You are on page 1of 2

The Big Bang Theories Timeline

Big
เกิดอะไรขึ้น?
ในแต่ละช่วงเวลา
ของ
Bang
The Big Bang
Theories

The Big Bang Theories


จากภาพจะแบ่งได้
ทั้งหมด 8 ช่วงเวลา

• 10⁻⁴³ s 10³² K

The Big Bang Theories • 10⁻³⁴ s 10²⁷ K


คืออะไร? • 10⁻¹⁰ s 10¹⁵ K


ทฤษฎีบิ๊กแบงหรือการระเบิดครั้งใหญ่ • 1 s 10¹⁰ K
เป็ นแบบจำลองในจักรวาลวิทยา ที่ใช้อธิบายถึงการ
• จากจุดที่มีขนาดเล็กที่สุ ดที่มีความหนาแน่นสู ง • ณ เวลาที่ 3 m 10⁹ K
กำเนิดและวิวัฒนาการของเอกภพ (Universe) • 3 m 10⁹ K ได้เกิดการรวมแรง จนเกิดการขยายตัวและเกิด โปรตรอนและนิวตรอนรวมตัวกัน เกิด


การระเบิดครั้งใหญ่อย่างรวดเร็ว/รุนแรง นิวเคลียสฮี เลียมขึ้น
ซึ่งมีข้อสรุปว่าผลจากทฤษฎีบิ๊กแบง ทำให้จักรวาล • 3 แสนปี 6000 K
เอกภพ ดวงดาว และกาแล็กซีเกิดการเคลื่อนที่ออก
• ณ เวลาที่ 10⁻⁴³ s 10³² K • ณ เวลาที่ 3 แสนปี 6000 K
ห่างจากกันในทุกวินาที เอกภพจะมีอุณหภูมิที่สู งมาก จึงยังไม่มีอนุภาค นิวเคลียสของไฮโดรเจนและฮี เลียม ดึง
• 1 พันล้านปี 18 K
ใดเกิดขึ้น มีเพียงพลังงานเท่านั้น อิเล็กตรอนเข้ามา เกิดเป็ นอะตอม

• 15 พันล้านปี 3 K
ผู้คิดค้นแนวคิด
• ณ เวลาที่ 10⁻³⁴ s 10²⁷ K • ณ เวลาที่ 1 พันล้านปี 18 K

เอกภพจะมีอุณหภูมิลดลง เกิดอนุภาคและปฏิ อะตอมของไฮโดรเจนและฮี เลียม รวมตัวกัน


The Big Bang Theories Note! อนุภาคขึ้น รวมตัวกันเกิดเป็ นพลังงานในรูปของ ด้วยแรงโน้มถ่วง เกิดเป็ นเนบิวลา/
อะตอมของธาตุเกิดจาก โฟตอนหรืออนุภาคของแสง ดาวฤกษ์ /กาแล็กซีรุ่นแรก
โปรตรอน+นิวตรอน+อิเล็กตรอน
คือ Georges Lemaître โดยนิวเคลียสของธาตุจะมีโปร
ตรอนและนิวตรอนรวมกัน ล้อม • ณ เวลาที่ 10⁻¹⁰ s 10¹⁵ K และ 1 s 10¹⁰ K • ณ เวลาที่ 15 พันล้านปี 3 K

รอบด้วยชั้นพลังงานอิเล็กตรอน ควาร์ก (อนุภาคมูลฐานที่เล็กที่สุ ดในจักรวาล) (ราว 2.73 K ในปั จจุบัน)
โดยเขาเป็ นทั้งนักดาราศาสตร์และ รวมกันเป็ นโปรตอนและนิวตรอน นิวเคลียสของ เป็ นลักษณะของเอกภพในปั จจุบัน
ศาสตราจารย์ชาวเบลเยีย ไฮโดรเจน
The Big
Bang
Theories
By

Pattarapa
Wijitpaiboon
M.6/1 No12
ภัทราภา วิจิตรไพบูลย์ ม.6/1 เลขที่12

You might also like