดภาพพจน์ ความเหมาะสม การชวยเหลือทางวัตถุที่จําเปน
เกิดจินตนาการตามเนือ้ เรือ่ ง ให้ขอ้ คิด คติธรรม และชีใ้ ห้เห็นธรรมชาติของชีวติ ว่าทุกคน ตอการดําเนินชีวิต นอกจากจะชวยเหลือผูอื่นแลว
ไม่สามารถหลีกพ้นความตายได้เลย เมื่อตายไป ทรัพย์สมบัติ ของรักของหวงสิ่งใด ยังชวยพัฒนาจิตใจใหเปนผูให รวมถึงเปน
ก็ไม่สามารถนÓติดตัวไปได้ นอกจากความดีความชั่วที่ตนทÓขณะที่มีชีวิตเท่านั้น ดังนั้น ผูปลอยวางและมีความสุขกับชีวิต)
เมือ่ ยังมีชวี ติ อยูจ่ งึ ควรดÓรงชีวติ ด้วยความไม่ประมาท หมัน
่ ทÓแต่ความดี กลอนดอกสร้อย
รÓพึงในป่าช้าจึงนับว่าเป็นบทประพันธ์ที่มีคุณค่าในแง่ที่สามารถยกระดับจิตใจและ
เตือนสติผู้อ่าน ชี้ให้เห็นความไม่แน่นอนของชีวิต นอกจากคุณค่าทางด้านเนื้อหาแล้ว
กลอนดอกสร้อยรÓพึงในป่าช้ายังมีวรรณศิลป์ที่งดงาม สร้างความซาบซึ้งกินใจให้แก่
ผู้อ่านอีกด้วย

157

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
“แหงหลุมลึกลานสลดระทดใจ เรายิ่งใกลหลุมนั้นทุกขวันเอย”
ครูแนะความรูเ รือ่ งพิธกี รรมเกีย่ วกับความตายตามความเชือ่ ทางพระพุทธศาสนา
คําประพันธที่ยกมานี้มีความหมายตรงกับขอใด
ในปจจุบันยังมีพิธีกรรมที่ยังสืบทอดกันอยูหลายอยาง เชน จะมีพิธีบอกหนทาง
1. เรายิ่งใกลความตายเขาไปทุกที
สุขคติแกผูใกลตาย พิธีอาบนํ้าศพ พิธีแตงตัวใหศพ พิธีตําหมากใสปากศพ พิธีปด
2. เรายิ่งใกลหลุมฝงศพเขาไปทุกที
หนาศพ ตกกลางคืนมีการนิมนตพระสงฆ 4 รูป มาสวดอภิธรรม ประเพณีการเฝาศพ
3. เรายิ่งใกลความหลุดพนเขาไปทุกที
หรือเปนเพื่อนศพ ซึ่งอาจมีการละเลนหรือการบันเทิงอื่นๆ เชน การสวดคฤหัสถ
4. เรายิ่งใกลความสงบเงียบเขาไปทุกที
เมื่อเคลื่อนศพออกจากบานจะตองสรางบันไดผีไวหลอกวิญญาณผูตาย มีการนิมนต
วิเคราะหคําตอบ จากคําประพันธที่ยกมา “แหงหลุมลึกลานสลด” หมายถึง พระสงฆมาชักผาบังสุกุลกอนญาติมิตรจะนําดอกไมจันทนไปวางในพิธีเผาศพ
ปาชาที่มีหลุมฝงศพมากมาย และความวา “เรายิ่งใกลหลุมนั้นทุกวันเอย” วันรุงขึ้นญาติผูตายจะนํากระดูกมาเรียงธาตุ แลวนิมนตพระสงฆมาชักบังสุกุล
คําวา “หลุม” หมายถึง ความตาย คือตายแลวก็จะถูกฝงลงหลุม ดังนั้น ขอที่ กอนจะนําเถาอัฐไิ ปเก็บไวทบี่ า น หรือบรรจุในเจดียห รือธาตุทวี่ ดั เพือ่ ลูกหลานไดทาํ บุญ
ตรงกับคําประพันธที่ยกมา คือ เรายิ่งใกลความตายเขาไปทุกที ตอบขอ 1. อุทิศสวนกุศลไปใหผูลวงลับ หรือนําอังคารไปลอยนํ้าเพราะเชื่อวาผูตายจะไดอยูเย็น
เปนสุข เปนตน

คู่มือครู 157
ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ Evaluate
Engage Explore Explain Expand
ตรวจสอบผล Evaluate
1. นักเรียนอธิบายแนวคิดสําคัญของกลอนดอก
สรอยรําพึงในปาชาได
2. นักเรียนยกบทประพันธที่มีการใชภาพพจน ค�ำถำม ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้
บุคคลวัตหรือสัทพจนที่นอกเหนือจากหนังสือ
เรียนหนา 153 ๑. ลักษณะของกลอนดอกสร้อยแตกต่างจากกลอนสุภาพอย่างไร
3. นักเรียนนําขอคิดจากกลอนดอกสรอยรําพึงใน ๒. อะไรคือแนวคิดหลักของกลอนดอกสร้อยร�าพึงในป่าช้า จงอธิบายโดยยกค�าประพันธ์ประกอบ
ปาชาไปใชเปนแนวทางในการดําเนินชีวิต ๓. เนื้อหาของกลอนดอกสร้อยร�าพึงในป่าช้ามีคุณค่าด้านเนื้อหาและวรรณศิลป์อย่างไร
๔. นักเรียนสามารถน�าข้อคิด คติธรรมจากกลอนดอกสร้อยร�าพึงในป่าช้ามาปรับใช้ในชีวิตได้อย่างไร
๕. ให้นักเรียนยกตัวอย่างค�าประพันธ์จากกลอนดอกสร้อยร�าพึงในป่าช้าที่ปรากฏการใช้ภาพพจน์
หลักฐานแสดงผลการเรียนรู มากที่สุด พร้อมอธิบายขยายความประกอบ

1. การแตงคําประพันธประเภทกลอนดอกสรอย
2. การถอดคําประพันธเปนรอยแกว
3. การยกบทประพันธที่ใชภาพพจนบุคคลวัตหรือ
สัทพจน
4. ความเรียงเสนอแนวคิด “อยายึดติดกับวัตถุ”

กิจกรรม สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้

กิจกรรมที่ ๑ ให้นักเรียนแต่งกลอนดอกสร้อยอาลัยรักเพื่อนสนิทที่แยกจากกันไป จ�านวน ๑ บท

กิจกรรมที่ ๒ ให้นักเรียนเลือกถอดค�าประพันธ์จากกลอนดอกสร้อยร�าพึงในป่าช้า จ�านวน ๒ บท

กิจกรรมที่ ๓ ใ ห้นกั เรียนเลือกบทประพันธ์ทชี่ อบมา ๒ บท จับคูฝ่ กึ อ่านท�านองเสนาะ แล้วท่องจ�า


และน�าเสนอหน้าชั้นเรียนว่ามีความไพเราะและมีคุณค่าทั้งด้านเนื้อหาและด้าน
วรรณศิลป์อย่างไร

158

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู
1. กลอนดอกสรอยขึ้นตนวรรคแรกมี 4 คํา คําที่สองของวรรคแรกใชคําวา เอย และคําสุดทายของบทใชคําวา เอย แตกลอนสุภาพไมมีใชในลักษณะนี้
2. แนวคิดสําคัญคือ สัจธรรมของชีวิต ไดแก อนิจจัง ความไมเที่ยงแท ทุกขัง ความลําบากกายใจ และอนัตตา ความไมมีตัวตน ดังคําประพันธที่วา
“สกุลเอยสกุลสูง ชักจูงจิตฟูชูศักดิ์ศรี
อํานาจนําความสงาอาอินทรีย ความงามนําใหมีไมตรีกัน
ความรํ่ารวยอํานวยสุขใหทุกอยาง เหลานี้ตางรอตายทําลายขันธ
วิถีแหงเกียรติยศทั้งหมดนั้น แตลวนผันมาประจบหลุมศพเอย”
3. คุณคาดานเนื้อหาไดแก แนวคิดสําคัญเกี่ยวกับสัจธรรมของชีวิต คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา สวนคุณคาดานวรรณศิลป คือ การใชถอ ยคําเรียบงาย แตสะทอนจินตภาพ
ทีช่ ดั เจน การใชอุปมาโวหาร การใชภาพพจนบุคคลวัต การใชภาพพจนสัทพจน
4. นักเรียนตอบไดหลากหลาย เชน เรื่องการใชจายในชีวิตประจําวันไมหลงใหลไปกับสิ่งของที่เกินตัว เกินความจําเปน เปนตน
5. “วังเอยวังเวง หงางเหงง ยํ่าคํ่าระฆังขาน
ฝูงวัวควายผายลาทิวากาล คอยคอยผานทองทุงมุงถิ่นตน
ชาวนาเหนื่อยออนตางจรกลับ ตะวันลับอับแสงทุกแหงหน
ทิ้งทุงใหมืดมัวทั่วมณฑล และทิ้งตนตูเปลี่ยวอยูเดียวเอย”
มีการใชภาพพจนสัทพจน โดยการเลียนเสียงของระฆังที่ดัง “หงางเหงง” และการใชภาพพจนบุคคลวัต โดยการสมมติใหตะวันแสดงอาการคลายมนุษย “ทิ้งทุงให
มืดมัว”

158 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ
Engage ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Explore Explain Expand Evaluate
เปาหมายการเรียนรู
1. สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน
2. วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน
พรอมยกเหตุผลประกอบ
3. อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม
ที่อาน
4. สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพื่อ
ประยุกตใชในชีวิตจริง
5. ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนดและ
บทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ

สมรรถนะของผูเรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกปญหา
4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

หนวยที่ ø คุณลักษณะอันพึงประสงค
1. รักชาติ ศาสน กษัตริย
2. ใฝเรียนรู
นิรำศเมืองแกลง 3. รักความเปนไทย
ตัวชี้วัด
■ สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน (ท ๕.๑ ม.๒/๑)
วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน พรอมยกเหตุผลประกอบ
นิ ร าศเมื อ งแกลงเป น งานประพั น ธ

ประเภทนิราศเรื่องแรกของสุนทรภู ซึ่ง

(ท ๕.๑ ม.๒/๒)
อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน (ท ๕.๑ ม.๒/๓) แต ง ขึ้ น ในสมั ย รั ช กาลที่ ๑ เมื่ อ ครั้ ง กระตุน้ ความสนใจ Engage
■ สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพื่อประยุกตใชในชีวิตจริง เดินทางไปเยี่ยมบิดาที่เมืองแกลง
(ท ๕.๑ ม.๒/๔)
นิ ร าศเมื อ งแกลง มี ค วามไพเราะด ว ย
ครูสนทนารวมกับนักเรียนเกีย่ วกับภาพการแตง
ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทรอยกรองที่มีคุณคาตาม
คําประพันธระหวางการเดินทางในหนาหนวยวา

ความสนใจ (ท ๕.๑ ม.๒/๕) จั ง หวะและเสี ย งกลอนในการรํ า พึ ง ถึ ง หญิ ง


อันเปนทีร่ กั ทีต่ อ งพลัดพรากจากกัน และสะทอน กวีนิยมพรรณนาถึงธรรมชาติ ตนไม สัตว สถานที่
สาระการเรียนรูแกนกลาง สภาพสั ง คมความเป น อยู  ข องผู  ค นในสมั ย นั้ น เปนตน
การวิเคราะหคุณคาและขอคิดจากวรรณคดี มี ก ารสอดแทรกความรู  เ กี่ ย วกั บ สั ต ว รวมทั้ ง

และวรรณกรรม เรื่อง นิราศเมืองแกลง • นักเรียนคิดวาใครนั่งอยูในเรือและ


■ บทอาขยานตามที่กําหนดและบทรอยกรองที่มีคุณคา ใหขอคิด คติสอนใจ ทั้งยังสามารถใชในการคนควา กําลังจะเดินทางไปยังสถานที่ใด
ประวัติของสุนทรภูไดเปนอยางดี
(แนวตอบ สุนทรภูและลูกศิษยกําลังจะ
เดินทางไปเมืองแกลง)

เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอนในหนวยการเรียนรูนี้ ครูชี้ใหนักเรียนเห็นลักษณะเดนของ
นิราศที่สุนทรภูแตงนั้นวา นอกจากมีความไพเราะดวยทํานองกลอนมีเสียงสัมผัส
ฟงราบรื่นหู ใชถอยคําที่สละสลวย แลวกลอนนิราศของสุนทรภูยังประกอบไปดวย
ความนึกคิด นําเอาสิ่งที่ไดพบเห็นมาเกี่ยวโยงกับสภาพอาชีพของคนเราไดอยาง
ลึกซึ้ง ครูใหนักเรียนพิจารณาภาพหนาหนวย เพื่อใหนักเรียนพิจารณาบรรยากาศ
และสิ่งแวดลอมที่สงผลตอการแตงคําประพันธประเภทนิราศ เชน การเดินทาง
โดยเรือ เพื่อนรวมทาง ปาเขาทั้งสองฟากฝง เปนตน

คู่มือครู 159
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
Engage Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
ครูทบทวนความรูเกี่ยวกับวรรณคดีประเภท
นิราศ โดยใชคําถาม ดังนี้ ๑ ความเป็นมา
• กลอนนิราศคืออะไร และมีลักษณะเปน นิราศเมืองแกลง เป็นนิราศเรื่องแรกของสุนทรภู่ แต่งขึ้นใน พ.ศ. ๒๓๔๙ เล่าเรื่องเมื่อ1
อยางไร ครั้ ง เดิ น ทางไปหาบิ ด าซึ่ ง ขณะนั้ น บวชอยู ่ ที่ วั ด ป่ า ต� า บลบ้ า นกร�่ า อ� า เภอแกลง
เภอแกลง จั ง หวั ด ระยอง
(แนวตอบ นิราศ แปลวา ลาจาก กลอนนิราศ เมื่อกลางเดือน ๗ พ.ศ. ๒๓๕๐ สุนทรภู่แต่งนิราศเมืองแกลง ขณะมีอายุย่างเข้า ๒๒ ปี ยังไม่ได้แต่งงาน
จึงเปนกลอนที่มีการกลาวถึงการลาจาก แต่ได้ลอบรักใคร่กับนางจัน จนความทราบถึงกรมพระราชวังหลัง จึงถูกจ�าคุกทั้ง ๒ คน เมื่อพ้นโทษ
ที่สอดแทรกอารมณความรูสึกอาลัยรัก สุนทรภู่จึงเดินทางไปหาบิดาที่เมืองแกลง
พรรณนาถึงนางผูเปนที่รัก) สันนิษฐานว่าสุนทรภู่เดินทางไปเพื่อจะบวช ทั้งนี้เพราะอายุครบบวชและถือเป็นการล้าง
• นักเรียนเคยเรียนนิราศที่เปนผลงานของ อัปมงคลที่ถูกจองจ�า บ้างก็ว่าสุนทรภู่เดินทางไปขอเงินบิดาเพื่อกลับมาแต่งงาน แต่อีกประการหนึ่ง
สุนทรภูมากอนหรือไม อยางไร สันนิษฐานว่า อาจมีเจ้านายพระองค์หนึ่งใช้ให้ไปราชการด้วย โดยสังเกตจากบทประพันธ์
(แนวตอบ เรื่องนิราศภูเขาทองเปนผลงาน โอ้ยามยากจากเมืองแล้วลืมมุ้ง มากร�ายุงเวทนาประดาหาย
การประพันธของสุนทรภูที่มีใหเรียนใน จะกรวดน�้าคว�่าขันจนวันตาย แม้เจ้านายท่านไม่ใช้แล้วไม่มา
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1)
ในตอนท้ายเรือ่ งสุนทรภูก่ ล่าวว่าแต่งนิราศเมืองแกลงแทนขันหมากเพือ่ ส่งให้นางจันหญิงคนรัก
ส�ารวจค้นหา Explore ดังบทประพันธ์
นิราศเรื่องเมืองแกลงแต่งมาฝาก เหมือนขันหมากมิ่งมิตรพิสมัย
1. นักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับประวัติความ
อย่าหมางหมองข้องขัดตัดอาลัย ให้ชื่นใจเหมือนแต่หลังมั่งเถิดเอย
เปนมาของนิราศเมืองแกลง ประวัติของผูแตง
จากหนังสือเรียนหนา 160 เอกสาร ตํารา และ
เว็บไซตที่เกี่ยวของ
2. นักเรียนสืบคนความรูเกี่ยวกับลักษณะบังคับ
๒ ประวัติผู้แต่ง
ของคําประพันธประเภทกลอนนิราศตามแนว สุนทรภู่เกิดเมื่อวันจันทร์ เดือน ๘ ขึ้น ๑ ค�่า ปีมะเมีย
กลอนสุนทรภู จากเอกสาร ตํารา หนังสือเรียน จุลศักราช ๑๑๔๘ เวลา ๒ โมงเช้า ตรงกับวันที่ ๒๖ มิถุนายน
และเว็บไซตที่เกี่ยวของ พ.ศ. ๒๓๒๙ ในวัยเยาว์บิดามารดาแยกทางกัน บิดากลับไปบวช
ที่เมืองแกลง มารดาพาสุนทรภู่เข้ามาอยู่บริเวณพระราชวังหลัง
3. นักเรียนอานเรื่องยอนิราศเมืองแกลง
ด้วยเพราะเป็นนางนมของพระธิดาในกรมพระราชวังหลัง
อธิบายความรู้ Explain สุ น ทรภู ่ เรี ย นหนั ง สื อ ที่ วั ด ชี ป ะขาว เมื่ อ จบออกมาก็
เข้ารับราชการเป็นมหาดเล็กในกรมพระราชวังหลัง ต่อมาในสมัย
นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับความเปนมาของนิราศ รั ช กาลที่ ๑ สุ น ทรภู ่ เ ดิ น ทางไปหาบิ ด าที่ เ มื อ งแกลงและได้
เมืองแกลง แต่งกลอนนิราศเมืองแกลง นับเป็นนิราศเรื่องแรกของสุนทรภู่
(แนวตอบ นิราศเมืองแกลงเปนนิราศเรื่องแรกของ ในจ�านวนนิราศทั้งหมด ๙ เรื่อง
หุน่ ขีผ้ งึ้ สุนทรภู่ ณ พิพธิ ภัณฑ์หนุ่ ขีผ้ งึ้ ไทย
สุนทรภูที่แตงขึ้นหลังจากพนโทษจําคุก ขณะเดินทาง อ�ำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
ไปเยี่ยมบิดาที่บวชอยูวัดปาบานกรํ่า อําเภอแกลง 160
จังหวัดระยอง)

กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
ครูจัดกิจกรรมการแขงขัน “แฟนพันธุแทสุนทรภู” โดยตั้งคําถามเกี่ยวกับประวัติ นักเรียนคนหาวรรคทองในนิราศของสุนทรภูที่นักเรียนชื่นชอบมา
และผลงานของสุนทรภู จากนั้นครูใหนักเรียนเลนเกม เมื่อตอบคําถามไดถูกตอง อยางนอย 1 บท แลวบอกดวยวาชอบเพราะอะไร
ครูชมเชยและมอบรางวัลให แตหากตอบผิดจะถูกลงโทษใหบาํ เพ็ญประโยชน 1 อยาง

นักเรียนควรรู กิจกรรมทาทาย
1 ตําบลบานกรํ่า อําเภอแกลง จังหวัดระยอง เปนที่ตั้งอนุสาวรียสุนทรภู ตั้งอยู
ในบริเวณซึ่งเคยเปนที่ตั้งของวัดปาที่บิดาของสุนทรภูบวชและจําพรรษาอยู นักเรียนตามรอยนิราศเมืองแกลง โดยการนําคําประพันธที่เปนชื่อ
การสรางอนุสาวรียมีดําริมาตั้งแต พ.ศ. 2498 แตมาสรางเสร็จและมีพิธีเปดอยาง สถานที่ยกมาเปนวรรค เรียงลําดับตั้งแตออกเดินทางจนถึงปลายทาง
เปนทางการ เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 ประกอบดวยรูปหลอของสุนทรภู เขียนลงในสมุด แลวนําสงครูผูสอน
ในอิริยาบถนั่งประพันธวรรณกรรม โดยใบหนาและสายตาของทานมองออกไป
เบื้องหนาที่เชิงลาดดานลาง ที่ตั้งรูปหลอของสุนทรภู มีรูปปนพระอภัยมณี
รูปปนนางผีเสื้อสมุทร และรูปปนนางเงือกอยูในสระนํ้าดานหนา

160 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนอานประวัติของสุนทรภู จากนั้นสรุป
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า-1 พอสังเขป
นภาลัย สุนทรภู่รับราชการจนได้เป็นขุนสุนทรโวหาร (แนวตอบ สุนทรภูไดรับการยกยองวา เปนกวี
แต่ด้วยนิสัยขี้เมาและเจ้าชู้ ท�าให้ต้องติดคุก ดีเดนของโลก จากองคกรการศึกษาวิทยาศาสตร
เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (UNESCO)
เสด็จสวรรคต สุนทรภูไ่ ด้ออกบวชและเดินทางไปหัวเมือง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
ต่างๆ ได้แต่งนิราศไว้หลายเรือ่ ง สุนทรภูส่ กึ จากสมณเพศ สุนทรภูดํารงตําแหนงขุนสุนทรโวหาร สุนทรภูเขา
เมื่ออายุ ๕๖ ปี และได้เข้าถวายตัวกับสมเด็จพระเจ้า ถวายตัวรับใชสมเด็จพระเจานองยาเธอ เจาฟา-
น้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุน2อิศเรศรังสรรค์ ซึ่งพระองค์ กรมขุนอิศเรศรังสรรค และไดรับตําแหนงจางวาง
ประทับอยู่ที่พระราชวังเดิม สุนทรภู่ได้รับราชการจนได้ รูปปั้นผีเสื้อสมุทร ตัวละครจำกนิทำนเรื่อง สุนทรภูไดประพันธนิราศไวทั้งสิ้น 9 เรื่อง โดยแตง
เป็นพระสุนทรโวหาร ต�าแหน่งจางวาง และถึงแก่กรรม พระอภัยมณี ณ หำดปึกเตียน จังหวัดเพชรบุรี เปนกลอนนิราศเกือบทั้งสิ้น ยกเวนนิราศสุพรรณ
เมื่อ พ.ศ. ๒๓๙๘ รวมอายุได้ ๗o ปี ที่แตงดวยโคลง จึงมีชื่อวา “โคลงนิราศสุพรรณ”)
พ.ศ. ๒๕๒๙ ซึ่งเป็นปีครบรอบ ๒oo ปี ของสุนทรภู่ องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม
แห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ได้ประกาศให้ท่านเป็น “กวีดีเด่นของโลก” ขยายความเข้าใจ Expand
สุนทรภู่ได้รับการยกย่องมากที่สุดในเชิงกลอนสุภาพ กลอนที่สุนทรภู่แต่งมีลักษณะเฉพาะ
เป็นของตนเอง ด้วยการแต่งให้มีสัมผัสในทุกวรรค ใช้ค�าที่มีจ�านวนค่อนข้างแน่นอน กลอนของสุนทรภู่ นักเรียนยกบทประพันธจากผลงานของสุนทรภู
จึงเป็นแบบแผนที่มีผู้นิยมแต่งตามตลอดมาจนถึงสมัยปัจจุบัน เรียกว่า “กลอนสุนทรภู่” เรือ่ งทีน่ กั เรียนประทับใจมา 1 บท พรอมบอกเหตุผล
ผลงานของสุนทรภู่มีทั้งหมด ๒๓ เรื่อง โดยแบ่งเป็นงานแต่ละประเภท ดังนี้ (แนวตอบ นักเรียนเลือกไดหลากหลายขึ้นอยูกับ
ความสนใจของนักเรียน เชน จากนิราศอิเหนา
ประเภท เรื่อง “จะหักอื่นขืนหักก็จักได
๑. นิทานค�ากลอน มี ๕ เรื่อง โคบุตร ลักษณวงศ์ พระอภัยมณี สิงหไกรภพ กาพย์พระไชยสุริยา หักอาลัยนี้ไมหลุดสุดจะหัก
สารพัดตัดขาดประหลาดนัก
๒. นิราศ มี ๙ เรื่อง นิราศเมืองแกลง นิราศพระบาท นิราศภูเขาทอง นิราศเมืองเพชร
แตตัดรักนี้ไมขาดประหลาดใจ”
นิราศวัดเจ้าฟ้า นิราศอิเหนา โคลงนิราศสุพรรณ ร�าพันพิลาป
นิราศพระประธม
บทประพันธที่ยกมามีความไพเราะ กลาวถึง
ความรักไดอยางลึกซึ้งกินใจ และมีความพิเศษที่
๓. สุภาษิต มี ๓ เรื่อง สวัสดิรักษา เพลงยาวถวายโอวาท สุภาษิตสอนหญิง ลงทายวรรครับดวยคําตาย คําวา “หัก” แตยังคง
๔. บทละคร มี ๑ เรื่อง อภัยนุราช ความไพเราะของเสียงและสื่อความไดดี)
๕. เสภา มี ๒ เรื่อง เสภาขุนช้างขุนแผน ตอน ก�าเนิดพลายงาม เสภาพระราชพงศาวดาร
๖. บทเห่กล่อม มี ๔ เรื่อง บทเห่เรื่องจับระบ�า บทเห่เรื่องกากี บทเห่เรื่องพระอภัยมณี
บทเห่เรื่องโคบุตร

161

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ขอใดคือแกนของนิราศ
ครูแนะความรูใหนักเรียนเขาใจเพิ่มเติมเกี่ยวกับมูลเหตุของการแตงนิราศ
1. อธิบายความรูและเปรียบเทียบกับสิ่งที่พบเห็น
เนื่องจากในสมัยกอนการเดินทางไมคอยสะดวกเหมือนปจจุบัน กวาจะไปถึงจุด
2. การพรรณนาถึงนางผูเปนที่รัก โดยเปรียบเทียบกับสิ่งที่เคยพบเห็น
หมายตองใชเวลานาน ทําใหผูเดินทางเกิดความเบื่อและเหนื่อยหนายตลอดการเดิน
3. แสดงความคิดเห็นและอธิบายความรูและเปรียบเทียบกับสิ่งที่พบเห็น
ทาง สําหรับผูที่มีความสามารถทางภาษา จึงไดคิดหาวิธีแกความรําคาญในระหวาง
4. เมื่อถึงตําบล สถานที่ใด หรือพบเห็นสิ่งใดจะเปรียบเทียบและพรรณนา
การเดินทาง ดวยการแตงกาพยกลอนพรรณนาเรื่องราวที่พบเห็นในการเดินทาง
ครํ่าครวญถึงนางที่รัก
วิเคราะหคําตอบ นิราศเปนคํากลอนที่แตงขึ้นเพื่อเลาเรื่องการเดินทางไป
ยังแหงใดแหงหนึ่ง โดยรําพึงถึงการจากนางที่รักไปยังแหงนั้น ไมจําเปนวา นักเรียนควรรู
นางที่รักจะมีตัวตนจริงหรือไม ขอที่กลาวถึงการเดินทางและการรําพึงรําพัน
ถึงนางอันเปนที่รัก คือ ขอ 4. เมื่อถึงตําบล สถานที่ใด หรือพบเห็นสิ่งใดจะ 1 ขุนสุนทรโวหาร เปนตําแหนงที่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
เปรียบเทียบและพรรณนาครํ่าครวญถึงนางผูเปนที่รัก ตอบขอ 4. พระราชทานใหแกสุนทรภู สําหรับเปนที่ปรึกษางานประพันธประจํารัชกาล
2 พระราชวังเดิม คือ พระราชวังกรุงธนบุรีตั้งอยูบริเวณปากคลองบางกอกใหญ
เขตบางกอกใหญ กรุงเทพมหานคร ปจจุบันเปนที่ตั้งของกองทัพเรือ

คู่มือครู 161
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนอธิบายความรูเกี่ยวกับลักษณะ
คําประพันธประเภทกลอนนิราศ
(แนวตอบ กลอนนิราศ มีลักษณะคลายกลอน
๓ ลัก1ษณะคÓประพันธ์
สุภาพ แตวรรคแรกของบทประพันธจะขึ้นตน นิ ร าศเมื อ งแกลงแต่ งด้ ว ยค� าประพั นธ์ ประเภทกลอนนิ ร าศ ลั ก ษณะสั ม ผั ส บั ง คั บ เหมื อ น
กลอนสุภาพ แต่จะขึ้นต้นบทแรกด้วยวรรครับและจบเรื่องด้วยค�าว่า เอย ดังนี้
ดวยวรรครับและคําสุดทายของบทประพันธจะ
ลงทายดวยคําวา “เอย”) โอ้สังเวชวาสนานิจจาเอ๋ย
2. นักเรียนเขียนสรุปลักษณะบังคับของกลอน จะมีคู่มิได้อยู่ประคองเชย ต้องละเลยดวงใจไว้ไกลตา
นิราศลงในสมุด .............................................. ..............................................
3. นักเรียนอานเนื้อเรื่องในหนังสือเรียนหนา 162 อย่าหมางหมองข้องขัดตัดอาลัย ให้ชื่นใจเหมือนแต่หลังมั่งเถิดเอยฯ
จากนั้นครูสุมเรียกนักเรียน 4-5 คน ชวยกันเลา
เนื้อเรื่องยอของนิราศเมืองแกลงใหเพื่อนๆ ฟง ๔ เรื่องย่อ
เนื้อเรื่องกล่าวถึงการเดินทางไปเยี่ยมบิดาที่บวชอยู่ที่บ้านกร�่า เมืองแกลง การเดินทางครั้งนี้
ขยายความเข้าใจ Expand มีลูกศิษย์ของสุนทรภู่ ๒ คน ชื่อน้อยกับพุ่มตามไปด้วย มีนายแสงเป็นผู้น�าทาง ออกเดินทางโดยเรือ
จากกรุงเทพฯ ในเวลากลางคืน ล่องเรือไปตามแม่น�้าเจ้าพระยา ผ่านวัดแจ้ง วัดสามปลื้ม ส�าเพ็ง
1. จากการอานเรื่องยอนิราศเมืองแกลง นักเรียน ดาวคะนอง บางผึ้ง ปากลัด บางกระเจ้า พระประแดง รุ่งเช้าตัดเข้าคลองส�าโรง ผ่านบางพลี บางโฉลง
ทําบัตรคําชื่อสถานที่ที่สุนทรภูเดินทางผาน หั ว ตะเข้ เย็ น พั ก ค้ า งอยู ่ บ ริ เวณสองแพร่ ง ของปากตะคองกั บ คลองบางเหี้ ย เมื่ อ น�้ า ขึ้ น ก็ ล ่ อ งต่ อ
และรวมกันเรียงลําดับสถานที่ที่เดินทางผานไป ไปบางบ่อ บ้านระกาด พอสว่างก็ถึงบ้านมะพร้าว บางวัว ออกเลียบฝั่งทะเล ขึ้นฝั่งที่บางปลาสร้อย
ตั้งแตลําดับแรกจนถึงลําดับสุดทาย จังหวัดชลบุรี พักค้างคืนอยู่ ๓ วัน ที่บ้านขุนจ่าเมือง แล้วฝากเรือไว้ ขึ้นบกเดินเลียบทะเลผ่าน
2. นักเรียนรวมกันเขียนแผนที่การเดินทางของ หนองมน บางพระ พักค้างแรมที่บ้านนายมาผู้เป็นเพื่อน รุ่งขึ้นเดินทางถึงศรีราชา ผ่านทุ่งสงขลา
สุนทรภู บางละมุง ค้างแรมที่ศาลานาเกลือ
เช้าวันต่อมาเดินทางบกไปทุ่งพัทยา ผ่านจอมเทียน เดินตามทางเกวียน ถึงห้วยขวางพัก
ตรวจสอบผล Evaluate ที่บ้านขุนราม จนถึงปากช่อง หนองระแง้ว ค้างแรมในป่า แล้วเดินต่อไปทางบางไผ่ พงค้อ ห้วยอีร้า
ห้วยพะยูน รากลูกหญ้า หัวโป่ง สุนขั กะบาก จนกระทัง่ ถึงเมืองระยอง หยุดพัก ๒ วัน เมือ่ ถึงเมืองระยอง
1. นักเรียนยกบทประพันธจากผลงานเรื่องอื่น นายแสงคนน�าทางหลบหนีไป จึงต้องใช้วิธีถามทางชาวบ้านไปจนถึงเมืองแกลงก็พักที่บ้านเพื่อน รุ่งเช้า
ของสุนทรภูที่นักเรียนรูสึกประทับใจได จึงเดินทางต่อจนถึงบ้านกร�่าและได้พบบิดา อยู่กับบิดาได้เดือนเศษ สุนทรภู่ก็ล้มป่วยลงในเดือน ๙
2. นักเรียนอานเรื่องยอแลวเลาเรื่องยอนิราศ บิดาต้องหาหมอมารักษา เมื่อหายป่วยจึงได้เดินทางกลับกรุงเทพฯ
เมืองแกลงได สุนทรภู่เดินทางออกจากบ้านกร�่า เมืองแกลง จังหวัดระยอง ในราวข้างแรมเดือน ๙ ถึง
3. นักเรียนบอกชื่อสถานที่ที่สุนทรภูเดินทางผาน กรุงเทพฯ วันขึ้น ๑๕ ค�่า เดือน ๑๐ ปีเถาะ พ.ศ. ๒๓๕๐ รวมเวลาไปกลับและพักอยู่กับบิดาประมาณ
ในนิราศเมืองแกลงได ๓ เดือนเศษ
นิราศเมืองแกลงที่น�ามาให้นักเรียนศึกษานี้ ตัดตอนมาทั้งหมด ๘ ตอน โดยเลือกตอนที่มี
เนือ้ เรือ่ งสัมพันธ์ตอ่ เนือ่ งกัน กล่าวคือด�าเนินเรือ่ งเรือ่ ยไป โดยเริม่ จากเดินทางโดยทางเรือ การเดินเข้าป่า
การพบบิดา จนจบนิราศ
162

บูรณาการเชื่อมสาระ
นักเรียนควรรู ครูเชื่อมโยงความรูเกี่ยวกับการเดินทางจากกรุงเทพฯ ไปยังตําบลบาน
กรํ่า อําเภอเมืองแกลง จังหวัดระยอง เขากับกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา
1 นิราศ ที่นิยมแตงในสมัยรัตนโกสินทรมีทั้งโคลงและกลอนสุภาพ โดยเฉพาะ
ศาสนา และวัฒนธรรม วิชาภูมิศาสตร ซึ่งจะเพิ่มเติมความรูเรื่องภูมิประเทศ
รัชกาลที่ 1 และรัชกาลที่ 2 มีการแบงกวีผูแตงนิราศออกเปน 2 กลุม ดังนี้
ที่มีลักษณะเปนที่ราบลุม ปาชายเลน ดังที่ปรากฏในเนื้อเรื่อง โดยครูชี้ใหเห็น
• กลุมแรก มีนายนรินทรอินและพระยาตรังเปนหัวหนา นิยมแตงโคลงและ
วาการเดินทางของสุนทรภูใ นสมัยนัน้ เปนชวงทีเ่ สนทางดังกลาวมีความลําบาก
ฉันทเปนนิราศ เพราะใหเหตุผลวา เปนคําประพันธชั้นสูง ผูที่แตงไดตองเปนผูรู
อีกทั้งยังมีความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งปจจุบันตางไป
ปราดเปรื่อง รอบรูเรื่องคํา จึงจะสามารถหาคําไดไพเราะและเกลี้ยงเกลา โดยเอา
จากเดิมมาก
โคลงของศรีปราชญเปนโคลงแบบ
• กลุมที่สอง ผูที่มีชื่อเสียงที่สุด คือ สุนทรภู นิยมแตงกลอนเปนนิราศ
เอาอยางอยางเพลงยาวสมัยโบราณเปนแบบ และไดรับความนิยมมาก กวีรุนหลัง
มักยึดนิราศของสุนทรภูเปนแบบ เนื่องจากเหตุผลวา การแตงกลอนสวนใหญ
แตงกันไดแทบทุกคน ทํานองอานก็ไพเราะกวา จึงทําใหมีผูสนใจมากกวากลุมแรก

162 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
Engage Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
1. ครูยกบทประพันธที่เปนบทเดนของนิราศเมือง
๕ เนื้อเรื่อง แกลงใหนกั เรียนอานเปนทํานองเสนาะพรอมกัน
นิราศเมืองแกลง “กระแสชลวนเชี่ยวเรือเลี้ยวลด
ช่วงที่ ๑ ดูคอมคดขอบคุงคงคาไหล
โอ้สังเวชวาสนานิจจาเอ๋ย แตสาชลเจียวยังวนเปนวงไป
จะมีคู่มิได้อยู่ประคองเชย ต้องละเลยดวงใจไว้ไกลตา นี่หรือใจที่จะตรงอยาสงกา”
ถึงทุกข์ใครในโลกที่โศกเศร้า ไม่เหมือนเราภุมรินถวิลหา 2. ครูและนักเรียนรวมกันถอดคําประพันธ
จะพลัดพรากจากกันไม่ทันลา ใช้แต่ตาต่างถ้อยสุนทรวอน (แนวตอบ แมแตสายนํ้ายังมีไหลเชี่ยวไหลวน
โอ้จ�าใจไกลนุชสุดสวาท จึงนิราศเรื่องรักเป็นอักษร
ให้เห็นอกตกยากเมื่อจากจร ไปดงดอนแดนป่าพนาวัน จึงไมแปลกที่ใจคนจะเปนดั่งสายนํ้า)
กับศิษย์น้องสองนายล้วนชายหนุ่ม น้อยกับพุ่มเพื่อนไร้ในไพรสัณฑ์
กับนายแสงแจ้งทางกลางอารัญ จะพากันแรมทางไปต่างเมือง ส�ารวจค้นหา Explore
ถึงยามสองล่องล�านาวาเลื่อน พอดวงเดือนดั้นเมฆขึ้นเหลืองเหลือง
ถึงวัดแจ้งแสงจันทร์จ�ารัสเรือง แลช�าเลืองเหลียวหลังหลั่งน�้าตา 1. นักเรียนอานเนื้อเรื่องนิราศเมืองแกลงจาก
เป็นห่วงหนึ่งถึงชนกที่ปกเกล้า จะแสนเศร้าครวญคอยละห้อยหา หนังสือเรียน
ทั้งจากแดนแสนห่วงดวงกานดา โอ้อุรารุ่มร้อนอ่อนก�าลัง 2. นักเรียนศึกษาความรูเกี่ยวกับเนื้อเรื่องนิราศ
ถึงสามปลื้มพี่นี้ร�่าปล�้าแต่ทุกข์ สุดจะปลุกใจปลื้มให้ลืมหลัง เมืองแกลงทั้งหมดจากแหลงเรียนรูตางๆ เชน
ขออารักษ์หลักประเทศนิเวศน์วัง เทพทั้งเมืองฟ้าสุราลัย หนังสือผลงานกลอนของสุนทรภู เว็บไซต และ
ขอฝากน้องสองรามารดาด้วย เอ็นดูช่วยปกครองให้ผ่องใส อื่นๆ
ตัวข้าบาทจะนิราศออกแรมไพร ให้พ้นภัยคลาดแคล้วอย่าแผ้วพาน
ถึงส�าเพ็งเก๋งตั้งริมฝั่งน�้า แพประจ�าจอดเรียงเคียงขนาน
มีซุ้มซอกตรอกนางเจ้
1 าประจาน ยังส�าราญร้องขับไม่หลับลง อธิบายความรู้ Explain
โอ้ธานีศรีอยุธยาเอ๋ย นึกจะเชยก็ได้ชมสมประสงค์
จะล�าบากยากแค้นไปแดนดง เอาพุ่มพงเพิงเขาเป็นเหย้าเรือนฯ 1. นักเรียนแบงกลุมกลุมละ 8 คน จํานวน 7
ฯลฯ กลุม โดยแบงตามชวงเนื้อเรื่อง 1-7 ชวง
ช่วงที่ ๒ เพื่อถอดคําประพันธ
ถึงปากลัดแลท่าชลาตื้น ดูเลื่อมลื่นเลนลากล�าละหาน 2. นักเรียนกลุมที่ 1 ถอดคําประพันธชวงที่ 1
เขาแจวจ้องล่องแล่นแสนส�าราญ มาพบบ้านบางระจ้าวยิ่งเศร้าใจ (แนวตอบ กลุมที่ 1 ถอดคําประพันธชวงที่ 1 ได
อนาถนิ่งอิงเขนยคะนึงหวน จนจวบจวนแจ่มแจ้งปัจจุสมัย วา ชางนาสงสารนาเวทนานักชีวิตของเราที่เคย
ศศิธรอ่อนอับพยับไพร ถึงเซิงไทรศาลพระประแดงแรง
ไดอยูรวมกับนอง กลับตองทิ้งมาไกล ครั้งนี้
ขออารักษ์ศักดิ์สิทธิ์ที่สิงศาล ลือสะท้านอยู่ว่าเจ้าห้าวก�าแหง
ข้าจะไปทางไกลถึงเมืองแกลง เจ้าจงแจ้งใจภัคนีที จําใจตองลาจากนองมา จึงขอเขียนกลอนนิราศ
ฉันพลัดพรากจากจรเพราะร้อนจิต ใช่จะคิดอายอางขนางหนี เรื่องนี้แทนความรัก ไดรวมเดินทางกับพุมและ
ให้นิ่มน้องครองรักไว้สักปี ท่านสุขีเถิดข้าขอลาไป นอยอันเปนลูกศิษย โดยมีนายแสงเปนผูนําทาง
ฯลฯ นึกถึงเมือ่ ครัง้ อยูอ ยุธยาทีไ่ ดเชยชมนางดัง่ ใจหวัง
163 แตตอนนี้ตองลําบากเดินทางในปา เอาตนไม
เปนที่อยูอาศัย)

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
“ใหเห็นอกตกยากเมื่อจากจร ไปดงดอนแดนปาพนาวัน”
ครูแนะความรูเรื่องจินตภาพลักษณะตางๆ มีดังนี้
คําประพันธในขอใดมีความหมายตางจากคําที่ขีดเสนใต
• จินตภาพทางภาพหรือเสียง ความวา “พวกเจกจีนกินโตะเสียงโหลเหล”
1. นอยกับพุมเพื่อนไรในไพรสัณฑ
• จินตภาพทางภาพเคลื่อนไหว ความวา “ถีบกระดานถือตะกราเที่ยวหาหอย”
2. กับนายแสงแจงทางกลางอารัญ
• จินตภาพที่แสดงเวลาตางกัน ความวา “ถึงหยอมยานบานกรํ่าพอพลบคํ่า”
3. ตัวขาบาทจะนิราศออกแรมไพร
4. ขออารักษศักดิ์สิทธิ์ที่สิงหอย
วิเคราะหคําตอบ คําประพันธขางตน “พนาวัน” มีความหมายวา “ปา” นักเรียนควรรู
ขอที่มีความหมายเหมือนกัน ไดแก ขอ 1. คําวา “ไพรสัณฑ” ขอ 2. คําวา
“อารัญ” และขอ 3. คําวา “ไพร” ขอที่มีความหมายตาง คือ คําวา “อารักษ” 1 ศรีอยุธยา ไมไดหมายความถึงเมืองหลวงเกาในสมัยที่กรุงศรีอยุธยาเปน
ในขอ 4. ซึ่งมีความหมายวา เทวดาผูพิทักษรักษา ตอบขอ 4. ราชธานี แมในสมัยรัตนโกสินทรจะยายนครหลวงมาตั้งอยูที่กรุงเทพฯ ปจจุบัน
ก็ยังมีสรอยของพระนครวาอยุธยาอยู คือ กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร
มหินทรายุธยา ... สักกะทัตติยวิษณุกรรมประสิทธิ์ เพราะถือวาเปนมงคลนาม
ซึ่งแปลวา เมืองที่ไมอาจจะรบไดหรือรบไมชนะ ดังนั้นคําวา “ศรีอยุธยา” ในที่นี้
จึงหมายถึงกรุงเทพมหานคร
คู่มือครู 163
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนกลุมที่ 2 ถอดคําประพันธชวงที่ 2
(แนวตอบ กลุมที่ 2 ถอดคําประพันธชวงที่ 2 ได กระแสชลวนเชี่ยวเรือเลี้ยวลด ดูค้อมคดขอบคุ้งคงคาไหล
วา เมื่อถึงปากลัด เปนทานํ้าตื้นที่มองเห็นแต แต่สาชลเจียวยังวนเป็นวงไป นี่หรือใจที่จะตรงอย่าสงกา
โคลนเลน แลวพายเรือมาเรือ่ ยๆ ก็พบบางระจาว ถึงด่านทางกลางคลองข้างฝั่งซ้าย ตะวันสายแสงส่องต้องพฤกษา
ยิ่งเศราใจเพิ่มขึ้นเพราะนึกถึงหมอน จนกระทั่ง ออกสุดบ้านถึงทวารอรั 1 ญวา เป็นทุ่งคาแฝกแขมขึ้นแกมกัน
รุง เชาเดินทางถึงพระประแดง ขอวอนสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ลมระริ้วปลิวหญ้าคาระยาบ ระเนนนาบพลิ้วพลิกกระดิกหัน
ที่วามีฤทธิ์มาก ดวยขาจะเดินทางไปเมืองแกลง ดูโล่งลิ่วทิวรุกขะเรียงรัน เป็นเขตคันขอบป่าพนาลัยฯ
ขอใหดลใจคนรักของขาที่ชื่อ “จัน” ใหรูวาขา ฯลฯ
ช่วงที่ ๓
ไมไดตั้งใจจะจากมา ขอใหคงความรักของเรา
จะเหลียวซ้ายแลขวาก็ป่าแสม ตะลึงแลปูเปี้ยวเที่ยวไสว
ไวสักป แตเมื่อเห็นกระแสนํ้ายังไหลเชี่ยว เรือก็
ระหริ่งเรื่อยเฉื่อยเสียงเรไรไพร ฤทัยไหวแว่วว่าพะงางาม
คดเคี้ยวไปตามคุงนํ้า และสายนํ้าก็ยังไหลวนไป
ถึงชะแวกแยกคลองสองชะวาก
2 ข้างฝั่งฟากหัวตะเข้มีมะขาม
ก็คิดไดวาแลวถาเปนใจคนก็ไมตางกัน เมื่อถึง เขาสร้างศาลเทพาพยายาม กระดานสามแผ่นพิงไว้บูชา
ดานทางแสงแดดเริม่ สองกระทบกับตนไม เรือลอง ตะลึงแลแต่ล้วนลูกจระเข้ โดยคะเนมากมายทั้งซ้ายขวา
ออกทางทายปา มีทงุ คา แฝกและแขมขึน้ สลับกัน สักสองร้อยลอยไล่กินลูกปลา เห็นแต่ตากับจมูกเหมือนตุ๊กแก
ลมพัดใบหญาปลิวขึ้นเปนสันตามแนวปา) โอ้คลองขวางทางแดนแสนโสทก ดูบนบกก็แต่ล้วนลิงแสม
2. นักเรียนกลุมที่ 3 ถอดคําประพันธชวงที่ 3 เลียบตลิ่งวิ่งตามชาวเรือแพ ท�าลอบแลหลอนหลอกตะคอกคน
(แนวตอบ กลุมที่ 3 ถอดคําประพันธชวงที่ 3 ได ค�าโบราณท่านผูกถูกทุกสิ่ง เขาว่าลิงจองหองมันพองขน
วา จะมองซายหรือขวาก็มีแตปาแสม ปูเปรี้ยว ท�าหลุกหลิกเหลือกลานพานลุกลน เขาด่าคนจึงว่าลิงโลนล�าพอง
จิง้ หรีด เรไร สงเสียงรองในปา ใจยิง่ ไหวหวัน่ คิด ถึงชะวากปากคลองเป็นสองแพร่ง น�้าก็แห้งสุริยนก็หม่นหมอง
ถึงนอง เดินทางถึงทางแยกในลําคลองยานหัว ข้างซ้ายมือนั้นแลคือปากตะครอง๑ ข้างขวาคลองบางเหี้ยทะเลวน๒
ตะเขมีตนมะขาม มีศาลเทพารักษมีไมกระดาน ประทับทอดนาวาอยู่ท่าน�้า ดูเรียงล�าเรือรายริมไพรสณฑ์
พิงอยูสามแผนเลยไปเห็นแตลูกจระเขมากมาย เขาหุงหาอาหารให้ตามจน โอ้ยามยลโภชนาน�้าตาคลอ
ประมาณสองรอยตัวไลกินลูกปลา มองจมูก จะกลืนข้าวคราวโศกในทรวงเสียว เหมือนขืนเคีย้ วกรวดแกลบให้แสบศอ
ก็เหมือนตุกแก เมื่อถึงคลองขวางยิ่งทุกข ต้องเจือน�้ากล�้ากลืนพอกลั้วคอ กินแต่พอดับลมด้วยตรมใจ
เห็นลิงแสมวิ่งเลียบตลิ่งของชาวแพ ทําเจาเลห พอฟ้าคล�้าค�่าพลบลงหรุบรู่ ยุงออกฉู่ชิงพลบตบไม่ไหว
เที่ยวหลอกคน ดังคําโบราณทานวาไว ลิงมัน ได้รับรองป้องกันเพียงควันไฟ แต่หายใจมิใคร่ออกด้วยอบอาย
จองหองพองขน คนเขาจึงดากันวาลิงโลน โอ้ยามยากจากเมืองแล้วลืมมุ้ง มากร�ายุงเวทนาประดาหาย
จะกรวดน�้าคว�่าขันจนวันตาย แม้เจ้านายท่านไม่ใช้แล้วไม่มา
ลําพอง เดินทางถึงปากคลอง ผานทางสองแพรง
ฯลฯ
ดานซายมือคือปากคลอง สวนดานขวามือคลอง
บางเหี้ย อยูริมนํ้าริมปานี้นึกถึงอาหารที่นองทํา ๑
ฉบับเขียนสมุดฝรั่งเป็น “ข้างซ้ายมือเขาเรียกปากตะครอง”
แลวนํ้าตาคลอ เวลาจะกินขาว ตองกินขาวคลุก ๒
ฉบับเขียนสมุดฝรั่งเป็น “ชเลวน”
นํ้าตา พอพลบคํ่ายุงออกหากินไลตบไมไหว 164
ตองจุดกองไฟไลยุงแตก็เหม็นควันไฟ มุงก็ลืม
เอามาเผชิญกับความลําบากขนาดนี้ ถาเจานาย
ไมใชคงไมมาแลว)
ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
คําประพันธในขอใดไมไดกลาวถึงเวลา
1 หญาคา เปนหญาชนิดหนึ่งนํามาใชมุงหลังคา สวนเหงามันจะใชทํายา
1. ยุงออกฉูชิงพลบตบไมไหว
หญาแฝกเปนหญาชนิดหนึ่งขึ้นเปนกอ ใชมุงทําหลังคา รากใชทํายา และมักนิยม
2. พอฟาคลํ้าคํ่าพลบลงหรุบรู
ปลูกเพื่อปองกันการพังทลายของหนาดิน ตนแขม เปนตนไมชนิดหนึ่งคลายตนออ
3. หยุดประทับดับดวงพระสุริย
ขึ้นตามชายนํ้า ชายปา และที่ชุมชื่น
4. ไดรับรองปองกันเพียงควันไฟ
2 เทพา เปนคําเดียวกับคําวา “เทพ” หรือ “เทว” แตโดยทั่วไปมักจะใชวา
“เทวา” เปนสวนมาก แตสุนทรภูใช “เทพา” เพื่อใหสัมผัสกับคําวา “พยายาม” วิเคราะหคําตอบ คําประพันธที่กลาวถึงเวลา มีดังนี้ ขอ 1. มีคําวา
ในความวา “เขาสรางศาลเทพาพยายาม” อีกนัยหนึง่ อาจพิจารณาวา สุนทรภูต ดั มา “ชิงพลบ” มีความหมายเหมือนกับ “คํ่าพลบ” ซึ่งหมายถึง ชวงคํ่ามืดที่
จากคําวา “เทพารักษ” ก็ได เพราะคําวา “เทวารักษ” ไมคอยมีใครใชกัน และจะ ดวงอาทิตยหมดแสง ขอ 2. มีคําวา “คํ่าพลบ” หมายถึง เวลายํ่าคํ่า เวลา
สอดคลองกันอยางเหมาะเจาะกันคําวา “ศาล” ถือเปน “ศาลเทพารักษ” นั่นเอง โพลเพล ขอ 3. มีคําวา “ดับดวงพระสุริย” สวนขอ 4. ไมมีคําที่กลาวถึง
เวลา ตอบขอ 4.

164 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนกลุมที่ 4 ถอดคําประพันธชวงที่ 4
ช่วงที่ ๔ (แนวตอบ กลุมที่ 4 ถอดคําประพันธชวงที่ 4 ได
แลทะเลแล้วก็ให้อาลัยนุช ไม่สร่างสุดโศกสิ้นถวิลหา วา มองดูเรือที่เรียงราย มองชาวจีนที่นั่งกินอาหาร
จนอุทัยไตรตรัสจ�ารัสตา เห็นเคหาเรียงรายริมชายทะเล เสียงดังบางนั่งเลนดูปูเดิน หญิงสาวชาวบานพากัน
ดูเรือแพแต่ละล�าล้วนโปะโหละ พวกเจ๊กจีนกินโต๊ะเสียงโหลเหล ถีบกระดานแลวนําตะกรามาเก็บหอย เอาขาหอย
บ้างลุยเลนล้วงปูดูโซเซ สมคะเนใส่1ข้องเที่ยวมองคอย ไปที่เลน ดูคลองแคลวนัก สวนพวกผูชายชวยเข็ญ
อันนารีที่ยังสาวพวกชาวบ้าน ถีบกระดานถือตะกร้าเที่ยวหาหอย กระดานอยางเชี่ยวชาญ กวาจะไดกินขาวเชาก็เวลา
ดูแคล่วคล่องล่องแล่นแฉลบลอย เอาขาห้อยท�าเป็นหางไปกลางเลน เพลพอดี แหลงที่ทํามาหากินโดยการจับสัตวนั้น
อันพวกเขาชาวประโมงไม่2โหย่งหยิบ ล้วนตีนถีบปากกัดขัดเขมร เปนบาป บานเรือนถึงเหมือนโดนสาปเพราะไมมี
จะได้กินข้าวเช้าก็ราวเพล ดูจัดเจนโลดโผนในโคลนตม ปนลม เมื่อดูบานเรือนแลวเปรียบเหมือนหัวอกเรา
จึงมั่งคั่งตั้งบ้านในการบาป แต่ต้องสาปเคหาให้สาสม ที่ไรคู เพราะไมมีสาวงามเหลียวตามองเลยหรือจะ
จะปลูกเรือนก็มิได้ใส่ปั้นลม ใครขืนท�าก็ระทมด้วยเพลิงลาม เปนเวรกรรม จะรักใครก็ไมมีใครรักตอบ เดินทาง
โอ้ดูเรือนเหมือนอกเราไร้คู่ ผู้ใดดูจึงไม่ออกเอี่ยมสนาม
ถึงกลางปา จึงคอยๆ นําเรือเขาจอดทีบ่ า นสหาย
คือ ขุนจาเมือง พอเริ่มตกเย็นก็เดินทางถึงบางพระ
หรือต้องสาปบาปหลังยังติดตาม ผู้หญิงงามจึงไม่มีปรานีเลย
มีบานเรือนปลูกอยูหนาแนน ก็แวะพักที่บานนายมา
จะรักใครเขาก็ไม่เมตตาตอบ สมประกอบได้แต่สอดกอดเขนย
เขาตอนรับเปนอยางดี พอรุงเชาไปเดินเลนริม
เอ็นดูเขาเฝ้านึกนิยมเชย โอ้ใจเอ๋ยจะเป็นกรรมนั้นร�่าไป
ชายหาดคิดถึงนองรัก มองเห็นกรวดทรายที่
พลางร�าพึงถึงทางที่กลางเถื่อน จึงคล้อยเคลื่อนนาวาเข้าอาศัย
ละเอียดเหมือนสําลี เห็นทะเล ดูกาบหอย คลืน่ ทะเล
มีมิตรชายท้ายย่านเป็นบ้านไทย ส�านักในเคหาขุนจ่าเมือง แสงสาดกระทบทราย แลวนึกวาถานองมาดวย
ฯลฯ ก็คงดี คงจะพากันชมหาดถามนั่นนี่แลวมีความ
ตะวันคล้อยหน่อยหนึ่งถึงบางพระ ดูระยะบ้านนั้นก็แน่นหนา สุขรวมกันไป คงจะชวยคลายความเหนื่อยใจไปได
พอพบเรือนเพื่อนชายชื่อนายมา เขาโอภาต้อนรับให้หลับนอน ในเวลานี้พี่มองเห็นแตหนาเพื่อนไมชื่นใจเหมือน
พอรุ่งแสงสุริยาลีลาลาศ 3 ลงเลียบหาดหวนคะนึงถึงสมร เห็นหนานองคิดแลวก็นํ้าตาไหล แลวจึงเหลียวไป
เห็นกรวดทรายชายทะเลชโลทร ละเอียดอ่อนดังละอองส�าลีดี เห็นวามีเรือจอดเรียงราย)
ดูกาบหอยรอยคลื่นกระเด็นสาด ก็เกลื่อนกลาดกลางทรายประพรายสี
เป็นหลายอย่างลางลูกก็เรียวรี โอ้เช่นนี้แม่มาด้วยจะดีใจ ขยายความเข้าใจ Expand
จะเชยชมก้มเก็บไปกลางหาด เห็นประหลาดก็จะถามตามสงสัย
พี่ไม่รู้ก็จะชวนส�ารวลไป ถึงเหนื่อยใจจะค่อยเบาบรรเทาคลาย จากการถอดคําประพันธชวงที่ 4 นักเรียน
โอ้ยามนี้พี่เห็นแต่พักตร์เพื่อน ไม่ชื่นเหมือนสุดสวาทที่มาดหมาย
ตอบคําถามตอไปนี้
• คลองบางเหี้ยปจจุบันตั้งอยูจังหวัดใด
กลั้นน�้าตามาจนสุดที่หาดทราย เห็นเรือรายโรงเรียงเคียงเคียงกัน
เพราะเหตุใดจึงตั้งชื่อนี้
ฯลฯ
(แนวตอบ เปนคลองทีแ่ ยกจากคลองบางสําโรง
165 จังหวัดสมุทรปราการ สาเหตุทเี่ รียกชือ่ นีเ้ พราะ
ในบริเวณนัน้ มีนาํ้ ทะเลหนุนมีสตั วบางประเภท
อาทิ ตะกวด จระเขเขามาอยูอาศัย)
ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
อันนารีที่ยังสาวพวกชาวบาน ถีบกระดานถือตะกราเที่ยวหาหอย
1 ถีบกระดาน คือ ลักษณะของการใชไมกระดานแบนๆ ยาวประมาณ 1.50 เมตร
ดูแคลวคลองลองแลนแฉลบลอย เอาขาหอยทําเปนหางไปกลางเลน
หัวไมเชิดเล็กนอยเพื่อสะดวกในการเคลื่อนที่ วางบนโคลนหรือเลนตามชายฝงทะเล
อันพวกเขาชาวประมงไมโหยงหยิบ ลวนตีนถีบปากกัดขัดเขมร
แลวนั่งคุกเขาลงขางใดขางหนึ่ง เทาที่เหลืออีกขางหนึ่งจะถีบโคลนหรือเลนเบาๆ
จะไดกินขาวเชาก็ราวเพล ดูจัดเจนโลดโผนในโคลนตม
เพื่อใหกระดานถีบเคลื่อนที่ไปขางหนา มือวางบนหลังไมหรือถัง การคุกเขาสวนใหญ
คําประพันธที่ยกมานี้นอกจากใหภาพพจนที่ชัดเจนแลวยังดีเดนในดานใด
นิยมตามความถนัด ถาคุกเขาขางขวา เทาขางซายจะถีบโคลนหรือเลน สลับกัน
1. ดานชีวิตความเปนอยูของหญิงสาวชาวบานที่ถีบกระดานไปหาหอย
บนกระดานถีบบางครั้งจะวางลังไมถังไมเอาไวใสหอย ปู ปลา หรือใสนํ้า อาหาร
2. ดานสังคมชี้ใหเห็นความเปนอยูของชาวประมงที่หาหอยเสียบเปนอาชีพ
หรือของจําเปนสวนตัว
3. ดานชีวิตความเปนอยูของหญิงชาวประมงตองลําบากออกไปถีบกระดาน
4. ดานอาชีพที่ชาวประมงจะใหผูหญิงออกไปถีบกระดานหาหอยเสียบสวน 2 เพล เวลาพระฉันกลางวัน คือ เวลาระหวาง 11 นาฬกาถึงเที่ยง เรียกวา เวลา
ผูชายออกเรือจับปลา เพล

วิเคราะหคําตอบ วิเคราะหคําตอบ จากบทประพันธกลาวถึงวิถีชีวิตของ 3 ชโลทร มีความหมายวา แมนํ้าหรือทะเล คําที่มีความหมายเหมือนคํานี้ เชน


ชาวประมง โดยผูหญิงกําลังถีบกระดานหาหอย เปนคุณคาดานสังคมและ คําวา ชลาลัย ชลาศัย ชเล นที เปนตน
วัฒนธรรมความเปนอยูในดานการประกอบอาชีพ ตอบขอ 2.

คู่มือครู 165
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนกลุมที่ 5 ถอดคําประพันธชวงที่ 5
(แนวตอบ กลุมที่ 5 ถอดคําประพันธชวงที่ 5 ช่วงที่ ๕
ไดวา บริเวณนี้เรียกวา “ศรีมหาราชา” เดินเลียบ อันชื่อนี้ศรีมหาราชาชาติ ขึ้นจากหาดเข้าป่าพนาสัณฑ์
ไปตามชายหาดไดยินเสียงจักจั่น สองขางทางเปนปา ค่อยเลียบเดินเนินโขดสิงขรคัน เสียงจักจั่นแซ่เซ็งวังเวงใจ
นิ่งสงบไมมีลมพัด ปาไมเขียวชอุม ทั้งหนาวใจและ สองข้างทางนางไม้ไพรสงัด ไม่แกว่งกวัดก้านกิ่งประวิงไหว
หนาวกาย ไดยินเสียงนกรองเรียกสื่อสารกันกลางปา เย็นระรื่นชื่นชุ่มชอุ่มใบ หนาวฤทัยโทมนัสระมัดกาย
ก็ยิ่งใจหาย แลวเดินออกจากปา เดินทางถึงเชิงเขาที่ เสียงนกร้องก้องกู่กันกลางป่า ฟังภาษาสัตว์ไพรก็ใจหาย
เรียกกันวา “ทุงสงขลา” ไดยินเสียงนกรองเรียกคูมัน จนออกดงลงเดินเนินสบาย ค่อยเคลื่อนคลายรอเรียงมาเคียงกัน
ลุมนํ้านี้มองไปมีโปะรายเรียง ลงอวนเพื่อดักจับปลา ถึงเขาขวางว่างเวิ้งชะวากวุ้ง เขาเรียกทุ่งสงขลาพนาสัณฑ์
มองพวกแมงดาตัวเมียพาตัวผูอ อกมาอาหาร ชาวประมง เป็นป่ารอบขอบเขินเนินอรัญ นกเขาขันคูเรียกกันเพรียกไพร
จับแมงดาตัวเมียไปปลอยตัวผูลอยกลางนํ้า สุดทาย 1 ฯลฯ
ตัวผูก็ตาย เหมือนใจพี่ที่รักนองแมนองตายไปพี่ก็จะ ในกระแสแลล้วนแต่โป๊ะล้อม ลงอวนอ้อมโอบสกัดเอามัจฉา
ขอตายตามไปดวย คิดเรื่อยมาจนเดินทางถึง “ศาล โอ้คิดเห็นเอ็นดูหมู่แมงดา ตัวเมียพาผัวลอยเที่ยวเล็มไคล
บานนาเกลือ” ก็หยุดพักกินขาวเพื่อรอใหแดดหมด) เขาจับตัวผัวทิ้งไว้กลางน�้า ระลอกซ�้าสาดซัดให้ตัดษัย
พอเมียตายฝ่ายผัวก็บรรลัย โอ้เหมือนใจพี่รักภัคินี
ขยายความเข้าใจ Expand แม้น้องตายพี่จะวายชีวิตด้วย เป็นเพื่อนม้วยมิ่งแม่ไปเมืองผี
ร�าจวนจิตคิดมาในวารี จนถึงที่ศาลาบ้านนาเกลือ
จากการถอดคําประพันธหนา 166 ที่ใหความรู หยุดประทับดับดวงพระสุริย์แสง ยิ่งโรยแรงร้อนรนนั้นล้นเหลือ
เกี่ยวกับเรื่องสัตวนํ้า ยกตัวอยางประกอบ จะเคี้ยวข้าวตละค�าเอาน�้าเจือ พอกลั้วเกลื้อกล�้ากลืนค่อยชื่นใจ
(แนวตอบ ชาวประมงเลือกจับเฉพาะแมงดาตัวเมีย ฯลฯ
เพราะแมงดาตัวเมียมีไข นํามาเปนอาหารได แต ช่วงที่ ๖
แมงดาตัวผูไมมีไข และเมื่อเวลานักเดินทางไปในปา ครู่หนึ่งถึงชะวากชากลูกหว้า ล้วนพฤกษายางยูงสูงไสว
จะมีตัวทากมาเกาะบริเวณขา) แต่ล้วนทากตะเละร�าล�าพูไพร ไต่ใบไม้ยูงยาง๑มากลางแปลง
กระโดดเผาะเกาะผับกระหยับคืบ ถีบกระทืบมิใคร่หลุดสุดแสยง
ปลดที่ตีนติดขาระอาแรง ทั้งขาแข้งเลือดโซมชโลมไป
ออกเดินถี่หนีทากถึงชากขาม เป็นสนามน�้าท่าได้อาศัย
เห็นรอยคนแรมค้างอยู่กลางไพร ขึ้นต้นไม้หักรังไว้เรียงราย
เสียงลิงค่างบ่างชะนีวะหวีดโหวย กระหึมโหยห้อยไม้น่าใจหาย
เสียงผัวผัวตัวเมียเที่ยวโยนกาย เห็นคนอายแอบอิงกับกิ่งยาง

ฉบับเขียนสมุดฝรั่งเป็น “ไต่ใบไม้ยุ่งยางมากลางแปลง”

166

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ครูกระตุนความสนใจของนักเรียนใหเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน “ครูหนึ่งถึงชะวากชากลูกหวา ลวนพฤกษายางยูงสูงไสว”
เกิดการแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น ฝกการใชเหตุผลสนับสนุนความเห็นดวย คําประพันธในขอใดมีความหมายเหมือนคําที่ขีดเสนใต
หรือเห็นตาง ไมมุงเนนการถอดความหาความหมายของคําศัพทมากนัก แตเนน 1. ดูโลงลิ่วทิวรุกขะเรียงรัน
การสอนเพื่อใหรับรูรสทางวรรณคดีซึ่งเปนเปาหมายหลัก 2. ลงอวนออมโอบสกัดเอามัจฉา
3. คอยเลียบเดินเนินโขดสิงขรคัน
4. สมประกอบไดแตกอดสอดเขนย
วิเคราะหคําตอบ คําที่ขีดเสนใตในคําประพันธขางตน “พฤกษา” แปล
นักเรียนควรรู วา ตนไม ซึ่งมีความหมายตรงกับ ขอ 1. คําวา “รุกขะ” สวนขอ 2. คําวา
“มัจฉา” หมายความวา ปลา ขอ 3. คําวา “สิงขร” หมายความวา ภูเขา
1 โปะ ที่สําหรับดักปลาทะเล ทําดวยเสาไมจริงปกเปนวง ใชไมไผทํา เปนเฝอก และขอ 4. คําวา “เขนย” หมายความวา หมอน ตอบขอ 1.
กรุขางใน มีประตูตรงกลาง ขางประตูโปะใชเสาไมจริง ปกยาวเหยียดออกไปทั้ง
2 ขาง เพื่อกั้นปลาใหวายเลียบเลาะมาเขา โปะ เรียกวา ปกโปะ มีลักษณนามวา
ปาก หรือ ลูก

166 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนกลุมที่ 6 ถอดคําประพันธชวงที่ 6
โอ้ชะนีเวทนาเที่ยวหาผัว เหมือนตัวพี่จากน้องให้หมองหมาง (แนวตอบ กลุมที่ 6 ถอดคําประพันธชวงที่ 6
ชะนีเพรียกเรียกชายอยู่ปลายยาง พี่เรียกนางนุชน้องอยู่ในใจ ไดวา สักครูหนึ่งก็เดินทางไปพบตนลูกหวา ตนยาง
ฯลฯ ยูง ตนลําพู อีกทั้งตัวทากที่มาติดตามเทา ดึงออก
พอเต็มตึงถึงสุนัขกะบากนั้น รอยเขาฟันพฤกษาอยู่อาศัย ก็มีเลือดออกมาดวย จึงแวะทานํ้าเพื่อคางแรม
เห็นรอยคนปนควายค่อยคลายใจ รู้ว่าใกล้ออกดงเดินตะบึง ไดยินเสียงลิง คาง บาง ชะนี รองกันโหยหวน
แต่ย่างย้ายทรายฝุ่นขยุ่นยุบ ยิ่งเหยียบฟุบขาแข้งให้แข็งขึง พอเห็นคนก็หลบอิงที่กิ่งไมฟงแลวนาใจหาย
ยิ่งจวนเย็นเส้นสายให้ตายตึง ดูเหมือนหนึ่งเหยียบโคลนให้โอนเอน นาสงสารพวกชะนีที่รองเรียกหาคูเหมือนตัวพี่ที่จาก
ออกปากช่องท้องทุ่งที่ตลิ่ง ต่างเกลือกกลิ้งลงทั้งรกถกเขมร นองมา ชะนีเรียกหาคูเมื่อไหรเหมือนใจพี่กําลัง
ด้วยล้าเลื่อยเหนื่อยอ่อนนอนระเนน จนสุริเยนทร์ลับไม้ชายทะเล เรียกหานอง เดินทางไปเรื่อยๆ พบรอยฟนตนไม
ผลัดกันท�าย�่าเหยียบแล้วยืนหยัด กระดูกดัดผัวะเผาะให้โผเผ รอยเทาคนรอยเทาควายคอยสบายใจวาใกลถึง
ค่อยย่างเท้าก้าวเขยกดูเกกเก ออกโซเซเดินข้ามตามตะพาน ทางออกจากปาแลว แตทั้งฝุน ทราย โคลนเกาะ
เป็นทุ่งแถวมีแนวแม่น�้าอ้อม ระยะหย่อมเคหาน่าสนาน
ตามตัวไปหมดรางกายก็เหนื่อยออน เมื่อตกเย็นก็
เดินออกจากปาไดอยางหมดแรงเดินโซเซเหยียบ
เป็นเนินสวนล้วนเหล่ามะพร้าวตาล เข้าลับบ้านทับม้าลีลาไป
โคลนกันออกมาจากปา ขามสะพานแลวเดินตาม
ฯลฯ
แนวแมนํ้าออมมาทางบานคน ยานนั้นเปนสวนที่
ช่วงที่ ๗
ปลูกตนมะพราวตนตาล แลวจึงเดินทางเขาหมูบาน
เป็นทุ่งแถวแนวน�้าสกัดกั้น ต้องพากันลุยเลียบทะเลไหล
ทับมา)
แล้วขึ้นข้ามตามตะพานส�าราญใจ ลงเลียบในตีนเขาล�าเนาทาง
ดูครึ้มครึกพฤกษาป่าสงัด ทะลุลัดตัดทะเลแหลมทองหลาง ขยายความเข้าใจ Expand
ต่างเพลินเพลินเดินว่าเสภาพลาง 1 ถูกขุนช้างเข้าหอหัวร่อเฮ
เห็นไร่แตงแกล้งแวะเข้าริมห้าง ท�าถามทางชักชวนให้สรวลเส นักเรียนพิจารณาบทประพันธตอไปนี้ แลว
พอเจ้าของแตงโมปะโลปะเล สมคะเนกินแตงพอแรงกัน ตอบคําถาม
แล้วภิญโญโมทนาลาลีลาศ ลงเลียบหาดปรีดิ์เปรมเกษมสันต์ “ชะรอยกรรมทําสัตวใหพลัดพราย
ถึงปากช่องคลองน�้าเป็นส�าคัญ ต�าแหน่งนั้นชื่อชะวากปากลาวน จึงแยกยายบิตุราชญาติกา”
ไม่หยุดยั้งตั้งหน้าเข้าป่ากว้าง ไปตามทางโขดเขินเนินถนน • จากบทประพันธขางตนสะทอนแนวคิดใด
สดับเสียงลิงค่างครางค�ารน เหมือนคนกรนโครกครอกท�ากลอกตาฯ อยางไร
ถึงหย่อมย่านบ้านกร�่าพอค�่าพลบ ประสบพบเผ่าพงศ์พวกวงศา (แนวตอบ จากบทประพันธขางตน แสดง
ขึ้นกระฎีที่สถิตท่านบิดา กลืนน�้าตาก็ไม่ฟังเฝ้าพรั่งพราย
ใหเห็นวาสุนทรภูมีความคิดเกี่ยวกับเรื่อง
เวรกรรมวาเปนสาเหตุที่ทําใหครอบครัว
ศิโรราบกราบเท้าให้เปล่าจิต ร�าคาญคิดอาลัยมิใคร่หาย
แตกแยก)
ชะรอยกรรมท�าสัตว์ให้พลัดพราย จึงแยกย้ายบิตุราชญาติกา
167

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ขอใดใชภาพพจนสัทพจน
ครูแนะใหนักเรียนศึกษาและรวบรวมคําไวพจนหรือคําพองความหมายและ
1. ออกปากชองทองทุงที่ตลิ่ง ตางเกลือกกลิ้งลงทั้งรกถกเขมร
คําพองรูปจากนิราศเมืองแกลง ซึง่ คําเหลานีเ้ ปนลักษณะเดนของการแตงวรรณคดีไทย
2. ดวยลาเลื่อยเหนื่อยออนนอนระเนน จนสุริเยนทรลับไมชายทะเล
ที่ตองเลือกใชคําใหถูกตองตามฉันทลักษณโดยไมเสียความ แสดงใหเห็นถึงความ
3. ผลัดกันทํายํ่าเหยียบแลวยืนหยัด กระดูกดัดผัวะเผาะใหโผเผ
สามารถของกวีไทย แตทั้งนี้หากนักเรียนไมศึกษาหรือจดจําโดยเฉพาะอยางยิ่ง
4. คอยยางเทากาวเขยกดูเกกเก ออกโซเซเดินขามตามตะพาน
คําพองรูป นักเรียนจะมีปญหาในการตีความบทประพันธ เพราะคําที่เขียนเหมือนกัน
วิเคราะหคําตอบ ขอที่มีภาพพจนสัทพจนหรือคําเลียนเสียงธรรมชาติ คือ อาจมีความหมายตางกัน ครูแนะใหนักเรียนพิจารณาบริบทรอบขางคําศัพทนั้น
ขอ 3. “ผลัดกันทํายํ่าเหยียบแลวยืนหยัด กระดูกดัดผัวะเผาะใหโผเผ” มีคํา ประกอบการตีความบทประพันธ
วา “ผัวะเผาะ” ซึ่งเปนเสียงที่ดังมาจากกระดูกที่ยํ่าโคลน ขออื่นไมมีคําที่
เลียนเสียงธรรมชาติ มีแตคําที่แสดงอาการเคลื่อนไหวตางๆ ตอบขอ 3.
นักเรียนควรรู
1 หาง หมายถึง กระทอมสรางไวสําหรับเปนที่พักเวลาเฝาไรนา หรืออาจหมาย
ถึง สิ่งกอสรางชั่วคราวบนตนไมที่เอาไวนั่งพักตอนอยูในปา

คู่มือครู 167
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนกลุมที่ 7 ถอดคําประพันธชวงที่ 7
(แนวตอบ กลุมที่ 7 ถอดคําประพันธชวงที่ 7 ได มาพบพ่อท้อใจด้วยไกลแม่ ให้ตั้งแต่เศร้าสร้อยละห้อยหา
วา มองไปเห็นทุงเปนแนวกั้นนํ้า ก็พากันลุย ชนนีอยู่ศรีอยุธยา บิดามาอ้างว้างอยู่กลางไพร
เดินยํ่านํ้าทะเล แลวขามสะพาน เดินเขาสูตีน ภูเขาขวางทางกั้นอรัญเวศ ข้ามประเทศทุ่งท่าชลาไหล
เขาเปนปาที่เงียบสงัดทะลุออกทะเลแหลมทอง เดินกันดารปานปิ้มจะบรรลัย จึงมาได้เห็นหน้าบิดาตัว
วางๆ จึงวาเสภาขุนชางขุนแผนกันระหวางเดิน ท่านชูช่วยอวยพรให้ผ่องแผ้ว ดังฉัตรแก้วกางกั้นไว้เหนือหัว
ทางเห็นไรแตงจึงเดินเลาะเขาไปแกลงถามทาง อุตส่าห์ฝนไพลทารักษาตัว ค่อยยังชั่วมึนเมื่อยที่เหนื่อยกาย
ชวนเจาของสวนพูดคุยเฮฮาเพือ่ ขอแตงกิน พากัน บรรดาเหล่าชาวบ้านประมาณมาก ต่างมาฝากรักใคร่เหมือนใจหมาย
พูดถึงที่ตีโบยขโมยควาย กล่าวขวัญนายเบียดเบียนแล้วเฆีย่ นตี
ขอบคุณแลวเดินทางเลียบหาดตอไป เดินทาง
ถามราคาพร้าขวานจะวานซื้อ ล้วนอออือเอ็งกูกะหนูกะหนี
ถึงปากชองชื่อวาชะวากปากลาวน ตองเดินผาน
ทีคะขาค�าหวานนานนานมี เป็นว่าขี้คร้านฟังแต่ซังตาย
ปากวาง ฟงเสียงลิงคางแลวเหมือนคนนอนกรน เวลาเช้าก็ชวนกันออกป่า มันโม้หมาไล่เนื้อไปเหลื
เดินทางถึงยานบานกรํ่า พบญาติพี่นองแลวจึง 1 อหลาย
พอเวลาสายั
2 3 ณห์ตะวัน4ชาย ได้กระต่ายตะกวดกวางมาย่างแกง
ไปขึ้นบนกุฏิพบบิดา ก็รองไหกราบเทา แลว ทั้งแย้บึ้งอึ่งอ่างเนื้อค่างคั่ว เขาท�าครัวครั้นไปปะขยะแขยง
ครํ่าครวญดวยความอาลัยที่ตองพลัดพรากกัน ต้องอดสิ้นกินแต่ข้าวกับเต้าแตง จนเรี่ยวแรงโรยไปมิใคร่มี
หางบิดาหางญาติพี่นอง เพราะตองหางไกลจาก อยู่บุรินกินส�าราญทั้งหวานเปรี้ยว ตั้งแต่เที่ยวยากไร้มาไพรศรี
แมที่อยูกรุงศรีอยุธยา กวาจะเดินทางมาพบบิดา แต่น�้าตาลมิได้พานในนาภี ปัถวีวาโยก็หย่อนลง
ไดหนทางผานปาเขาลําเนาไพรแสนยากเย็น มา ด้วยเดือนเก้าเข้าวสาเป็นหน้าฝน จึงขัดสนสิ่งของต้องประสงค์
ถึงบิดาก็หาไพลมาทาตัวใหหายเจ็บหายเหนื่อย ครั้นแล้วลาฝ่าเท้าท่านบิตุรงค์ ไปบ้านพงค้อตั้งริมฝั่งคลอง
วิถีชีวิตชาวบานนั้นแตกตางจากเมืองหลวง ฯลฯ
เหลือเกิน จนไดเวลาก็ลาบิดา แลวเดินทาง ช่วงที่ ๘
ไปยังบานพงคอที่อยูริมฝงคลอง) นิราศเรื่องเมืองแกลงแต่งมาฝาก เหมือนขันหมากมิ่งมิตรพิสมัย
อย่าหมางหมองข้องขัดตัดอาลัย ให้ชื่นใจเหมือนแต่หลังมั่งเถิดเอยฯ
ขยายความเข้าใจ Expand ฯ ๘ ค�า ฯ

นักเรียนรวมกันถอดคําประพันธในเนื้อเรื่อง ความรู้เสริม
ชวงที่ 8
(แนวตอบ นิราศเมืองแกลงเรื่องนี้แตงมาเปน การถีบกระดานหาหอย
ขันหมากใหไดชิมไดชม อยาไดหมองใจเลยขอใหได การถีบกระดานหาหอย เปนวิธกี ารจับหอยของชาวบานทีใ่ ชกระดาน
แผนกวางขนาดพอดีคนนัง่ ไดคนเดียวเลือ่ นไถลไปบนโคลน โดยใชเทาขาง
มีสุขเหมือนแตกอนเถิด) หนึง่ ยันกระดานใหเคลือ่ นไป ปจจุบนั พบเห็นไดบา งในชุมชนชายทะเลแถบ
อาวไทย เชน จังหวัดสมุทรสงคราม
ตรวจสอบผล Evaluate (ที่มา: http://www.maeklongdee.com/veera1.htm)

1. นักเรียนถอดคําประพันธตามที่กําหนดได 168
2. นักเรียนระบุชื่อพันุธไมที่พบในเนื้อเรื่องได

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
ขอใดเรียงลําดับเหตุการณไดถูกตอง
1 ตะกวด เปนสัตวเลื้อยคลาน ตัวสีนํ้าตาลเหลือง ปากแหลม ลิ้นยาวแยกเปน
1. ตะวันคลอยหนอยหนึ่งถึงบางพระ ดูระยะบานนั้นก็แนนหนา
2 แฉก หางยาวใชฟาดเพื่อตอสู ปองกันตัว อาศัยตามปาโปรงมากกวาปาทึบหากิน
2. ถึงบางลัดแลทาชลาตื้น ดูเลื่อมลื่นเลนลากลําละหาน
ตามพื้นดิน ขึ้นตนไมเกง พาดตัวนอนผึ่งแดดตามกิ่งไม บางที่อาจเรียก “แลน”
3. ถึงหยอมยานบานกรํ่าพอคํ่าพลบ ประสบพบเผาพงศวงศา
หรือ “จะกวด”
4. พอรุงแสงสุริยาลีลาลาศ ลงเลียบหาดหวนคะนึงถึงสมร
1 แย ชื่อสัตวเลื้อยคลานลําตัวแบนราบ ขางตัวมีสีสวย ไมมีหนามสันหลัง 1. 1 2 3 4 2. 4 3 2 1
อาศัยขุดรูอยูในดิน หากินตามพื้นดิน ไมขึ้นตนไม ในประเทศไทยมี 2 ชนิดยอย 3. 2 1 4 3 4. 3 2 1 4
คือ แยเสน และแยจุด
วิเคราะหคําตอบ สามารถเรียงลําดับเหตุการณได จากการพิจารณา
2 บึ้ง ชื่อแมงมุมขนาดใหญที่มีลําตัวยาวกวา 3 เซนติเมตรขึ้นไป สวนใหญเปน การเคลื่อนที่ของดวงอาทิตยที่จะเปนสิ่งบอกเวลากอนและหลังวา ขอ 1.
ประเภทไมถักใยดักสัตว ตัวสีนํ้าตาลหรือนํ้าตาลแก มีขนรุงรังสีเดียวกัน ขุดรูอยู ตะวันคลอยหนอยหนึ่งมากอน ขอ 4. แสงสุริยาลงเลียบหาด และขอ 3.
คอยจับสัตวเล็กๆ กิน บึ้งบางชนิดมีคนนํามากิน คํ่าพลบ คือ กําลังจะหมดแสงพระอาทิตย เรียงขอได 1 4 3 ตอบขอ 3.
3 คาง เปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนมในตระกูลลิง รูปรางเพรียวบาง มีหางและขนยาว

168 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
Engage Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
นักเรียนเลนเกมจับคูคําศัพทกับความหมาย
๖ คÓศัพท์ จากบัตรคําที่ครูนํามาประกอบการเรียนรู จากนั้น
ครูสรุปผลคะแนน คัดเลือกผูที่ไดคะแนนมากที่สุด
คำาศัพท์ ความหมาย ชื่นชมและมอบรางวัล
กระฎี กุฎีหรือกุฏิ เป็นที่อยู่ของพระ สร้างเป็นหลังๆ
ส�ารวจค้นหา Explore
กระหนูกระหนี พูดโดยไม่ขัดคอกัน
กานดา หญิงที่รัก นักเรียนสืบคนความหมายของคําศัพททาย
บทเรียนและความรูเพิ่มเติมที่เกี่ยวของจาก
ก�าแหง แข็งแรง กล้าแข็ง
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานหรือเว็บไซต
เขนย หมอนหนุน ที่เกี่ยวของ
จ�ารัส รุ่งเรือง สว่าง
ชนก ชายผู้ให้ก�าเนิด พ่อ อธิบายความรู้ Explain
ชลา น�้า นักเรียนทําสมุดบันทึกคําศัพท โดยจําแนก
ชะวากวุ้ง ช่องว่างที่เวิ้งว้างเข้าไปเป็นคุ้งน�้า มาจากค�าชะวากชะวุ้ง คําศัพทในนิราศเมืองแกลงเปนหมวดหมูดังนี้
(ชะวาก แปลว่า ช่องที่เวิ้งว้างเข้าไป ชะวุ้ง แปลว่า เป็นคุ้ง คด อ้อม) • พันธุพืช
ชิงพลบ จวนค�่า โพล้เพล้ (แนวตอบ เชน แตงโม ไพล ยาง เปนตน)
ตะบึง รีบเร่งไปไม่หยุดหย่อน • สัตวตางๆ
ถกเขมร นุ่งผ้าโจงกระเบน ดึงชายให้สูงร่นขึ้นไปเหนือเข่า (แนวตอบ เชน ทาก แย บึ้ง อึ่งอาง บาง คาง
ทาก ชื่อสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังพวกปลิง ล�าตัวขนาดต่างๆ กัน ลักษณะเป็น เปนตน)
1 ปล้อง ยืดหดได้มาก อยู่ตามป่า ดูดกินเลือดเป็นอาหาร
นาภี ท้อง
ปล�้า พยายามท�าอย่างเต็มก�าลัง
ปะ มาเจอกัน มาเผชิญหน้ากัน
ปะโลปะเล ปุโลปุเล พูดหรือท�าพอให้เสร็จไปโดยไม่ต้องการรายละเอียด
2
ปัถวี ดิน ธาตุดิน
ปิ้ม เกือบ จวน แทบ
เฝือ มาก บ่อยๆ
ไพล ชื่อว่านชนิดหนึ่ง ต้นและใบคล้ายขิง หัวสีเหลืองคล้ายขมิ้น ใช้ท�ายา

169

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ขอใดแตกตางจากขออื่น
ครูอาจสรางสรรคกิจกรรมเพิ่มเติม ดวยการนําคําศัพทในบทเรียนมาใชใน
1. ตางเกลือกกลิ้งลงทั้งรกถกเขมร
การออกแบบกิจกรรม เชน แบงกลุมใหนักเรียนสรางเกมคําศัพท หาคําศัพทที่เปน
2. พวกเจกจีนกินโตะเสียงโหลเหล
คําไวพจนในบทเรียน นําคําศัพทที่นาสนใจมาสรางเรื่องที่มีแนวคิดสอดคลองกับ
3. ลวนอออือเอ็งกูกระหนูกระหนี
เนื้อเรื่อง เปนตน
4. พอเจาของแตงโมปะโลปะเล
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. กลาวถึงลักษณะการแตงกายแบบถกเขมร คือ
การนุงผาจงกระเบน ดึงชายใหสูงรนขึ้นไปเหนือเขา ขอ 2. กลาวถึงการกิน นักเรียนควรรู
อาหารรวมกันบนโตะของชาวจีนเสียงดังโหลเหล ขอ 3. กลาวถึงการพูดคุยกัน
โดยไมขัดคอกัน และขอ 4. เจาของแตงโมพูดหรือทําเออออไปดวย จะเห็น 1 นาภี มีความหมายอื่นๆ อีก คือ สะดือ ราชาศัพทใชวา พระนาภี เชน
ไดวา ขอ 2. ขอ 3. และขอ 4. กลาวถึงลักษณะการพูด ขอที่ตางจากขออื่น พระพุทธรูปสวนสูงวัดจากพระบาทถึงพระนาภี เปนตน และดุมเกวียน ดุมรถ
คือ ขอ 1. ตอบขอ 1. ศูนยกลาง หรือมีความหมายวา ตัวชะมด
2 ปถวี เปนคําพองรูป อีกความหมายหนึ่งคือ ทายเรือพิธีซึ่งใชเฉพาะเรือหลวง

คู่มือครู 169
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนอธิบายการใชคาํ ไวพจน นิราศเมืองแกลง
โดยยกตัวอยางประกอบการอธิบาย คำาศัพท์ ความหมาย
(แนวตอบ คําไวพจนในนิราศเมืองแกลงมีหลายคํา
ภัคินี ภคินี พี่หญิง น้องหญิง
เชน คําวา ไพร อรัญเวศ อารัญ ที่มีความหมายวา 1
ปา คําวา พฤกษา รุกขะ ที่มีความหมายวา ตนไม ภุมริน แมลงผึ้ง แมลงภู่
คําวา ชลาทร ละหาน ที่มีความหมายวา หวงนํ้า รุกข ต้นไม้
เปนตน รู่ ครูด ถู สี
การใชคําไวพจนชวยใหบทประพันธมีความ
วงศา ตระกูล เชื้อสาย เหล่ากอ
นาสนใจ ไมนาเบื่อ แสดงใหเห็นความสามารถ 2
ในการใชภาษาของกวี เชน “ตะวันฉายแสงสองตอง วษา พรรษา
วษา พรรษา ฝน ฤดูฝน
พฤกษา” กับ “ดูโลงลิ้วทิวรุกขะเรียงรัน” เปนตน) วาโย 3 ลม ธาตุลม
เวิ้ง ที่เปิดกว้างเข้าไปถัดจากที่แคบ เช่น พ้นปากถ�้าไปเห็นเป็นเวิ้ง
4
ขยายความเข้าใจ Expand ศศิธร พระจันทร์
1. นักเรียนนําคําศัพทที่เปนคําไวพจนในบทเรียน ศอ คอ
ไปแตงประโยคความซอน คําละ 1 ประโยค ศิโรราบ กราบกราน ยอมอ่อนน้อม
โดยนักเรียนคัดเลือกคําศัพทไปคนละ 3 คํา สงกา ความสงสัย
2. นักเรียนจดบันทึกคําศัพทลงในสมุดบันทึกศัพท
แลวฝกทองจําเพื่อเปนความรูทางภาษา สถิต อยู่ ตั้งอยู่
ส�ารวล หัวเราะ รื่นเริง
ตรวจสอบผล Evaluate เสภา ชื่อกลอนชนิดหนึ่งใช้ขับเป็นเรื่องราวด้วยจังหวะและดนตรี
1. นักเรียนจําแนกคําศัพทตามหมวดหมูที่ โสทก น�้า ล�าคลอง ทางน�้า
กําหนดได หรุบรู่ มีแสงมัวจนมองอะไรไม่เห็นถนัดชัดเจน
5
2. นักเรียนอธิบายความหมายของคําศัพทได อรัญเวศ ป่า
ถูกตอง อางขนาง อาย ขวยเขิน
3. นักเรียนอธิบายการใชคําไวพจนในบทประพันธ
พรอมยกตัวอยางได อารักษ์ เทวดาผู้พิทักษ์รักษา
อารัญ ป่า
อุทัย เริ่มส่องแสง ใช้กับพระอาทิตย์ ในค�าว่าอาทิตย์อุทัย
โอภา ทักทายด้วยวาจาสุภาพ
170

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
คําประพันธในขอใด ถาแบงวรรคผิดจะทําใหสื่อความหมายผิด
1 ภุมริน มีความหมายวา แมลงภู คําที่มีความหมายเหมือนกับคํานี้ เชน คําวา
1. พอฟาคลํ้าคํ่าพลบลงหรุบหรู ยุงออกฉูชิงพลบตบไมไหว
ภมร ภมริน ภมรี ภุมรี ภุมเรศ เปนตน
2. ไดรับรองปองกันเพียงควันไฟ แตหายใจมิใครออกดวยอับอาย
2 วษา พรรษา มีความหมายวา ฝน ฤดู ฝน คําที่มีความหมายเหมือนกับคํานี้ 3. โอยามยากจากเมืองแลวลืมมุง มากรํายุงเวทนาประดาหาย
เชน คําวา วรรษ วรรษา วรุณ พรุณ เปนตน 4. จะกรวดนํ้าควํ่าขันจนวันตาย แมเจานายทานไมใชแลวไมมา
3 วาโย มีความหมายวา ลม คําที่มีความหมายเหมือนกับคํานี้ เชน คําวา วิเคราะหคําตอบ จากขอ 3. “โอยามยากจากเมืองแลวลืมมุง มากรํายุง
มาลุต วายุ วายะ วาโย วายุ พายุ พาย เปนตน เวทนาประดาหาย” หากแบงเปน มาก/รํา/ยุง จะไมสื่อความ จึงตองอาน
4 ศศิธร มีความหมายวา พระจันทร คําที่มีความหมายเหมือนกับคํานี้ เชน วา มา/กรํา/ยุง คือ มาทนใหยุงตอมกัด ตอบขอ 3.
คําวา ศศิ แข โสม บุหลัน จันทร จันทรา เปนตน
5 อรัญเวศ มีความหมายวา ปา คําที่มีความหมายเหมือนคํานี้ เชน คําวา
อารัญ อารัณย อรัญญิก วน วนา พน พนา วนาดร พง พงพี ไพร พงไพร วนัส
พนัส เปนตน

170 คู่มือครู
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้
Engage Explore Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate
กระตุน้ ความสนใจ Engage
นักเรียนสนทนาทบทวนเนื้อเรื่องนิราศเมือง
๗ บทวิเคราะห์ แกลง จากนั้นสนทนารวมกันเกี่ยวกับคุณคาที่ได
รับจากการศึกษาวรรณคดีเรื่องนี้ ทั้งคุณคาดาน
นิราศเมืองแกลง เป็นนิราศเรื่องแรกที่แสดงให้เห็นถึงอัจฉริยภาพด้านการประพันธ์ร้อยกรอง เนื้อหา ดานวรรณศิลป และดานสังคม รวมถึง
ประเภทกลอนของสุนทรภู ่ และยังสามารถแสดงทรรศนะกวีได้อย่างน่าสนใจ คุณค่าของนิราศเมืองแกลง ขอคิดที่สามารถนําไปปรับใชในชีวิตประจําวันได
จึงดีเด่นทั้งในด้านเนื้อหา วรรณศิลป์ ให้คุณค่าทางด้านสังคมและให้ข้อคิดสอนใจที่สามารถน�าไปใช้ใน
การด�ารงชีวิต ดังนี้ ส�ารวจค้นหา Explore
๗.๑ คุณค่าด้านเนื้อหา นักเรียนแสวงหาความรูและสืบคนคุณคาดาน
นิราศเมืองแกลง เป็นนิราศที่มีความโดดเด่นมากเรื่องหนึ่งของสุนทรภู่ เนื่องด้วย เนื้อหา ดานวรรณศิลป และดานสังคม รวมถึง
มีการน�าเสนอเนื้อหาที่มีความน่าสนใจ ชวนให้ติดตามการเดินทางของสุนทรภู่ ซึ่งได้น�าเสนอเนื้อหา ขอคิดที่สามารถนําไปปรับใชในชีวิตประจําวันได
ของนิราศเมืองแกลงในแง่มมุ ทีห่ ลากหลาย กล่าวคือ นอกจากผูอ้ า่ นจะได้รบั ความสนุกสนานเพลิดเพลิน จากเอกสาร ตํารา และเว็บไซตที่เกี่ยวของ
จากการอ่านแล้ว ยังได้รับความรู้เพิ่มเติม ดังนี้
๑) ให้ความรู้เกี่ยวกับที่มาของคำา นิราศเมืองแกลงกล่าวถึงส�านวนว่า “จองหอง อธิบายความรู้ Explain
พองขน” ซึ่งมาจากกิริยาอาการของลิง ดังบทประพันธ์ นักเรียนอธิบายความรูเกี่ยวกับเนื้อหาของ
โอ้คลองขวางทางแดนแสนโสทก ดูบนบกก็แต่ล้วนลิงแสม นิราศเมืองแกลง
• นักเรียนอธิบายอารมณความรูสึกของกวีกับ
เลียบตลิ่งวิ่งตามชาวเรือแพ ท�าลอบแลหลอนหลอกตะคอกคน
เนื้อหาวาสัมพันธกันอยางไร
ค�าโบราณท่านผูกถูกทุกสิ่ง เขาว่าลิงจองหองมันพองขน
(แนวตอบ ระหวางการเดินทางของกวีเปนไป
ท�าหลุกหลิกเหลือกลานพานลุกลน เขาด่าคนจึงว่าลิงโลนล�าพอง
ดวยความยากลําบาก ซึ่งพิจารณาไดจาก
จากบทประพันธ์สะท้อนให้เห็นพฤติกรรมของลิงที่มีท่าทางไม่สงบนิ่ง เคลื่อนไหว การถายทอดเรื่องราวพรรณนาเหตุการณ
ตลอดเวลา เมื่อเห็นคนจึงมักจะแสดงอาการพองขนใส่ ซึ่งกลายเป็นที่มาของส�านวนไทยที่ว่า “จองหอง ตางๆ ที่พบระหวางการเดินทางอยางนา
พองขน” หมายถึง เย่อหยิ่ง
เห็นใจ การพรรณนาและการบรรยายเปนไป
ตามอารมณความรูสึกของกวีที่กําลัง
๒) ให้ความรู้เกี่ยวกับสัตว์ สุนทรภู่กล่าวถึงแมงดาทะเล โดยน�ามาเปรียบเทียบ
เศราโศกไมสมหวังในความรักกับนางจัน)
กับความรักของตน ท�าให้ผู้อ่านได้รับความรู้เกี่ยวกับแมงดาทะเล ดังบทประพันธ์

ในกระแสแลล้วนแต่โป๊ะล้อม ลงอวนอ้อมโอบสกัดเอามัจฉา
โอ้คิดเห็นเอ็นดูหมู่แมงดา ตัวเมียพาผัวลอยเที่ยวเล็มไคล
เขาจับตัวผัวทิ้งไว้กลางน�้า ระลอกซ�้าสาดซัดให้ตัดษัย
พอเมียตายฝ่ายผัวก็บรรลัย โอ้เหมือนใจพี่รักภัคินี
171

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
“ทานชูชวยอวยพรใหผองแผว ดังฉัตรแกวกางกั้นไวเหนือหัว”
ครูชี้แนะการพรรณนาเปรียบเทียบสิ่งแวดลอมกับอารมณความรูสึกของกวี ดังนี้
คําประพันธนี้ผูแตงกลาวถึงอะไร
• กลาวถึงสัตว เชน กวีกลาวถึงแมงดาทะเลเปรียบเทียบกับความรักของตน
1. คําอวยพรของพระมหากษัตริยเหมือนฉัตรแกว
ความวา
2. คําอวยพรของบิดามารดาเหมือนรมแกว
“โอคิดเห็นเอ็นดูหมูแมงดา ตัวเมียพาผัวลอยเที่ยวเล็มไคล”
3. คําอวยพรของมารดาเหมือนกิ่งแกว
• กลาวถึงลักษณะทางภูมิศาสตร เชน กวีกลาวถึงทะเลดวยความรูสึกเศราโศก
4. คําอวยพรของบิดาเหมือนฉัตรแกว
คิดถึงนางผูเปนที่รัก ความวา
วิเคราะหคําตอบ คําประพันธในขางตน คําวา “ทาน” หมายถึง บิดาของ “แลทะเลแลวก็ใหอาลัยนุช ไมสรางสุขโสกสิ้นถวิลหา”
สุนทรภูที่บวชอยูวัดปา ตําบลบานกรํ่า อําเภอเมืองแกลง จังหวัดระยอง • กลาวถึงประเพณีและพิธีการ เชน การกรวดนํ้าเปรียบเทียบกับความทุกขเข็ญ
สุนทรภูไดเดินทางไปเยี่ยมพรอมกับแตงนิราศเมืองแกลง ซึ่งเปนนิราศเรื่อง ถึงที่สุด ความวา
แรกของสุนทรภู ดังนั้นคําประพันธขางตนจึงหมายความถึง คําอวยพรของ “จะกรวดนํ้าควํ่าขันจนวันตาย แมเจานายทานไมใชแลวไมมา”
บิดาวาเหมือนฉัตรแกว ตอบขอ 4.

คู่มือครู 171
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับคุณคาดานเนื้อหา
จากนิราศเมืองแกลง จากบทประพันธ์นที้ า� ให้ผอู้ า่ นได้รบั ความรูเ้ กีย่ วกับแมงดาทะเล ซึง่ แมงดาทะเลตัวผูน้ นั้
• ตอนใดของเรื่องนิราศเมืองแกลงที่ใหความรู ตาบอดหาอาหารกินเองไม่ได้ตอ้ งพึง่ พาตัวเมีย โดยจะเกาะหลังตัวเมียให้พาไปหากินยังทีต่ า่ งๆ เมือ่ ตัวเมีย
เกี่ยวกับสมุนไพร ถูกจับไปเป็นอาหาร ตัวผูจ้ งึ ไม่สามารถหากินด้วยตนเองได้ การทีแ่ มงดาทะเลตัวเมียให้ตวั ผูเ้ กาะหลังไป
(แนวตอบ เมื่อตอนที่สุนทรภูเดินทางไปถึงจุด หากิน กวีได้น�ามาเปรียบเทียบกับความรักอันยิ่งใหญ่ของชายหญิง แต่ปัจจุบัน ค�าว่าแมงดาใช้เปรียบ
หมาย โดยตลอดการเดินทางสุนทรภูเดินทาง กับผู้ชายที่ไม่ท�างาน อาศัยให้ผู้หญิงหาเลี้ยงไปวันๆ
มาดวยความยากลําบาก มีบาดแผลจากทาก ๓) ให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพร สมุนไพรเป็นผลิตผลธรรมชาติที่ได้จากพืช สัตว์
และแร่ธาตุที่ใช้เป็นยาหรือผสมกับสารอื่นตามต�ารับยา เพื่อบ�าบัดโรค บ�ารุงร่างกาย นิราศเมืองแกลงมี
และหนามเถาวัลยเกี่ยวและปวดเมื่อยตัว บิดา
การกล่าวถึงไพล พืชสมุนไพรที่มีสรรพคุณทางยา ดังบทประพันธ์
ของสุนทรภูจึงใชสมุนไพรในการรักษาและ 1
สามารถรักษาใหอาการดีขึ้นได ดังวา ท่า2นชูช่วยอวยพรให้ผ่องแผ้ว ดังฉัตรแก้วกางกั้นไว้เหนือหัว
“อุตสาหฝนไพลทารักษาตัว อุตส่าห์ฝนไพลทารักษาตัว ค่อยยังชั่วมึนเมื่อยที่เหนื่อยกาย
คอยยังชั่วมึนเมื่อยที่เหนื่อยกาย”)
จากบทประพันธ์ได้ให้ความรู้แก่ผู้อ่านว่าในสมัยอดีต หากมีการเจ็บป่วย จะใช้วิธี
การรักษาโดยใช้สมุนไพรพื้นบ้านที่มีสรรพคุณที่แตกต่างกัน ซึ่งในที่นี้บิดาของสุนทรภู่ได้ใช้ไพลฝนทา
ขยายความเข้าใจ Expand เพื่อรักษาอาการวิงเวียนและปวดเมื่อยให้แก่สุนทรภู่
นักเรียนยกบทประพันธที่นักเรียนเห็นวากวีมี จึงกล่าวได้ว่า เนื้อหาของนิราศเมืองแกลงมีคุณค่าเนื่องด้วยน�าเสนอเรื่องราวในแง่มุม
ความทุกขระทมที่สุด ที่หลากหลาย สะท้อนให้เห็นถึงสภาพวิถีชีวิตและสภาพของสังคมไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
(แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบไดหลากหลายขึ้น ให้ความบันเทิง ก่อให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจต่อผู้อ่านและให้ความรู้เสริมในเรื่องต่างๆ นอกจากนี้
ผูป้ ระพันธ์ยงั ได้นา� เสนอแนวคิดส�าคัญของเรือ่ งโดยสอดแทรกลงในเนือ้ หา คือ การพลัดพรากจากสิง่ ทีร่ กั
อยูกับเหตุผลของนักเรียน
นั้นเป็นทุกข์
“จะกลืนขาวคราวโศกในทรวงเสียว
เหมือนขืนเคี้ยวกรวดแกลบใหแสบศอ ๗.๒ คุณค่าด้านวรรณศิลป์
ตองเจือนํ้ากลํ้ากลืนพอกลั้วคอ นิราศเมืองแกลงแต่งด้วยค�าประพันธ์ประเภทกลอนสุ 3 ภาพ แต่มีลักษณะพิเศษของ
กินแตพอดับลมดวยตรมใจ” กลอนนิราศที่ขึ้นต้นด้วยวรรครับและลงท้ายเรื่องด้วยค�าว่า “เอย”
“เอย” มีสัมผัสในของแต่ละวรรค ๒ คู่
จากบทประพันธที่ยกมา จะเห็นไดวากวีใชคํา ขึ้นไปจึงมีความไพเราะคล้องจองอ่านได้เพลิดเพลิน การใช้ถ้อยค�าเข้าใจง่ายมีความหมายลึกซึ้ง
เกิดจินตภาพเด่นชัด ดังข้อความที่บรรยายเกี่ยวกับภาพหาดทรายว่า “เห็นกรวดทรำยชำยทะเล
เปรียบเทียบไดกินใจ ใหความรูสึกวาการทนฝนกิน
ชโลธร ละเอียดอ่อนดังละอองส�ำลีดี ดูกำบหอยรอยคลื่นกระเด็นสำด ก็เกลื่อนกลำดกลำงทรำย
ในสิ่งที่ไมอยากกิน ในขณะที่เหน็ดเหนื่อยทั้งกายใจ
ประพรำยสี” นิราศเมืองแกลงจึงเป็นนิราศที่มีความดีเด่นและให้คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ดังนี้
นั้นเปนความทุกขที่สุด) ๑) ดีเด่นเรื่องสัมผัสใน กลอนทุกวรรคของสุนทรภู่มีความดีเด่นเรื่องสัมผัสใน แสดง
ให้เห็นความสามารถด้านการสรรค�าใช้ทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษร ดังบทประพันธ์
จะเหลียวซ้ายแลขวาก็ป่าแสม ตะลึงแลปูเปี้ยวเที่ยวไสว
ระหริ่งเรื่อยเฉื่อยเสียงเรไรไพร ฤทัยไหวแว่วว่าพะงางาม
172

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
ขอใดดีเดนในดานสัมผัสในและยังมีลักษณะครํ่าครวญถึงนางผูเปนที่รัก
1 ฉัตร เครื่องสูงชนิดหนึ่ง มีรูปคลายรมที่ซอนกันขึ้นไปเปนชั้นๆ ชั้นบนมี
1. เสียงลิงคางบางชะนีวะหวีดโหวย กระหึมโหยหอยไมนาใจหาย
ขนาดเล็กกวาชั้นลางลดหลั่นกันไปโดยลําดับ ใชสําหรับแขวน ปก ตั้ง หรือเชิญเขา
เสียงผัวผัวตัวเมียเที่ยวโยนกาย เห็นคนอายแอบอิงกับกิ่งยาง
กระบวนแหเปนเกียรติยศ
2. กระแสชลวนเชี่ยวเรือเลี้ยวลด ดูคอมคดขอบคุงคงคาไหล
2 ไพล ลักษณะตนและใบคลายขิง เหงาสีเหลืองอมเขียวใชทํายาได เรียกสี แตสายชลเจียวยังวนเปนวงไป นี่หรือใจที่จะตรงอยาสงกา
เหลืองอมเขียวอยางสีเหงาไพลวา “สีไพล” 3. จะกลืนขาวคราวโศกในทรวงเสียว เหมือนขืนเคี้ยวกรวดแกลบใหแสบศอ
3 ลงทายเรือ่ งดวยคําวา “เอย” เหมือนกลอนสักวา แตขึ้นตนบทตางกัน กลอน ตองเจือนํ้ากลํ้ากลืนพอกลั้วคอ กินแตพอดับลมดวยตรมใจ
สักวาจะขึ้นตนวรรคแรกหรือวรรคขึ้นตนบทดวยคําวา “สักวา” และวรรคสุดทาย 4. จะเหลียวซายแลขวาก็ปาแสม ตะลึงแลปูเปยวเที่ยวไสว
หรือวรรคสงจะตองลงทายดวยคําวา “เอย” เหมือนกลอนนิราศ สวนวรรคที่ 2-3 ระหริ่งเรื่อยเฉื่อยเสียงเรไรไพร ฤทัยไหวแวววาพะงางาม
คือวรรครับและวรรครองนั้น ไมบังคับตัวอักษร แตตองมีสัมผัสระหวางวรรค วิเคราะหคําตอบ คําประพันธทุกขอเดนดานสัมผัสใน แตขอที่มีลักษณะ
ทั้ง 4 อยางลักษณะของกลอนทั่วไป การครํ่าครวญของการแตงนิราศ คือ การรําพึงถึงหญิงอันเปนที่รัก ดังวา
“ฤทัยไหวแวววาพะงางาม” ซึ่งคําวา “พะงางาม” หมายถึง หญิงงาม
ตอบขอ 4.

172 คู่มือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับคุณคาดานวรรณศิลป
จากบทประพันธ์นี้จะเห็นว่าวรรคแรกมีสัมผัสอักษรคือ เหลียว - แล สัมผัสสระคือ ในประเด็นคําถามดังตอไปนี้
แล - แสม ขวา - ป่า วรรคที่สองมีสัมผัสอักษรคือ ลึง - แล ปู - เปี้ยว สัมผัสสระคือ เปี้ยว - เที่ยว • นิราศเมืองแกลงมีความโดดเดนในเรื่อง
วรรคที่สามมีสัมผัสอักษรคือ ระ - หริ่ง - เรื่อย - เรไร สัมผัสสระคือ เรื่อย - เฉื่อย ไร - ไพร วรรคที่สี่มีสัมผัส สัมผัสอยางไร
อักษรคือ ไหว - แว่ว - ว่า งา - งาม สัมผัสสระคือ ทัย - ไหว (แนวตอบ มีความโดดเดนในเรื่องสัมผัสใน ซึ่ง
๒) การใช้คำาเปรียบเทียบ ความเปรียบท�าให้ผู้อ่านสามารถเข้าถึงอารมณ์และ เปนลักษณะเดนของกลอนสุนทรภูที่จะนิยม
เนือ้ ความทีส่ นุ ทรภูต่ อ้ งการสือ่ ได้อย่างชัดเจน เช่น บทคร�า่ ครวญถึงนางอันเป็นทีร่ กั สุนทรภู ่ ใช้คา� เปรียบ แตงคําประพันธใหมีเสียงสัมผัสภายในวรรค
สะท้อนความรู้สึกได้ดีเยี่ยม ดังบทประพันธ์ คลองจองกัน ทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษร
ทําใหคําประพันธมีความไพเราะยิ่งขึ้น)
จะกลืนข้าวคราวโศกในทรวงเสียว เหมือนขืนเคี้ยวกรวดแกลบให้แสบศอ • ในเนื้อเรื่องมีการใชคําเปรียบเทียบอยางไร
ต้องเจือน�้ากล�้ากลืนพอกลั้วคอ กินแต่พอดับลมด้วยตรมใจ (แนวตอบ เนื่องจากเปนนิราศ ซึ่งตองมีการ
ครํ่าครวญถึงนางอันเปนที่รัก ดังนั้นกวีจึง
จากบทประพันธ์ กวีเลือกใช้ถ้อยค�าเพื่อให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ความรู้สึกคล้อยตามไปกับ
เลือกใชถอยคําที่ไพเราะ สะทอนอารมณ
บทประพันธ์ โดยการกล่าวเปรียบว่าในยามที่อยู่ในอารมณ์ของความโศกเศร้า การกลืนข้าวหรืออาหาร
ความรูสึกที่ลึกซึ้ง เชน การอยูในอารมณโศก
แต่ละครั้งช่างล�าบากยากเย็น เหมือนกับการกลืนกรวดหรือแกลบลงคอที่จะสร้างความเจ็บปวดให้แก่
เศรายากนักที่จะฝนใจกินขาวได เสมือนการ
บุคคลผู้นั้น
กลืนกรวดแกลบยิ่งกลืนก็ยิ่งแสบคอ และ
การใช้ค�าเปรียบเทียบจะท�าให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ความรู้สึกคล้อยตาม เข้าใจอารมณ์
เปรียบเทียบจิตใจของคนเหมือนคุงนํ้า
ความรู้สึกของกวีในขณะที่ประพันธ์ได้อย่างชัดเจน ดังบทประพันธ์ ที่คดเคี้ยว เปนตน)
กระแสชลวนเชี่ยวเรือเลี้ยวลด ดูค้อมคดขอบคุ้งคงคาไหล
แต่สาชลเจียวยังวนเป็นวงไป นี่หรือใจที่จะตรงอย่าสงกา ขยายความเขาใจ Expand

จากบทประพันธ์ กวีเลือกน�าลักษณะเด่นของกระแสน�้าที่ไหลเชี่ยวและมีความคดเคี้ยว นักเรียนพิจารณาบทประพันธตอไปนี้ แลว


มาเปรียบกับจิตใจของมนุษย์ โดยเปรียบเทียบให้เห็นว่าแม้แต่น�้าซึ่งเป็นสิ่งธรรมชาติยังมีความคดเคี้ยว ตอบคําถาม
แล้วใจของมนุษย์จะซื่อตรงได้อย่างไร “ถึงปากลัดแลทาชลาตื้น
๓) การใช้คำาเลียนเสียงธรรมชาติ เป็นการบรรยายให้เห็นทั้งภาพในจินตนาการ ดูเลื่อมลื่นเลนลากลําละหาน
และเสียง ดังบทประพันธ์
เขาแจวจองลองแลนแสนสําราญ
1 มาพบบานบางระจาวยิ่งเศราใจ”
เสียงลิงค่างบ่างชะนีวะหวีดโหวย กระหึมโหยห้อยไม้น่าใจหาย • จากบทประพันธที่ยกมานี้ มีความดีเดน
เสียงผัวผัวตัวเมียเที่ยวโยนกาย เห็นคนอายแอบอิงกับกิ่งยาง ดานสัมผัสในอยางไรบาง
(แนวตอบ พบสัมผัสในที่เปนสัมผัสสระ
จากบทประพันธ์มีการเลียนเสียงธรรมชาติในค�าว่า “ผัวผัว” ซึ่งเป็นการเลียนเสียงร้อง ไดแก ทา-(ช)ลา, จอง-ลอง, แลน-แสน,
ของชะนี จาว-เศรา สัมผัสในที่เปนสัมผัสอักษร
173 ไดแก (ปาก)ลัด-แล-(ช)ลา, เลื่อม-ลื่น-เลน-
ลาก-ลํา-ละ(หาน), แจว-จอง, ลอง-แลน,
แสน-สํา(ราญ), บาน-บาง, จาว-ใจ)
ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
กระโดดเผาะเกาะผับกระหยับคืบ ถีบกระทืบมิใครหลุดสุดแขยง
1 บาง ลักษณะทั่วไปของบาง คือ เปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่รอนได คลาย
ปลดที่ตีนติดที่ขาระอาแรง ทั้งขาแขงเลือดโซมชโลมไป
กระรอกบิน หนาตาคลายกระแต คนตะวันตกมองวาหนาตาเหมือนตัวลีเมอร
ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับบทประพันธขางตน
ในมาดารกัสกา จึงเรียกวา flying lemur มีความยาวตั้งแตหัวถึงลําตัว 34-42
1. ใชภาพพจนอุปมา
เซนติเมตร หาง 22-27 เซนติเมตร หนัก 1-1.8 กิโลกรัม ตามลําตัวมีสีนํ้าตาล
2. มีลักษณะเปนนิราศ
เปนหลัก มีแตมสีขาวและลายเสนเหมือนตาขายแผทั่วลําตัวขาหนาและขาหลัง
3. ใชคําที่มีความหมายขัดแยงกัน
สีสนั กลมกลืนกับเปลือกไม และทีเ่ ปนเอกลักษณกค็ อื มีหนังบางเชือ่ มระหวางขาหนา
4. ใชคําที่แสดงใหเห็นการเคลื่อนไหว
กับขาหลัง ขาหลังกับหาง ระหวางขาหนากับคอ และระหวางนิ้วทุกนิ้วอีกดวย
วิเคราะหคําตอบ บทประพันธขางตนมีความโดดเดนเรื่องเสียง กวีเลือก บาง อาศัยอยูในปาเขตรอนชื้นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต รวมถึงเกาะชวา
ใชคําตายใหเสียงสั้นกระชับ ซึ่งเปนคําที่ใชสามารถสื่อภาพการเคลื่อนไหว และบอรเนียว บางพื้นที่พบวาอาศัยในสวนยางพาราหรือสวนมะพราวไดดวย
ไดชัดเจน ตอบขอ 4. ปจจุบันเปนสัตวปาคุมครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา
พ.ศ. 2535

คูมือครู 173
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับคุณคาดานวรรณศิลป
• การใชคําเสียงสั้นในวรรคสดับแสดงใหเห็น ๔) การใช้ คำ า เสี ย งสั้ น ในวรรคสดั บ แสดงถึง ความสามารถชั้ นสูง ของสุ นทรภู ่
สิ่งใด ในการสรรหาค�าสัมผัสกับวรรครับและได้ความชัดเจน ดังบทประพันธ์
(แนวตอบ ความสามารถขั้นสูงของสุนทรภูดาน
การเลือกใชคําที่ใชสระเสียงสั้นใหสัมผัสกับคํา ดูเรือแพแต่ละล�าล้วนโปะโหละ พวกเจ๊กจีนกินโต๊ะเสียงโหลเหล
ในวรรคตอไปไดทั้งๆ ที่เปนไปไดคอนขางยาก วรรคสดับ คือ วรรคแรกของบทประพันธ์ จากบทประพันธ์นี้จะเห็นว่ากวีเลือกใช้
และคําประพันธยังสื่อความหมายไดดี)
ค�าที่ประสมด้วยสระเสียงสั้น คือ ละ โปะ โหละ
• การใชคําสัมผัสสระและควบกลํ้ากอใหเกิด
ประโยชนอยางไร ๕) การใช้คำาที่มีสัมผัสสระและควบกลำ้า การใช้ค�าเหล่านี้ท�าให้ผู้อ่านเห็นภาพพจน์
(แนวตอบ สะทอนจินตภาพที่ชัดเจน ซาบซึ้ง ชัดเจนขึ้น ดังตอนแสดงอาการขยะแขยงตัวทาก ดังบทประพันธ์
ในบทกวี)
กระโดดเผาะเกาะผับกระหยับคืบ ถีบกระทืบมิใคร่หลุดสุดแสยง
ขยายความเข้าใจ Expand ปลดที่ตีนติดขาระอาแรง ทั้งขาแข้งเลือดโซมชโลมไป

นักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับการใชคําที่มีสัมผัส จากบทประพันธ์ กวีเลือกใช้ถ้อยค�าที่ประสมด้วยสระเดียวกัน จึงท�าให้เกิดสัมผัส


สระและอักษรควบกลํ้าในบทประพันธ คล้องจองคือ ค�าว่า เผาะ - เกาะ ผับ - หยับ คืบ - ทืบ หลุด - สุด ขา - อา โซม - ชโลม นอกจากสัมผัสสระ
• นักเรียนคิดวาเลือกใชคําที่มีสัมผัสสระและ แล้วยังใช้ค�าควบกล�้า คือ กระ ปลด ซึ่งค�าที่กวีเลือกใช้ล้วนก่อให้เกิดจินตภาพแก่ผู้อ่าน โดยมองเห็น
อักษรควบกลํ้าสงผลตอบทประพันธอยางไร ภาพของตัวทากสัตว์ที่กินเลือดเป็นอาหาร เริ่มจากการกระโดดเกาะแล้วจึงค่อยๆ เคลื่อนตัวไป ไม่ว่า
(แนวตอบ การเลือกใชคําที่มีสัมผัสสระและ จะพยายามปลดออกอย่างไรก็ไม่เป็นผล จึงท�าให้บริเวณขาและแข้งที่ทากเกาะมีเลือดไหลซึมออกมา
พยัญชนะตนเสียงเปนควบกลํ้าในบทประพันธ
เปนการใชเสียงของคําที่ใหเสียงกลมกลืนกัน ๗.๓ คุณค่าด้านสังคม
เสียงสัมผัสสระและพยัญชนะตนเสียงเปน นิราศเมืองแกลง เป็นวรรณคดีทมี่ ลี กั ษณะค�าประพันธ์แบบกลอนนิราศ กวีเขียนขึน้ เพือ่
เสียงเดียวกัน เปนกลวิธีของการวางคําในบท แสดงอารมณ์รกั และอาลัยในยามทีต่ อ้ งจากบ้านเมืองหรือจากนางอันเป็นทีร่ กั ไปไกล มีการพรรณนาถึง
ประพันธ ที่นอกจากจะทําใหเสียงเปนจังหวะ สิ่งที่ได้พบเห็นระหว่างการเดินทาง ดังนั้น นิราศเมืองแกลงย่อมต้องสะท้อนให้เห็นถึงสภาพสังคมใน
ไพเราะแลว ยังชวยใหบทประพันธนนั้ เห็นภาพ สมัยนั้นได้อย่างชัดเจน ดังนี้
ของกิริยาอาการของสิ่งที่กําลังกลาวถึงไดดี ๑) สะท้อนให้เห็นสภาพบ้านเมือง นิราศเมืองแกลงได้สะท้อนให้เห็นสภาพของ1
ดังความวา บ้านเมืองในสมัยอดีตที่ให้ความส�าคัญกับการคมนาคมทางน�้า ดังนั้น ผู้คนจึงสร้างที่พักอาศัยอยู่ริมน�้า
“กระโดดเผาะเกาะผับกระหยับคืบ เพื่อสะดวกแก่การเดินทางและการประกอบอาชีพ ดังบทประพันธ์
ถีบกระทืบมิใครหลุดสุดแขยง
ปลดที่ตีนติดที่ขาระอาแรง ถึงส�าเพ็งเก๋งตั้งริมฝั่งน�้า แพประจ�าจอดเรียงเคียงขนาน
ทั้งขาแขงเลือดโซมชโลมไป”) มีซุ้มซอกตรอกนางเจ้าประจาน ยังส�าราญร้องขับไม่หลับลง
174

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
ครูแนะความรูเกี่ยวกับการเลนเสียงเพิ่มเติมวา การเลนเสียง หมายถึง สัมผัสที่ ขอใดไมใชโวหารเปรียบเทียบ
ไมไดบังคับทางฉันทลักษณ แตเปนสัมผัสที่ผูแตงเพิ่มเขามา เพื่อใหมีเสียงคลองจอง 1. จะกลืนขาวคราวโศกในทรวงเสียว เหมือนขืนเคี้ยวกรวดแกลบใหแสบศอ
กันไพเราะ การเลนเสียงสัมผัสมีทั้งสัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะ เชน 2. ทานชูชวยอวยพรใหผองแผว ดังฉัตรแกวกางกั้นไวเหนือหัว
“ถึงเขาขวางวางเวิ้งชะวากวุง เขาเรียกทุงสงขลาพนาสัณฑ” 3. นิราศเรื่องเมืองแกลงแตงมาฝาก เหมือนขันหมากมิ่งมิตรพิสมัย
4. อยาหมางหมองของขัดตัดอาลัย ใหใจเหมือนแตหลังมั่งเถิดเอย
วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. เปรียบการกลืนขาววายากลําบากเหมือนฝนกลืน
นักเรียนควรรู แกลบกลืนกรวด ขอ 2. เปรียบทานคือบิดาวาเปนดังฉัตร ขอ 3. เปรียบการ
แตงนิราศวาเหมือนแตงขันหมาก สวนขอ 4. มีคําวา “เหมือน” ซึ่งไมได
1 ที่พักอาศัยอยูริมนํ้า คนไทยใชชีวิตอยูกับสายนํ้า ดวยภูมิประเทศที่เต็มไปดวย แสดงความเปรียบ เพียงแตกลาววาใหตัดใจเหมือนเมื่อครั้งแตหนหลัง ใช
แมนาํ้ ลําคลองจํานวนมาก การตัง้ ถิน่ ฐานบานเรือนของประชาชน จึงมักตัง้ อยูร มิ แหลงนํา้ คําวาเหมือนในความหมายตรงไปตรงมา ตอบขอ 4.
วิถชี วี ติ ของคนไทยในอดีตจึงใชแมนาํ้ ลําคลองเปนทางสัญจร คมนาคมขนสง นอกจากนี้
ยังใชแมนํ้าในการชลประทาน การเกษตร การประมง และการอุปโภคบริโภคใน
ชีวิตประจําวัน

174 คู่มือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับคุณคาดานสังคม
จากบทประพันธ์สะท้อนให้เห็นว่าในสมัยอดีต ผู้คนสร้างสิ่งก่อสร้างที่เป็นได้ทั้งที่อยู่ ในประเด็นคําถามดังตอไปนี้
อาศัยและพาหนะในการเดินทางอยู่ริมน�้า ในที่นี้คือ แพ ซึ่งสามารถพักอาศัยได้และเมื่อต้องการย้ายถิ่น • นิราศเมืองแกลงสะทอนใหเห็นสภาพบาน
ก็สามารถใช้แพเป็นพาหนะในการเดินทาง เมืองอยางไร
๒) สะท้อนให้เห็นความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ นิราศเมืองแกลงได้สะท้อน (แนวตอบ การคมนาคมทางนํ้าโดยใชเรือ
ให้เห็นว่าในสมัยอดีตสภาพของธรรมชาติยังคงมีความอุดมสมบูรณ์ ดังบทประพันธ์ เพราะเปนการเดินทางที่สะดวกที่สุดในยุค
นั้น บานเรือนที่อยูอาศัยนิยมตั้งอยูริมนํ้า
จะเหลียวซ้ายแลขวาก็ป่าแสม ตะลึงแลปูเปี้ยวเที่ยวไสว
เพื่อความสะดวกในการนํานํ้ามาใชอุปโภค
.......................................................... ...................................................
บริโภคและการสัญจรทางเรือ และการ
ตะลึงแลแต่ล้วนลูกจระเข้ โดยคะเนมากมายทั้งซ้ายขวา
ประกอบอาชีพของคนไทยในถิ่นตางๆ เชน
สักสองร้อยลอยไล่กินลูกปลา เห็นแต่ตากับจมูกเหมือนตุ 1 ๊กแก ชาวประมง ชาวสวน เปนตน)
โอ้คลองขวางทางแดนแสนโสทก ดูบนบกก็แต่ล้วนลิงแสม
.......................................................... ...................................................
ขยายความเข้าใจ Expand
จากบทประพั น ธ์ จ ะเห็ น ว่ า กวี ไ ด้ พ รรณนาให้ เ ห็ น ภาพของสั ต ว์ น�้ า ที่ มี อ ยู ่ ชุ ก ชุ ม
นักเรียนอธิบายลักษณะทางกายภาพของ
หรือบริเวณป่าแสมที่มีสัตว์อาศัยอยู่ ได้แก่ ปูเปี้ยว ลูกจระเข้ ปลา ลิงแสม ซึ่งสัตว์แต่ละชนิด
จังหวัดระยองแลวเปรียบเทียบความแตกตาง
ต่างมีความส�าคัญต่อระบบนิเวศทั้งสิ้น
ระหวางอดีตกับปจจุบัน
๓) สะท้อนวิถีชีวิตของผู้คน การประกอบอาชีพหรือการท�ามาหากินเป็นไปตาม
(แนวตอบ ตัวอยางเชน ที่อยูอาศัยในปจจุบัน
สภาพแวดล้อม เช่น อาชีพประมง ชาวบ้านจะตั้งบ้านเรือนริมทะเล มีเรือแพ มีเครื่องมือในการจับ
เปนตึกรามบานชองที่แข็งแรง ถาวร อยูบทบาทวิถี
สัตว์น�้า เช่น โป๊ะล้อม อวน ข้อง ชาวบ้านผู้หญิงจะถีบกระดานถือตะกร้าเก็บหอย นอกจากคนไทยแล้ว
ไมติดริมทะเลมากนัก การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของ
ยังมีคนจีนที่เข้ามาประกอบอาชีพชาวประมง และท�ามาหากินในเมืองไทย ดังบทประพันธ์
คนในพื้นที่จากอดีตที่พึ่งพาธรรมชาติมาเปนงาน
ดูเรือแพแต่ละล�าล้วนโปะโหละ พวกเจ๊กจีนกินโต๊ะเสียงโหลเหล ในโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ ที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น
บ้างลุยเลนล้วงปูดูโซเซ สมคะเนใส่ข้องเที่ยวมองคอย มากในปจจุบัน พื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณในอดีต
อันนารีที่ยังสาวพวกชาวบ้าน ถีบกระดานถือตะกร้าเที่ยวหาหอย ปจจุบันมีการปรับแตงภูมิทัศนเปนทําเลในการ
ดูแคล่วคล่องล่องแล่นแฉลบลอย เอาขาห้อยท�าเป็นหางไปกลางเลน สรางสถานที่ทองเที่ยว และโรงแรมที่พักตางๆ)
จากบทประพันธ์สะท้อนให้เห็นวิถีชีวิตของชาวจีนที่ประกอบอาชีพประมง ส่วนค�าว่า
“กินโต๊ะ” เป็นส�านวนที่ใช้พูดกันมาแต่โบราณ คือ ชาวจีนจะกินอาหารรวมกันบนโต๊ะ จึงเกิดส�านวนว่า
“กินโต๊ะ” ขึ้น และยังเห็นการท�ามาหากินของชาวบ้านที่จะหาปูเวลาน�้าลด ต้องลุยเลนไปจับปู เมื่อได้
แล้วก็จะน�าใส่ในข้องซึ่งเป็นภาชนะปากแคบก้นพอง สานด้วยไม้ไผ่ ส่วนชาวบ้านสาวๆ จะถีบกระดาน
หาหอยไปตามเลน ซึ่งการถีบกระดานจะต้องรู้จักวิธีการถีบไปตามเลน นั่นคือต้องยกขาข้างหนึ่ง
เพื่อถ่วงน�้าหนักไม่ให้ล้ม การหาหอยตามเลนนี้ยังมีอยู่จนปัจจุบัน
175

กิจกรรมสรางเสริม
นักเรียนควรรู
นักเรียนหาภาพหรือวาดภาพจากบทประพันธที่สะทอนวิถีชีวิตของคน 1 แสม อานวา สะ-แหฺม เปนคําพองรูป เขียนเหมือนกันออกเสียงเหมือนกัน
สมัยกอนในนิราศเมืองแกลง เชน การถีบดานหาหอยไปตามเลน การตั้ง แตความหมายตางกัน ดังนี้
บานริมนํ้า การกินโตะ เปนตน 1. ชื่อไมตน มี3 ชนิด คือ แสมขาว แสมทะเล และ แสมดํามีราก หายใจ
ลักษณะเปนแทงตั้งตรง
2. ชื่อปูหลายชนิดอยูตามปาแสม
กิจกรรมทาทาย 3. ชื่อลิงชนิดหนึ่งเปนลิงไทยที่มีหางยาวที่สุด คือ ยาวเทากับ ความยาวของ
หัวและลําตัวรวมกัน ตัวสีนํ้าตาลอมเทา ขน หัวสั้นและวนเปนรูปขวัญ
อาศัยอยูรวมกันเปนฝูง พบทุก ภาคของประเทศไทย กินพืช แมลง และปู
นักเรียนสืบคนชนิดของเรือที่ใชในยุคของกวีวามีเรือชนิดใดบาง และมี แสม
การใชเรือในการเลี้ยงชีพหรือในการดําเนินชีวิตอยางไร บันทึกลงในสมุด 4. ชื่อกุงทะเลหลายชนิด ลักษณะคลายกุงแชบวย แตมีสันกลางดาน หลัง
สงครู ปลองทอง

คู่มือครู 175
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู Explain
นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับคุณคาดานสังคม
ในประเด็นคําถามดังตอไปนี้ นอกจากนี้ยังสะท้อนให้เห็นถึงการด�ารงชีวิตของผู้คน ชาวบ้านสมัยก่อนจะยังชีพด้วย
• นิราศเมืองแกลงสะทอนความอุดมสมบูรณ การหาอาหารตามแต่ที่จะหามาได้ ดังบทประพันธ์
ทางธรรมชาติอยางไร
เวลาเช้าก็ชวนกันออกป่า มันโม้หมาไล่เนื้อไปเหลือหลาย
(แนวตอบ จากการพรรณนาสิ่งที่พบเห็นริมขาง
พอเวลาสายัณห์ตะวันชาย ได้กระต่ายตะกวดกวางมาย่างแกง
ทางและในปาที่เดินทางผาน พบวามีความ ทั้งแย้บึ้งอึ่งอ่างเนื้อค่างคั่ว เขาท�าครัวครั้นไปปะขยะแขยง
อุดมสมบูรณดานระบบนิเวศมาก เชน บริเวณ ต้องอดสิ้นกินแต่ข้าวกับเต้าแตง จนเรี่ยวแรงโรยไปมิใคร่มี
ปาแสม ที่พบปูเปยว ลูกจระเข ปลา ลิงแสม อยู่บุรินกินส�าราญทั้งหวานเปรี้ยว ตั้งแต่เที่ยวยากไร้มาไพรศรี
เปนตน) แต่น�้าตาลมิได้พานในนาภี ปัถวีวาโยก็หย่อนลง
• นิราศเมืองแกลงสะทอนวิถีชีวิตของผูคน
อยางไร จากบทประพันธ์สะท้อนให้เห็นถึงการยังชีพที่พึ่งพาธรรมชาติเป็นหลัก ผู้ที่อยู่ในป่า
(แนวตอบ ผูคนประกอบอาชีพหลักที่สอดคลอง ก็ใช้วิธีหาของป่า ล่าสัตว์มาปรุงเป็นอาหาร เช่น กระต่าย ตะกวด กวาง แย้ บึ้ง อึ่งอ่าง ค่าง ในขณะที่
กับสิ่งแวดลอม เชน อาชีพประมง ชาว สุนทรภู่ใช้ชีวิตอยู่ในวังมีอาหารให้เลือกรับประทานมากมาย จึงไม่คุ้นเคยกับการรับประทานอาหารป่า
ประมงจะพักอาศัยอยูริมทะเล และมีเครื่องมือ ๔) สะท้อนความเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ชาวบ้านจะมีความเชื่อถือในสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือ
ในการดักจับสัตวเพื่อนํามาเปนอาหาร ไดแก อ�านาจทีม่ องไม่เห็น เมือ่ ประสบกับเหตุการณ์วกิ ฤตในชีวติ และไม่สามารถหาทางออกได้ จะใช้วธิ บี นบาน
โปะลอม อวน ของ) ศาลกล่าวเพื่อให้เกิดความสบายใจ คลายกังวล ซึ่งนิราศเมืองแกลงได้สะท้อนให้เห็นโดยสอดแทรกไว้
ดังบทประพันธ์
1
ขยายความเขาใจ Expand ถึงสามปลื้มพี่นี้ร�่าปล�้าแต่ทุกข์ สุดจะปลุกใจปลื้มให้ลืมหลัง
ขออารักษ์หลักประเทศนิเวศน์วัง เทพทั้งเมืองฟ้าสุราลัย
นักเรียนยกบทประพันธจากนิราศเมืองแกลงที่
ขอฝากน้องสองรามารดาด้วย เอ็นดูช่วยปกครองให้ผ่องใส
สะทอนความเชื่อเรื่องกรรม นอกเหนือจากตัวอยาง ตัวข้าบาทจะนิราศออกแรมไพร ให้พ้นภัยคลาดแคล้วอย่าแผ้วพาน
ในหนังสือเรียนหนา 176 -177
(แนวตอบ นักเรียนตอบไดหลากหลายขึ้นอยูกับ จากบทประพันธ์สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ กล่าวคือ เมื่อสุนทรภู่
เหตุผลของนักเรียน เดินทางออกจากวัง มีความเป็นห่วงมารดาและคนรักจึงบอกกล่าวกับเทวดาให้ช่วยดูแล ปกป้องคน
ตัวอยางเชน ตอนที่กวีเห็นชาวประมงและ ทั้งสอง รวมทั้งคุ้มครองตนเองให้เดินทางโดยปลอดภัย
บานเรือนที่พักอาศัย ก็ทําใหคิดวาการที่ผิดหวังใน ๕) สะท้อนความเชื่อเรื่องกรรม คนไทยมีความเชื่อเรื่องกฎแห่งกรรมว่า สิ่งต่างๆ
ความรักเปนเพราะบาปกรรมที่ทํามาแตหนหลัง ที่เกิดขึ้นล้วนมีผลมาจากการกระท�าของตนเองทั้งสิ้น ดังบทประพันธ์
ดังความวา ถึงหย่อมย่านบ้านกร�่าพอค�่าพลบ ประสบพบเผ่าพงศ์พวกวงศา
“โอดูเรือนเหมือนอกเราไรคู ขึ้นกระฎีที่สถิตท่านบิดา กลืนน�้าตาก็ไม่ฟังเฝ้าพรั่งพราย
ผูใดดูจึงไมออกเอี่ยมสนาม ศิโรราบกราบเท้าให้เปล่าจิต ร�าคาญคิดอาลัยมิใคร่หาย
ตองสาปบาปหลังยังติดตาม ชะรอยกรรมท�าสัตว์ให้พลัดพราย จึงแยกย้ายบิตุราชญาติกา
ผูหญิงงามจึงไมมีปรานีเลย”)
176

ขอสอบเนน การคิด
เกร็ดแนะครู แนว  NT  O-NE T
กิจกรรมในการสอนความคิดรวบยอดในวรรณคดีแตละเรื่องนั้น ครูควรใหความ ถึงสามปลื้มพี่นี้รํ่าปลํ้าแตทุกข สุดจะปลุกใจปลื้มใหลืมหลัง
สําคัญกับคุณคาจากเรื่องทั้งเนื้อหา วรรณศิลป สังคมและขอคิด โดยใหนักเรียนบอก ขออารักษหลักประเทศนิเวศนวัง เทพทั้งเมืองฟาสุราลัย
คุณคาจากเรื่องที่เรียนไดมากกวาการไดรูและเขาใจเนื้อเรื่องวา ใคร ทําอะไร ที่ไหน บทประพันธขางตนสะทอนความเชื่อเรื่องใด
อยางไรเทานั้น ซึ่งครูอาจใหนักเรียนสรุปความคิดรวบยอดในแตละประเด็น แลว 1. ความเชื่อเรื่องกรรม
รวมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมก็ได 2. ความเชื่อเรื่องบาปบุญ
3. ความเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์
4. ความเชื่อเรื่องนรก-สวรรค
นักเรียนควรรู วิเคราะหคําตอบ บทประพันธขางตนกลาวถึงวัดสามปลื้มที่เมื่อกวีเดิน
ทางไปถึงก็ยิ่งทําใหคิดถึงความหลัง จึงไดขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายที่
1 สามปลื้ม เปนอารามหลวงชั้นโท ตั้งติดอยูกับยานสําเพ็ง เดิมเปนวัดราษฎร
สถิตในที่แหงนั้น จึงสรุปไดวาบทประพันธขางตน สะทอนเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์
ชื่อ “วัดนางปลื้ม” สรางขึ้นในสมัยอยุธยา ตอมาเรียก “วัดสามปลื้ม” ภายหลังไฟ
ตอบขอ 3.
ไหมไดรับการปฏิสังขรณและนอมเกลาฯ ถวายเปนอารามหลวงในรัชกาลพระบาท-
สมเด็จพระนัง่ เกลาเจาอยูห วั เมือ่ ประมาณป พ.ศ. 2368 จึงไดรบั พระมหากรุณาธิคณ

พระราชทานนามใหมวา “วัดจักรวรรดิราชาวาส”
176 คูมือครู
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับคุณคาดานสังคม
จากบทประพันธ์สะท้อนให้เห็นความเชื่อในเรื่องกรรม โดยสุนทรภู่หวนคิดถึงสิ่งที่ท�า ในประเด็นคําถามดังตอไปนี้
ให้ตนเองต้องพลัดพรากจากบิดาและญาติ อาจเป็นเพราะตนเองเคยท�าให้สตั ว์ตอ้ งพรากจากกัน จึงต้อง • จากเนื้อเรื่องสะทอนเรื่องความเชื่อเกี่ยวกับ
ได้รับกรรมตามสนอง ซึ่งความเชื่อเรื่องกรรมเป็นความเชื่อที่มีความผูกพันและมีอิทธิพลต่อความคิด สิ่งศักดิ์สิทธิ์อยางไรบาง
และการกระท�าของคนไทยเป็นอย่างมาก (แนวตอบ สะทอนความเชื่อเรื่องอํานาจที่
นอกจากนีย้ งั สะท้อนให้เห็นความเชือ่ ในเรือ่ งการยึดมัน่ ในศีลห้า ซึง่ สุนทรภูแ่ สดงให้เห็นว่า มองไมเห็น ความเชื่อเรื่องการขอพรจาก
การหาหอย หาปู หาปลามาขายหรือเป็นอาหารย่อมเป็นบาป ดังบทประพันธ์ เทวดาอารักษ)
• จากเนื้อเรื่องสะทอนเรื่องความเชื่อเกี่ยวกับ
จึงมั่งคั่งตั้งบ้านในการบาป แต่ต้องสาปเคหาให้สาสม กรรมเวร อยางไร
จะปลูกเรือนก็มิได้ใส่ปั้นลม ใครขืนท�าก็ระทมด้วยเพลิงลาม (แนวตอบ ผูแตงพยายามแสดงใหเห็นวาคนใน
๖) สะท้อนค่านิยมเรื่องความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ คนไทยทุกยุคทุกสมัยล้วนเป็นผู้มี สมัยกอนมีความเชื่อเรื่องเวรกรรม เชื่อวา
อัธยาศัยไมตรี มีน�้าใจต่อผู้อื่น ดังบทประพันธ์ ผลของการกระทําเปนเรื่องของกฎแหงกรรม
ทั้งสิ้น และสะทอนความเชื่อเรื่องการยึดมั่น
ตะวันคล้อยหน่อยหนึ่งถึงบางพระ ดูระยะบ้1านนั้นก็แน่นหนา ในศีล 5 การฆาสัตวเพื่อนํามาเปนอาหาร)
พอพบเรือนเพื่อนชายชื่อนายมา เขาโอภาต้อนรับให้หลับนอน
ขยายความเข้าใจ Expand
จากบทประพันธ์สะท้อนให้เห็นถึงความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่ผู้เดินทาง โดยการให้ที่พัก
ด้วยความเต็มใจ นักเรียนยกตัวอยางเหตุการณในชีวิตประจําวัน
นอกจากนีค้ วามเอือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่ยงั รวมไปถึงการให้อาหารแก่คนเดินทาง ดังบทประพันธ์ ของนักเรียนที่มีความสอดคลองกับคานิยมเรื่อง
ความเอื้อเฟอเผื่อแผ
เห็นไร่แตงแกล้งแวะเข้าริมห้าง ท�าถามทางชักชวนให้สรวลเส (แนวตอบ นักเรียนตอบไดหลายหลาย
พอเจ้าของแตงโมปะโลปะเล สมคะเนกินแตงพอแรงกัน คําตอบขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครู)
จากบทประพันธ์ ปะโลปะเล ค�านี้มีความหมายท�านองว่า “เอออวยด้วย” กล่าวคือ • นักเรียนคิดวาเพราะเหตุใดคานิยมเรื่อง
เมือ่ สุนทรภูแ่ ละผูร้ ว่ มคณะเดินทางมาถึงไร่แตงได้ถามทางจากเจ้าของไร่ ซึง่ เจ้าของไร่ได้แบ่งปันแตงโมให้ ความเอื้อเฟอเผื่อแผจึงสืบทอดมาถึงปจจุบัน
2 กนิ (แนวตอบ เพราะคานิยมเรื่องความเอื้อเฟอ
๗) สะท้อนค่านิยมในการขับเสภา ในนิราศเมืองแกลงกล่าวถึงการขับเสภาเรื่อง
ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างเข้าหอ เพือ่ ความเพลิดเพลินผ่อนคลายจากการเดินทาง ดังบทประพันธ์ เผื่อแผเปนคานิยมที่ดีงาม เปนแนวทางที่จะ
ทําใหคนในสังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข
ดูครึ้มครึกพฤกษาป่าสงัด ทะลุลัดตัดทะเลแหลมทองหลาง จึงมีการสั่งสอนสืบทอดตอๆ กันมา ดังจะ
ต่างเพลินเพลินเดินว่าเสภาพลาง ถูกขุนช้างเข้าหอหัวร่อเฮ เห็นไดจากสํานวนสุภาษิตของไทยหลาย
สํานวน เชน “นํ้าพึ่งเรือเสือพึ่งปา” เปนตน
จากบทประพันธ์สะท้อนให้เห็นค่านิยมของคนสมัยอดีตเมือ่ เหน็ดเหนือ่ ยจากการเดินทาง
คนในสังคมไดรับการขัดเกลาใหเปนคน
จะผ่อนคลายด้วยการขับเสภา เพือ่ เป็นเครือ่ งบันเทิงใจและท�าให้ลมื ความเมือ่ ยล้าจากการเดินทาง เอื้อเฟอเผื่อแผจะรักษาคานิยมที่ดีงามนี้ไว)
177

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T นักเรียนควรรู
ศิโรราบกราบเทาใหเปลาจิต รําคาญคิดอาลัยมิใครหาย
1 โอภา หมายความวา ทักทายดวยวาจาสุภาพ มีสํานวนไทยวา โอภาปราศรัย
ชะรอยกรรมทําสัตวใหพลัดพราย จึงแยกยายบิตุราชญาติกา
ซึ่งเปนบุคลิกลักษณะของคนไทยที่มักจะทักทายกันดวยความสนิทสนมเปนกันเอง
คําประพันธในขอใดมีแนวคิดตรงกัน
ไมถือตัว
1. ขออารักษศักดิ์สิทธิ์ที่สิงศาล ลือสะทานอยูวาเจาหาวกําแหง
2. แมนองตายพี่จะวายชีวิตดวย เปนเพื่อนมวยมิ่งแมไปเมืองผี 2 การขับเสภา ตองเคาะกรับประกอบการขับดวย สวนใหญแลว นิยมใชกรับ
3. จึงมั่งคั่งตั้งบานในการบาป แตตองสาปเคหาใหสาสม 2 คู โดยผูขับจะตองฝกเคาะกรับใหชํานาญเสียกอน จังหวะการเคาะดังนี้ การเริ่ม
4. ชะนีเพรียกเรียกชายอยูปลายยาง พี่เรียกนางนุชนองอยูในใจ เคาะ “เสียงกรอก” เสียงสั้น เปนเสียงเริ่มตนของมือขางหนึ่ง และ “เสียงกรอ” เปน
เสียงยาวของมืออีกขาง สลับไปมาสัก 3-4 ครั้ง จึงเริ่มเอื้อนสวน ทอนจบสุดทาย
วิเคราะหคําตอบ บทประพันธขางตนกลาวถึงวา เพราะเคยทําใหสัตว เมื่อจบลงแลวใหเคาะกรับไปประมาณ 4-5 ครั้งแลวลงกรับเสียงสั้น
พลัดพรากจากกัน จึงไดรับกรรมใหตองพลัดพรากจากบิดาและญาติพี่นอง
มีแนวคิดสําคัญ คือ เรื่องกรรม ขอที่มีแนวคิดตรงกัน คือ “จึงมั่งคั่งตั้งบาน
ในการบาป แตตองสาปเคหาใหสาสม” เพราะตั้งบานทําอาชีพที่กวีคิดวา มุม IT
เปนบาป ที่อยูอาศัยจึงไมสะดวกหรือปลอดภัยเหมือนโดนสาป ตอบขอ 3.
ศึกษาเกี่ยวกับการขับเสภาเพิ่มเติม ไดที่ http://thailitproject.tripod.com/
history/history.htm
คู่มือครู 177
ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Evaluate
ขยายความเข้าใจ Expand
นักเรียนพิจารณาขอคิดทีส่ ามารถนําไปประยุกต
ใชในชีวิตประจําวันในหนา 178 แลวเสนอแนวทางที่ ๗.๔ ข้อคิดที่สามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวัน
จะนําขอคิดดังกลาวไปใชในชีวติ ประจําวัน นิราศเมืองแกลง คือ วรรณคดีทสี่ นุ ทรภูป่ ระพันธ์ขนึ้ เพือ่ ให้ความบันเทิง ความสนุกสนาน
ของนักเรียนเอง เพลิดเพลินให้เกิดแก่ผู้อ่านเป็นหลัก มุ่งถ่ายทอดอารมณ์ความรักและอาลัย สะท้อนสภาพสังคมและ
• นักเรียนจะนําขอคิดที่ไดไปประยุกตใชใน วิถชี วี ติ ของผูค้ นอย่างตรงไปตรงมา นอกจากนีผ้ อู้ า่ นยังสามารถน�าข้อคิดมาปรับใช้ในชีวติ ประจ�าวัน ดังนี้
ชีวิตประจําวันของตนเองไดอยางไรบาง ๑) ให้รักษาความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ นิราศเมืองแกลงได้สะท้อนให้เห็นว่า
(แนวตอบ สามารถนําขอคิดไปประยุกตใชใน วิถีชีวิตและการประกอบอาชีพของคนต้องอาศัยธรรมชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการท�าประมง นิราศ
ชีวิตประจําวันไดดังนี้ เมืองแกลงไม่ได้สอนให้เรารักษาความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติโดยตรง แต่สะท้อนให้เห็นว่ามนุษย์
• การปฏิบัติที่จะชวยอนุรักษธรรมชาติ ใช้ประโยชน์จากธรรมชาติมายาวนาน เราในฐานะคนรุ่นหลัง จึงควรที่จะคืนความอุดมสมบูรณ์ให้แก่
สามารถทําไดหลายวิธี เชน ไมทิ้งขยะลง ธรรมชาติ สามารถเริม่ ได้ทตี่ วั เรา โดยการใช้ทรัพยากรธรรมชาติทมี่ อี ยูอ่ ย่างจ�ากัดให้เกิดประโยชน์อย่าง
แมนํ้าลําคลอง ไมเผาขยะ ไมตัดไมทําลาย แท้จริง ไม่ฟมุ่ เฟือย ไม่กระท�าการใดๆ ทีจ่ ะท�าลายความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ
ปา เปนตน ๒) ให้ตอบแทนพระคุณของบิดามารดาในขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ นิราศเมืองแกลง
• การตอบแทนพระคุณบิดามารดาที่งายที่สุด ได้สะท้อนให้เห็นว่าการตอบแทนพระคุณของบิดามารดาเป็นสิง่ ส�าคัญ ไม่จา� เป็นต้องให้ขา้ วของเครือ่ งใช้
คือ การประพฤติตนเปนคนดีไมทําใหบิดา หรือเงินทอง การระลึกถึงพระคุณของท่านนับเป็นสิง่ ส�าคัญทีบ่ ตุ รควรกระท�าต่อบิดามารดา เหมือนดังที่
มารดาเดือดรอนกายและใจ ตั้งใจเรียน สุนทรภูไ่ ด้เดินทางไปเยีย่ มบิดาทีบ่ า้ นกร�่าในครัง้ นี ้ การตอบแทนพระคุณหรือการระลึกถึงพระคุณของบิดา
หนังสือเพื่อใหบิดามารดาภาคภูมิใจ
มารดาเป็นสิง่ อันประเสริฐ หากบุตรผูใ้ ดสามารถกระท�าได้ยอ่ มน�ามาซึง่ ความเจริญรุง่ เรืองของชีวติ
• การมีความเอื้อเฟอเผื่อแผที่กระทําไดงาย
๓) ให้มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ นิราศเมืองแกลงสะท้อนให้เห็นว่า การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
ที่สุดคือ การเมตตาตอผูอื่นดวยการให
ซึ่งกันและกัน เป็นคุณธรรมประการหนึ่งที่จะท�าให้คนในสังคมอยู่ร่วมกันได้อย่างปกติสุข มนุษย์
ความชวยเหลือเมื่อเพื่อนไดรับความเดือด
ผู้มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ย่อมจะเป็นที่รักของบุคคลอื่นและยังเป็นตัวอย่างที่ดีให้แก่บุคคลอื่นได้อีกด้วย
รอน แบงปนสิ่งของจําเปนแกเพื่อนมนุษย
๔) ให้ระลึกถึงผลอันเกิดจากการกระทำาของตน นิราศเมืองแกลงได้สะท้อนข้อคิด
ที่ไดรับความลําบาก
ประการนี้ผ่านบทประพันธ์ของท่าน กล่าวคือ มนุษย์ย่อมได้รับผลจากการกระท�าของตนเอง ดังนั้น
• ผลจากกระทําความดีจะทําใหชีวิตประสบ
ความสําเร็จ เจริญรุงเรือง สวนผลแหง จึงควรระลึกไว้เสมอว่า ควรใช้สติในการด�าเนินชีวิต ไม่สร้างความเดือดร้อน และเบียดเบียนชีวิตของ
การกระทําความชั่ว คือ การดําเนินชีวิต ผู้อื่น บุคคลที่ปฏิบัติตนได้เช่นนั้นย่อมได้รับสิ่งที่ดีตอบแทน
ลมเหลว ไมมีความมั่นคงในชีวิต ดังนั้น
จงกระทําแตความดี) การอ่านพิจารณาคุณค่าวรรณคดี ผู้อ่านควรรู้จักพิจารณาและวิเคราะห์ดูจาก
ข้อความต่าง ที่ปรากฏอยู่ในวรรณคดีเรื่องนั้น เพราะในแต่ละถ้อยคÓที่กวีน�ามา
เรียงร้อยเป็นเรื่องราวนั้น ล้วนมีพื้นฐานอยู่บนวิถีชีวิตและสภาพความเป็นอยู่ทางสังคม
หรือเหตุการณ์ต่าง นอกจากถ้อยคÓอันไพเราะคล้ 1 องจองจากสัมผัสในที่สุนทรภู่สรรคÓ
มาใช้ จินตนาการอันเกิดจากการเปรียบเทียบ ภาพสะท้
บ อนทางสังคมในยุคสมัยนั้นแล้ว
นิราศเมืองแกลงยังใช้ศึกษาประวัติของสุนทรภู่ได้อีกทางหนึ่งด้วย
178

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
ขอใดไมใช ลักษณะของนิราศ
1 จินตนาการอันเกิดจากการเปรียบเทียบ จินตนาการ เปนเรื่องเกี่ยวของกับ 1. สตรีหึงหนึ่งแพศยาหญิง ทั้งสองสิ่งอยาไดชิดพิสมัย
จินตภาพ คือ การสรางภาพในสมอง หรือนึกคิดเปนภาพ จึงเกี่ยวของกับความคิด 2. จะมีคูมิไดอยูประคองเชย ตองละเลยดวงใจไวไกลตา
สรางสรรคอยางเลี่ยงไมได ถือเปนทักษะเบื้องตนของความคิดสรางสรรค สวนมาก 3. โอจําใจไกลนุชสุดสวาท จึงนิราศเรื่องรักเปนอักษร
การฝกหัดการพัฒนาการจินตนาการ จะเนนความคิดสรางสรรคดวยถอยคํา คือ 4. ทั้งจากแดนแสนหวงดวงกานดา โออุรารุมรอนออนกําลัง
เปนการคิดที่ผิดแผกไป เปาหมายเพื่อเปลี่ยนทิศทางมากกวากรรมวิธีคิด
ในบทประพันธตางๆ จะมีลักษณะถอยคําโวหารอยูมาก ซึ่งเปนการแสดง วิเคราะหคําตอบ ลักษณะที่บงบอกวาความใดเปนนิราศนอกจากจะตองมี
การเปรียบเทียบหรือเปรียบเปรยของสิ่งหนึ่งไปกับสิ่งอื่น เชน ความโงดุจดังลา การกลาวถึงการเคลื่อนที่ทั้งเวลาและสถานที่แลว ยังตองพิจารณาจาก
ความแข็งเหมือนหิน ความรวดเร็วปานพายุ เปนตน หรือไมก็ขยายคุณสมบัติของ เนื้อความวา พรรณนาครํ่าครวญถึงนางผูเปนที่รักหรือไม ขอที่ไมไดแสดง
สิ่งหนึ่งที่มีประโยชนเฉพาะไปสูประโยชนอื่นที่เปนไปได เชน กําหนดประโยชนอื่น ความรูสึกอาลัยรักตอนาง จึงไมใชลักษณะของนิราศ ดังวา “สตรีหึงหนึ่ง
ของหมวก ของเครื่องเหลาดินสอ หรือของอิฐกอสราง เปนตน แพศยาหญิง ทั้งสองสิ่งอยาไดชิดพิสมัย” ไมไดกลาวถึงความอาลัยรักแต
อยางใด ตอบขอ 1.

178 คู่มือครู
ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ Evaluate
Engage Explore Explain Expand
ตรวจสอบผล Evaluate
1. นักเรียนยกตัวอยางประพันธที่มีความโดดเดน
ในดานวรรณศิลป
2. นักเรียนยกเหตุการณในชีวิตประจําวันที่
ค�ำถำม ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้
สอดคลองกับคานิยมเรื่องความเอื้อเฟอเผื่อแผ
๑. วรรณคดีนิราศมีลักษณะอย่างไร จงอธิบายพอสังเขป 3. นักเรียนเสนอแนวทางในการนําขอคิดที่ได
๒. ให้นักเรียนยกตัวอย่างสถานที่ส�าคัญที่สุนทรภู่เดินทางผ่าน คนละ ๑ แห่ง และอธิบายว่าพบเห็นสิ่งใด จากเรื่องนิราศเมืองแกลงไปประยุกตใชใน
ที่ส�าคัญบ้าง ชีวิตประจําวัน
๓. “กระแสชลวนเชี่ยวเรือเลี้ยวลด ดูค้อมคดขอบคุ้งคงคาไหล
แต่สาชลเจียวยังวนเป็นวงไป นี่หรือใจที่จะตรงอย่าสงกา”
บทประพันธ์ข้างต้นให้แง่คิดในเรื่องใด และตรงกับส�านวนไทยว่าอย่างไร จงอธิบายโดยยกเหตุผล
ประกอบ หลักฐานแสดงผลการเรียนรู
๔. ให้นักเรียนยกตัวอย่างบทประพันธ์ที่แสดงสภาพทางสังคมในสมัยก่อนมาหนึ่งตอน และแสดง
ความคิดเห็นว่าเหมือนหรือต่างจากสภาพสังคมในปัจจุบันอย่างไร 1. การยกบทประพันธของสุนทรภูที่นักเรียนสนใจ
๕. ให้นักเรียนยกตัวอย่างบทประพันธ์ในเรื่องที่นักเรียนเห็นว่าให้จินตภาพเด่นชัดที่สุด พร้อมทั้งอธิบาย 2. บัตรคําชื่อสถานที่ในนิราศเมืองแกลง
เหตุผลประกอบ 3. การถอดคําประพันธตามที่กําหนด
4. สมุดบันทึกคําศัพท
5. การนําเสนอแนวทางการนําขอคิดในนิราศ
กิจกรรม สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้
เมืองแกลงไปใชในชีวิต
กิจกรรมที่ ๑ ฝ ึกอ่านท�านองเสนาะกลุ่มหรือรายบุคคลจากเรื่อง โดยอาศัยแบบอย่างจากครูผู้สอน
หรือบุคคลอื่นที่มีลีลาการอ่านไพเราะน่าฟัง เมื่ออ่านจบแล้วให้นักเรียนสรุปให้ได้ว่า
สุนทรภู่บอกอะไรแก่ผู้อ่าน

กิจกรรมที่ ๒ ให้นักเรียนเลือกท�ากิจกรรมดังต่อไปนี้
• จับคู่แต่งกลอนนิราศ บรรยายเส้นทางการเดินทางจากบ้านมาโรงเรียน ความยาว
ไม่เกิน ๑๐ บท
• ให้นักเรียนเลือกบทประพันธ์ในนิราศเมืองแกลงที่นักเรียนประทับใจ ๑ บท
วาดภาพระบายสีตามจินตนาการให้สวยงามและเขียนบรรยายใต้ภาพ พอสังเขป

กิจกรรมที่ ๓ ใ ห้นักเรียนศึกษาค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต เลือก


หัวข้อจากนิราศเมืองแกลงที่น่าสนใจ เรียบเรียงความคิด แล้วออกมารายงาน
หน้าชั้น ใช้เวลาในการรายงานคนละ ๒ - ๓ นาที ดังตัวอย่างหัวข้อ ดังนี้
• ประโยชน์ของสมุนไพรไทย • สถานที่ท่องเที่ยวส�าคัญในประเทศไทย
• การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน

179

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู
1. วรรณคดีนิราศ เปนการพรรณนาสิ่งที่พบเห็นระหวางการเดินทาง ตองมีการเดินทางจากถิ่นเดิมสูถิ่นอื่นและมีการครํ่าครวญถึงนางอันเปนที่รัก
2. สถานที่ คือ หัวตะเข พบศาลเทพา และมีลูกจระเขลอยคออยู
3. ขนาดสายนํ้ายังคดเคี้ยวไปตามคุงนํ้า ใจคนก็คงคดเคี้ยวเชนกัน ตรงกับสํานวนไทยที่ วา “ใจมนุษยยากแทหยั่งถึง”
4. “ถึงสําเพ็งเกงตั้งริมฝงนํ้า แพประจําจอดเรียงเคียงขนาน
มีซุมซอกตรอกนางเจาประจาน ยังสําราญรองขับไมหลับลง”
สะทอนภาพสังคมในยุคกอนที่สําเพ็งจะมีเกง (รถลาก) ไวบริการ เนื่องจากในยุคนั้นรถยนตยังไมเปนที่นิยมมากนัก มีแพจอดอยูริมนํ้าและมีซอยที่มีสถานบริการ
ซึ่งแตกตางจากในปจจุบันเพราะปจจุบัน “สําเพ็ง” กลายเปนแหลงธุรกิจที่มีแตตึกอาคารเรียงราย มีรถยนตวิ่งในถนนและสถานบริการที่เปดตามตรอกซอยไดถูกปด
ไปหมดแลว
5. “จะกลืนขาวในคราวโศกในทรวงเสียว เหมือนขืนเคี้ยวกรวดแกลบใหแสบศอ” แสดงความทุกขลําบากไดอยางแจมชัด ใชภาพพจนอุปมาเปรียบการฝนกลืนขาว
เมื่อยามทุกขวา เหมือนฝนเคี้ยวฝนกลืนกรวดและแกลบจนแสบคอ

คู่มือครู 179
กระตุน้ ความสนใจ ส�ารวจค้นหา
Engage Explore อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Explain Expand Evaluate
เปาหมายการเรียนรู
1. วิเคราะหคุณคางานประพันธที่อานและฟงได
2. บอกคุณคาของงานประพันธที่ทองจําได
บทอาขยาน
3. ประยุกตบทประพันธที่มีคุณคามาใชใน
ชีวิตประจําวันได ๑ การท่องจำาบทอาขยาน
ค�ำว่ำ อาขยาน (อำ - ขะ - หฺยำน) ตำมควำมหมำยจำกพจนำนุกรมฉบับรำชบัณฑิตยสถำน
กระตุน้ ความสนใจ Engage พุทธศักรำช ๒๕๕๔ หมำยถึง บทท่องจ�ำ, กำรเล่ำ, กำรบอก, กำรสวด, เรื่อง, นิทำน
ตั้งแต่พุทธศักรำช ๒๕๔๒ เป็นต้นมำ กระทรวงศึกษำธิกำรได้ก�ำหนดให้มีกำรท่องบทอำขยำน
ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับจุดมุงหมายใน
ในสถำนศึกษำขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้นักเรียนมีโอกำสท่องจ�ำบทร้อยกรองที่มีควำมไพเรำะ ให้คติสอนใจ
การทองจําบทอาขยาน จากนั้นครูถามนักเรียนวา
ซึ่งเป็นกำรส่งเสริมให้นักเรียนเกิดควำมซำบซึ้ง เห็นควำมงดงำมทำงภำษำ และเห็นคุณค่ำของภำษำ
นักเรียนเคยทองจําบทอาขยานจากวรรณคดีเรื่องใด
บาง และมีความประทับใจอะไรในบทอาขยานนั้น และวรรณคดีไทยที่เป็นเอกลักษณ์และมรดกทำงวัฒนธรรมของชำติซึ่งควรค่ำแก่กำรรักษำและสืบสำน
อยางไร ให้คงอยู่ตลอดไป รวมทั้งยังช่วยกล่อมเกลำจิตใจให้น�ำไปสู่กำรด�ำเนินชีวิตที่ดีงำมอีกด้วย
(แนวตอบ นักเรียนแสดงเหตุผลไดหลากหลาย) วัตถุประสงค์ในการอ่าน 1
๑. เพื่อให้ตระหนักในคุณค่ำของภำษำไทย และซำบซึ้งในควำมไพเรำะของบทร้ ะของบทร้อยกรอง
ส�ารวจค้นหา Explore ๒. เพื่อให้เกิดควำมภำคภูมิใจในควำมสำมำรถของกวีไทย
1. นักเรียนศึกษาวัตถุประสงคของการทองจํา ๓. เพื่อเป็นพื้นฐำนในกำรแต่งค�ำประพันธ์
บทอาขยาน เพื่อใหนักเรียนทองจําบทอาขยาน ๔. เพื่อเป็นสื่อในกำรถ่ำยทอดคุณธรรม คติธรรม และข้อคิดที่เป็นประโยชน์แก่เยำวชน
ไดอยางถูกตองตรงตามวัตถุประสงค ๕. เพื่อส่งเสริมให้มีจิตส�ำนึกทำงวัฒนธรรมของคนในชำติ
2. นักเรียนศึกษาคุณคาดานตางๆ ของ บทอำขยำนที่ก�ำหนดให้ท่องจ�ำ แยกประเภทได้ ดังนี้
บทประพันธที่คัดเลือกใหเปนบทอาขยาน บทหลัก หมำยถึง บทอำขยำนที่กระทรวงศึกษำธิกำรก�ำหนดให้นักเรียนท่องจ�ำเพื่อควำมเป็น
อันหนึ่งอันเดียวกันทั่วประเทศ ส่วนใหญ่คัดเลือกจำกวรรณคดีที่ก�ำหนดให้เรียนตำมประกำศกระทรวง
ศึกษำธิกำร
บทเลือก หมำยถึง บทอำขยำนที่นักเรียนท่องตำมควำมสนใจมิได้เป็นกำรบังคับ โดยอำจ
เลือกท่องจำกบทอำขยำนที่กระทรวงศึกษำธิกำรคัดเลือกไว้ หรือบทประพันธ์ที่ครูผู้สอนแนะน�ำ
เพิ่มเติม หรือเป็นบทอำขยำนที่นักเรียนชอบ นักเรียนแต่งขึ้นเอง หรือผู้ปกครอง ผู้มีควำมสำมำรถ
ในท้องถิ่นแต่งขึ้นก็ได้ กำรที่นักเรียนรู้จักคัดเลือกบทประพันธ์ที่มีคุณค่ำและท่องจ�ำไว้ใช้ประโยชน์
ย่อมแสดงถึงควำมเป็นผู้รู้จักคิด ควำมเป็นผู้มีเหตุผล มีสุนทรียรสทำงภำษำ ท�ำให้นักเรียนภูมิใจ
ในกำรท่องบทอำขยำนมำกยิ่งขึ้น

180

บูรณาการเชื่อมสาระ
เกร็ดแนะครู ครูบูรณาการความรูเรื่องบทอาขยานเขากับกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ
ครูจัดใหมีกิจกรรมการทองบทอาขยาน ซึ่งเปนแนวทางที่จะทําใหเยาวชนซึมซับ วิชา ดนตรี-นาฏศิลป ซึ่งมีความสัมพันธกันกับวรรณคดีไทย เพราะคนไทย
และชื่นชมวัฒนธรรมไทย การทองบทอาขยานอาจใหนักเรียนทองออกเสียงพรอม นิยมแตงโคลงกลอนใหมีสัมผัสคลองจองกัน และนํามาขับเปนทํานอง
เพรียงกันทั้งชั้น เพราะทําใหเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินและชวยพัฒนาความจํา หรือนํามารองเปนเพลง เชน บทดอกสรอย บทนิราศ และในทางกลับกัน
และที่สําคัญชวยใหคนที่ยังทองไมคลองสามารถทองตามเพื่อนได เกิดความมั่นใจ เมื่อรองเพลงคนไทยก็นิยมแตงเนื้อรองเปนกาพยกลอนเชนเดียวกัน เชน
เพลงกลอมเด็ก เพลงพื้นบาน เพลงมโหรี ครูบูรณาการใหนักเรียนเห็นวา
ทั้ง 2 วิชา วรรณคดีและดนตรี-นาฏศิลปตางก็เปนสิ่งที่ชวยเสริมคุณคา
นักเรียนควรรู ซึ่งกันและกันมาโดยตลอด

1 บทรอยกรอง คือ บทประพันธที่แตงขึ้นตามลักษณะบังคับของฉันทลักษณ


สามารถจําแนกออกเปนโคลง ฉันท กาพย กลอน ราย และลิลิต

180 คู่มือครู
อธิบายความรู้
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
1. นักเรียนศึกษาความรูเกี่ยวกับบทอาขยานและ
๒ บทอาขยานระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ตอบคําถามตอไปนี้
บทอาขยานหลัก • เพราะเหตุใดจึงกําหนดใหนักเรียนทองจํา
บทอาขยาน
1
บทเสภาสามัคคีเสวก (แนวตอบ เพราะจะทําใหนักเรียนเกิดความ
ตอน วิศวกรรมา ซาบซึ้งในบทประพันธ สงเสริมคุณคาทาง
อันชำติใดไร้ศำนติสุขสงบ ต้องมัวรบรำญรอนหำผ่อนไม่
เอกลักษณวัฒนธรรมไทย และบทอาขยาน
ณ ชำตินั้นนรชนไม่สนใจ ในกิจศิลปะวิไลละวำดงำม
จะชวยอบรม ขัดเกลาจิตใจใหดีงาม เพื่อให
แต่ชำติใดรุ่งเรืองเมืองสงบ ว่ำงกำรรบอริพลอันล้นหลำม เกิดความภาคภูมิใจในความสามารถของกวี
ย่อมจ�ำนงศิลปำสง่ำงำม เพื่ออร่ำมเรืองระยับประดับประดำ เปนพื้นฐานในการแตงคําประพันธ ถายทอด
อันชำติใดไร้ช่ำงช�ำนำญศิลป์ เหมือนนำรินไร้โฉมบรรโลมสง่ำ ขอคิด คติ คุณธรรมและประโยชนนําไปปรับ
ใครใครเห็นไม่เป็นที่จ�ำเริญตำ เขำจะพำกันเย้ยให้อับอำย ใชในชีวิตจริง และเพื่อใหตระหนักในคุณคา
ศิลปกรรมน�ำใจให้สร่ำงโศก ช่วยบรรเทำทุกข์ในโลกให้เหือดหำย ของภาษาไทย สงเสริมสํานึกทางวัฒนธรรม
จ�ำเริญตำพำใจให้สบำย อีกร่ำงกำยก็จะพลอยสุขสรำญ แหงชาติ)
แม้ผู้ใดไม่นิยมชมสิ่งงำม เมื่อถึงยำมเศร้ำอุรำน่ำสงสำร
เพรำะขำดเครื่องระงับดับร�ำคำญ โอสถใดจะสมำนซึ่งดวงใจ
เพรำะกำรช่ำงนี้ส�ำคัญอันวิเศษ ทุกประเทศนำนำทั้งน้อยใหญ่
จึงยกย่องศิลปกรรม์นั้นทั่วไป ศรีวิไลวิลำสดีเป็นศรีเมือง

2
โคลงสุภาษิต พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
เพราะท�าความดีทั่วไป
ท�ำดีไป่เลือกเว้น ผู้ใด ใดเฮย
แต่ผูกไมตรีไป รอบข้ำง
ท�ำคุณอุดหนุนใน กำรชอบ ธรรมนำ
ไร้ศัตรูปองมล้ำง กลับซ้องสรรเสริญ

181

กิจกรรมสรางเสริม
นักเรียนควรรู
นักเรียนพิจารณาบทอาขยานบทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา 1 บทเสภา เปนกลอนลํานําสําหรับขับรอง ใชทํานองขับไดหลายทํานอง มีกรับ
วากลาวถึงศิลปะไทยอะไรบาง นักเรียนรวบรวมและบันทึกลงสมุด เปนเครื่องประกอบสําคัญ ผูขับจะตองขยับกรับใหเขากับทํานองดวย บางครั้งก็ใช
ขลุย ลํานําเสภานี้เดิมนิยมขับรองเปนเรื่องราว ภายหลังมีเรื่องขุนชางขุนแผนขึ้น
จึงนิยมขับเสภาเรื่องขุนชางขุนแผน
กิจกรรมทาทาย 2 โคลง การอานจะแบงจังหวะเปนจํานวนคํา คือ ระบุจํานวนคํา ไมไดระบุ
จํานวนพยางค หากมีจํานวนพยางคมากกวาจํานวนคําที่กําหนด ตองพิจารณา
รวบพยางคใหจังหวะไปตกตรงพยางคทายของคําที่ตองการ โดยอานรวบคําใหเร็ว
นักเรียนเลือกศิลปะไทยจากบทเสภาสามัคคีเสวกมา 1 แขนง ศึกษา และเบาอยางอานอักษรนํา
ประวัติของศิลปะดังกลาว จากนั้นอธิบายรายละเอียดของศิลปะดังกลาว
ใหชัดเจน จัดทําเปนใบงาน

คู่มือครู 181
อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate
อธิบายความรู้ Explain
นักเรียนอธิบายจังหวะและทํานองในการอาน
โคลงสี่สุภาพ เพราะถามฟังความก่อนตัดสิน
(แนวตอบ จังหวะหลักของโคลง จะตกตรงคําทาย
วรรคและทายบท ซึ่งมักเปนคําสงหรือรับสัมผัส 1 ยินคดีมีเรื่องน้อย ใหญ่ไฉน ก็ดี
ยัง บ่บ่ ลงเห็นไป เด็ดด้วน
การแบงจังหวะในแตละวรรค มีดังนี้ วรรคที่มี 5 คํา
ฟังตอบขอบค�ำไข คิดใคร่ ครวญนำ
จะแบงจังหวะเปน 3/2 หรือ 2/3 หรืออื่นๆ พิจารณา
ห่อนตัดสินห้วนห้วน เหตุด้วยเบำควำม
ที่ความหมายของคําเปนหลัก วรรคที่มี 4 คําจะแบง
จังหวะเปน 2/2 สวนวรรคที่มี 2 คํา ไมตองแบง เพราะคิดเสียก่อนจึงพูด
จังหวะ ทํานองของโคลงสี่สุภาพ คือ อานดวยเสียง พำทีมีสติรั้ง รอคิด
ระดับเดียวกันทั้งบท แตบางคําจะขึ้นลงสูงตํ่าตาม รอบคอบชอบแลผิด ก่อนพร้อง
เสียงของวรรณยุกต ยกเวนวรรคแรกของบาทที่ 3 ค�ำพูดพ่ำงลิขิต เขียนร่ำง เรียงแฮ
จะอานเสียงสูงกวาทุกวรรค 1 บันไดเสียง) ฟังเพรำะเสนำะต้อง โสตทั้งห่ำงภัย
เพราะขอโทษบรรดาที่ได้ผิด
ขยายความเข้าใจ Expand
ใดกิจผิดพลำดแล้ว ไป่ละ ลืมเลย
นักเรียนยกบทอาขยานหลักโคลงสุภาษิต หย่อนทิฐิมำนะ อ่อนน้อม
นฤทุมนาการมา 1 บท แลวขีดเสนแบงจังหวะ ขอโทษเพื่อคำรวะ วำยบำด หมำงแฮ
ใหถูกตองชัดเจน
ดีกว่ำปดอ้อมค้อม คิดแก้โดยโกง
(แนวตอบ ตัวอยางโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
เพราะไดกรุณาตอคนที่ถึงอับจน บทอาขยานเลือก
“กรุณา / นรชาติผู พองภัย พิบัติเฮย
ชวยรอด / ปลอดความกษัย สวางรอน วัฒนธรรม
ผลจัก / เพิ่มพูนใน อนาคต กาลแฮ ในโลกนี้มีอะไรเป็นไทยแท้ ของไทยแน่นั้นหรือคือภำษำ
ซึ่งผลิดอกออกผลแต่ต้นมำ รวมเรียกว่ำวรรณคดีไทย
ชนจักชู / ชือ่ ชอน ปางเบือ้ ง / ปจจุบนั ”)
อนึ่งศิลป์งำมเด่นเป็นของชำติ เช่นปรำสำทปรำงค์ทองอันผ่องใส
อีกดนตรีร�ำร่ำยลวดลำยไทย อวดโลกได้ไทยแท้อย่ำงแน่นอน
และอย่ำลืมจิตใจแบบไทยแท้ เชื่อพ่อแม่ฟังธรรมค�ำสั่งสอน
ก�ำเนิดธรรมจริยำเป็นอำภรณ์ ประชำกรโลกเห็นเรำเป็นไทย
แล้วยังมีประเพณีมีระเบียบ ซึ่งไม่มีที่เปรียบในชำติไหน
เป็นของร่วมรวมไทยให้คงไทย นี่แหละประโยชน์ในประเพณี
ได้รู้เช่นเห็นชัดสมบัติชำติ เหลือประหลำดล้วนเห็นเป็นศักดิ์ศรี
ล้วนไทยแท้ไทยแน่ไทยเรำมี สิ่งเหล่ำนี้คือวัฒนธรรม

182

บูรณาการเชื่อมสาระ
เกร็ดแนะครู ครูใหนักเรียนทองบทอาขยานวัฒนธรรม จากนั้นครูบูรณาการบท
ครูชี้ใหนักเรียนเห็นวาบทอาขยานเปนการสรางรากทางวัฒนธรรมรวมกัน อาขยานนี้เขากับกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เปนสื่อถายทอดคติธรรม คุณธรรม และขอคิดใหแกคนในชาติ ทั้งยังสงเสริม โดยใหนักเรียนแตงบทรอยกรองประเภทโคลง ฉันท กาพย กลอน หรือราย
จิตสํานึกทางวัฒนธรรมไดอยางดี ความไพเราะของบทอาขยานที่เปนรอยกรอง จํานวน 2 บทที่แสดงใหเห็นถึงเอกลักษณและคุณคาของวัฒนธรรมใน
เปนพื้นฐานของการแตงคําประพันธ ครูจึงควรสงเสริมใหนักเรียนทองบทอาขยาน ทองถิ่นของตนเอง
จนคลอง เกิดความซาบซึ้ง และสามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได

นักเรียนควรรู
1 บ เปนคําวิเศษณที่แสดงการปฏิเสธ อานวา บอ หมายถึง ไม นิยมใชในบาง
ทองถิ่น หนังสือเกา หรือกวีนิพนธ

182 คู่มือครู
ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ Expand Evaluate
Engage Explore Explain
ขยายความเข้าใจ Expand
นักเรียนทองบทอาขยานโคลงภาพพระราช
1 พงศาวดาร พระสุรโิ ยทัยขาดคอชาง จากนัน้ บอก
โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
ขอคิดทีไ่ ดจากโคลงภาพพระราชพงศาวดาร
พระสุริโยทัยขาดคอช้าง พระสุรโิ ยทัยขาดคอชางที่นักเรียนสามารถนําไป
บังอรอัคเรศผู้ พิสมัย ท่ำนนำ ปรับใชในชีวิตจริงได
นำมพระสุริโยทัย ออกอ้ำง (แนวตอบ ขอคิดที่ไดจากโคลงภาพพระราช
ทรงเครื่องยุทธพิไชย เช่นอุป รำชแฮ พงศาวดาร พระสุริโยทัยขาดคอชาง คือ การเสีย
เถลิงคชำธำรคว้ำง ควบเข้ำขบวนไคล สละความสุขสวนตนเพื่อประโยชนของสวนรวม
พลไกรกองน่ำเร้ำ โรมรัน กันเฮย และการกตัญูกตเวทีตอพระมหากษัตริยและ
ช้ำงพระเจ้ำแปรประจัญ คชไท้ ประเทศชาติ)
สำรทรงซวดเซผัน หลังแล่น เตลิดแฮ ตรวจสอบผล Evaluate
เตลงขับคชไล่ใกล้ หวิดท้ำยคชำธำร
1. นักเรียนแบงจังหวะการอานโคลงสุภาษิต
นงครำญองค์เอกแก้ว กระษัตรีย์
นฤทุมนาการได
มำนมนัสกัตเวที ยิ่งล�้ำ 2. นักเรียนบอกขอคิดที่ไดจากการทองจํา
เกรงพระรำชสำมี มลำยพระ ชนม์เฮย บทอาขยานในเรื่องที่กําหนด
ขับคเชนทรเข่นค�้ำ สะอึกสู้ดัสกร 3. นักเรียนยกบทประพันธที่ใหขอคิดในการ
ขุนมอญร่อนง้ำวฟำด ฉำดฉะ ดําเนินชีวิตได
ขำดแล่งตรำบอุระ หรุบดิ้น
โอรสรีบกันพระ ศพสู่ นครแฮ หลักฐานแสดงผลการเรียนรู
สูญชีพไป่สูญสิ้น พจน์ผู้สรรเสริญ
1. การยกบทประพันธที่นักเรียนประทับใจ
กำรท่องจ�ำบทอำขยำนทีม่ คี ณ ุ ค่ำ นอกจำกจะช่วยให้นกั เรียนเห็นคุณค่ำควำมงำมและศิลปะ 2. การแบงจังหวะโคลงสี่สุภาพ
ทำงภำษำแล้ว ยังช่วยให้นักเรียนเป็นผู้ใช้ภำษำได้อย่ำงมีชั้นเชิงอีกด้วย กล่ำวคือ นักเรียนสำมำรถ
น�ำข้อควำมหรือค�ำประพันธ์ที่ท่องจ�ำมำไปใช้ในกำรพูด กำรเขียน หรืออ้ำงอิงประกอบเรื่องรำว
ตลอดจนเป็นพื้นฐำนในกำรแต่งค�ำประพันธ์ ซึ่งจะแสดงให้เห็นว่ำนักเรียนมีพื้นฐำนทำงภำษำอย่ำงดี
และกว้ำงขวำง สมควรแก่กำรยกย่องชมเชยนั่นเอง

183

กิจกรรมสรางเสริม
เกร็ดแนะครู
นักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับโคลงภาพพระราชพงศาวดารอื่นๆ ให ครูยกกลอนดอกสรอยบทอื่นที่งายตอการขับรองมาใหนักเรียนไดทบทวน
กวางขวางยิ่งขึ้น จากนั้นนักเรียนเลือกโคลงภาพพระราชพงศาวดารที่ เพื่อใหนักเรียนรูสึกคุนเคยและสนใจบทอาขยานในบทเรียน เชน
นักเรียนชื่นชอบ มา 4-6 บทคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดในสมุดบันทึก “เด็กเอยเด็กนอย ความรูเรายังดอยเรงศึกษา
เมื่อเติบใหญเราจะไดมีวิชา เปนเครื่องหาเลี้ยงชีพสําหรับตน
ไดประโยชนหลายสถานเพราะการเรียน จงพากเพียรไปเถิดจะเกิดผล
ถึงลําบากตรากตรําก็จําทน เกิดเปนคนควรหมั่นขยันเอย”
กิจกรรมทาทาย
นักเรียนควรรู
นักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับโคลงภาพพระราชพงศาวดารอื่นๆ ให
กวางขวางยิง่ ขึน้ จากนัน้ เลือกโคลงภาพพระราชพงศาวดารทีน่ กั เรียนชืน่ ชอบ 1 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร เปนโคลงประกอบภาพเหตุการณสําคัญทาง
มา 4-6 บท สรุปใจความสําคัญของโคลงภาพพระราชพงศาวดารนั้นลงสมุด ประวัติศาสตรชาติไทยที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงโปรดฯ ให
ชางเขียนเขียนรูปภาพขึ้น และใหกวีในสมัยนั้นแตงโคลงประกอบภาพขึ้น

คู่มือครู 183
กระตุ้นความสนใจ ส�ำรวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

บรรณานุกรม
กระแสร์ มำลยำภรณ์. ๒๕๑๖. วรรณคดีเปรียบเทียบเบื้องต้น. กรุงเทพมหำนคร: โรงเรียนสตรีเนติศึกษำ
แผนกกำรพิมพ์.
ชีวติ และงานของสุนทรภู่ ฉบับกรมศิลปากรตรวจสอบช�าระใหม่. ๒๕๓๔. พิมพ์ครัง้ ที ่ ๑๔. กรุงเทพมหำนคร:
องค์กำรค้ำของคุรุสภำ.
ฐะปะนีย ์ นำครทรรพ และคณะ. ๒๕๕๓. ภาษาไทย ม.๒. พิมพ์ครัง้ ที ่ ๑๙. กรุงเทพมหำนคร: อักษรเจริญทัศน์.
บุญเหลือ เทพยสุวรรณ, ม.ล.. ๒๕๑๑. แนะแนวทางการเรียนวรรณกรรมวิจกั ษ์และวรรณคดีวจิ ารณ์. นครปฐม:
คณะอักษรศำสตร์ มหำวิทยำลัยศิลปำกร.
ประสิทธิ์ กำพย์กลอน. ๒๕๒๓. แนวทางการศึกษาวรรณคดี ภาษากวี การวิจักษณ์ และการวิจารณ์.
กรุงเทพมหำนคร: ไทยวัฒนำพำนิช.
เปลื้อง ณ นคร. ๒๕๐๖. ประวัติวรรณคดีส�าหรับนักศึกษา. กรุงเทพมหำนคร: ไทยวัฒนำพำนิช.
พุทธยอดฟ้ำจุฬำโลกมหำรำช, พระบำทสมเด็จพระ. ๒๕๐๖. รามเกียรติ์ เล่ม ๑. กรุงเทพมหำนคร: คลังวิทยำ.
ไพรถ เลิศพิริยกมล. ๒๕๔๒. วรรณกรรมปัจจุบัน. กรุงเทพมหำนคร: ไทยวัฒนำพำนิช.
ฟองจันทร์ สุขยิ่ง และคณะ. ๒๕๕๒. ภาษาไทย ม.๓. พิมพ์ครั้งที่ ๑๔. กรุงเทพมหำนคร: อักษรเจริญทัศน์.
เยำวลักษณ์ ชำติสุขศิริเดช และบุญลักษณ์ เอี่ยมส�ำอำงค์. ๒๕๕๓. เรียงถ้อยร้อยกรอง. พิมพ์ครั้งที่ ๒.
กรุงเทพมหำนคร: อักษรเจริญทัศน์.
รำชบัณฑิตยสถำน. ๒๕๕๖. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๕๔. พิมพ์ครั้งที่ ๒.
กรุงเทพมหำนคร: ศิริวัฒนำอินเตอร์พริ้นท์.
. ๒๕๕๐. พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมไทย ภาคฉันทลักษณ์. กรุงเทพมหำนคร: รำชบัณฑิตยสถำน.
วัชรี รมยะนันทน์. ๒๕๓๘. วิวัฒนาการวรรณคดีไทย. กรุงเทพมหำนคร: โครงกำรต�ำรำคณะอักษรศำสตร์
จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย.
วิญญู บุญยงค์. ๒๕๔๒. ยักษ์ในรามเกียรติ์. กรุงเทพมหำนคร: เวิลด์มีเดีย ๒๐๒๐.
วิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร, ส�ำนัก.
๒๕๕๓. นิทานอีสป. กรุงเทพมหำนคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลำดพร้ำว.
ศิลปำกร, กรม. ๒๕๔๓. กาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง. พิมพ์ครัง้ ที ่ ๙. กรุงเทพมหำนคร: อักษรเจริญทัศน์.
. ๒๕๕๐. โคลงภาพพระราชพงศาวดาร พร้อมบทขยายความและบทวิเคราะห์. กรุงเทพมหำนคร:
กรมศิลปำกร.
ศุภร บุนนำค และสุรยิ ำ รัตนกุล. ๒๕๑๗. สุนทรียภาพจากเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร. กรุงเทพมหำนคร: แพร่พทิ ยำ.
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน. ๒๕๕๒. วรรณคดีวิจักษ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒. พิมพ์ครั้งที่ ๘
กรุงเทพมหำนคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลำดพร้ำว.
สุทธิ ภิบำลแทน. ๒๕๔๑. โคลงส�านวนสุภาษิตไทย. กรุงเทพมหำนคร: อักษรเจริญทัศน์.
หอสมุดแห่งชำติ. ๒๕๓๓. ศิลาจารึก หลักที่ ๑ จารึกพ่อขุนรามค�าแหง. กรุงเทพมหำนคร: โรงพิมพ์กำรศำสนำ.

184

184 คู่มือครู
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

เอกสารเสริม โคลงภาพ
พระราชพงศาวดาร
โคลงภาพพระราชพงศาวดาร เกิดขึน้ โดยพระราชด�าริในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั
ทรงเลื อ กเรื่ อ งในพระราชพงศาวดารให้ ช ่ า งเขี ย นที่ มี ฝ ี มื อ เขี ย นรู ป ภาพขึ้ น และโปรดเกล้ า ฯ
ให้มีโคลงบอกเรื่องพระราชพงศาวดารประกอบรูปภาพดังกล่าว รูปขนาดใหญ่จ�านวนโคลงรูปละ ๖ บท
รูปขนาดกลางและขนาดเล็กจ�านวนโคลงรูปละ ๔ บท การแต่งโคลงนัน้ ทรงพระราชนิพนธ์บา้ ง โปรดเกล้าฯ
ให้พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการซึง่ เชีย่ วชาญบทกลอนแต่งถวายบ้าง รูปภาพเรือ่ งพระราชพงศาวดาร
ที่โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นนั้นมีจ�านวน ๙๒ แผ่น โคลงที่แต่งมีจ�านวน ๓๗๖ บท
โคลงภาพพระราชพงศาวดารเปนมรดกอันลํ้าคาของชาติ มีคุณคาทั้งทางดานประวัติศาสตรศิลปะ
และวรรณคดี ทําใหไดเรียนรูเกี่ยวกับเหตุการณสําคัญของชาติ ไดชื่นชมในความงามของภาพจิตรกรรมไทย
รวมทั้งไดซาบซึ้งในอรรถรสของบทกวีนิพนธไปพรอมกัน โคลงภาพพระราชพงศาวดารที่นํามาเสนอนี้
เปนเพียงตัวอยางสวนหนึ่ง

ภาพสร้างกรุงศรีอยุธยา (นายอิ้ม เขียน)

สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (อู่ทอง) โปรดให้ตั้งการพิธีสร้างพระนครเมื่อ พ.ศ. ๑๘๙๓ ทรงตั้งนาม


พระนครใหม่ว่า “กรุงเทพมหานคร บวรทวาราวดีศรีอยุธยา มหาดิลกภพนพรัตนราชธานีบุรีรมย”

เอกสารเสริม ๑

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T เกร็ดแนะครู
ขอใดไมใช คุณคาของโคลงภาพพระราชพงศาวดาร
ครูให้นักเรียนศึกษาเอกสารเสริม ซึ่งเป็นโคลงภาพพระราชพงศาวดารที่มีการ
1. ประวัติศาสตร์
จัดเรียงตามยุคสมัย ตั้งแต่สมัยอยุธยา ธนบุรี มาจนถึงรัตนโกสินทร์ โดยครูให้
2. ดาราศาสตร์
นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มช่วยกันถอดค�าประพันธ์ ดังต่อไปนี้
3. วรรณคดี
• กลุมที่ 1 โคลงสร้างกรุงศรีอยุธยา
4. ศิลปะ
• กลุมที่ 2 โคลงสมเด็จพระนเรศวรท�ายุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชา
วิเคราะหคําตอบ โคลงภาพพระราชพงศาวดาร คือ การนําเสนอเรื่องราว • กลุมที่ 3 โคลงเจ้าตากตีค่ายพม่าที่โพธิ์สามต้น
ทางประวัติศาสตรผานวรรณคดีและภาพวาดจิตรกรรม ซึ่งมีคุณคาทางศิลปะ • กลุมที่ 4 โคลงสมเด็จพระพุทธยอดฟาเสด็จกลับจากเมืองเขมร
ขอที่ไมใชคุณคาของโคลงภาพพระราชพงศาวดาร คือ ดาราศาสตร
ตอบขอ 2.

คู่มือครู 185
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

โคลงสร้างกรุงศรีอยุธยา
แถลงปางพระเจ้าอู่ ทองปรา รภเฮย
จักประดิษฐนครา ใหม่ยั้ง
ชีพ่อหมู่พฤฒา จารย์จัด การแฮ
กลบบาทว์สุมเพลิงตั้ง สวดพร้องพุทธมนต์ฯ
ชนงานขุดภาคพื้น ภูมิมณ ฑลเฮย
สบพระสังข์เสวตรกล กษิรแผ้ว
เปนทักษิณวัฏดล แสดงศุภ อรรถเอย
เสร็จกิจพิธิีแล้ว สืบสร้างการผองฯ
หนองโสนแนะถิ่นด้าว เดิมมี ชื่อนา
ขนานเปลี่ยนนามธานี เทพไท้
ทวาราวดีศรี อยุธ ยาเฮย
กรุงกระษัตริย์สถิตย์ได้ สี่ร้อยปีปลายฯ
บรรยายพระยศไท้ ธเรศตรี ศวรเฮย
เฉลิมนิเวศน์ธานี ภิเศกซ�้า
รามาธิบดี นามเพิ่ม พระแฮ
ปฐมรัชขัติยเลิศล�้า ผ่านหล้าแหล่งสยามฯ

พระราชนิพนธ์ (รัชกาลที่ ๕)

เอกสารเสริม 2

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T
หนองโสนแนะถิ่นดาว เดิมมี ชื่อนา
ขนานเปลี่ยนนามธานี เทพไท
ทวาราวดีศรี อยุธ ยาเฮย
กรุงกระษัตริยสถิตยได สี่รอยปปลายฯ
ขอใดสอดคลองกับบทประพันธขางตน
1. เปลี่ยนชื่อเมืองจากหนองโสนมาเป็นทวาราวดี
2. เปลี่ยนชื่อเมืองจากทวาราวดีมาเป็นศรีอยุธยา
3. เป็นเมืองที่มีกษัตริย์ปกครองกว่า 400 องค์
4. เป็นเมืองที่มีกษัตริย์ปกครองมา 400 กว่าป
วิเคราะหคําตอบ จากบทประพันธกลาววามีการเปลี่ยนชื่อเมืองจาก
หนองโสนมาเปนอยุธยา และเปนเมืองที่มีกษัตริยปกครองนานถึง 400 กวาป
ซึ่งขอที่สอดคลองกับบทประพันธ ตอบขอ 4.

186 คู่มือครู
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

ภาพสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ท�ายุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชา
(หลวงพิศณุกรรม เขียน)

พ.ศ. ๒๑๓๕ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงกระทํายุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชา ปรากฏว่า สมเด็จ


พระนเรศวรมหาราชประสบชัยชนะด้วยการทรงฟนพระมหาอุปราชาด้วยพระแสงของ้าวจนสิ้นพระชนม
ส่วนสมเด็จพระเอกาทศรถทรงกระทํายุทธหัตถีกับมางจาชโรมีชัยชนะเช่นกัน

เอกสารเสริม ๓

เกร็ดแนะครู
ครูแนะให้นกั เรียนอ่านเรือ่ งราวทางประวัตศิ าสตร์สมัยอยุธยาเพิม่ เติม โดยเฉพาะ
ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ซึ่งเป็นช่วงสมัยที่ส�าคัญในการกอบกู้บ้านเมือง
ครูให้นักเรียนสรุปเรื่องราวเกี่ยวกับสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และแสดงความคิด
เห็นในพระปรีชาสามารถด้านการรบของพระองค์ และแต่งค�าประพันธ์ที่แสดงถึง
พระเกียรติยศของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเป็นโคลงสี่สุภาพ 1 บท น�าไป
จัดปายนิทรรศการในชั้นเรียน

คู่มือครู 187
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

โคลงสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ท�ายุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชา
แถลงเรื่องอุปราชเจ้า รามัญ
ยกพยุห์สู่สยามขัณฑ์ เขตรกว้าง
คร้ามอาจขลาดแขงขยัน เจ้าอยุธ ยาฤ ๅ
พลางเพิ่มขุนขี่ช้าง ฉัตรล้อมปลอมปนฯ
ยุคลฤทธิราชเจ้า อยุธยา
องค์เชษฐ์นเรศรา ธิราชเจ้า
อนุชนารถนุชเอกา ทศรถ นามฤ ๅ
ทราบศึกซ่องพลเต้า ตัดสู้ดูแรงฯ
เห็นแขงแสร้งล่าล้อ ให้ขบวน บางนา
เข้าถนัดตัดต้นชวน รบช้าง
พ้อพาทอุปราชหวน อายออก องค์แฮ
สมคาดขับคชคว้าง ไขว่ค�้าบ�ารูฯ
สองข้างละคู่เข้า โรมรณ
นเรศวร์ราชฟาดแสงพล พ่ายพ้อง
อุปราชขาดอุระบน คอพัท กอนา
อนุราชทศรถน้อง ฆ่าม้วยมางจาฯ
โยธาทัพต่อต้อน มอญมละ หนีนา
เห็นอย่างทางแพ้ชนะ เช่นนี้
ใช่มากหากจ�าจะ ไชยเที่ยง แท้เลย
หัวน่าถ้าดีชี้ ชักได้ไชยเสมอฯ
สยามรัฐพัฒน์แผ่นพ้น สองครา นี้แล
หนึ่งเขตรนเรศรา ชะนี้
กับทั้งเทพมหา นคร เรานอ
สิทธิศุขสิทธิ์ไชยชี้ ชิดอ้างปางสองฯ

พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร

เอกสารเสริม 4

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T
คําประพันธในขอใดใชคําเอกโทษ
1. โยธาทัพต่อต้าน มอญมละ หนีนา
2. เห็นอย่างทางแพ้ชนะ เช่นนี้
3. ใช่มากหากจ�าจะ ไชยเที่ยง แท้เลย
4. หัวน่าถ้าดีชี้ ชักได้ไชยเสมอฯ
วิเคราะหคําตอบ ใจความสําคัญของคําประพันธชี้ใหเห็นถึงความสําคัญ
ของผูนําในการทําศึกสงครามครั้งนี้จนไดรับชัยชนะ ในดานวรรณศิลป
คําเอกโทษ คือ คําที่ปกติเปนวรรณยุกตโทแตเปลี่ยนเปนวรรณยุกตเอก
แทน เพื่อใหตรงตามลักษณะของคําประพันธประเภทโคลงสี่สุภาพ คือ มี
คําที่มีวรรณยุกตเอก 7 แหง วรรณยุกตโท 4 แหง ขอที่ใชคําเอกโทษ คือ
“หัวนาถาดีชี้ ชักไดไชยเสมอ” ใชคําวา “นา” ซึ่งปกติเปน “หนา”
ตอบขอ 4.

188 คู่มือครู
กระตุ้นความสนใจ ส�ำรวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

ภาพเจ้าตากตีค่ายพม่าที่โพธิ์สามต้น
(นายอ่อน เขียน)

เมื่อพม่าตีกรุงศรีอยุธยาแตกแล้ว คนไทยก็ได้แยกเปนหมู่เปนเหล่า ชุมนุมเจ้าตากซึ่งรวบรวมผู้คน


อยู่ที่เมืองจันทบุรี ได้ยกทัพเรือเข้าโจมตีค่ายพม่าที่โพธิ์สามต้น พระนครศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐
การสู้รบครั้งนี้ สุกี้พระนายกองผู้ควบคุมดูแลค่ายได้สู้รบจนตายในค่าย พระเจ้าตากจึงสามารถตีค่าย
ได้สําเร็จ

เอกสารเสริม ๕

บูรณาการเชื่อมสาระ
ครูบรู ณาการความรูเ้ รือ่ งคุณค่าด้านศิลปะของโคลงภาพพระราชพงศาวดาร
เข้ากับกลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ วิชาทัศนศิลป์ ครูแนะให้นักเรียนน�ำความรู้
ทางทัศนศิลป์มาใช้พิจารณาภาพในโคลงบทต่างๆ ซึง่ ลักษณะของภาพที่
ประกอบพระราชพงศาวดาร เป็นรูปแบบทางศิลปกรรมที่เป็นจิตรกรรมฝาผนัง
ยุคใหม่ใช้สีน�้ำมันแทนสีฝุ่นแบบโบราณ แต่วิธีเขียนและรูปแบบเป็นแบบสากล
แสดงความรู้สึกระยะใกล้-ไกลแบบ 3 มิติ เน้นรูปคนในลักษณะกายวิภาคที่
ถูกต้อง สามารถถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกให้บรรยากาศสมจริงตามธรรมชาติ
ครูชี้ให้นักเรียนเห็นว่าโครงการโคลงภาพพระราชพงศาวดารตามกระแส
พระราชด�ำริในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แสดงให้เห็นการ
สร้างสรรค์มรดกทางศิลปกรรมที่ส�ำคัญ และทรงส่งเสริมความสามารถของ
ศิลปินไทยให้สร้างผลงานที่ทรงคุณค่าต่อประเทศ

คู่มือครู 189
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

1
โคลงเจ้าตากตีค่ายพม่าที่โพธิ์สามต้น
ปางวิบัติสยามรัฐร้อน เปนจลา จลแฮ
พม่าล่วงราญอยุธยา ป่วนกลุ้ม
บรรพ์กระษัตริย์สู่สวรรคา ไลยเสื่อม วงศ์แฮ
หาบ่มีใครคุ้ม เขตร้อนราษฎร์รสายฯ
สยามแยกเปนหกด้าว โดยชน ชุมนา
นายกหกส่วนสกล ต่างห้าว
ต่างรุกต่างราญรณ กันซึ่ง กันแฮ
ทวยราษฎร์ปราศศุขร้าว ร่างร้านเรือนหนีฯ
ส่วนโพธิ์สามต้นค่าย พระนาย กองนา
คือพม่าตั้งมั่นหมาย กวาดผู้
เจ้าตากควบนิกาย พลมุ่ง มาพ่อ
หวังขจัดดัษกรกู้ บุรร้างคืนเกษมฯ
ทัพจีนกองน่าเจ้า ตากชาญ ศึกฮา
ยกระดมค่ายราญ บัดสบั้น
นายกองประลัยลาญ พลแหลก ลาญนอ
มอญพม่าเหลือตายนั้น เพิกผ้ายกระจายหนีฯ
หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล
(เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี)

เอกสารเสริม 6

ขอสอบเนน การคิด
นักเรียนควรรู แนว  NT  O-NE T
สยามแยกเปนหกดาว โดยชน ชุมนา
1 โพธิ์สามตน ค่ายโพธิ์สามต้นปจจุบันอยู่ในพื้นที่รอยต่อของต�าบลพุทเลา
นายกหกสวนสกล ตางหาว
และต�าบลโพธิ์สามต้น อ�าเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ริมแม่น�้า
ตางรุกตางราญรณ กันซึ่ง กันแฮ
โพธิ์สามต้นที่ไหลมารวมกับแม่น�้าลพบุรีที่บริเวณหัวรอ ซึ่งอยู่ทางด้านทิศเหนือของ
ทวยราษฎรปราศศุขราว รางรานเรือนหนีฯ
เกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา ในประวัติศาสตร์เนื่องจากพื้นที่บริเวณนี้อยู่ห่างจาก
ขอใดไมใช ลักษณะเดนของบทประพันธขางตน
กรุงศรีอยุธยาประมาณ 6 กิโลเมตรจึงเป็นพื้นที่ที่อยู่ในเส้นทางเดินทัพของข้าศึกที่
1. ภาพพจน์เปรียบเทียบ
เข้าตีกรุงศรีอยุธยาตลอดมา
2. เล่นเสียงสัมผัสอักษร
ต่อมาเมื่อพระเจ้าตากสินมหาราชทรงรวบรวมก�าลังคน ยกกองทัพเรือ
3. ใช้ค�าน้อยกินค�ามาก
จากเมืองจันทบุรีเข้าตีเมืองธนบุรีได้แล้ว ก็ยกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยาโดยเข้าตี
4. การซ�้าค�า
ยึดค่ายโพธิ์สามต้นคืนจากพม่า ขณะนั้นมีคนและทรัพย์สมบัติที่ยังมิได้ถูกส่งไป
พม่า จึงรวบรวมคนไว้และเก็บรักษาสมบัติไว้ในค่ายโพธิ์สามต้น และเมื่อพระองค์ วิเคราะหคําตอบ บทประพันธขางตนมีลักษณะเดน คือ ขอ 2. การเลนเสียง
ทรงส�ารวจดูสภาพกรุงศรีอยุธยาแล้วทรงเห็นว่ากรุงศรีอยุธยาเสียหายเกินกว่าจะ สัมผัสอักษร ไดแก สยาม-แยก, รุก-ราญ-รณ, ราง-ราน-เรือน ขอ 3. บรรยาย
ปฏิสังขรณ์ได้ จึงโปรดให้ไปตั้งราชธานีใหม่ที่กรุงธนบุรี เหตุการณการสูรบดวยคําที่มีจํากัดตามลักษณะคําประพันธโคลงสี่สุภาพ
แตสื่อความไดเขาใจ ขอ 4. มีการซํ้าคํา ไดแก คําวา ตางรุกตางราญ,
กันซึ่ง กันแฮ แตไมมีการใชภาพพจนเปรียบเทียบ ตอบขอ 1.
190 คู่มือครู
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

ภาพพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
เสด็จกลับจากเมืองเขมร
(นายอิ้ม เขียน)

พ.ศ. ๒๓๒๔ ขณะทีเ่ จ้าพระยามหากษั 1 ตริยศ กึ ไปปราบกบฏทีเ่ มืองเขมร รูข้ า่ วว่าทางกรุงธนบุรเี กิดจลาจล
จึงเตรียมเลิกทัพกลับ ขณะขึ้นบนเกยจะขี่ช้าง ได้บังเกิดศุภนิมิตพระรัศมีโชติช่วงแผ่ออกจากพระวรกาย
เห็นทั่วทั้งกองทัพ บรรดารี้พลต่างแซ่ซ้องพากันยกมือขึ้นถวายบังคม

เอกสารเสริม ๗

เกร็ดแนะครู
ครูให้นักเรียนพิจารณาภาพพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช
เสด็จกลับจากเมืองเขมร แล้วให้นักเรียนช่วยกันบรรยายเหตุการณ์ในภาพ ครูแนะ
เรื่องราวเพิ่มเติมว่า เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกทรงช้าง เดินทัพมาทางด่านพระจารึก
ผ่านเมืองปราจีน เมืองนครนายก ตัดทางมาลงท้องทุ่งแสนแสบทะลุถึงพระนคร
พระยาสุรยิ อภัยซึง่ ปราบกบฏราบคาบเรียบร้อยแล้วให้ปลูกพลับพลารับเสด็จริมสะพาน
ท่าวัดโพธาราม (ต่อมาคือวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม) แล้วให้แต่งเรือพระที่นั่ง
กราบมาคอยรับเสด็จข้ามไปพระราชวัง

นักเรียนควรรู
1 เกย มีขนาดเล็กเคลือ่ นย้ายไปได้ ส�าหรับเจ้านายใช้เป็นทีเ่ สด็จขึน้ หรือลงพาหนะ
นอกชานหรือพืน้ ซึง่ สูงขึน้ ทีเ่ รียกว่า เนินปราสาท หรือ โคกปราสาท เพราะการก่อสร้าง
นิยมสร้างบนพื้นที่ถมสูง มีสภาพเป็นนอกชาน เรียกว่า เกย เกยชาลา หรือ ไพที ก็มี

คู่มือครู 191
กระตุ้นความสนใจ ส�ารวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

โคลงพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
เสด็จกลับจากเมืองเขมร
องค์อรรคนายกผู้ พรรฦก เดชแฮ
ฤ ๅเกียรดิเกริกอธึก ทั่วหล้า
มหากระษัตริย์ศึก สมเศก นามนา
แรมทัพเสียมราฐร้า รบเสี้ยนศึกขอมฯ
จอมทัพสดับข่าวอ้าง กรุงธน บุรีเฮย
เจ้าแผ่นดินวิกล คลั่งคลุ้ม
ร้อนเร้าทั่วรัฐมณ ฑลเทียบ อบายนา
ใครจะกันตนคุ้ม โทษได้ไป่มีฯ
กระลีลามลุกล�้า ร�างับ
จึ่งพระยาสรรค์จับ ถอดเจ้า
ด�าริห์จักรีบกลับ จัดกิจ กรุงแฮ
ให้ตรวจพลไกรเข้า ขนบริ้วยาตราฯ
เวลาไชยโชคได้ ดิิถี สวัสดิเฮย
เสด็จสู่เกยขุนกรี เทียบช้าง
บันดาลพระวรฉวี วรรณผ่อง ประภาแฮ
งามสง่าหาคู่อ้าง อื่นแม้ฤ ๅมีฯ
โยธีเห็นถนัดอื้อ อัศจรรย์ ใจเอย
ต่างเทอดหัดถ์อภิวันท์ ท่วมเกล้า
บารมีพระจักพลัน ถึงเสวตร ฉัตรพ่อ
ปราบยุคเข็ญเย็นเผ้า ไพร่ฟ้าประชากรฯ
บทจรโดยด่านด้าว พระจา รึกเฮย
บันลุธนนครา ปราศเสี้ยน
ปรามปราบพวกพาลา เตียนราบ แล้วแฮ
พุทธสาสน์ราษฎร์เจริญเที้ยน เทียบครั้งเพรงกาลฯ
พระราชนิพนธ์ (รัชกาลที่ ๕)

แหล่งที่มาของข้อมูล : กรมศิลปากร. โคลงภาพพระราชพงศาวดาร พร้อมบทขยายความและบทวิเคราะห์.


กรุงเทพมหานคร: กรมศิลปากร, ๒๕๕๐.

เอกสารเสริม 8

ขอสอบเนน การคิด
แนว  NT  O-NE T
บทประพันธในขอใดสะทอนสภาพสังคมและวัฒนธรรมไดเดนชัดที่สุด
1. บทจรโดยด่านด้าว พระจา รึกเฮย
2. บันลุธนนครา ปราศเสี้ยน
3. ปรามปราบพวกพาลา เตียนราบ แล้วแฮ
4. พุทธสาสน์ราษฎ์เจริญเที้ยน เทียบครั้งเพรงกาล
วิเคราะหคําตอบ ขอที่สะทอนสภาพสังคมและวัฒนธรรม คือ
“พุทธสาสนราษฎเจริญเที้ยน เทียบครั้งเพรงกาล” สะทอนใหเห็นวา
พระพุทธศาสนามีความเจริญรุงเรืองเหมือนในสมัยกอน ตอบขอ 4.

192 คู่มือครู

เฉ จ
พา ก
สร้างอนาคตเด็กไทย ะค ฟ
รูผ
ู้สอ ร
น ี
ด้วยนวัตกรรมการเรียนรูร
้ ะดับโลก

คู่มือครู
˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ Á. ๒
คูม
่ อ
ื ครู อจท.
ใช้ประกอบการสอนคู่กับหนังสือเรียน

วิธีการสอนเพื่อยกผลสัมฤทธิ์
เพิ่ม ผ่านกระบวนการเรียนรู้ 5Es

ข้อสอบวัดความสามารถ

เพิ่ม
ด้านการเรียนตามแนวสอบ
O-NET ใหม่

ตัวอย่างข้อสอบ O-NET
เพื่อชี้แนะเนื้อหาที่เคย
เพิ่ม ออกข้อสอบ

กิจกรรมบูรณาการทักษะชีวิต

ใหม่
และการทำงานตามแนวคิด
เศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรมเสริมสร้างประสบการณ์
พร้อม การเรียนรู้สอ
ู่ าเซียน

>> ราคาเล่มนักเรียนโปรดดูจากใบสัง
่ ซือ
้ ของ อจท. ภาพปกนีม
้ ข
ี นาดเท่ากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน
คู่มือครู บร. ภาษาไทย วรรณคดีฯ ม.2

บริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด


142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
โทร. /แฟกซ์. 02 6222 999 (อัตโนมัติ 20 คูส
่ าย) 8 858649 121318
www.aksorn.com Aksorn ACT 350 .-
ราคานี้ เป็นของฉบับคูม
่ อ
ื ครูเท่านัน

You might also like