You are on page 1of 23

108

วิ ธีทำ
หลังจากทีต่ วั เก็บรังสีอาทิตย์ทางานทีอ่ ุณหภูมทิ างเข้าคงที่ ในช่วงตอนเช้าเท่านัน้ ทีก่ าร
ให้ค วามร้อ นจะมีผ ลต่อ การน าไปใช้ ค่ าความจุค วามร้อ นของตัว เก็บ รังสีอ าทิต ย์จะรวมถึง
กระจก, แผ่นดูดกลืน, ท่อ, น้าในท่อ และฉนวน ค่าความจุความร้อนของกระจก คือ

0.0035 m  2500 kg.m-3  0.8 kJ.kg-1.๐C-1 = 7 kJ.m-2.๐C-1

สาหรับแผ่นดูดกลืน, ท่อ, น้ าในท่อ และฉนวน นัน้ มีค่าความจุความร้อน เท่ากับ 2, 1,


2 และ 2 kJ.m-2.๐C-1 ตามลาดับ ฉนวนมีอุณหภูมทิ ใ่ี กล้เคียงกับอุณหภูมแิ วดล้อม เป็ นผลให้ค่า
ความจุความร้อนของฉนวนจะมีค่าครึ่งหนึ่งของค่าจริง ความจุความร้อนประสิทธิผลของตัวเก็บ
รังสีอาทิตย์เท่ากับ 2 + 1 + 2 + 1 + (0.27  7) = 8 kJ.m-2.๐C-1 สมมติให้อุณหภูมเิ ริม่ ต้น
ของตัวเก็บรังสีอาทิตย์เท่ากับอุณหภูมแิ วดล้อม จากสมการ (3.12.7) อุณหภูมขิ องตัวเก็บรังสี
อาทิตย์ทป่ี ลายของช่วงเวลาจาก 8:00 ถึง 9:00 คือ

S   − AC U L t 
T p+ = Ta + 1 − exp 
UL   ( mC )e 
0.34 10 6 / 3600   8  3600 
= −8 + 1 − exp − 
8   8000 
=3
๐C

่ 2 ค่าอุณหภูมเิ ริม่ ต้น คือ 3 ๐C, อุณหภูมทิ ่ี 10:00 น. เท่ากับ


สาหรับชัวโมงที

S  S   − AC U L t 
T p+ = Ta + − − ( Ti − Ta ) exp 
U L U L   ( mC )e 
0.79 10 6 / 3600  0.79 10 6 / 3600   8  3600 
= −2 + − − ( 3 + 2 )  exp − 
8  8   8000 

= 25 C

เวลา 10:00 น. ตัวเก็บรังสีอาทิตย์ได้รบั ความร้อนจนอุณหภูมมิ คี ่าถึง 15 ๐C อุณหภูมิ


ขณะท างาน 40 ๐ C การลดลงของพลังงานที่ส ามารถน าไปใช้ป ระโยชน์ ได้ คือ พลังงานที่
ต้องการให้แก่ตวั เก็บรังสี 15 C หรือ 120 kJ.m-2 ดังนัน้ พลังงานที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์
จากเวลา 10:00 ถึง 11:00 น. จะลดลงจาก 1.65 ถึง 1.53 MJ.m-2
3.13 ตัวเก็บรังสีอำทิ ตย์สำหรับทำน้ำร้อนแบบต่ำง ๆ
109

ในหัวข้อก่อนหน้านี้ได้พจิ ารณาตัวเก็บรังสีอาทิตย์ชนิดเดียวเท่านัน้ คือ แบบครีบ และ


ท่อ แต่ทงั ้ นี้ยงั มีตวั เก็บรังสีอาทิตย์แบบแผ่นราบในลักษณะอื่นอีก รูปที่ 3.13.1 แสดงตัวเก็บรังสี
อาทิตย์สาหรับทาน้ าร้อนแบบต่างๆ 7 แบบ โดยรูปแบบแรกเป็ นแบบท่อขนาน และเชื่อมกับ
ด้านบน และด้านล่างด้วยท่อร่วม (Headers) ซึ่งจะให้ของน้ าไหลเข้าและออกได้ รูปแบบ (b) ก็
เช่นเดียวกันยกเว้นท่อจะถูกยึดติดกับด้านบนของแผ่นดูดกลืน สาหรับรูปแบบ (c) ศูนย์กลาง
ของท่อจะอยู่ในระนาบเดียวกับแผ่นดูดกลืนซึง่ ถูกขึน้ รูปให้เป็ นชิ้นเดียวกัน
ในแบบ (d), (e) และ (f) แผ่นดูดกลืนจะมีลกั ษณะยาว และแคบถูกติดตัง้ อยู่ภายในท่อ
แก้วสูญ ญากาศ ตัวเก็บรังสีอาทิต ย์สูญ เสียความร้อนโดยการพาเป็ นส่วนใหญ่ ซึ่งอาจทาให้
ลดลงได้โดยการทาให้ช่องว่างระหว่างแผ่นดูดกลืนกับแผ่นปิ ดใสเป็ นสูญญากาศ ขณะทีแ่ รงดัน
ลดลงสู่ระดับต่า การพาความร้อนจะไม่เกิดขึน้ แต่การนาความร้อนจะยังคงมีอยู่ เนื่องจากก๊าซ
ที่เหลืออยู่ ตัวเก็บรังสีอาทิตย์ท่สี ร้างขึ้นต้ องมีการป้ องกันการรัวบริ
่ เวณขอบตัวยึดแผ่นปิ ดใส
และช่องว่างทีอ่ ยู่เหนือ และต่ากว่าแผ่นดูดกลืนรังสีอาทิตย์ อย่างไรก็ตามสิง่ สาคัญทีส่ ุด คือ การ
ออกแบบท่อสุญ ญากาศ ซึ่งต้องเตรียมโครงสร้างที่มคี วามแข็งแรงสามารถทนความแตกต่าง
ของแรงดันได้
ตัวเก็บรังสีอาทิตย์ทแ่ี สดงในรูป (d) จะมีโครงสร้างประกอบด้วยครีบ 1 ครีบ และท่อ 1
ท่อ มีโลหะเชื่อมที่ปลายทัง้ สอง มี Bellows ยื่นออกมาจากแก้วที่หุ้มแผ่นครีบ และท่อ รูปร่าง
ภายในจะมีลกั ษณะเหมือน Single Riser Tube
การไหลของของเหลวในตัวเก็บรังสีอาทิตย์แบบ (e) เป็ นแบบ Down and Back จะมี
ท่อรูปตัว U ต่อเข้ากับท่อ 2 ท่อ ความต้านทานความร้อนระหว่างท่อทัง้ สองมีค่าสูง ถ้าความ
ต้านทานเป็ นศูนย์ ทัง้ สองท่อจะมีอุณหภูมเิ ท่ากัน และปริมาณความร้อนทีส่ ะสมจะเท่ากับศูนย์
Ortabasi & Buehl (1975) ได้ศึกษาโครงสร้างของตัว เก็บ รังสีอ าทิต ย์ท่ีป ระกอบด้ว ยแผ่ น ที่
แยกกันเป็ นสองส่วน เพื่อหลีกเลีย่ งปั ญหาตรงรอยต่ อ ถ้าไม่คดิ ผลของรอยต่อ การวิเคราะห์ตวั
เก็บรังสีอาทิตย์แบบ (e) จะมีลกั ษณะเดียวกับแบบ (a), (b) หรือ (c)
ท่อความร้อนสามารถดึงพลังงานจากตัวเก็บรังสีอาทิตย์ ในรูปที่ 3.13.1 (f) แสดงถึง
ส่วนของท่อที่เชื่อมกับครีบในหม้อไอน้ า คอนเดนเซอร์จะมีพ้นื ที่หน้าตัดช่วงสัน้ ๆ ซึ่งสามารถ
สัมผัสกับความร้อนจากท่อได้ดี เมื่อของไหลร้อนขึน้ จะถูกปั ม๊ คอนเดนเซอร์จะยึดติดกับตัวยึด
และท่อ ซึ่งของไหลร้อนเคลื่อนทีผ่ ่าน ในการออกแบบปลายท่อด้านหนึ่งจะป้ องกันการรัว่ ครีบ
และท่อความร้อนจะปล่อยให้ของไหลขยายตัวอย่างอิสระ
ความแตกต่างระหว่างตัวเก็บรังสีอาทิตย์แบบแผ่นราบทีม่ แี ผ่นปิ ดใสแบบราบ (a) - (c)
กับแบบ (d) - (f) ซึ่งแผ่นปิ ดใสมีลกั ษณะคล้ายทรงกระบอก ความกว้างของครีบ (หรือเส้นผ่าน
ศูนย์กลาง) ต้องน้อยกว่าเส้นผ่านศูนย์กลางท่อ พื้นที่ผวิ ของแผ่นดูดกลืนจะน้อยกว่าของท่อ
โดยปกติท่ อ จะวางตัว ใกล้ก ัน ระนาบของท่ อ จะแตกต่ า งจากระนาบบนแผ่ น ดูด กลืน มุ ม ที่
แสงอาทิตย์ตกกระทบย่อมจะมีความแตกต่างกันกับแผ่นปิ ดใสแบบแผ่นราบ การออกแบบตัว
110

เก็บรังสีอาทิตย์สามารถออกแบบได้หลากหลาย แต่ทงั ้ นี้การคานวณค่าการสูญเสียความร้อน


จะต้องคานึงถึงรูปร่างทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปด้วย
ตัวเก็บรังสีอาทิตย์แบบอื่นที่สาคัญ ค่า F  และ FR ไม่สามารถอธิบายให้อยู่ในรูปที่
ง่ายได้ แบบ (a), (b) และ (c) เป็ นท่อขนานทัง้ หมด ทางเลือกทีอ่ อกแบบท่อทีค่ ดเคีย้ วแสดงใน
รู ป ที่ 3.13.1 (g) Abdel-Khalik (1976) ได้ ว ิเ คราะห์ ใ นกรณี 1 ข้อ งอ และ Zhang & Lavan
(1985) ได้คาตอบของแบบ 3 และ 4 ข้องอ ในแบบ 1 ข้องอ Zhang & Lavan ได้แสดงให้เห็น
ว่ า FR จากสมการ (3.13.1) อยู่ ใ นเทอมของพารามิเตอร์ไ ร้มิติท ัง้ 3 คือ F1 , F2 และ F3
(พารามิเตอร์ F4 , F5 และ F6 เป็ นฟั งก์ชนั ของ F2 เท่านัน้ )

FR 
 2 F5 F3 

= F3  − (3.13.1)
F1  
 F6 exp − F3 ( 1 − F2 )
2 1/ 2
+ F5
F

5 


เมื่อ
κ κR( 1 + γ ) 2 − 1 − γ − κR
F1 = (3.13.2 a)
U LW κR( 1 + γ ) − 12 − ( κR ) 2

1
F2 = (3.13.2 b)
κR( 1 + γ ) − 1 − γ − κR
2

m C p
F3 = (3.13.2 c)
F1U L Ac

1/ 2
 1 − F22 
F4 =  2

 (3.13.2 d)
 F2 

1
F5 = + F4 − 1 (3.13.2 e)
F2

1
F6 = 1 − + F4 (3.13.2 f)
F2
และ
( kδU L )1 / 2
κ= (3.13.2 g)

sinh ( W − D )( U L kδ )1 / 2 


γ = −2 cosh ( W − D )( U L kδ )1 / 2 −  DU L
κ
(3.13.2 h)
111

1 1
R= + (3.13.2 i)
C b π Di h f i

Zhang & Lavan ชี้ ให้ เห็ น ว่ า ส ม ก า ร (3.13.1) ใช้ ได้ กั บ ข้ อ ง อ ห ล า ย ตั ว ถ้ า


 p / F1U L Ac มีค่ามากกว่า 1.0
mC

ตัวอย่ำง 3.13.1
จงหาแฟคเตอร์การดึงความร้อนของตัวเก็บรังสีอาทิตย์แบบขดท่อ ซึ่งมีขอ้ มูลดังนี้ [ดู
รูปที่ 3.13.1 (g)]
ความยาวของขดท่อแต่ละท่อ, L 1.2 m
ระยะห่างระหว่างท่อ, W 0.1 m
จานวนท่อในขด, N 6
ความหนาของแผ่น,  1.5 mm
เส้นผ่านศูนย์กลางท่อภายนอก, D 7.5 mm
เส้นผ่านศูนย์กลางท่อภายใน, Di 6.5 mm
ความนาความร้อนของแผ่น, k 211 W.m-1.๐C-1
สัมประสิทธิการสู
์ ญเสียความร้อนรวม, U L 5 W.m-2.๐C-1
อัตราการไหลเชิงมวล, m 0.014 kg.s-1
ความจุความร้อนจาเพาะของของไหล, C p 3352
J.kg-1.๐C-1
สัมประสิทธิการถ่
์ ายเทความร้อนจากของไหลไปยังท่อ, h fi 1500
W.m-2.๐C-1
ความนาความร้อนตรงรอยต่อ, Cb 
112

รูปที่ 3.13.1 ตัวเก็บรังสีอาทิตย์สาหรับทาของเหลวร้อนแบบต่าง ๆ [Duffie & Beckman (1991)]

วิ ธีทำ
จากสมการ (3.13.2 g)

( 211 0.0015  5 )1 / 2 W.m-1.๐C-1


κ= = 3.346
 1/ 2
 5 
sinh ( 0.1 − 0.0075 )  
  211 0.0015  
 
113

จากสมการ (3.13.2 h)
  5   0.0075  5
1/ 2
γ = −2 cosh ( 0.1 − 0.0075 )  − = −2.148
  211 0.0015   3.346

จากสมการ (3.13.2 i)
1
R= = 0.0326 m. ๐C.W-1
π 0.0065  1500
ดังนัน้
κR = 3.346  0.0326 = 0.1091

จากสมการ (3.13.2 a)

3.346 0.1091( 1 − 2.148 ) 2 − 1 + 2.148 − 0.1091


F1 = = 6.310
5  0.1 0.1091( 1 − 2.148 ) − 12 − ( 0.1091) 2
จากสมการ (3.13.2 b)
1
F2 = = 0.846
1.1827

พื้น ที่ ข องตัว เก็ บ รัง สีอ าทิต ย์ คือ NWL = 6  0.1  1.2 = 0.72 m2 จากสมการ (3.13.2 c)
อัตราความจุความร้อนไร้มติ ิ คือ

0.014  3352
F3 = = 2.066
6.309  5  0.72

จากสมการ (3.13.2 d) ถึง (3.13.2 f) ได้

F4 = 0.631,F5 = 0.814 และ F6 = 0.449

และจากสมการ (3.13.1)
FR = 0.148F1 = 0.148 6.309 = 0.93

3.14 ตัวเก็บรังสีอำทิ ตย์สำหรับทำอำกำศร้อน

รูปที่ 3.14.1 แสดงตัวเก็บรังสีอาทิตย์ทใ่ี ช้ทาอากาศร้อน 6 แบบ สาหรับรูป (e) และ (f)


เป็ นระบบทาอากาศร้อนแบบทีม่ แี ผ่นกระจกซ้อนเหลื่อม ๆ กันและแบบเมตริกส์ ซึง่ ทัง้ สองแบบ
นี้ไม่สามารถหาผลลัพธ์ได้ในรูปแบบทัวไป ่ ในการวิเคราะห์ตอ้ งใช้ระเบียบวิธเี ชิงตัวเลข
114

ในขัน้ ตอนการหาค่ า F  และ U L จะพิจ ารณาเฉพาะรูป (a) ถึง แม้ว่ า ตัว เก็บ รัง สี
อาทิต ย์แ บบ (b) จะเป็ น ที่นิ ย มในการใช้ท าอากาศร้อ น แบบ (a) ค่ อ นข้างมีก ารวิเคราะห์ท่ี
ซับซ้อ นและมีล ักษณะคล้ายคลึงกับผนังสะสมความร้อ นในระบบพาสซีฟ (Passive Heating
System) รูปที่ 3.14.2 แสดงตัวเก็บรังสีสาหรับทาอากาศร้อนแบบ (a) และวงจรความร้อน
ทีบ่ างตาแหน่งในทิศทางการไหล แผ่นดูดกลืนรับพลังงานจากแสงอาทิตย์จนมีอุณหภูมิ
สูงขึ้นเท่ากับ Tp พลังงานจะถ่ายเทจากแผ่นดูดกลืนไปยังอากาศแวดล้อมที่อุณหภูมิ Ta ผ่าน
ทางด้านหลังโดยมีสมั ประสิทธิการสู ์ ญเสียความร้อน U b ถ่ายเทไปยังของไหลที่อุณหภูมิ T f
โดยการพาซึ่งมีสมั ประสิทธิการถ่
์ ายเทความร้อน h2 และถ่ายเทให้กบั ด้านล่างของแผ่นปิ ดใส
โดยการแผ่รงั สีซ่งึ มีสมั ประสิทธิการถ่
์ ายเทความร้อน hr พลังงานถูกถ่ายเทจากของไหลไปยัง
แผ่ น ปิ ดใสโดยมีส ัม ประสิท ธิก์ ารถ่ า ยเทความร้อ น h1 พลัง งานบางส่ ว นได้สู ญ เสีย ให้ กับ
สิง่ แวดล้อมทัง้ จากการพาและการแผ่รงั สีโดยมีสมั ประสิทธิก์ ารสูญ เสียความร้อน U t สมดุล
พลังงานบนแผ่นปิ ดใส แผ่นดูดกลืน และของไหลเขียนได้ในรูปสมการดังนี้

U t ( Ta − Tc ) + hr ( T p − Tc ) + h1 ( T f − Tc ) = 0 (3.14.1)

S + U b ( Ta − T p ) + h2 ( T f − T p ) + hr ( Tc − T p ) = 0 (3.14.2)

h1 ( Tc − T f ) + h2 ( T p − T f ) = qu (3.14.3)

แก้สมการหาเทอม ( Tp − T f ) และ ( Tc − T f ) ได้

S ( U t + hr + h1 ) − ( T f − Ta )( U t hr + U t U b + U bU r + U b h1 )
Tp −T f = (3.14.4)
( U t + hr + h1 )( U b + h2 + hr ) − hr2
และ
hr S − ( T f − Ta )( U t h2 + U t U b + U t hr + U b hr )
Tc − T f = (3.14.5)
( U t + hr + h1 )( U b + h2 + hr ) − hr2

แทนค่าลงในสมการสาหรับหา qu จะได้


qu = F  S − U L ( T f − Ta )  (3.14.6)
โดยที่
hr h1 + U t h2 + h2 hr + h1 h2
F = (3.14.7)
( U t + hr + h1 )( U b + h2 + hr ) − hr2
และ
115

( U b + U t )( hr h1 + h2 hr + h1 h2 ) + U bU t ( h1 + h2 )
UL = (3.14.8)
hr h1 + U t h2 + h2 hr + h1 h2

UL นอกจากจะรวมค่าสัมประสิทธิก์ ารถ่ายเทความร้อ นด้านบนและด้านล่างแล้วยัง


รวมถึงผลของการถ่ายเทความร้อนระหว่างแผ่นดูดกลืนกับด้านล่างของแผ่นปิ ดใสด้วย
สมการสาหรับตัวเก็บรังสีอาทิตย์ท่ใี ช้ทาอากาศร้อนแบบ (b) สามารถหาได้ในทานอง
เดียวกัน ต่างกันตรงที่อากาศไม่ได้สมั ผัสกับแผ่นปิ ดใส เพื่อความสะดวกในการวิเคราะห์จะ
สมมติว่าการสูญเสียความร้อนทางด้านหลังเกิดขึน้ เนื่องจากแผ่นดูดกลืนรังสีอาทิตย์
116

รูปที่ 3.14.1 ตัวทาอากาศร้อนแบบต่าง ๆ [Duffie & Beckman (1991)]

รูปที่ 3.14.2 ตัวทาอากาศร้อนแบบ (a) และวงจรความร้อน

ตัวอย่ำง 3.14.1
117

จงคานวณอุณหภูมขิ าออกและประสิทธิภาพของตัวทาอากาศร้อนแบบกระจกชัน้ เดียว


ในรูป ที่ 3.14.1 (b) ซึ่งมีมุ มเอีย ง 45๐ รังสีต กกระทบบนตัว เก็บ รังสีอ าทิต ย์มีค่ า 900 W.m-2
ระยะห่างระหว่างแผ่นดูดกลืนกับแผ่นปิ ดใสเท่ากับ 20 mm และช่องว่างอากาศขนาด 10 mm
ตัวเก็บรังสีอาทิตย์มขี นาดกว้าง 1 m ยาว 4 m แผ่นดูดกลืนมีค่าการแผ่รงั สีความร้อนเท่ากับ
0.1 และประสิท ธิผ ลการส่งผ่ านและดูด กลืน มีค่ าเท่ ากับ 0.82 อากาศเข้ามีอุ ณ หภู มิ 60 ๐ C
อุณหภูมขิ องอากาศแวดล้อม 10 ๐C และอัตราการไหลเชิงมวลของอากาศเท่ากับ 0.056 kg.s-1
สัมประสิทธิการพาความร้
์ อนโดยลมมีค่าเท่ากับ 10 W.m-2.๐C-1 และผลรวมของสัมประสิทธิการ ์
-2 ๐ -1
สูญเสียความร้อนทีด่ า้ นล่างและด้านข้างเท่ากับ 1.0 W.m . C (ดูตวั อย่าง 3.4.2)

วิ ธีทำ
จากรูปที่ 3.4.4 (e) สมมติให้
อุณหภูมเิ ฉลีย่ ของแผ่นดูดกลืน 70 ๐C
์ ญเสียความร้อนด้านบน 3.3 W.m-2.๐C-1
สัมประสิทธิการสู
์ ญเสียด้านล่างและด้านข้าง 1.0 W.m-2.๐C-1
สัมประสิทธิการสู
์ ญเสียความร้อนรวม 4.3 W.m-2.๐C-1
สัมประสิทธิการสู
สัมประสิทธิการแผ่
์ รงั สีความร้อนระหว่างผิวของท่อ ประมาณได้จากการสมมติอุณหถูมิ
เฉลี่ยของการแผ่รงั สีตวามร้อนเท่ากับอุณหภูมเิ ฉลี่ยของของไหล ประมาณค่าอุณหภูมเิ ฉลี่ย
ของของไหลเท่ากับ 70 ๐C จากสมการ (3.10.2) และ (3.10.3)
4σT 3 4  5.67  10 −8  3433
hr = = = 8.3 W.m-2.๐C-1
(1 / ε1 ) + (1 / ε 2 ) −1 ( 2 / 0.95 ) − 1

สมมติให้สมั ประสิทธิการถ่
์ ายเทความร้อนระหว่างอากาศและผนังท่อทัง้ สองมีค่าเท่ากัน
เส้นผ่านศูนย์กลางไฮดรอลิค (Hydraulic Diameter) เป็ นความยาวสาหรับแผ่นเรียบทีม่ ชี ่องว่าง
2 ช่อง ตัวเลขเรย์โนลดส์ (Reynolds Number) ทีอ่ ุณหภูมเิ ฉลีย่ ของของไหลเท่ากับ 70 ๐C คือ

ρVDh m D h 0.056( 2  0.01 )


Re = = = = 5490
μ A f μ ( 0.011 )2.04 10 −5

อัตราส่วนของความยาวต่อเส้นผ่านศูนย์กลาง

L 4
= = 200
D h 2  0.01
118

ค่า Re มากกว่า 2100 และ L Dh มีค่ามาก การไหลจะเป็ นแบบปั น่ ป่ วนที่พฒ


ั นาเต็มรูปแบบ
(Fully Developed) จากสมการ (2.14.6)

Nu = 0.0158( 5490 )0.8 = 15.5

สัมประสิทธิการถ่
์ ายเทความร้อนภายในท่อ h1 และ h2

k 15 .5  0.029
h = 15 .5 = = 22 W.m-2.๐C-1
Dh 2  0.01

จากรูปที่ 3.14.1 (b), h1 = h2

−1
 UL 
F  = 1 +  = 0.87
 h + ( 1 / h ) + ( 1 / hr ) 
−1

อัตราความจุความร้อนไร้หน่วย

m C p 0.056  1009
= = 3.78
AcU L F  4  4.3  0.87
จากสมการ (3.7.5) หรือรูปที่ 3.7.1

F  = 3.78( 1 − e −1 / 3.78 ) = 0.88


หรือ
FR = F F  = 0.88  0.87 = 0.77

จากสมการ (3.7.6) พลังงานทีส่ ามารถนาไปใช้ประโยชน์

Qu = 4  0.77900  0.82 − 4.3( 60 −10 ) = 1610 W

อุณหภูมอิ ากาศขาออกเท่ากับ

Qu 1610
To = Ti + = 60 + = 89 ๐C
m C p 0.056  1009

อุณหภูมเิ ฉลีย่ ของแผ่นดูดกลืนสามารถหาได้จากสมการ (3.9.4)


119

1610 / 4
T pm = 60 + ( 1 − 0.77 ) = 88 ๐C
4.3  0.77

และอุณหภูมเิ ฉลีย่ ของของไหลสามารถหาได้จากสมการ (3.9.2)

1610 / 4
T fm = 60 + ( 1 − 0.88 ) = 74 ๐C
4.3  0.77

เริม่ ต้นประมาณอุณหภูมขิ องของไหลและแผ่นดูดกลืนเท่ากับ 70 ๐C แต่ค่าทีค่ านวณได้


มีค่าไม่เท่ากับค่าทีก่ าหนดเริม่ ต้น เพราะฉะนัน้ จึงต้องคานวณซ้าใหม่โดยสมมติอุณหภูมเิ ฉลีย่ ที่
แผ่นเท่ากับ 88 ๐C, U t = 3.4 W.m-2.๐C-1 และ U L = 4.4 W.m-2.๐C-1 สัมประสิทธิการถ่ ์ ายเท
ความร้อนระหว่างผิวท่อทัง้ 2 มีค่าเท่ากับ 8.7 W.m-2.๐C-1 (สมมติให้ T เท่ากับ Tfm หรือ 348
K ) ค่ า Re เท่ า กั บ 5400 และสั ม ประสิ ท ธิ ก์ ารถ่ า ยเทความร้ อ นมี ค่ า 23 W.m-2.๐ C-1
พารามิเตอร์ F  , F  และ FR มีค่าเท่าเดิม ดังนัน้ พลังงานทีใ่ ช้ประโยชน์ได้มคี ่าเท่ากับ 1610
W

ข้อสังเกต อุณ หภูมขิ องแผ่นที่สมมติข้นึ มาใช้ในการคานวณครัง้ แรกมีค่าผิดพลาดไป 18 ๐C


เพราะฉะนัน้ จากการคานวณในครัง้ ที่ 2 นามาหาค่าประสิทธิภาพได้

Qu 1610
η= = = 0.45( 45 %)
Ac GT 4  900

3.15 กำรทดสอบตัวเก็บรังสีอำทิ ตย์

กลางทศวรรษ 1970 ได้มกี ารออกแบบตัวเก็บรังสีอาทิตย์แบบใหม่สาหรับเชิงพาณิชย์


ซึ่งจาเป็ นต้องมีการพัฒนามาตรฐานการทดสอบตัวเก็บรังสีอาทิตย์ รายละเอียดต่าง ๆ ที่ต้อง
ทราบ คือ ตัวเก็บรังสีอาทิตย์ดูดกลืนพลังงานได้อย่างไร สูญเสียความร้อนอย่างไร ผลของมุม
ตกกระทบของรังสีอ าทิต ย์ และผลของความร้อ นจาเพาะ ในสหรัฐอเมริก าสานัก มาตรฐาน
แห่งชาติได้ออกแบบการทดสอบ ซึ่งถูกปรับปรุงโดย ASHRAE (1977) ซึ่งมาตรฐาน ASHRAE
93-77 เป็ นหลักพืน้ ฐานสาหรับหัวข้อนี้
การทดสอบสมรรถนะทางความร้อนของตัวเก็บรังสีอาทิตย์จะพิจารณาออกเป็ น 3 ส่วน
ในส่วนแรกเกี่ยวกับการหาค่าประสิทธิภาพชัวขณะกั่ บรังสีตรงซึ่งตกกระทบในแนวตัง้ ฉากกับ
แผ่นดูดกลืนรังสีอาทิตย์ ในส่วนทีส่ องจะเกี่ยวข้องกับผลของมุมตกกระทบของรังสีอาทิตย์ และ
120

ส่วนที่สามเป็ นการหาค่าคงที่เวลา การวัดความจุความร้อนประสิทธิผล เป็ นวิธพี ้นื ฐานในการ


วัดสมรรถนะของตัวเก็บรังสีอาทิตย์จะแสดงการทางานของตัวเก็บรังสีเมื่อมีรงั สีอาทิตย์ การวัด
อุณ หภู มิข องไหลตรงทางเข้าและทางออก และอั ต ราการไหล พลังงานที่ส ามารถน าไปใช้
ประโยชน์ได้ คือ

Qu = m
 C p ( To − Ti ) (3.15.1)

สมการ (3.15.1) แสดงสมรรถนะทางความร้อนของตัวเก็บรังสีอาทิตย์ท่ที างานภายใต้


สภาวะคงที่ ซึง่ สามารถเขียนได้ใหม่ดงั นี้

Qu = Ac FR GT ( τα ) − U L ( Ti − Ta ) (3.15.2)

โดย ( ) คือ ค่าการส่งผ่านและการดูดกลืน ซึ่งจะขึ้นอยู่กบั สัดส่วนของรังสีตรง รังสีกระจาย


และรังสีทส่ี ะท้อนจากพืน้ ดินไปยังตัวเก็บรังสีอาทิตย์ สมการ (3.15.1) และ (3.15.2) สามารถใช้
หาประสิทธิภาพชัวขณะได้

Qu F U ( T − Ta )
ηi = = FR ( τα ) − R L i (3.15.3)
Ac GT GT
และ
m C p ( To − Ti )
ηi = (3.15.4)
Ac GT

ในยุ โรปการทดสอบจะใช้ T f ,av ซึ่งคือ อุ ณ หภู มิเฉลี่ย ของของไหลตรงทางเข้าและ


ทางออก

FavU L ( T f ,av − Ta )
η i = Fav ( τα )n − (3.15.5)
GT

ASHRAE 93-77 ได้กาหนดมาตรฐานการทดสอบตัวเก็บรังสีอาทิตย์ทใ่ี ช้ของเหลวและ


อากาศ โดยตัวเก็บรังสีอาทิตย์ทใ่ี ช้ของเหลวต้องเป็ นระบบปิ ดสาหรับการทาความร้อน ดังแสดง
ในรูปที่ 3.15.1 แม้ว่าจะมีขอ้ แตกต่างกันในรายละเอียด แต่หลักสาคัญสามารถสรุปได้ดงั นี้
1. ป้ อนของไหลทีค่ วบคุมอุณหภูมใิ นช่วงทีต่ อ้ งการเข้าตัวเก็บรังสีอาทิตย์
2. วัดรังสีอาทิตย์ดว้ ยไพรานอมิเตอร์ทว่ี างตัวบนระนาบเดียวกับตัวเก็บรังสีอาทิตย์
3. วัดอัตราการไหล อุณหภูมขิ องไหลตรงทางเข้าและทางออก และสภาวะแวดล้อม
121

4. วัดความดันและความดันลดในตัวเก็บรังสีอาทิตย์
วิธกี ารของ ASHRAE สาหรับอากาศประกอบด้วยหลักสาคัญเหมือนในกรณีของตัวทา
น้ าร้อนโดยจะเพิม่ รายละเอียดที่สมั พันธ์กบั การไหลของอากาศ การผสมของอากาศ อุณหภูมิ
ของอากาศ รวมทัง้ ค่าความดันลด การวัดอาจทาได้ทงั ้ ในร่มหรือกลางแจ้ง ถ้าเป็ นการทดสอบ
ในร่มจะใช้แสงอาทิตย์เทียม ซึ่งจะมีการกระจายและมีความเข้มของแสงอาทิตย์สม่าเสมอ ซึ่ง
ส่วนใหญ่แล้วการทดสอบตัวเก็บรังสีจะกระทากลางแจ้ง Gillet (1980) ได้เปรียบเทียบผลของ
การทดสอบกลางแจ้งกับการรวมกันระหว่างการทดสอบในร่มกับกลางแจ้ง ซึ่งได้ขอ้ สังเกตว่า
สัดส่วนของการกระจายและการเปลีย่ นแปลงของรังสีคลื่นยาวจะมีผลต่อการทดสอบ โดยทัวไป ่
การทดสอบจะน าตัว เก็บรังสีอาทิต ย์มาดาเนิน การภายใต้ส ภาวะที่ใกล้เคียงกับสภาวะคงที่
จะต้องวัดข้อมูลเพื่อนามาคานวณ Qu จากสมการ (3.15.1) ทาการวัดค่า GT , Ti และ Ta ซึ่ง
วิเคราะห์โดยใช้สมการ (3.15.3) การทดสอบกลางแจ้งจะทาการทดสอบในช่วงเที่ยงของวันที่
อากาศแจ่มใสซึ่งจะมีรงั สีต รงสูงและค่ อ นข้างตัง้ ฉากกับ แผ่ น รับ รังสีอ าทิต ย์ การทดสอบจะ
กระทาบนช่วงของอุณหภูมทิ างเข้า เพื่อที่จะทาให้ผลกระทบอันเนื่องมาจากความจุความร้อน
ของตัวรับรังสีอาทิตย์มคี ่าต่าสุด การทดสอบจะกระทาทัง้ ในช่วงก่อนและหลังเทีย่ งสุรยิ ะและจะ
ใช้ค่าเฉลี่ยของทัง้ สองค่านี้ ค่าประสิทธิภาพชัวขณะจะหาได้
่ จาก สมการ (3.15.4) และนามา
เขียนกราฟร่วมกับ (Ti − Ta ) GT ตัวอย่างของกราฟทีไ่ ด้จากการทดสอบจานวน 5 ครัง้ ภายใต้
ข้อกาหนดของ ASHRAE 93-77 จาก Streed et al. (1979) แสดงในรูปที่ 3.15.2 ถ้า U L , FR
และ ( ) n คงที่ การเขียนกราฟของ i กับ (Ti − Ta ) GT จะเป็ นเส้นตรงตัดแกน y ที่ FR ( ) n
และมีความชันเท่ากับ − FRU L จากหัวข้อ 3.4 จะเห็นชัดว่า U L เป็ นฟั งก์ชนั ของอุณหภูมแิ ละ
ความเร็ว ลม และจะมีค่ าลดลงเมื่อ จ านวนแผ่ น ปิ ดใสเพิ่ม ขึ้น FR จะขึ้น กับ อุ ณ หภู มิเพีย ง
เล็กน้อย นอกจากนี้แล้วยังมีการเปลีย่ นแปลงของสัดส่วนของรังสีตรง รังสีกระจาย และรังสีจาก
การสะท้อ นจากพื้นดิน ข้อ มูล จะมีก ารกระจายเนื่ อ งจากอุณ หภู มิ ความเร็วลม และมุ ม ตก
กระทบที่เปลี่ย นไป แม้ว่าจะค่ อ นข้างยุ่ งยากแต่ ก ารท านายสมรรถนะในระยะยาวสามารถ
กาหนดได้จากจุดตัดแกนและความชัน

ตัวอย่ำง 3.15.1
การทดสอบตัวเก็บรังสีอ าทิต ย์ท่ีใช้สาหรับทาน้ าร้อนมีพ้นื ที่รบั แสง 4.10 m2 โดยวิธี
ASHRAE ซึง่ มีรงั สีตรงค่อนข้างตัง้ ฉากกับแผงรับแสงได้ขอ้ มูลดังนี้

Qu (MJ.hr-1) GT (W.m-2) Ti (C) Ta (C)


9.05 864 18.2 10
1.98 894 84.1 10
122

จงหาค่า FR ( ) n และ FRU L โดยคิดต่อพืน้ ทีร่ บั แสง

วิ ธีทำ
สาหรับข้อมูลชุดแรก

9.05 1000
ηi = = 0.71
864  3.6  4.10
และ
Ti − Ta 18.2 − 10.0
= = 0.0095 m2.๐C.W-1
GT 864
123

รูปที่ 3.15.1 การทดสอบแบบวงจรปิ ดของตัวเก็บรังสีอาทิตย์สาหรับทาของเหลวร้อน


[Duffie & Beckman (1991)] สาหรับข้อมูลชุดทีส่ อง

Ti − Ta
ηi = 0.15 และ = 0.083 m2.๐C.W-1
GT

จากข้อมูลทัง้ 2 ชุด นามาเขียนกราฟหาความชันและจุดตัดแกน y ได้

0.71 − 0.15
= −7.62 W.m-2.๐C-1
0.0095 − 0.083

ดังนัน้ จากรูปจะได้ FRU L = - ความชัน = 7.62 W.m-2.๐C-1 และ FR ( ) n = 0.78

Ti − Ta
, m 2 .o C/W
GT
124

รูปที่ 3.15.2 ประสิทธิภาพของตัวเก็บรังสีอาทิตย์สาหรับทาของเหลวร้อนทีม่ แี ผ่นปิ ดใสชัน้ เดียว


และมีผวิ ดูดกลืนแบบเลือกรังสี [Duffie & Beckman (1991)]

พื้นที่รบั แสงที่ปรากฏในนิยามของ i มีหลายรูปแบบ เช่น มีลกั ษณะหยาบ มีกระจก


ปิ ด ไม่มแี ผ่นปิ ดใส ไม่มเี งามาบัง เป็ นต้น กรณีพ้นื ทีร่ บั แสงมีลกั ษณะหยาบจะใช้พ้นื ทีท่ งั ้ หมด
หารด้วยจานวนแผง กรณีไม่มแี ผ่นปิ ดจะใช้พน้ื ทีท่ งั ้ หมด สาหรับพืน้ ทีท่ ไ่ี ม่มเี งาบังจะมีการใช้ใน
บางครัง้ ตามมาตรฐาน ASHRAE 93-77 ใช้พ้นื ที่รบั แสงแบบหยาบ ในตัวอย่าง 3.15.1 ถ้าตัว
เก็บรังสีมพี น้ื ทีท่ ห่ี ยาบ 4.37 m2 ค่า FR ( ) n และค่า FRU L จะถูกคูณด้วย 4.10/4.37
เพิ่ ม วิธีก ารทดสอบโดย Cooper & Dunkle (1981) สมมติว่ า อุ ณ หภู มิส ัม พัน ธ์ กับ
สัมประสิทธิการสู ์ ญ เสียความร้อ นรวมแบบเชิงเส้นและสัมพันธ์กบั ค่าประสิทธิภาพชัวขณะใน ่
ลักษณะสมการกาลังสอง

U L = a + b( Ti − Ta ) (3.15.6)

2
( T − Ta )  ( Ti − Ta ) 
η i = FR ( τα ) − a i − b  (3.15.7)
GT  GT 

จากการพิจารณาพบว่าอุณ หภูมิข้นึ อยู่กบั U L และ a กับ b ซึ่งเป็ นค่ าคงที่เฉพาะ


ความเร็วลมค่าหนึ่ง ความเร็วลมที่เปลี่ยนไปจะมีผลกระทบทางด้านอุณหภูมขิ องตัวเก็บรังสี
อาทิตย์ท่มี แี ผ่นปิ ดใสชัน้ เดียว แบบจาลองจะต้องเพิม่ พารามิเตอร์ ถ้าพิจารณาผลกระทบจาก
ลม ส่วนสาคัญประการที่สอง คือ การกาหนดผลของมุมตกกระทบของรังสีอาทิตย์ ตัวปรับค่า
มุ ม ตกกระทบ คือ K จะน าไปใช้ใ นสมการ (3.15.2) นอกจากนี้ ( ) ก็ข้ึน อยู่ กับ มุ ม ตก
กระทบด้วยเช่นกัน มาตรฐานการทดสอบต่าง ๆ รวมถึงการประมาณค่าการทดลองของผลที่
เกิดขึ้นนี้ สาหรับความหมายของการทดสอบในวันที่ ท้องฟ้ าปลอดโปร่งหมายความว่าค่าของ
( ) มีความสาคัญเท่ากับ ( ) b ตัวปรับค่ามุมตกกระทบสามารถเขียนได้ดงั นี้

( τα )
K τα = (3.15.8)
( τα )n
ดังนัน้

Qu = Ac FR GT K τα ( τα )n − U L ( Ti − Ta ) (3.15.9)

รูปแบบทัวไปเสนอโดย
่ Souka & Safwat (1966) สาหรับตัวเก็บรังสีอาทิตย์แบบแผ่น
ราบ
125

 1 
K τ α = 1 + bo  − 1 (3.15.10)
 cosθ 

เมื่อ bo เป็ นค่ า คงที่ ซ่ึ ง เรีย กว่ า สัม ประสิท ธิ ก์ ารปรับ ค่ า มุ ม ตกกระทบ (Incidence Angle
Modifier Coefficient) สมการนี้ได้จาก ASHRAE 93-77 และโดยปกติ bo จะมีค่าติดลบ รูปที่
3.15.3 แสดงให้เห็นถึงตัวปรับค่ามุมตกกระทบ K โดยเขียนกราฟเป็ นฟั งก์ชนั ของ  และ
(1 / cos  − 1) สมการ (3.15.10) จะสามารถใช้ในการประมาณผลของมุ มตกกระทบที่มุ ม ตก

กระทบน้อยกว่า 60 เท่านัน้


Strictly กล่าวว่ามุมตกกระทบควรจะพิจารณาถึงสัดส่วนของรังสีตรง รังสีกระจาย และ
รังสีสะท้อนจากพื้น ซึ่งสามารถพิจารณาส่วนประกอบทัง้ 3 นี้แยกจากกันได้ รังสีตรงควรจะ
พิจ ารณาที่เส้น รอบนอก ส่ ว นรัง สีก ระจายและรังสีส ะท้ อ นควรพิจ ารณาที่มุ ม ตกก ระทบที่
เหมาะสม อย่างไรก็ดกี ารทดสอบตัวเก็บรังสีควรกระทาภายใต้สภาวะท้องฟ้ าทีป่ ลอดโปร่ง เมื่อ
มีสดั ส่วนของรังสีตรงสูงเพือ่ จะได้ชถ้ี งึ ผลของมุมตกกระทบของรังสีตรง

รูปที่ 3.15.3 ตัวปรับค่ามุมตกกระทบสาหรับตัวเก็บรังสีทม่ี แี ผ่นปิ ดใสแบบราบ


(กรณี  = 0.9) [Duffie & Beckman (1991)]
(a) ตัวเก็บรังสีทม่ี แี ผ่นปิ ดใสเป็ นกระจกชัน้ เดียว (b) ตัวเก็บรังสีทม่ี แี ผ่นปิ ดใสเป็ นกระจก 2 ชัน้
(c) ตัวเก็บรังสีชนิดรังผึง้ ไนลอนทีม่ แี ผ่นปิ ดใสทาด้วยกระจกชัน้ เดียว

ASHRAE 93-77 ได้แ นะน าการทดลองหาค่ า ของ K โดยท าการทดสอบภายใน


อาคาร และให้  เท่ากับ 0, 30, 45 และ 60 สาหรับการทดสอบภายนอกอาคารควรทดสอบ
ทัง้ ช่วงก่อ นและหลังเที่ยงสุรยิ ะ McIntire & Read (1983) แนะนาให้ใช้ต ัวปรับมุมตกกระทบ
126

แบบสองแกน รูปที่ 3.15.4 แสดงให้เห็นถึงตัวปรับมุมในสองระนาบ คือ ระนาบตามขวาง และ


ตามยาว ตัวปรับมุมตกกระทบรวม คือ

K τα = ( K τα )t ( K τα )l (3.15.11)
การทดสอบตัวเก็บรังสีอาทิตย์ลกั ษณะที่สาม คือ การหาค่าความจุความร้อนของตัว
เก็บรังสีในเทอมของ ค่าคงทีเ่ วลา (Time Constant) ซึง่ ถูกกาหนดว่าเป็ นเวลาทีต่ ้องการสาหรับ
ของไหลทีอ่ อกจากตัวเก็บรังสีเพื่อเปลีย่ นเป็ น 1 e (= 0.632) ของการเปลีย่ นแปลงทัง้ หมดจาก
สภาวะต้นจนถึงสภาวะคงที่หลังการเปลีย่ นมุมตกกระทบของรังสีอาทิตย์หรืออุณหภูมขิ องไหล
ขาเข้า วิธดี าเนินการตามมาตรฐาน ASHRAE 2 ขัน้ ตอนเพื่อประมาณค่าคงที่เวลา ขัน้ แรกให้
ตัวเก็บรังสีอาทิตย์ทางานในสภาวะที่ใกล้คงที่และควบคุมอุณหภูมทิ างเข้าของของไหล หรือ
ทางานทีใ่ กล้อุณหภูมแิ วดล้อม รังสีอาทิตย์จะถูกบังและทาให้อุณหภูมทิ างออกลดลง (โดยการ
เปิ ดปั ม๊ ) เวลา t ทีเ่ ท่ากับในสมการ (3.17.12) คือ ค่าเวลาคงทีข่ องตัวเก็บรังสี

To ,t − Ti 1
= = 0.368 (3.15.12)
To ,init − Ti e

เมื่อ To,t คือ อุณหภูมทิ างออกที่เวลา t และ To,init คือ อุณหภูมทิ างออกเมื่อรังสีอาทิตย์ถูก
หยุด ความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับอุณหภูมิ แสดงในรูปที่ 3.15.5

วิธอี ่นื ในการวัดค่าคงทีเ่ วลา คือ การทดสอบทีไ่ ม่มรี งั สีอาทิตย์ เช่น เวลากลางคืน ในที่
ร่ม หรือมีการบังเงา และควบคุมการเปลีย่ นแปลงของอุณหภูมขิ องไหลตรงทางเข้า จากค่าทีส่ ูง
กว่าอุณหภูมแิ วดล้อม คือ 30 C ไปสู่ค่าที่ใกล้เคียงอุณหภูมแิ วดล้อม สมการ (3.15.12) จะถูก
ประยุกต์ใช้กบั วิธนี ้ี (ซึง่ อาจจะให้ผลไม่เหมือนวิธกี ารแรก)

รูปที่ 3.15.4 ระนาบของท่อ และตัวปรับมุมตกกระทบ


127

Temperature, oC

รูปที่ 3.15.5 ความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับอุณหภูมขิ องตัวเก็บรังสีอาทิตย์สาหรับทาอากาศร้อน


[Duffie & Beckman (1991)]

3.16 กำรแปลงข้อมูลเชิ งปฏิ บตั ิ ทำงด้ำนควำมร้อน

รูป แบบที่น าไปใช้ป ระโยชน์ ใ นการประยุ ก ต์ ใ ช้ง าน ถ้ า เขีย นกราฟระหว่ าง i กับ


(Tav − Ta ) GT เมื่อ Tav คือ ค่าเฉลีย
่ ของอุณหภูมขิ องไหลขาเข้า และขาออก แสดงดังสมการ

( Tav − Ta )
η i = Fav ( τα )n − FavU L (3.16.1)
GT

เมื่อ Fav เป็ นค่าประมาณของ F  ถ้าอุณหภูมเิ พิม่ ขึ้นแบบเชิงเส้นกับระยะทาง ถ้ารู้อตั ราการ


ไหลของของไหล ส่วนตัดแกน Fav ( ) n และความชัน − FavU L ของกราฟจากสมการ (3.16.1)
จะสัมพันธ์กบั FRU L และ FR ( ) n ดังนี้

−1
 AF U 
FR ( τα )n = Fav ( τα )n 1 + c av L  (3.16.2)
 2m C p 
128

−1
 AF U 
FRU L = FavU L 1 + c av L  (3.16.3)
 2m C p 

ข้อมูลทดสอบของตัวเก็บรังสีอาทิตย์สาหรับทาอากาศร้อนแสดงได้โดยการเขีย นกราฟ
ระหว่ าง i กับ (To − Ta ) GT จะมีจุด ตัด แกน Fo ( ) n และความชัน เท่ า กับ −FoU L ซึ่งจะ
สามารถเปลีย่ นเป็ น FRU L และ FR ( ) n ได้โดยสมการ

−1
 A FU 
FR ( τα )n = Fo ( τα )n 1 + c o L  (3.16.4)
 m C p 

−1
 A FU 
FRU L = FoU L 1 + c o L  (3.16.5)
 m C p 

ตัวอย่ำง 3.16.1
จงหา FRU L และ FR ( ) n สาหรับตัวเก็บรังสีอาทิตย์ทใ่ี ช้ทาอากาศร้อนทีม่ แี ผ่นปิ ดใส
2 ชัน้ ซึ่ ง มี FoU L = 3.70 W.m-2.๐ C-1 และ Fo ( ) n = 0.64 อัต ราการไหลเชิง ปริม าตรต่ อ
หน่วยพืน้ ที่ 10.1 l.m-2.s-1

วิ ธีทำ
อากาศที่ 20 C มีค่า Cp = 1006 J.kg-1 และ  = 1.204 kg.m-3 = 0.001204 kg.l-1

Ac FoU L 3.7
= = 0.302
m C p 10.1 0.001204 1006

จากสมการ (3.16.2) และ (3.16.3)

FRU L = 3.7( 1 + 0.302 ) −1 = 2.84 W.m-2.๐C-1

FR ( τα )n = 0.64( 1 + 0.302 ) −1 = 0.49


129

3.17 กำรปรับแก้ผลของอัตรำกำรไหล

ข้อมูลทีน่ ามาทดสอบกับตัวเก็บรังสีอาทิตย์ควรวัดทีอ่ ตั ราการไหลทีส่ อดคล้องกับการใช้


ในงานจริง ถ้าตัวเก็บรังสีอาทิตย์ถูกใช้ท่ีอตั ราการไหลของของไหลไม่ต รงกับในการทดสอบ
จาเป็ น ต้อ งมีก ารปรับ แก้ค่ า FR ( ) n และ FRU L สมมติว่าผลกระทบของอัต ราการไหลที่
เปลี่ยนไปเพียงอย่างเดียวที่ทาให้เกรเดียนต์อุณหภูมเิ ปลี่ยนแปลง และการเปลี่ยนแปลงของ
F  เนื่องจาก h fi ทีเ่ ปลีย
่ นไปมีค่าน้อย กาหนดอัตราส่วน r เพือ่ ใช้เป็ นค่าปรับแก้ดงั นี้

FRU L FR ( τα )n
r= use
= use
(3.17.1)
FRU L test
FR ( τα )n test

m C p
A F U L
1 − exp(− A F Uc L m C p ) use
r= c (3.17.2)
m C p
Ac F U L
1 − exp(− A F Uc L m C p ) test

และ
m C p
Ac
1 − exp(− A F U c L m C p ) use
r= (3.17.3)
FR U L test

ในการใช้ส มการเหล่านี้จาเป็ นต้อ งรู้ ค่ า F U L ในการทดสอบจะคานวณจาก FR U L

แทน จัดรูปสมการ (3.7.4) ใหม่ได้

m C p  F U A 
F U L = − ln1 − R L c  (3.17.4)
Ac  m C p 
 
130

ตัวอย่ำง 3.17.1
ตัว เก็บ รังสีอ าทิต ย์ส าหรับ ท าน้ าร้อ นในตัว อย่าง 3.15.1 ถู กใช้ท่ีอ ัต ราการไหล 0.02
kg.s-1 แต่นาไปทดสอบกับข้อมูลที่ 0.04 kg.s-1 จงประมาณผลกระทบของอัตราการไหลทีล่ ดลง
ต่อ FR ( ) n และ FRU L

วิ ธีทำ
จากสมการ (3.17.4)

0.04  4187  7.62  4.10 


F U L = − ln1 −  = 8.43 W.m-2.๐C-1
4.10  0.04  4187 
จากสมการ (3.17.2) จากการใช้งานจริง

m C p 0.02  4187
= = 2.42
Ac F U L 4.10  8.43

และจากการทดสอบ

m C p 0.04  4187
= = 4.85
Ac F U L 4.10  8.43
จะได้
r=
(
2.42 1 − e −1 2.42 )
= 0.91
(
4.85 1 − e −1 4.85 )

ดังนัน้ ทีอ่ ตั ราการไหลทีล่ ดลง

FR ( τα )n = 0.78  0.91 = 0.71

FRU L = 7.62  0.91 = 6.90 W.m-2.๐C-1

You might also like