You are on page 1of 1

ตํานาน “ครุฑยุดนาค” สู่ ความเชื6 อ วรรณกรรมและงานศิลปะ

ตํานานของครุ ฑและนาคนั0น มีปรากฏในเรื: องเล่ามหาภารตะของอินเดีย ซึ:งเป็ นที:บ่งชี0วา่ ตํานานของ


ครุ ฑและนาคมีอิทธิพลต่อชาวอินเดีย และได้มีการเผยแพร่ ความเชื:อต่างๆรวมถึงตํานานมายังสุ วรรณภูมิ และ
นานาอารยประเทศที:มีลกั ษณะแตกต่างกันไป รวมถึงหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที:แตกต่างกัน
“ครุ ฑยุดนาค” เดิมทีแล้วถูกพัฒนามาจากการเลียนแบบเรื: องจริ งตามธรรมชาติของนกอินทรี ยแ์ ละงู
มาสร้างเป็ นงานศิลปะที:สื:อความหมายในเรื: องสรรพสัตว์ในป่ าและธรรมชาติที:ปรากฎให้เห็นมาตั0งแต่ช่วง
พุทธศตวรรษที: [ จนมาในช่วงพุทธศตวรรษที: \ ในช่วงราชวงศ์คุปตะ คติและวรรณกรรมเรื: อง “ครุ ฑ-นาค”
ได้ปรากฏในมหาภารตะ และ ครุ ฑปุราณะ กล่าวว่า ครุ ฑกับนาคเป็ นพี:-น้อง ต่างมารดากัน โดยมีพระกัศยป
เป็ นบิดา พญาครุ ฑเป็ นบุตรของนางวินตา และพญานาคเป็ นบุตรของนางกัทรุ ก่อนครุ ฑและนาคจะเกิดนั0น
พระกัศยปได้ให้นางวินตาและนางกัทรุ ขอพรได้คนละข้อ โดยนางวินตานั0นได้ขอให้ตนมีบุตรเพียงสอง แต่
ขอให้บุตรของตนมีอิทธิฤทธิaมากเหนือผูใ้ ด รวมถึงมีอิทธิฤทธิaเหนือบุตรทั0งหมดของนางกัทรุ ดว้ ย และนาง
กัทรุ ได้ขอให้มีบุตรมากมายและขอให้บุตรของตนมีอิทธิฤทธิaแปลงกายได้ เมื:อพรได้สมั ฤทธิaนางกัทรุ จึงให้
กําเนิดบุตรเป็ นนาค bccc ตัว ส่ วนนางวินตาได้ให้กาํ เนิดไข่ d ฟอง แต่ผา่ นไป fcc ปี ไข่กย็ งั ไม่ฟักออกด้วย
ความรี บนางวินตาจึงได้กะเทาะไข่ฟองนึงออกปรากฏเป็ น พระอรุ ณ ที:มีรูปร่ างไม่สมประกอบ ด้วยความ
โกรธที:ตนต้องมีรูปร่ างเช่นนี0จึงได้สาปนางวินตาให้เป็ นทาสของนางกัทรุ เวลาผ่านไปคําสาปได้สมั ฤทธิaผล
จากการที: นางวินตาได้โดนโกงพนันสี มา้ พระอาทิตย์แก่นางกัทรุ ทาํ ให้นางวินตาต้องตกเป็ นทาสให้นางกัทรุ
และเหล่านาคนาน fcc ปี จนไข่ใบที:สองได้ฟักออกมา นามว่า “เวนไตร” พระกัศยปต้องการให้เวนไตรไป
ช่วยนางวินตาให้พน้ จากการเป็ นทาสของเหล่านาค เวนไตรจึงไปเจรจาต่อรองขอให้นาคปล่อยตัวมารดาของ
ตน โดยต้องนํานํ0าอมฤตไปแลก แต่เมื:อครุ ฑรู ้วา่ นางกัทรุ และเหล่านาคโกงการพนัน จึงเป็ นที:มาของการจับ
นาคกินเพื:อล้างแค้น จนกลายมาเป็ นรู ปงานประติมากรรม “ครุ ฑยุดนาค” ในงานศิลปะทางความเชื:อ ทั0งนี0
การที:ปรากฏวรรณกรรมและคติเรื: อง “ครุ ฑยุดนาค” ปรากฏขึ0นมาในอินเดียเหนือแล้วก็ตาม แต่รูปครุ ฑใน
งานศิลปะในราชวงศ์คุปตะ ช่วงพุทธศตวรรษที: \ – bc ก็ยงั คงนิยมทําเป็ นรู ปแบบของมนุษย์มีปีก จนมา
ในช่วงหลังพุทธศตวรรษที: bb เป็ นต้นมา เริ: มมีการผสมผสานคติ “พระวาหนะแห่งพระวิษณุ” เข้ามาอยูใ่ นรู ป
เดียวกันกับงานศิลปะรู ปครุ ฑยุดนาค และในช่วงพุทธศตวรรษที: bd คติความเชื:อ วรรณกรรมและงานศิลปะ
เรื: อง “ครุ ฑยุดนาค” จากอินเดียใต้กเ็ ริ: มมีการเผยแพร่ เข้ามาสู่ เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ในภายใต้ความเชื:อว่า
“ความดี (ครุ ฑ) เหนือความชัว: (นาค)” และงานศิลปะครุ ฑยุดนาค ก็เริ: มมีปรากฏให้เห็นในวัฒนธรรมเขมร
ชวาและจามปา รวมถึงไทยก็นาํ เอาคติและงานศิลปะครุ ฑยุดนาค มาดัดแปลงเพื:อใช้ประดับศาสนสถาน ใน
คติพทุ ธศาสนาเถรวาทมาจนถึงในปัจจุบนั อีกทั0งยังมีวรรณกรรมเกี:ยวกับ พญาครุ ฑ และ พญานาค ปรากฏให้
เห็น ดังนั0น “ครุ ฑยุดนาค” จึงถือเป็ นตํานานเรื: องเล่าที:มีมาอย่างยาวนาน และยังมีหลักฐานปรากฏให้เห็นใน
ด้านสถาปั ตยกรรม และศิลปกรรมมาจนถึงปั จจุบนั ซึ:งสะท้อนความเชื:อต่างๆจากอินเดียมายังนานาประเทศ
และอาจกล่าวได้วา่ เป็ นเรื: องของสัญลักษณ์ตวั แทนอํานาจของ “ครุ ฑ” เป็ นตัวแทนที:เหนือกว่า “นาค” ที:เป็ นผู ้
ที:อ่อนแอกว่า

You might also like